The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Sarawut Buajan, 2020-02-20 01:18:28

อี2

อี2

ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา

สารบญั

1. ภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา
2. ความรู้ทว่ั ไปเกย่ี วกบั การเสียภาษี
3. ใครมหี น้าทเ่ี สียภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา
4. เงนิ ได้พงึ ประเมนิ ทีไ่ ด้รับการยกเว้น
5. ข้นั ตอนการชาระภาษีของผ้มู เี งินได้
6. เงนิ ได้อะไรบ้างทต่ี ้องเสียภาษี
7. ผู้ทต่ี ้องยื่นแบบฯ เสียภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา

8. การคานวณภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา
9. ข้ันตอนการชาระภาษี
10. เงื่อนไขการใช้บริการยื่นแบบ ภ.ง.ด. 90 ภ.ง.ด. 91
11. ย่ืนแบบแสดงรายการได้ทไี่ หน
12. การชาระภาษีด้วยวธิ ีใดบ้าง
13. ชาระเป็ น เช็คทช่ี าระต้องเป็ นเช็ค 4 ประเภทได้แก่
14.หากยื่นแบบแล้วมภี าษีต้องชาระจะขอผ่อนชาระภาษีได้หรือไม่
15.ถ้าไม่ชาระในกาหนดเวลาหรือชาระไม่ถูกต้องจะมคี วามรับผดิ อย่างไรบ้าง?
16.อตั ราภาษีรายได้บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา

ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา..... คือ ภาษีท่ีจดั เกบ็ จากบุคคลทวั่ ไป หรือจากหน่วยภาษีที่มีลกั ษณะ
พเิ ศษ ตามที่กฎหมายกาหนดและมีรายไดเ้ กิดข้ึนตามเกณฑท์ ี่กาหนด โดยปกติจดั เกบ็ เป็นรายปี
รายไดท้ ี่เกิดข้ึนในปี ใดๆ ผมู้ ีรายไดม้ ีหนา้ ที่ตอ้ งนาไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดง
รายการภาษีท่ีกาหนดภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคมของปี ถดั ไป

สาหรับผมู้ ีเงินไดบ้ างกรณีกฎหมายยงั กาหนดใหย้ นื่ แบบฯ เสียภาษีตอนคร่ึงปี สาหรับ
รายได้ ที่เกิดข้ึนจริงในช่วงคร่ึงปี แรก เพอ่ื เป็นการบรรเทาภาระภาษีที่ตอ้ งชาระและเงิน
ไดบ้ างกรณี กฎหมายกาหนดให้ ผจู้ ่ายทาหนา้ ที่หกั ภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินไดท้ ี่จ่ายบางส่วน
เพื่อใหม้ ีการทยอยชาระภาษีขณะท่ีมีเงินไดเ้ กิดข้ึนอีกดว้ ย

กลบั ไปหนา้ แรก

ความรู้ท่วั ไปเกยี่ วกับการเสียภาษี

• ความหมายของภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา

ภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา คือ ภาษีที่จดั เกบ็ จากบุคคลทวั่ ไป หรือจากหน่วยภาษีท่ีมีลกั ษณะพิเศษ ตามท่ี
กฎหมายกาหนดและมี รายไดเ้ กิดข้ึนตามเกณฑท์ ่ีกาหนด โดยปกติจดั เกบ็ เป็นรายปี รายไดท้ ี่เกิดข้ึนในปี ใดๆ ผู้
มีรายไดม้ ีหนา้ ท่ีตอ้ งนาไปแสดงรายการตนเองตามแบบแสดงรายการภาษีที่กาหนดภายในเดือนมกราคมถึงมีนาคม
ของปี ถดั ไป สาหรับผมู้ ีเงินไดบ้ างกรณีกฎหมายยงั กาหนดใหย้ น่ื แบบเสียภาษีตอนคร่ึงปี สาหรับรายไดท้ ี่เกิดข้ึนจริง
ในช่วงคร่ึงปี แรก เพอื่ เป็นการบรรเทาภาระภาษีท่ีตอ้ งชาระและเงินไดบ้ างกรณี กฎหมายกาหนดใหผ้ จู้ ่ายทาหนา้ ที่
หกั ภาษี ณ ที่จ่ายจากเงินไดท้ ี่จ่ายบางส่วน เพอื่ ใหม้ ีการทยอยชาระภาษีขณะท่ีมีเงินไดเ้ กิดข้ึนอีกดว้ ย

กลบั ไปหนา้ แรก

ใครมหี น้าทเี่ สียภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา

ผมู้ ีหนา้ ที่เสียภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา ไดแ้ ก่ ผทู้ ่ีมีเงินไดเ้ กิดข้ึนระหวา่ งปี ท่ีผา่ นมาโดยมีสถานะ อยา่ งหน่ึงอยา่ งใด ดงั น้ี

1) บุคคลธรรมดา
2) หา้ งหุน้ ส่วนสามญั หรือคณะบุคคลท่ีมิใช่นิติบุคคล
3) ผถู้ ึงแก่ความตายระหวา่ งปี ภาษี
4) กองมรดกท่ียงั ไม่ไดแ้ บ่ง
5) วสิ าหกิจชุมชน ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยการส่งเสริมวสิ าหกิจชุมชน เฉพาะท่ีเป็นหา้ งหุน้ ส่วนสามญั

หรือคณะบุคคลท่ีมิใช่นิติบุคคล

กลบั ไปหนา้ แรก

เงนิ ไดพ้ งึ ประเมนิ ทไ่ี ดร้ ับการยกเว้น

• เงินไดพ้ งึ ประเมินที่ไดร้ ับการยกเวน้ ไม่ตอ้ งนามารวมคานวณเพือ่ เสียภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดาน้นั

บญั ญตั ิไวใ้ นมาตรา 42 แห่งประมวลรัษฎากร และกฎกระทรวงฉบบั ที่ 126 (พ.ศ. 2509) ซ่ึง
ไดม้ ีการแกไ้ ขเพม่ิ เติมอีกหลายคร้ัง โดยกฎกระทรวงท่ีออกมาในภายหลงั เงินไดพ้ งึ ประเมินที่
ไดร้ ับยกเวน้ ท่ีสาคญั ๆน้นั สามารถยกตวั อยา่ งไดด้ งั ตอ่ ไปน้ี

