The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สุขภาพกายและสุขภาพจิต และชีวิตปลอดภัยไร้ความเสี่ยง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by somsaktn.005, 2021-07-04 08:22:43

สุขศึกษา พ๒๒๑๐๒ เทอม ๒

สุขภาพกายและสุขภาพจิต และชีวิตปลอดภัยไร้ความเสี่ยง



วชิ าสุขศึกษา

ภาคเรียนท่ี ๒

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑

สขุ ภาพกายและสขุ ภาพจิต

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๒

ชีวิตปลอดภัยไร้ความเสย่ี ง

นายสมศกั ด์ิ ทองเงิน

ตาแหน่ง ครู

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรียนหวั หิน ช่วยปฏิบตั ิหนา้ ที่ในการสอนโรงเรียนวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถมั ภ์
สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาประจวบคีรีขนั ธ์

สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน กระทรวงศึกษาธิการ



คานา

โรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้กาหนดวิสัยทัศน์ของโรงเรียนว่า มุ่งจัดการศึกษาให้
นักเรยี นมีคุณธรรมใฝ่รู้ใฝ่เรยี น รเู้ ทา่ ทนั วทิ ยาการ และเทคโนโลยี เพ่อื สนองพระบรมราโชบายท่ีพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว พระราชทานให้แก่โรงเรียนวังไกลกังวล “ ให้จัดการศึกษาอบรมเด็กนักเรียนให้เป็นคนดี มีเมตตากรุณา
เมอื่ จบการศึกษาตามกาลังสติปัญญาของแต่ละคนแลว้ ใหม้ คี วามสามารถทางานประกอบอาชีพพ่ึงตนเองได้ ไมว่ ่าจะ
เรียนถงึ ระดับช้ันใดก็ตาม” ได้จัดทาปรบั ปรงุ แผนการเรยี นรู้ ส่อื การเรียนการสอนสุขศึกษา ระดบั มัธยมศึกษาตอนต้น
ม.๒ กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาเป็นสื่อแก่ครูผู้สอนในระดับมัธยมศึกษาตอนต้น ซึ่งประกอบด้วยการ
จัดทาหน่วยการเรียนรู้ แผนการเรียนรู้รายช่ัวโมงและส่ือใบงาน พร้อมท้ังการวัดผลและประเมิลผล ให้มีความถูกต้อง
ครบถ้วน สมบูรณ์ นาไปใชก้ ารจัดการเรียนการสอนได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพยง่ิ ขนึ้

แผนการจดั การเรยี นรู้สขุ ศกึ ษา พ๒๒๑๐๒ ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ สาเร็จได้ด้วยดี ดว้ ยความกรณุ า
และความช่วยเหลืออย่างดียิ่ง จากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่าน
ดาวเทียม รศ.ดร.นราพร จันทร์โอชา รองประธานกรรมการมูลนิธิการศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ และนางราตรี ศรีไพรวรรณ ผู้อานวยการโรงเรียนวังไกลกังวล ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ได้กรุณาให้
คาแนะนา ใหข้ อ้ คิดในเน้ือหาสาระตลอดจนตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ จนทาให้แผนการจัดการเรียนร้นู ้ีถูกต้อง และ
สมบูรณ์ย่ิงขึ้นขอขอบพระคุณนางนิรมล โพธะ ข้าราชการบานาญ นายประสงค์ นารถอุดม ข้าราชการบานาญ
นางสาวจรินทร์ โฮ่สกุล ศึกษานิเทศก์ สานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 1 นางสร้อย เสริมพล ครู
โรงเรียนราชวินิตบางแคปานขา สพม.เขต ๑ และคณะกรรมการที่ได้กรุณาร่วมเป็นกรรมการบรร ณาธิการกิจ
แผนการเรียนรู้ และให้ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรุงแผนการเรยี นรู้ ขา้ พเจ้าขอกราบขอบพระคุณทุกทา่ นเปน็ อย่าง
สงู ทใี่ ห้คาแนะนาอันเปน็ ประโยชน์ตอ่ การจัดทาแผนการเรยี นรู้สขุ ศึกษานี้เปน็ อยา่ งย่ิง

สมศกั ด์ิ ทองเงิน



สารบญั

คานา หน้า
๑. ใบความรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง วิธีการพฒั นาสมรรถภาพทางกายตนเองให้เป็นไปตามเกณฑ์ ๔

