The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันPreterm

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Arunya Kajeab Vijitanaga, 2022-06-29 03:21:05

คู่มือการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันPreterm

คู่มือการปฏิบัติตัวเพื่อป้องกันPreterm

คมู อื การปฏบิ ตั ิตัวเพอ่ื ปอ งกนั การเกิด
ภาวะเจ็บครรภค ลอดกอนกาํ หนด

งานหอ้ งคลอด โรงพยาบาลพทุ ธชนิ ราช พษิ ณุโลก
055-270300 ตอ่ 16111 16112

เจ็บครรภค ลอดกอนกําหนด

หมายถงึ ภาวะเจ็บครรภคลอดกอ นอายุครรภ 37 สปั ดาห โดยมกี ารหดรัดตวั ของมดลูกสมํ่าเสมอ อยางนอ ย 1
ครงั้ ทุก 10 นาที แตยังไมมกี ารเปลี่ยนแปลงของปากมดลกู

ผลกระทบตอทารก

ปอด พบปญ หาเรอื่ งการขาดสารลดแรงตงึ ผิว (Surfactant) ไดในทารกคลอดกอ นกําหนด ทําใหถงุ ลมแฟบ ทารกจะมอี าการหายใจหอบและอาจตอ งใช
เครอื่ งชวยหายใจ
หัวใจ อาจมปี ญ หาจากการท่เี สน เลือดทเ่ี ชอ่ื มตอ ระหวา งเสนเลอื ดแดงใหญท ่อี อกจากหัวใจเพอื่ ไปเลย้ี งรา งกายกบั เสนเลือดทไ่ี ปสปู อดยังเปด อยู (PDA)
ทาํ ใหม ีเลือดผา นไปสปู อดมากเปน ผลทําใหทารกหายใจหอบและเกิดภาวะหวั ใจลม เหลวได
สมอง ทารกน้ําหนกั นอ ยกวา 1,500 กรัม มคี วามเส่ยี งทีจ่ ะมเี ลือดออกในสมองได เน่อื งจากเสนเลือดเปราะแตกงา ย
ลําไส มคี วามเปราะบางมากกวาปกติ การยอ ยและการดูดซมึ อาหารยงั ไมดนี กั ทาํ ใหตอ งใหน มทลี ะนอ ย ๆ และอาจตองใหสารอาหารทางหลอดเลอื ด
ดํารวมดวย
ดวงตา จอประสาทตายังพฒั นาไมส มบรู ณ หลังเกดิ อาจมกี ารพฒั นาของเสน เลือดจอประสาทตาผิดปกติ ซ่งึ ถาเปน รุนแรงอาจสงผลตอ การมองเหน็
ของทารกได
หู มีโอกาสเส่ียงที่จะมีความบกพรองของการไดย นิ โดยเฉพาะทารกท่ีมปี ญ หาหลาย ๆ อยา ง
การติดเช้ือ ทารกทคี่ ลอดกอนกําหนดมักตดิ เชอื้ ไดงา ย เนื่องจากระบบภมู คิ ุม กนั ทาํ งานไดไ มเตม็ ท่ี

ปจ จยั ทที่ ําใหเ กิดการเจ็บครรภค ลอดกอ นกําหนด

※ มีประวตั ิการคลอดกอ นกําหนด ※ มีประวัติการแทง ลูก

※ ตงั้ ครรภแฝดหรอื มจี าํ นวนบตุ รในครรภม ากกวา 1 คน ※ ต้งั ครรภตอนอายุตาํ่ กวา 18 ปห รือมากกวา 40 ป

※ มีปญ หาเก่ยี วกบั มดลกู หรือปากมดลูกมรี ูปรางผิดปกติ ※ มคี วามผดิ ปกตใิ นนํา้ คราํ่ เชน มีนํ้าคร่ํามากเกินไป

※ มภี าวะแทรกซอ นระหวางตั้งครรภ เชน ครรภเ ปนพษิ ※ มเี ลอื ดออกท่ชี อ งคลอดระหวางตัง้ ครรภ

※ มคี วามพิการเกดิ ขนึ้ กับทารกในครรภ ※ ฝากครรภนอยเกินไปหรือไมเ คยฝากครรภ

※ ระยะการต้งั ครรภจ ากบตุ รคนที่ผานมานอ ยกวา 6 เดือน

※ มีการตดิ เชื้อ เชน การติดเชือ้ มะเรง็ ปากมดลูก การตดิ เชื้อสเตรปโตคอคคัสกรุปบี (Group B Streptococci)

การติดเช้อื ทรโิ คโมแนส หรอื ชองคลอดอกั เสบจากเชอื้ พยาธิ รวมถึงการตดิ เช้ือจากโรคตดิ ตอทางเพศสัมพนั ธ