กลบั ไปหนา้ แรก

• 1.คา่ เบ้ียเล้ียงหรือค่าพาหนะ ซ่ึงลูกจา้ งไดจ้ ่ายไปโดยสุจริต ตามความจาเป็นเฉพาะในการที่ตอ้ งปฏิบตั ิตาม

หนา้ ที่ของตน และไดจ้ ่ายท้งั หมดในการน้นั

• 2.ค่าพาหนะและเบ้ียเล้ียงเดินทาง ตามอตั ราท่ีรัฐบาลกาหนดไวโ้ ดยพระราชกฤษฎีกาวา่ ดว้ ยอตั ราค่า

พาหนะและค่าเบ้ียเล้ียงเดินทาง

• 3.เงินค่าเดินทางซ่ึงนายจา้ งจ่ายใหล้ ูกจา้ ง เฉพาะส่วนท่ีลูกจา้ งไดจ้ ่ายท้งั หมด โดยจาเป็น เพอ่ื การเดินทาง

จากต่างถ่ินในการเขา้ รับงานเป็นคร้ังแรก หรือในการกลบั ถิ่นเดิมเมื่อการจา้ งได้ สิ้นสุดลงแลว้ แต่
ขอ้ ยกเวน้ น้ี มิใหร้ วมถึงเงินค่าเดินทางที่ลูกจา้ งไดร้ ับในการกลบั ถ่ินเดิม และในการเขา้ รับงานของนายจา้ ง
เดิมภายในสามร้อยหกสิบหา้ วนั นบั แตว่ นั ท่ีการจา้ งคร้ังก่อนไดส้ ิ้นสุดลง

• 4.การขายสังหาริมทรัพยอ์ นั เป็นมรดก หรือสังหาริมทรัพยท์ ี่ไดม้ าโดยมิไดม้ ุ่งในทางการคา้ หรือหากาไร

แต่ไม่รวมถุงเรือกาป่ัน เรือท่ีมีระวางต้งั แต่หกตนั ข้ึนไป เรือกลไฟ หรือเรือยนตท์ ่ีมีระวางต้งั แตห่ า้ ตนั ข้ึน
ไป หรือแพ

กลบั ไปหนา้ แรก

• 5.เงินไดท้ ่ีไดร้ ับจากการอุปการะโดยหนา้ ท่ีธรรมจรรยา เงินไดท้ ่ีไดร้ ับจากการรับมรดก หรือจากการให้

โดยเสน่หา เน่ืองในพธิ ีหรือตามโอกาสแห่งขนบธรรมเนียมประเพณี

• 6.เงินส่วนแบ่งของกาไรจากหา้ งหุน้ ส่วนสามญั หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคล ซ่ึงตอ้ งเสียภาษีตาม

บทบญั ญตั ิในส่วนน้ี แตไ่ ม่รวมถึงเงินส่วนแบ่งของกาไรจากกองทุนรวม

• 7.เงินไดจ้ ากการโอนกรรมสิทธ์ิ หรือสิทธิครอบครองในอสังหาริมทรัพย์ ใหแ้ ก่บุตรโดยชอบดว้ ยกฎหมาย

ของตนโดยไม่มีคา่ ตอบแทนบุตรโดยชอบดว้ ยกฎหมายดงั กล่าวไม่รวมถึงบุตรบุญธรรมดว้ ย

• 8.เงินไดจ้ ากการขายอสังหาริมทรัพย์ อนั เป็นมรดกหรือสงั หาริมทรัพยท์ ่ีไดร้ ับจากการให้โดยเสน่หา ที่ต้งั

อยนู่ อกเขตกรุงเทพมหานคร เทศบาล สุขาภิบาล หรือเมืองพทั ยา หรือการปกครองทอ้ งถิ่นอื่นทม่ี ีกฎหมาย
จดั ต้งั ข้ึนโดยเฉพาะ ท้งั น้ี เฉพาะเงินไดจ้ ากการขายในส่วนที่ไม่เกิน 200,000 บาท ตลอดปี ภาษีน้นั

กลบั ไปหนา้ แรก

• 9.เงินได้ เท่าที่ลูกจา้ งจ่ายเป็นเงินสะสมเขา้ กองทุนสารองเล้ียงชีพ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุนสารองเล้ียงชีพ

ในอตั ราไม่เกินร้อยละ15 ของคา่ จา้ งเฉพาะส่วนท่ีเกิน 10,000 บาท แต่ไม่เกิน 290,000 บาท สาหรับปี
ภาษีน้นั

• 10.เงินหรือผลประโยชน์ใดๆ ท่ีลูกจา้ งไดร้ ับจากกองทุนสารองเล้ียงชีพ ตามกฎหมายวา่ ดว้ ยกองทุนสารอง

เล้ียงชีพ เม่ือลูกจา้ งออกจากงานเพราะเกษียณอายทุ ุพพลภาพหรือตาย ท้งั น้ี ตามหลกั เกณฑ์ เง่ือนไขและวธิ ีการ
ที่อธิบดีกรมสรรพากรกาหนด เป็นตน้

กลบั ไปหนา้ แรก

ขัน้ ตอนการชาระภาษขี องผู้มเี งนิ ได้

• เมื่อมีเงินไดเ้ กิดข้ึนจะตอ้ งปฏิบตั ิดงั น้ี
• 1. ขอมีเลขและบตั รประจาตวั ผเู้ สียภาษี ภายใน 60 วนั นบั แตว่ นั ที่มีเงินไดเ้ กิดข้ึน กรณีเป็นผมู้ ีเงิน

ไดท้ ่ีไม่มีเลขประจาตวั ประชาชน ไดแ้ ก่ เป็นคนตา่ งดา้ วหรือกองมรดกท่ียงั ไม่ไดแ้ บ่ง เวน้ แตผ่ มู้ ีเงิน
ไดท้ ี่มีเลขประจาตวั ประชาชน สามารถใชเ้ ลขประจาตวั ประชาชนแทนเลขประจาตวั ผเู้ สียภาษีอากร
ได้ โดยไม่ตอ้ งขอมีเลขประจาตวั ผเู้ สียภาษีอากรอีก