๒. ใบความรู้ท่ี ๓ เรอ่ื ง สาเหตุการเปลีย่ นแปลงด้านต่างๆ ของรา่ งกายจากการออกกาลังกายและเลน่ กีฬา ๑๐

๓. ใบความรทู้ ี่ ๔ เร่อื ง การสร้างวถิ ชี วี ิตท่ีมสี ขุ ภาพดีโดยการออกกาลังกายและเล่นกีฬา ๑๓
๔. ใบความรทู้ ่ี ๖ เรอ่ื งลักษณะเบื้องตน้ ของผ้มู ีปัญหาสุขภาพจิต ๑๖

แบบทดสอบดชั นชี วี้ ดั สุขภาพจิตคนไทยฉบับสมบรู ณ์ ๕๕ ขอ้ ปี พ.ศ.๒๕๕๐ ๒๑

๕. ใบความรทู้ ่ี ๗ เรอ่ื ง อารมณแ์ ละความเครียด ๒๗
แบบวดั ความเครียดสวนปรุง ๒๙
๓๓
๖. ใบความรู้ท่ี ๑๑ เรอ่ื ง เทคโนโลยีกับสุขภาพ ๔๐
๗. ใบความรู้ที่ ๑๔ เร่อื ง ความก้าวหน้าทางการแพทย์ทมี่ ีผลต่อสุขภาพแตล่ ะชว่ งวยั

๘. ใบความรทู้ ่ี ๑๖ เรอ่ื งวธิ ีการ ปจั จยั และแหล่งช่วยเหลอื บาบดั รกั ษาผ้ตู ิดสารเสพตดิ ๔๓
๙. ใบความรทู้ ่ี ๑๘ เร่ือง พฤติกรรมทเี่ ปน็ ทักษะชวี ติ (Life skill) ๔๘
๑๐. บรรณานุกรม ๕๑



ใบความรทู้ ่ี ๒ เร่อื ง วธิ กี ารพัฒนาสมรรถภาพทางกายตนเองให้เป็นไปตามเกณฑ์
หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๑ แผนการจดั การเรียนร้ทู ่ี ๒ เรอื่ ง การพฒั นาสมรรถภาพทางกายใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑ์

รายวิชา สุขศึกษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การพัฒนาสมรรถภาพทางกายอย่างสม่าเสมอ จะส่งผลดีต่อสุขภาพกายและสุขภาพจิตการออกกาลังกาย
ด้วยการเล่นกีฬา กิจกรรมออกกาลังกายหรือการประกอบกิจกรรมในกิจวัตรประจาวัน ทาให้ร่างกายได้เคล่ือนไหว
สามารถป้องกนั โรคภัยตา่ งๆท่ีอาจเกิดขึ้นได้
๑. ความหมาย คุณค่า และความสาคญั ของการออกกาลังกาย

๑.๑ ความหมายของสมรรถภาพทางกาย(Physical Fittness) หมายถึง ความสามารถของระบบต่างๆ
ของร่างกายในการทางานอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สามารถประกอบกิจกรรมในชีวิตประจาวันได้อย่าง
กระฉับกระเฉง โดยไม่เหนื่อยล้าจนเกินไปและยังมีพลังสารองมากพอสาหรับกิจกรรมนันทนาการหรือใช้ในกรณี
ฉุกเฉนิ