เชน หนองในแท หนองในเทียม ซฟิ ล ิส

ยาท่ีแพทยใชในการรักษาคร้ังนี้ ผลขางเคียงของยา และอาการผิดปกติ
ท่ีตองสังเกต

ยา Nifedipine 5 mg 2 tabs รับประทานยาทุก 15 นาที 4 ครั้ง

ขอบงหาม
ความดันโลหิตต่าํ กวา 90/60 mmHg

โรคหวั ใจ
การทาํ งานของตับบกพรอ ง
ไดร ับยาลดความดนั โลหิตตวั อื่นรวมดว ย หรอื ระมดั ระวังใน

กรณไี ดรบั ยา MgSO4

Terbutaline (Bricanyl) (0.5 mg/amp)

หามใชยาในกรณีดังตอไปนี้
1. สตรตี ั้งครรภท มี่ ีโรคหวั ใจ (structural heart disease, cardiac
ischemia, dysrhythmia)
2. Hyperthyroidism
3. เบาหวานที่ควบคุมไมไ ดดี
4. ความดนั โลหิตสงู ทค่ี วบคมุ ไมไ ดด ี
5. Severe hypovolemia
6. ครรภแ ฝดหรอื ครรภแ ฝดน้าํ

มือส่ัน (tremors), ใจสนั่ (palpitations), ปวดศีรษะ, นา้ํ ทวมปอด (pulmonary edema), ชพี จรเตนเร็ว
(tachycardia), หัวใจเตน ผดิ จังหวะ (arrhythmia), ความดันโลหติ ตํ่า (hypotension), metabolic problems เชน
hyperinsulinemia, hyperlacticemia, hypocalcemia

หัวใจเตนเร็ว (tachycardia), นา้ํ ตาลในเลือดสงู ในครรภ (hyperglycemia) และน้ําตาลในเลือดตํา่ หลงั คลอด
(hypoglycemia), ความดันโลหติ ตาํ่ หลงั คลอด (hypotension)

Magnesium sulfate (แมกนีเซียมซัลเฟต)

นยิ มให Magnesium sulfate ในกลมุ สตรตี ั้งครรภท ม่ี ภี าวะเจ็บครรภค ลอดกอนกาํ หนดท่ีปาก
มดลูกไมเปด ที่มอี ายุครรภอยูใ นชว ง 24 ถึง 28 สัปดาห (หรอื 23 ถงึ 32 สปั ดาห) เพือ่ หวัง
ผลในการปอ งกนั ภาวะ cerebral palsy (neuroprotective effect) โดยใหย าในขนาด 4 gm
loading dose และตามดว ย 2 gm/hour infusion นานอยางนอย 12 ช่ัวโมง

ขอบงหาม อาการขางเคียง
ผูป วยโรค myasthenia อาการขางเคียงในแม : รอนวูบวาบ (flushing), ปวดศีรษะ,
กลามเน้อื ออ นแรง (muscle weakness), คลืน่ ไสอาเจยี น,
gravis pulmonary edema, ความดันโลหติ ตํา่
ผปู วยโรคหวั ใจ อาการขางเคียงในลูก : เซอ่ื งซึมและออนแรง (hypotonia),
ผปู วยทีม่ ีการทาํ งานของ อาจกดการหายใจของทารก (respiratory depression),
APGAR scores ตา่ํ ตอนคลอด, ความดันโลหิตตํ่า
ไตผิดปกติ

Dexamethazone

เปนยากระตุนความสมบูรณของปอดทารก การบริหารยา dexamethasone 6 mg ฉีด
เขากลามเนื้อสะโพกทุก 12 ช่ัวโมง 4 ครั้ง

ผลขางเคียงจากการใชยา Dexamethasone ท่ีพบบอยไดแก
① มอี าการบวมทีม่ อื หรือขอเทา

❷ นอนไมห ลับ อารมณแปรปรวน
③ สิวข้นึ ผิวแหง ผิวหนังบางลง ชาํ้ หรือสผี ิวเปลีย่ นแปลง

❹ แผลหายชา
⑤ มเี หงื่อออกมากข้ึน หรือผมยาวเรว็
❻ ปวดศรี ษะ เวียนศีรษะ รูสกึ วาตนเองหรอื สงิ่ แวดลอ มหมุน

⑦ คลน่ื ไส ปวดทอ ง ทองอืด
❽ กลามเน้อื ออ นแรง

⑨ มกี ารเปลยี่ นแปลงของรูปรางหรือตาํ แหนง ของไขมันในรางกาย โดย
เฉพาะท่ีแขน ขา ใบหนา คอ หนา อก หรอื เอว