กลบั ไปหนา้ แรก

• 2. ผมู้ ีเงินไดท้ ่ีมีภูมิลาเนาอยใู่ นกรุงเทพมหานครอาจยน่ื คาร้อง ณ สานกั งานสรรพากรพ้นื ทกรุงเทพมหานคร

ท้งั 30 แห่งหรือสานกั สรรพากรพ้ืนท่ีสาขา (อาเภอ) ทุกแห่ง สาหรับในตา่ งจงั หวดั ยนื่ คาขอไดท้ ่ีสานกั งาน
สรรพากรพ้ืนท่ี (จงั หวดั ) และสานกั งานสรรพากรพ้นื ที่สาขา (อาเภอ) ทุกแห่ง แลว้ แต่กรณี

กลบั ไปหนา้ แรก

ข้นั ตอนการชาระภาษีของผมู้ ีเงินได้

• เม่ือมีเงินไดเ้ กิดข้ึนจะตอ้ งปฏิบตั ิดงั น้ี

• 1. ขอมีเลขและบตั รประจาตวั ผเู้ สียภาษี ภายใน 60 วนั นบั แต่วนั ท่ีมีเงินไดเ้ กิดข้ึน กรณีเป็นผมู้ ีเงินไดท้ ่ีไม่

มีเลขประจาตวั ประชาชน ไดแ้ ก่ เป็นคนต่างดา้ วหรือกองมรดกที่ยงั ไม่ไดแ้ บ่ง เวน้ แตผ่ มู้ ีเงินไดท้ ี่มีเลข
ประจาตวั ประชาชน สามารถใชเ้ ลขประจาตวั ประชาชนแทนเลขประจาตวั ผเู้ สียภาษีอากรได้ โดยไม่ตอ้ ง
ขอมีเลขประจาตวั ผเู้ สียภาษีอากรอีก

กลบั ไปหนา้ แรก

• 2. ผมู้ ีเงินไดท้ ่ีมีภูมิลาเนาอยใู่ นกรุงเทพมหานครอาจยน่ื คาร้อง ณ สานกั งานสรรพากรพ้ืนทกรุงเทพมหา

นครท้งั 30 แห่งหรือสานกั สรรพากรพ้ืนท่ีสาขา (อาเภอ) ทุกแห่ง สาหรับในต่างจงั หวดั ยนื่ คาขอไดท้ ี่
สานกั งานสรรพากรพ้ืนท่ี (จงั หวดั ) และสานกั งานสรรพากรพ้นื ท่ีสาขา (อาเภอ) ทุกแห่ง แลว้ แต่กรณี

กลบั ไปหนา้ แรก

เงินไดอ้ ะไรบา้ งที่ตอ้ งเสียภาษี

ตามกฎหมาย เงินไดท้ ี่ตอ้ งเสียภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา เรียกวา่ "เงนิ ได้พงึ ประเมนิ " หมายถึง เงินไดข้ องบคุ คลใดๆ หรือหน่วยภาษี
ใดขา้ งตน้ ท่ีเกิดข้ึนระหวา่ งวนั ที่ 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคม ของปี ใดๆ หรือเงินได้ ที่เกิดข้ึนในปี ภาษี ไดแ้ ก่

1 เงิน

2 ทรัพยส์ ินซ่ึงอาจคิดคานวณไดเ้ ป็นเงิน ที่ไดร้ ับจริง ท่ีไดร้ ับจริง(เกณฑเ์ งินสด)
3 ประโยชนซ์ ่ึงอาจคิดคานวณไดเ้ ป็นเงิน

4 เงินคา่ ภาษีอากรท่ีผจู้ ่ายเงินหรือผอู้ ่ืนออกแทนให้

5 เครดิตภาษีตามท่ีกฎหมายกาหนด

กลบั ไปหนา้ แรก

ผู้ทตี่ ้องยน่ื แบบฯ เสียภาษีเงนิ ได้บุคคลธรรมดา

• ที่มีเงินไดเ้ กิดข้ึนระหวา่ งปี ภาษีจะมีหนา้ ท่ีตอ้ งยนื่ แบบฯ กต็ ่อเม่ือมีเงินไดถ้ ึงเกณฑข์ ้นั ต่าตามที่

กฎหมายกาหนด ไม่วา่ เม่ือคานวณภาษีแลว้ จะมีภาษีตอ้ งชาระเพ่มิ เติมหรือไม่กต็ าม ดงั น้ี

• 1. ผมู้ ีเงินไดจ้ ากการจา้ งแรงงานประเภทเงินเดือน ค่าจา้ งท่ีไดร้ ับในปี ภาษีน้นั

(ต้งั แต่ 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคม) - กรณีไม่มีคู่สมรสตอ้ งมีเงินไดพ้ ึงประเมินเกิน
50,000 บาท - กรณี ที่มีคู่สมรสไม่วา่ ฝ่ ายเดียว หรือท้งั สองฝ่ ายตอ้ งมีเงินไดพ้ ึงประเมิน
รวมกนั เกิน 100,000 บาท

กลบั ไปหนา้ แรก

• 2. ผมู้ ีเงินไดจ้ ากการทาธุรกิจการคา้ ทว่ั ไปที่มิใช่เกิดจากการจา้ งแรงงานท่ีไดร้ ับในปี ภาษีน้นั

(ต้งั แต่ 1 มกราคม ถึง 31 ธนั วาคม)
- กรณีไม่มีคูส่ มรสตอ้ งมีเงินไดพ้ ึงประเมินเกิน 30,000 บาท
- กรณีมีคู่สมรสไม่วา่ ฝ่ ายเดียวหรือท้งั สองฝ่ ายตอ้ งมีเงินไดพ้ ึงประเมินรวมกนั
เกิน 60,000 บาท

• 3. กองมรดกของผตู้ ายท่ียงั ไม่แบ่งเกิน 30,000 บาท
• 4. หา้ งหุน้ ส่วนสามญั หรือคณะบุคคลที่มิใช่นิติบุคคลเกิน 30,000 บาท