๑.๒ คุณค่าและความสาคัญของสมรรถภาพทางกาย
สมรรถภาพทางกาย จะเกิดข้ึนเม่ือร่างกายได้เคลื่อนไหวหรือออกกาลังกายซึ่งทาให้ร่างกายแข็งแรง และลด
ประสิทธิภาพได้ การดูแลรักษาให้คงสภาพดี ได้อย่างยาวนาน ทาได้โดยการออกกาลังกายสม่าเสมอ ซ่ึงมีคุณค่าและ
ความสาคัญ ดังน้ี
๑) การออกกาลังกายเป็นประจาจะช่วยกระตุ้นให้รา่ งกายเจรญิ เติบโตเต็มท่ี โดยเฉพาะวัยรุ่น ซ่ึงเป็นวัยที่อยู่
ในระหว่างการเจริญเติบโต กล้ามเน้ือส่วนต่างๆ ได้พัฒนาการอย่างเต็มท่ีและได้สัดส่วน การทางานต่างๆจะมี
ประสทิ ธภิ าพ ความเหน่อื ยล้าน้อยกวา่ ทาใหน้ าพลังงานทเี่ หลอื ไปใช้ในกจิ กรรมอน่ื ไดอ้ ีก
๒) ผู้มีสมรรถภาพทางกายดี ทาให้มีบุคลิกภาพดี สามารถเคลื่อนไหวได้สง่างาม คล่องแคล่ว กระฉับกระเฉง
และเป็นการประหยัดแรงงานไปพรอ้ มกันด้วย
๓) ผู้มีสมรรถภาพทางกายดี จะเป็นผู้มีสุขภาพดี การประกอบกิจกรรมงานต่างๆมีประสิทธิภาพและได้ผล
ผลติ สูง ถา้ เป็นวัยศึกษาจะสามารถอดทนและมีสมาธไิ ด้ดีกว่า ยาวนานกว่าผ้มู ีสมรรถภาพรา่ งกายไมด่ ี
๔) กล้ามเน้ือแข็งแรง ป้องกัน โรคปวดหลังเมื่อเข้าสู่วัยสูงอายุ ถ้าได้ออกกาลังกายตั้งแต่วัยเด็ก จะช่วย
เสริมสรา้ งความแขง็ แรงของรา่ งกาย
๕) ในวัยเด็กถ้ามีการออกกาลังกายอย่างเต็มท่ี จะช่วยทาให้มีความกระตือรือร้น มีความคล่องแคล่ว สร้าง
ความเชอ่ื มั่นให้กับตนเอง สามารถออกกาลังและเลน่ กีฬาได้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ
๖) การออกกาลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกาย เป็นวิธีหน่ึงในการควบคุมน้าหนักซงึ่ จะควบคู่ไปกับการ
ควบคุมอาหาร
๗) การออกกาลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกาย เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานประสานกัน
ระหวา่ ง ระบบไหลเวียนโลหิตกับระบบหายใจ เปน็ การปอ้ งกัน การเปน็ โรคหวั ใจ หวั ใจวายทม่ี ปี ระสทิ ธิภาพวธิ หี นึง่
๘) การออกกาลังกาย ช่วยเสริมสรา้ งสุขภาพจติ ดงั คากลา่ วของ กรกี โบราณทีว่ ่า “ จิตใจท่ีแจ่มใส ย่อมอยู่ใน
ร่างกายทีแ่ ข็งแรง” แสดงว่าเมอื่ มสี มรรถภาพรา่ งกายดี มีความสมบูรณส์ ุขภาพจติ ก็จะดีไปดว้ ยและรจู้ ักการแสดงออก
ทางอารมณ์อยา่ งเหมาะสม



สมรรถภาพทางกาย เป็นปัจจัยท่ีสาคัญต่อการมีชีวิตที่มีคุณภาพและมีความสุข สอดคล้องกับการนาหลัก
ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงมาปรับใชใ้ นการดาเนินชีวิต เป็นการสรา้ งภูมิคุ้มกันทีล่ งทุนน้อย แต่ได้ผลอย่างมหาศาล การ
ออกกาลังกายท่ีพัฒนาสมรรถภาพทางกายอย่างย่ังยืนขึ้นกับปัจจัย ได้แก่ ความสนใจ ความถนัด ความเหมาะสมกับ
เพศ วัย สถานการณเ์ วลา และสมา่ เสมอเชน่ การออกกาลังกายแบบแอโรบิกอย่างน้อยครั้งละ ๓๐ นาที สัปดาห์ละ ๓
วัน
๒. เกณฑ์สมรรถภาพทางกาย

เกณฑ์สมรรถภาพทางกายเป็นเกณฑ์มาตรฐานท่ีกาหนดไวเ้ ป็นสากลทาให้เราทราบข้อดีและข้อบกพร่องของ
ตนเองซง่ึ สามารถนาข้อมูลไปปรบั ปรุงพัฒนาเป็นไปตามเกณฑ์

๒.๑ องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย
๑) องค์ประกอบของร่างกาย (Body Composition) ตามปกติแล้วในร่างกายมนุษย์ประกอบด้วย

กล้ามเนื้อ กระดูก ไขมัน และ ส่วนอื่นๆ แต่ในส่วนของสมรรถภาพทางกายน้ัน หมายถึง สัดส่วนปริมาณไขมันใน
รา่ งกายกบั มวลรา่ งกายที่ปราศจากไขมัน โดยการวัดออกมาเป็นเปอร์เซ็นต์ไขมนั (% fat)