สภาพแวดลอมของบาน

 แนะนาํ การจัดส่ิงแวดลอมใหเ หมาะสมเพื่อการพักผอ นอยางเพยี งพอ
 แนะนําจัดส่ิงแวดลอมใหเปน ระเบยี บ สงบ ไมม แี สงและสยี งรบกวน

 เปด ประตู หนา ตาง เพอื่ ใหอากาศถา ยเทสะดวก
 จัดบริเวณบา นใหป ลอดภยั ระวงั อุบตั เิ หตุทอี่ าจเกดิ ข้นึ ได มีการกําจดั ขยะทีถ่ กู วธิ ี

 ประเมินความพรอมของครอบครวั และผดู แู ล และแหลง ประโยชนที่ใหความ
ชวยเหลอื เมื่อเกดิ เหตฉุ กุ เฉิน

 แนะนําหากเบอรโทรศพั ทหองคลอดโรงพยาบาลพทุ ธชนิ ราช ไดแก
055-270300 ตอ 16111-2 หรอื หากเกิดภาวะฉุกเฉนิ โทร 1669

สง่ิ ทต่ี องรู

เอามือจับทยี่ อดมดลูกวา มีแรงมาตานที่ฝา มือหรอื ไม ถา มที องแขง็ สม่าํ เสมอ
4 ครั้งใน 20 นาที หรอื 8 ครั้ง ใน 1 ชัว่ โมง

มีนํา้ ใสๆไหลออกจากชอ งคลอด มีมูกปนเลือด หรือมเี ลือดสดๆออกทางชอ งคลอด
ลูกดิน้ นอ ยลง

ใหน ับชวงเวลาสะดวกหรอื วาง และนับชวงเวลาเดยี วกนั ทกุ วนั ซ่ึงวธิ กี ารนบั จะใหจ าํ นวนลูกด้ิน 10 คร้ังเปนหลัก
จะไมเ จาะจงเวลา

นบั ลกู ดิ้นเปนเวลา 1 ชวั่ โมงหลงั อาหารเชา กลางวนั และเยน็ ถา ดนิ้ รวมกนั มากกวา 10 ครงั้ ถอื วาดิ้นปกติ

การถบี การเตะ กระทงุ โกงตัว หมุนตวั

ส่งิ ทีต่ อ งปฏบิ ตั ิ

วางแผนปรับเปลี่ยนกิจกรรมใหมีความเหมาะสม

งดทํางานหนกั หลีกเลยี่ งการยกของหนัก ไมค วรทาํ งานหนกั หรือเดนิ
ขน้ึ ลงบันไดสูงๆ หรือทาํ งานตดิ ตอกันเปน เวลานานๆ เพราะจะทําให
เหน่ือยลา และเกิดความเครียด
นอนตะแคง เพ่อื ลดแรงดันตอปากมดลูกไมใ หเปด ขยาย ลดการกดทับ
เสนเลอื ดแดงใหญในชอ งทอง รวมท้งั ชวยลดการหดรดั ตัวของมดลกู
งดการมเี พศสัมพนั ธ

มาตรวจตามนัด

อาหารการกิน

โปรตีนสูงเชน นม ไข เนื้อสัตว ผักผลไม ใหเ หมาะสมเพือ่ สง เสรมิ สขุ ภาพของมารดาและทารกในครรภ

• เพือ่ ใหเน้ือเยอื่ เด็กเตบิ โต
• ชวยใหมดลกู และเตา นมเจริญเตบิ โต
• เพ่อื เพ่ิมปริมาณเลอื ด
• เพื่อใหรกเจริญเตบิ โต
• เพื่อใหส มองเด็กเจรญิ เตบิ โต

ดื่มนํ้ามากกวา วนั ละ 8 แกว

• ชว ยสรางนา้ํ ในเซลลเด็ก
• ชวยในการขับของเสยี
• เพม่ิ ปริมาณนา้ํ ในเลือด
• ทําใหผวิ ชมุ ชืน้
• เปนตวั พาอาหารใหเ ดก็
• ลดการติดเช้อื ของทางเดนิ ปสสาวะ

อาหารทคี่ นทอ งหามกิน

อาหารทีย่ งั ปรงุ ไมสกุ
อาหารหมกั ดอง

อาหารเสริมและวิตามินทกุ ชนิด
อาหารรสจดั

ผลไมห รอื ขนมรสหวานจัด
อาหารแชแข็ง อาหารกระปอง
เครื่องดืม่ ทีม่ แี อลกอฮอล

เคร่ืองด่ืมที่มีคาเฟอนี




Click to View FlipBook Version