กลบั ไปหนา้ แรก

การคานวณภาษีเงนิ ไดบ้ ุคคลธรรมดา

• เนื่องจากผเู้ งินไดป้ ระกอบอาชีพแตกต่างกนั มีความยากง่ายหรือตน้ ทุนท่ีแตกต่างกนั เพ่อื ความเป็น

ธรรม ในกฎหมายจึงไดแ้ บ่งลกั ษณะเงินได้ (พงึ ประเมิน) ออกเป็นกลุม่ ๆ ตามความเหมาะสมเพอื่
กาหนดวธิ ีคานวณภาษีใหเ้ กิดความเป็นธรรมมากท่ีสุด ดงั น้ี
• 1. เงินไดป้ ระเภทที่ 1 ไดแ้ ก่ เงินไดเ้ นื่องจากการจา้ งแรงงานไม่วา่ จะเป็น

- เงินเดือน คา่ จา้ ง เบ้ียเล้ียง โบนสั เบ้ียหวดั บาเหน็จ บานาญ
- เงินคา่ เช่าบา้ นท่ีไดร้ ับจากนายจา้ ง - เงินท่ีคานวณไดจ้ ากมูลค่าของการไดอ้ ยบู่ า้ น

กลบั ไปหนา้ แรก

ซ่ึงนายจา้ งใหอ้ ยโู่ ดยไม่เสียค่าเช่า – เงินท่ีนายจา้ งจ่ายชาระหน้ีใดๆ ซ่ึงลูกจา้ งมีหนา้ ท่ีตอ้ งชาระ

- เงิน ทรัพยส์ ินหรือประโยชน์ใดๆ บรรดาท่ีไดเ้ น่ืองจากการจา้ งแรงงาน เช่น มูลค่าของการ ไดร้ ับประทาน
อาหาร เป็นตน้

• 2. เงินไดป้ ระเภทที่ 2 ไดแ้ ก่ เงินไดเ้ นื่องจากหนา้ ท่ีหรือตาแหน่งงานที่ทาหรือจากการรับทางานใหไ้ ม่วา่ จะเป็น

– ค่าธรรมเนียมค่านายหนา้ ค่าส่วนลด
– เงินอุดหนุนในงานท่ีทาเบ้ียประชุม บาเหน็จโบนสั
– เงินค่าเช่าบา้ นที่ไดร้ ับเน่ืองจากหนา้ ที่หรือตาแหน่งงานท่ีทา หรือจากการรับทางานให้
– เงินท่ีคานวณไดจ้ ากมูลค่าของการไดอ้ ยบู่ า้ น ท่ีผจู้ ่ายเงินไดใ้ หอ้ ยโู่ ดยไม่เสียค่า เช่า
– เงินท่ีผจู้ ่ายเงินไดจ้ ่ายชาระหน้ีใดๆ ซ่ึงผมู้ ีเงินไดม้ ีหนา้ ที่ตอ้ งชาระ
–เงิน ทรัพยส์ ิน หรือประโยชน์ใดๆ บรรดาที่ไดเ้ นื่องจากหนา้ ท่ีหรือตาแหน่งงานที่ทาหรือจากการรับทางาน

ใหน้ ้นั ไม่วา่ หนา้ ที่หรือตาแหน่งงานหรืองานที่รับทาใหน้ ้นั จะเป็น การประจาหรือชว่ั คราว

กลบั ไปหนา้ แรก

• 3. เงินไดป้ ระเภทที่ 3 ไดแ้ ก่ คา่ แห่งก๊ดู วิลล์ คา่ แห่งลิขสิทธ์ิหรือสิทธิอยา่ งอ่ืน เงินปี หรือเงินไดท้ ่ีมี ลกั ษณะเป็น

เงินรายปี อนั ไดม้ าจากพนิ ยั กรรม นิติกรรมอยา่ งอ่ืน หรือคาพิพากษาของศาล

• 4. เงินไดป้ ระเภทที่ 4 ไดแ้ ก่ ดอกเบ้ีย เงินปันผล เงินส่วนแบ่งกาไร เงินลดทุน เงินเพม่ิ ทุน ผลประโยชนท์ ี่ไดจ้ าก

การโอนหุน้ ฯลฯ เป็นตน้
(ก) ดอกเบ้ียพนั ธบตั ร ดอกเบ้ียเงินฝาก ดอกเบ้ียหุน้ กู้ ดอกเบ้ียตว๋ั เงิน ดอกเบ้ีย เงินกยู้ มื ไม่วา่ จะมี

หลกั ประกนั หรือไม่ ดอกเบ้ียเงินกยู้ มื ท่ีอยใู่ นบงั คบั ตอ้ งถูกหกั ภาษีไว้ ณ ที่จ่าย ตามกฎหมาย วา่ ดว้ ยภาษี
เงินไดป้ ิ โตรเลียมเฉพาะส่วนท่ีเหลือจากถูกหกั ภาษีไว้ ณ ที่จ่ายตามกฎหมายดงั กล่าว หรือผลต่างระหวา่ ง
ราคาไถ่ถอน กบั ราคาจาหน่ายตวั๋ เงินหรือตราสารแสดงสิทธิในหน้ีที่บริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติ บุคคล หรือนิติ
บุคคลอื่น เป็นผอู้ อกและจาหน่ายคร้ังแรกในราคาต่ากวา่ ราคาไถ่ถอน รวมท้งั เงินไดท้ ่ีมีลกั ษณะ ทานอง
เดียวกนั กบั ดอกเบ้ีย ผลประโยชนห์ รือค่าตอบแทนอื่นๆ ที่ไดจ้ ากการใหก้ ยู้ มื หรือจากสิทธิเรียกร้องในหน้ีทุก
ชนิดไม่วา่ จะมีหลกั ประกนั หรือไม่กต็ าม

กลบั ไปหนา้ แรก

(ข) เงินปันผล เงินส่วนแบ่งของกาไร หรือประโยชนอ์ ื่นใดที่ไดจ้ ากบั ริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วน นิติบุคคล กองทุน
รวม หรือสถาบนั การเงินที่มีกฎหมายไทยใหจ้ ดั ต้งั ข้ึนโดยเฉพาะสาหรับใหก้ ยู้ มื เงิน ฯลฯ