๒) ความอดทนของระบบไหลเวียนเลือด (Cardiorespiratory Endurance) หมายถึง สมรรถนะเชิงปฏิบัติ
ของระบบไหลเวียนเลือด (หัวใจ หลอดเลือด) และระบบหายใจในการลาเลียงออกซิเจนไปยังเซลล์กล้ามเน้ือ ทาให้
ร่างกายสามารถยนื หยัดที่จะทางานหรือออกกาลังกายทใ่ี ช้กล้ามเนือ้ มัดใหญ่เป็นระยะเวลายาวนานได้

๓) ความอ่อนตวั หรอื ความยดื หยุ่น (Flexibility) หมายถึง พิสัยของการเคลือ่ นไหวสงู สุดเท่าทจ่ี ะทาไดข้ องข้อ
ตอ่ หรอื กล่มุ ข้อต่อ

ความอดทนของกล้ามเน้ือ (Muscular Endurance) หมายถึง ความสามารถของกลา้ มเน้ือมัดใดมัดหน่ึงหรอื
กลุ่มกล้ามเน้อื ในการหดตัวซ้าๆ เพ่ือตา้ นแรงหรอื ความสามารถในการหดตัวครง้ั เดียวไดเ้ ปน็ ระยะเวลายาวนาน

๔) ความแข็งแรงของกลา้ มเน้ือ (Muscular Strength) หมายถึง ปริมาณสงู สดุ ของแรงท่ีกล้ามเน้อื มัดใดมัด
หนึ่งหรือกลุ่มกล้ามเน้ือสามารถออกแรงตา้ นทานได้ ในชว่ งการหดตวั ๑ครงั้

๒.๒ องค์ประกอบสมรรถภาพทางกลไก (Motor Fitness) หรือ สมรรถภาพเชิงทักษะปฏิบัติ(Skill –
Related Physical Fitness)

ความสามารถของร่างกายท่ีช่วยให้บุคคลสามารถประกอบกิจกรรมทางกาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเล่นกีฬา
ไดด้ ี มอี งค์ประกอบ 6 ด้าน ดงั น้ี

๑) ความคลอ่ ง (Agility) หมายถงึ ความสามารถในการเปล่ยี นทิศทางการเคลื่อนท่ีได้อย่างรวดเรว็ และ
สามารถควบคุมได้

๒) การทรงตวั (Balance) หมายถึง ความสามารถในการรักษาดลุ ของร่างกายเอาไวไ้ ด้ทงั้ ในขณะอยู่กับทแ่ี ละ
เคลอื่ นที่

๓) การประสานสัมพันธ์ (Co-ordination) หมายถึง ความสามารถในการเคลอ่ื นไหวได้อยา่ งราบรนื่ กลมกลืน
และ มปี ระสิทธภิ าพ ซึ่งเป็นการทางานประสารสอดคล้องระหว่างตา-มือ-เทา้

๔) พลังกล้ามเน้ือ (Power) หมายถึง ความสามารถของกล้ามเน้ือส่วนหนึ่งส่วนใดหรือหลายๆ ส่วนของ
ร่างกายในการหดตัวเพื่อทางานด้วยความเร็วสูง แรงหรืองานท่ีได้เป็นผลรวมของความแข็งแรงและความเร็วท่ีใช้
ในช่วงระยะเวลาสัน้ ๆ เชน่ การยืนอยกู่ ับที่ กระโดดไกล การทมุ่ น้าหนกั เปน็ ต้น



๕) เวลาปฏิกิริยาตอบสนอง (Reaction time) หมายถึง ระยะเวลาที่ร่างกายใช้ในการตอบสนองต่อส่ิงเร้า

ต่างๆ เช่น แสง เสยี ง สมั ผัส

๖) ความเร็ว (Speed) หมายถงึ ความสามารถในการเคล่ือนท่ีจากทหี่ น่งึ ไปยงั อีกทีห่ นึ่งได้อย่างรวดเรว็

๒.๓ แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมาตรฐาน

แบบทดสอบสมรรถภาพทางกายมีหลายแบบ สาหรับประเทศไทยนิยม ใช้แบบทดสอบสมรรถภาพทางกาย

มาตรฐานของคณะกรรมการนานาชาติ เพ่ือจดั มาตรฐานการทดสอบ (ICSPFT) มี ๘ รายการ ดังนี้