(ค) เงินโบนสั ที่จ่ายแก่ผถู้ ือหุน้ หรือผเู้ ป็นหุน้ ส่วนในบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล
(ง) เงินลดทุนของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลเฉพาะส่วนที่จ่ายไม่เกินกวา่ กาไรและเงินที่กนั ไวร้ วมกนั
(จ) เงินเพิม่ ทุนของบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลซ่ึงต้งั จากกาไรท่ีไดม้ าหรือรับช่วงกนั ไวร้ วมกนั
(ฉ) ผลประโยชน์ที่ไดจ้ ากการท่ีบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคลควบเขา้ กนั หรือรับช่วงกนั หรือเลิกกนั ซ่ึงตี

ราคาเป็นเงินไดเ้ กินกวา่ เงินทุน
(ช) ผลประโยชน์ท่ีไดจ้ ากการโอนการเป็นหุน้ ส่วนหรือโอนหุน้ หุน้ กู้ พนั ธบตั ร หรือตวั๋ เงินหรือตราสารแสดง

สิทธิในหน้ีท่ีบริษทั หรือหา้ งหุน้ ส่วนนิติบุคคล หรือนิติบุคคลอ่ืนเป็นผอู้ อก ท้งั น้ีเฉพาะซ่ึงตีราคาเป็นเงิน
ไดเ้ กินกวา่ ท่ีลงทุน เงินไดป้ ระเภทที่ 4 ในหลายๆกรณี กฎหมายใหส้ ิทธิที่จะเลือกเสียภาษีโดยวิธีหกั ภาษี ณ
ที่จ่ายแทนการนาไปรวมคานวณกบั เงินไดอ้ ื่นๆ ตามหลกั ทวั่ ไปซ่ึงจะทาใหผ้ มู้ ีเงินไดท้ ี่ตอ้ งเสียภาษีตาม
บญั ชีอตั ราภาษี ใน อตั ราท่ีสูงกวา่ อตั ราภาษี หกั ณ ท่ีจ่าย สามารถประหยดั ภาษีได้

กลบั ไปหนา้ แรก

• 5. เงินไดป้ ระเภทที่ 5 เงินไดจ้ ากการใหเ้ ช่าทรัพยส์ ิน เงินหรือประโยชน์อยา่ งอ่ืนที่ไดเ้ นื่องจาก

- การใหเ้ ช่าทรัพยส์ ิน

- การผดิ สัญญาเช่าซ้ือทรัพยส์ ิน
- การผิดสัญญาซ้ือขายเงินผ่อนซ่ึงผูข้ ายได้รับคืนทรัพยส์ ินท่ีซ้ือขายน้ันโดยไม่ต้องคืนเงินหรือ
ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับไวแ้ ลว้

• 6. เงินไดป้ ระเภทที่ 6 ไดแ้ ก่ เงินไดจ้ ากวชิ าชีพอิสระคือวชิ ากฎหมาย การประกอบโรคศิลปะวิศวกรรม

สถาปัตยกรรม การ บญั ชี ประณีตศิลปกรรม หรือวิชาชีพอ่ืนซ่ึงจะไดม้ ี พระราชกฤษฎีกากาหนดชนิด
ไว้

• 7.เงินไดป้ ระเภทที่ 7ไดแ้ ก่ เงินไดจ้ ากการรับเหมาที่ผูร้ ับเหมาตอ้ งลงทุนดว้ ยการจดั หา สัมภาระ ใน

ส่วนสาคญั นอกจาก เครื่องมือ

• 8. เงินไดป้ ระเภทที่ 8 ไดแ้ ก่ เงินไดจ้ ากการธุรกิจ การพาณิชย์ การเกษตร การอุตสาหกรรม การ ขนส่ง

การขาย อสงั หาริมทรัพย์ หรือการอ่ืนนอกจากที่ระบุไวใ้ นประเภทท่ี 1ถึงประเภทท่ี 7 แลว้

กลบั ไปหนา้ แรก

ขัน้ ตอนการชาระภาษี

• 1.การชาระภาษีผา่ นบริการอิเลก็ ทรอนิกส์ของธนาคารพาณิชย์

การชาระภาษีผา่ น e-payment เป็นระบบการชาระเงินพร้อมกบั การยน่ื รายการขอ้ มูล ตามแบบ
1.1 ผใู้ ชบ้ ริการตอ้ งทาความตกลงกบั ธนาคารไวแ้ ลว้
1.2 เลือกธนาคารท่ีตอ้ งการส่ังโอนเงินจากบญั ชีเงินฝากธนาคารเพือ่ ชาระภาษี
1.3 ทารายการโอนเงินตามข้นั ตอนของธนาคาร
1.4 เม่ือทารายการโดยครบถว้ นแลว้ โปรแกรมจะแจง้ หมายเลขอา้ งอิง การยน่ื แบบฯ และชาระภาษี
ให้

กลบั ไปหนา้ แรก

1.5 กรมสรรพากรจะส่งใบเสร็จรับเงินทางไปรษณียล์ งทะเบียนตามที่อยทู่ ี่แสดงในแบบใหโ้ ดยเร็ว
การชาระวธิ ีอ่ืน

1. เลือกบั ริการชาระภาษี
2 ป้อนขอ้ มูลหมายเลขประจาตวั ผเู้ สียภาษี รหสั ควบคุม และจานวนภาษีที่ตอ้ งชาระท่ีไดจ้ าก
โปรแกรมการยน่ื แบบฯ ผา่ นอินเทอร์เน็ต

• 3 หากขอ้ มูลตามขอ้ (2) ถูกตอ้ งธนาคารจะโอนเงินจากบญั ชีเงินฝากของท่านเขา้ บญั ชีกรมสรรพากร

เพอื่ ชาระภาษี
4 กรมสรรพากร จะส่งใบเสร็จรับเงินทางไปรษณียล์ งทะเบียนตามท่ีอยทู่ ่ีไดล้ งทะเบียนไวใ้ นแบบฯ
ใหโ้ ดยเร็ว

• หมายเหตุ กรณีชาระผา่ นเครื่อง ATM ตอ้ งเป็นเครื่อง ATM ของธนาคารผอู้ อกบตั รเท่าน้นั

กลบั ไปหนา้ แรก

• 2. การชาระเงินทางไปรษณีย์ Payat Post ใหน้ ารายการขอ้ มูลท่ีไดร้ ับจากระบบไดแ้ ก่ เลข

ประจาตวั ผเู้ สียภาษีอากร รหสั ควบคุม จานวนเงินภาษี ไปชาระเงินภาษีอากรได้ ณ ที่ทาการไปรษณีย์
ทวั่ ประเทศ (ยกเวน้ ปณ. โสกเชือก จ.ร้อยเอด็ และ ปณ.ชุมแสงสงคราม จ. พิษณุโลก) กรมสรรพากร
จะส่งใบเสร็จรับเงินทางไปรษณียล์ งทะเบียนตามที่อยทู่ ี่ไดล้ งทะเบียนไวใ้ หโ้ ดยเร็ว

กลบั ไปหนา้ แรก

เงอ่ื นไขการใช้บริการยน่ื แบบ ภ.ง.ด. 90 ภ.ง.ด. 91

1.เป็นบริการยน่ื แบบ ภ.ง.ด.91 สาหรับผมู้ ีเงินไดจ้ ากการจา้ งแรงงานประเภทเดียวเป็นบริการย่ืนแบบ
ภ.ง.ด.90 สาหรับผมู้ ีเงินไดก้ รณีทว่ั ไป

2.เป็นผมู้ ีเลขประจาตวั ผเู้ สียภาษีอากรและมีเลขประจาตวั ประชาชน (กรณีมีสญั ชาติไทย)
3.เป็นแบบฯ ท่ีไม่ไดข้ อคืนภาษี
4. เป็นการยน่ื แบบฯ และชาระภาษีตลอด 24 ชม.ของทุกวนั เวน้ แตว่ นั ที่ 31 มีนาคม 2546 จะปิ ดการ

ใหบ้ ริการเวลา 22.00 น.

กลบั ไปหนา้ แรก

5. เป็นการยนื่ แบบฯ ภายในกาหนดเวลาและชาระภาษีท้งั จานวนในคราวเดียวเท่าน้นั
6. กรณีชาระผา่ น ATM ตอ้ งเป็นเครื่อง ATM ของธนาคารผอู้ อกบตั รกนั
7. กรณีชาระภาษีผา่ น e-payment จะตอ้ งทาความตกลงกบั ธนาคารก่อน

• หมายเหตุ หากมิไดช้ าระภาษีภายในกาหนดเวลาจะถือวา่ ท่านยงั มิไดย้ น่ื แบบ ภ.ง.ด.90 ภ.ง.ด.91 สาหรับปี

ภาษี 2545 ท่านยงั คงมีหนา้ ที่ไปยน่ื แบบ ภ.ง.ด.90 ภ.ง.ด.91 และชาระภาษี ณ สานกั งานสรรพากรเขต
หรือสานกั งานสรรพากรอาเภอ

กลบั ไปหนา้ แรก

ยนื่ แบบแสดงรายการไดท้ ไ่ี หน

• 1. สานกั งานสรรพากรพ้ืนที่สาขา (เดิมเรียกวา่ สานกั งานสรรพากรเขต / อาเภอ) สาหรับการยน่ื แบบฯ

ภ.ง.ด.90 ภ.ง.ด.91 ผมู้ ีเงินไดส้ ามารถยน่ื แบบฯ ณ สานกั งานสรรพากรพ้ืนที่สาขาใดกไ็ ด้ ไมจ่ าเป็นตอ้ งเป็น
ทอ้ งที่ที่มีภูมิลาเนา

• 2. สาหรับทอ้ งท่ีกรุงเทพมหานคร อาจยน่ื แบบทางไปรษณีย์ โดยส่งไปยงั กองคลงั กรมสรรพากรได้ โดย

ถือเอาวนั ลงทะเบียนเป็นวนั รับแบบและชาระภาษี (ไม่รวมกรณีขอผอ่ นชาระ) ดูรายละเอียดวธิ ีการชาระภาษี
เพม่ิ เติมได้ ท่ีน่ี

กลบั ไปหนา้ แรก

• 3. บน Web Site ของกรมสรรพากร ที่ www.rd.go.th โดยชาระภาษีผา่ นระบบอิเลก็ ทรอนิกส์ของ

ธนาคารพาณิชย์ หรือชาระผา่ น e-payment หรือโดยวธิ ีอ่ืนไดแ้ ก่ ชาระผา่ นเครื่อง ATM โทรศพั ท์
บา้ น โทรศพั ทม์ ือถือ ทางอินเทอร์เน็ต หรือชาระผา่ นทางไปรษณีย์

• 4. ธนาคารพาณิชยไ์ ทยและสาขาท่ีต้งั อยใู่ นกรุงเทพมหานคร หรือ ต่างจงั หวดั แตต่ อ้ งเป็นกรณียน่ื แบบ ฯ

และชาระภาษีภายในกาหนดเวลา มีภาษีท่ีตอ้ งชาระพร้อมกบั การยน่ื แบบ ฯ และจะตอ้ งเป็นแบบ ฯ ที่แสดง
ช่ือ ที่อยู่ เลขประจาตวั ผเู้ สียภาษี ตามท่ีกรมสรรพากรจดั ทาและส่งให้

กลบั ไปหนา้ แรก

การชาระภาษดี ว้ ยวิธีใดบ้าง

• การชาระภาษีเงินไดบ้ ุคคลธรรมดา นอกจากผเู้ สียภาษีจะชาระภาษีโดยการถูกหกั ภาษี ณ จ่าย ที่จ่ายแลว้ ถา้ ในการ

ยนื่ แบบแสดงรายการและคานวณภาษีตามแบบแสดงรายการที่ยน่ื น้นั มีภาษีที่ตอ้ งชาระหรือตอ้ งชาระเพม่ิ เติมอีก
กใ็ หช้ าระหรือชาระเพ่ิมเติมต่อเจา้ หนา้ ที่สรรพากร พร้อมกบั การยน่ื แบบน้นั โดยเจา้ หนา้ ที่ผรู้ ับชาระจะออก
หลกั ฐานใบเสร็จแสดงการรับเงินภาษี และถือเป็นหลกั ฐานแสดงการยนื่ แบบแสดงรายการดว้ ย ใหก้ บั ผยู้ นื่ แบบ
แสดงรายการทุกราย การชาระภาษีอาจเลือกวธิ ีการชาระไดด้ งั น้ี

-ชาระเป็ นเงินสด
-ชาระเป็นธนาณตั ิ

กลบั ไปหนา้ แรก

• ผมู้ ีเงินไดท้ ่ีมีภูมิลาเนาอยใู่ นกรุงเทพมหานครที่ยน่ื แบบ ภ.ง.ด.90 91 ทางไปรษณียล์ งทะเบียน ใหส้ ่ง

ธนาณตั ิเท่ากบั จานวนเงินภาษีท่ีตอ้ งชาระ (หา้ มหกั ค่าธรรมเนียมในการส่งธนาณตั ิ) ไปพร้อมกบั การยนื่ แบบ
ภ.ง.ด.90 91 โดยสั่งจ่าย "ผอู้ านวยการกองคลงั กรมสรรพากร" ปทฝ. กระทรวงการคลงั

กลบั ไปหนา้ แรก

ชาระเป็ น เชค็ ทชี่ าระตอ้ งเป็ นเชค็ 4 ประเภทไดแ้ ก่

• -เชค็ ธนาคารแห่งประเทศไทย
• -เชค็ ท่ีมีธนาคารค้าประกนั
• -เชค็ ที่ธนาคารเซ็นสง่ั จ่าย
• -เชค็ ท่ีผมู้ ีหนา้ ท่ีชาระเงินภาษีอากรเป็นผเู้ ซ็นสั่งจ่ายและใชช้ าระโดยตรง

กลบั ไปหนา้ แรก

หากยน่ื แบบแล้วมภี าษีต้องชาระจะขอผ่อนชาระภาษีได้หรือไม่

• ถา้ มีภาษีที่ตอ้ งชาระจานวนต้งั แต่ 3,000 บาทข้ึนไป ท้งั ภาษีคร่ึงปี และภาษีสิ้นปี ผเู้ สียภาษีมีสิทธิ ขอผอ่ น

ชาระภาษีไดเ้ ป็น 3 งวดเท่า ๆ กนั โดยไม่ตอ้ งเสียเงินเพม่ิ ใดๆ ผเู้ สียภาษีอาจติดต่อขอผอ่ นชาระไดท้ ี่
สานกั งานสรรพากรพ้ืนที่สาขาโดยใชแ้ บบ บ.ช. 35 จานวน 1 ชุด 3 แผน่ ขอ้ ความเหมือนกนั ดงั น้ี
งวดที่ 1 ชาระพร้อมกบั การยนื่ แบบแสดงรายการภายในวนั ท่ี 30 กนั ยายน หรือวนั ที่ 31 มีนาคม
งวดที่ 2 ชาระภายใน 1 เดือนนบั แตว่ นั ที่ตอ้ งชาระงวดท่ี 1
งวดที่ 3 ชาระภายใน 1 เดือนนบั แตว่ นั ที่ตอ้ งชาระงวดท่ี 2

กลบั ไปหนา้ แรก

• งวดท่ี 3 ชาระภายใน 1 เดือนนบั แตว่ นั ท่ีตอ้ งชาระงวดท่ี 2

ถา้ ภาษีงวดใดงวดหน่ึงมิไดช้ าระภายในกาหนดเวลาดงั กล่าว ผเู้ สียภาษีหมดสิทธิที่จะชาระภาษีเป็น รายงวด
และตอ้ งเสียเงินเพ่มิ ในอตั ราร้อยละ 1.5 ตอ่ เดือน หรือเศษของเดือนของเงินภาษีงวดที่เหลือ

กลบั ไปหนา้ แรก

ถา้ ไม่ชาระในกาหนดเวลาหรือชาระไม่ถกู ตอ้ งจะมคี วามรับผดิ
อย่างไรบ้าง?

• 1. กรณีไม่ชาระภาษีภายในกาหนดเวลา จะตอ้ งเสียเงินเพิม่ ร้อยละ 1.5 ต่อเดือน หรือเศษของ

เดือนของเงินภาษีท่ีตอ้ งชาระน้นั นบั แตว่ นั พน้ กาหนดเวลาการยน่ื รายการจนถึงวนั ชาระภาษี เวน้
แตก่ รณีท่ีไดร้ ับอนุมตั ิจากอธิบดีกรมสรรพากร ใหข้ ยายกาหนดเวลาชาระภาษีได้ เงินเพิ่มเสียร้อย
ละ 0.7

กลบั ไปหนา้ แรก

• 2. กรณีเจา้ พนกั งานตรวจสอบออกหมายเรียก และปรากฏวา่ มิไดย้ น่ื แบบแสดงรายการไวห้ รือยนื่ แบบ

แสดงรายการไว้ แตช่ าระภาษีขาดหรือต่าไป นอกจากจะตอ้ งรับผดิ ชาระเงินเพิ่มตามขอ้ 1 แลว้ ยงั จะตอ้ งรับ
ผดิ เสียเบ้ียปรับอีก 1 เท่า หรือ 2 เท่าของเงินภาษีที่ตอ้ งชาระแลว้ แต่กรณี เงินเบ้ียปรับดงั กลา่ วอาจลดหรือ
งดไดต้ ามระเบียบที่อธิบดีกาหนดโดยอนุมตั ิรัฐมนตรี

กลบั ไปหนา้ แรก

อตั ราภาษีรายไดบ้ ุคคลธรรมดา

- รายได้ 0 -150,000 บาท ยกเวน้ อตั ราภาษี
- รายได้ 150,001-300,000 บาท อตั ราภาษี 5% (ภาษีท่ีตอ้ งเสียสูงสุดในข้นั น้ีคือ 7,500 บาท)
- รายได้ 300,001-500,000 บาท อตั ราภาษี 10% (ภาษีท่ีตอ้ งเสียในข้นั น้ีคือ 20,000 บาท)
- รายได้ 500,001-750,000 บาท อตั ราภาษี 15% (ภาษีท่ีตอ้ งเสียในข้นั น้ีคือ 37,500 บาท)

กลบั ไปหนา้ แรก

- รายได้ 750,001-1,000,000 บาท อตั ราภาษี 20% (ภาษีท่ีตอ้ งเสียในข้นั น้ีคือ 50,000 บาท)
- รายได้ 1,000,001-2,000,000 บาท อตั ราภาษี 25% (ภาษีที่ตอ้ งเสียในข้นั น้ีคือ 250,000 บาท)
- รายได้ 2,000,001-5,000,000 บาท อตั ราภาษี 30% (ภาษีท่ีตอ้ งเสียในข้นั น้ีคือ 600,000 บาท)
- รายได้ 5,000,000 บาทข้ึนไป อตั ราภาษี 35%

กลบั ไปหนา้ แรก

นางสาวบี ยงั ไม่ไดแ้ ต่งงาน ทางานมีรายไดร้ วมท้งั ปี 350,000 บาท ส่งเงินสมทบประกนั สงั คม 9,000 บาท ซ้ือประกนั
ชีวติ ไว้ 40,000 บาท บริจาคเงินช่วยเหลือน้าท่วม 2,000 บาท เดินทางไปท่องเที่ยวตามมาตรการกระตุน้ เศรษฐกิจ มีค่าใชจ้ ่าย
15,000 บาท

คานวณภาษีไดด้ งั น้ี
- หกั ค่าใชจ้ ่าย 50% ของเงินได้ (แต่ไม่เกิน 100,000 บาท)
- หกั ค่าลดหยอ่ นส่วนตวั 60,000 บาท
- หกั ค่าประกนั สงั คม 9,000 บาท
- หกั ค่าซ้ือประกนั ชีวติ 40,000 บาท
- หกั เงินบริจาคช่วยเหลือน้าท่วมได้ 1 เท่า คือ 2,000 บาท
- หกั เงินค่าใชจ้ ่ายท่องเท่ียว 15,000 บาท
รวมหักค่าลดหย่อนไป 226,000 บาท

ดงั น้ัน รายได้สุทธิของนางสาวบี คือ 350,000-226,000 เท่ากบั มรี ายได้สุทธิอยู่ที่ 124,000 บาท จงึ ไม่ต้องเสีย
ภาษเี งนิ ได้บุคคลธรรมดา ปี 2562 เพราะรายได้สุทธิไม่เกนิ 150,000 บาท จะได้รับการยกเว้น

กลบั ไปหนา้ แรก

นายซี ทางานมีรายไดร้ วมท้งั ปี 800,000 บาท ปัจจุบนั หยา่ แต่เล้ียงดูบุตรอายุ 6 ขวบ และ 4 ขวบ ส่งเงินสมทบประกนั สงั คม
9,000 บาท ซ้ือประกนั ชีวติ ไว้ 50,000 บาท เล้ียงดูบิดา-มารดา 2 คน คานวณภาษีไดด้ งั น้ี

- หกั ค่าใชจ้ ่าย 50% ของเงินได้ (แต่ไม่เกิน 100,000 บาท) = 100,000 บาท
- หกั ค่าลดหยอ่ นส่วนตวั 60,000 บาท
- หกั ค่าลดหยอ่ นบุตร 2 คน รวม 60,000 บาท
- หกั ค่าเล้ียงดูบิดา-มารดา 2 คน รวม 60,000 บาท
- หกั ค่าประกนั สงั คม 9,000 บาท
- หกั ค่าซ้ือประกนั ชีวติ 50,000 บาท

รวมหักค่าลดหย่อนไป 339,000 บาท

จะเหลือรายได้สุทธิ 800,000-339,000 = 461,000 บาท จึงต้องเสียภาษที ข่ี ้นั 10% ซึ่งคานวณแต่ละข้นั ได้ดงั นี้
- 150,000 บาทแรก ไม่เสียภาษี
จึงเหลือเงินที่ตอ้ งไปคานวณ (461,000-150,000) = 311,000 บาท

กลบั ไปหนา้ แรก

- ส่วนต่อมาเสียภาษี 5% ซ่ึงจานวนเงินภาษีของฐาน 5% คือ 7,500 บาท
จึงเหลือเงินท่ีตอ้ งไปคานวณต่อท่ีฐาน 10% (311,000-150,000) = 161,000 บาท
- เงินส่วนท่ีเหลือ 161,000 บาท นามาคิดภาษีที่ฐาน 10% จะเท่ากบั 16,100 บาท
นาเงนิ ภาษแี ต่ละข้นั มารวมกนั (7,500+16,100) เท่ากบั นายซีต้องเสียภาษี 23,600 บาท

หรือถา้ บางคนยงั งง ๆ กบั การคิดภาษีของนายซีวา่ ทาไมตอ้ งคิดท่ีฐาน 5% ดว้ ย แลว้ จะคิดฐาน 10% ทีเดียวเลยไม่ไดเ้ หรอ
ง้นั ลองมาคิดง่าย ๆ ท่ีฐาน 10% ทีเดียวเลยกไ็ ด้

กค็ ือ นายซีมีเงินไดส้ ุทธิ 461,000 บาท กจ็ ะตกฐานภาษี 10% ดงั น้นั นายซีตอ้ งจ่ายภาษีสะสมในข้นั 5% คือ 7,500
บาทแลว้ แน่ ๆ

ทีน้ีส่วนที่เหลือคือ เงินไดส้ ุทธิ - 300,000 จะเท่ากบั 461,000-300,000 = 161,000 ใหน้ ามาคิดท่ีฐาน10%

ดงั น้ัน 10% ของ 161,000 บาท จะเท่ากบั 16,100 บาท เม่ือรวมกบั ภาษสี ะสมของข้นั 5% คือ 7,500 บาท จะเท่ากบั
ว่านายซีต้องเสียภาษี 7,500+16,100 = 23,600 บาท เช่นกนั

กลบั ไปหนา้ แรก


Click to View FlipBook Version