รายการ รายการทดสอบ องค์ประกอบสมรรถภาพทางกาย

ที่ ท่วี ดั

๑ วง่ิ เรว็ ๕๐ เมตร (๕๐-Meter Sprint) ความเร็ว

๒ ยนื กระโดไกล(Standing Board Jump) พลงั กลา้ มเน้อื

๓ แรงบบี มอื ท่ถี นดั ความแขง็ แรงของกล้ามเนอื้

๔ ลุก-นัง่ ๓๐ วินาที (๓๐-Second Sit-ups) ความอดทน

๕ ดงึ ขอ้ ราวเดี่ยว (ชาย) ความอดทน

งอแขนห้อยตัว (หญิง)

๖ วง่ิ เก็บของ(Shuttle Run) ความคลอ่ งตัว

๗ นั่งงอตัวไปขา้ งหนา้ (Sit and Reach) ความอ่อนตัว

๘ ว่ิง ๑,๐๐๐ เมตร (ชาย ความอดทน

วง่ิ ๘๐๐ เมตร (หญิง)

๒.๔ ตารางเกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกาย สานักพัฒนาการพลศึกษา สขุ ภาพ และนันทนาการ กรม
พลศึกษากระทรวงศึกษาธิการได้จัดทาเกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรยี นทั้งเพศชายและเพศหญงิ ใน
ทีน่ ้ีจะแสดงเพียงช่วงอายรุ ะหว่าง ๑๓-๑๕ ปี เทา่ นนั้ ซงึ่ เปน็ ช่วงอายขุ องนักเรียนระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ ดังนี้

ที่มา : https://www.slideshare.net/OhmTarit/fitness-test-718

เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น อายุ 13 ปี

เพศชาย

ระดับคณุ ภาพและคะแนน

รายการ ดมี าก ดี ปานกลาง ต่า ต่ามาก
(5 คะแนน) (4 คะแนน) (1 คะแนน)
1. วง่ิ 50 เมตร(วนิ าที) 7.77 ลงมา 7.78-8.31 (3 คะแนน) (2 คะแนน) 9.92 ข้นึ ไป
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.) 196 ขึ้นไป 185-195 151 ลงมา
3. แรงบีบมอื (กก.) 30.8 ขึ้นไป 27.6-30.7 8.32-9.38 9.39-9.91 17.5 ลงมา
4. ลกุ -นัง่ 30 วนิ าที (ครง้ั ) 28 ขึน้ ไป 26-27 17 ลงมา
5. ดึงข้อราวเดย่ี ว (คร้ัง) 7 ขนึ้ ไป 6 163-184 152-162 0
6. วง่ิ เกบ็ ของ (วินาท)ี 10.97 ลงมา 10.98-11.48 13.02 ขึ้นไป
7. งอตวั ข้างหน้า (ซม.) 11.6 ขึน้ ไป 9.1-11.5 20.9-27.5 17.6-20.8 1.2 ลงมา
8. วงิ่ 1,000 เมตร 4.33 ลงมา 4.34-5.00 6.26 ขน้ึ ไป
(นาท:ี วนิ าท)ี 20-25 18-19

2-5 1

11.49-12.50 12.51-13.01

3.9-9.0 1.3-3.8

5.01-5.57 5.58-6.25



เพศหญงิ ระดับคุณภาพและคะแนน

รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง ต่า ตา่ มาก
(5 คะแนน) (4 คะแนน) (1 คะแนน)
1. วง่ิ 50 เมตร (วินาท)ี 8.74 ลงมา 8.75-9.39 (3 คะแนน) (2 คะแนน) 11.35 ขึน้ ไป
2. ยืนกระโดดไกล (ซม.) 166 ขึ้นไป 157-165 127 ลงมา
3. แรงบบี มอื (กก.) 26.8 ขึ้นไป 24.3-26.7 9.40-10.69 10.70-11.34 16.9 ลงมา
4. ลุก-น่ัง 30 วินาที (ครง้ั ) 22ขน้ึ ไป 19-21 10 ลงมา
5. งอแขนหอ้ ยตัว (วินาที) 10.40 ข้ึนไป 7.77-10.39 137-156 128-136 0.13 ลงมา

6. วง่ิ เกบ็ ของ (วนิ าที) 12.19 ลงมา 12.20-12.77 19.4-24.2 17.0-19.3 14.54 ขน้ึ ไป
7. งอตวั ขา้ งหนา้ (ซม.) 12.3 ขึ้นไป 9.5-12.2 1.1 ลงมา
8. วิง่ 800 เมตร (นาท:ี 4.25 ลงมา 4.26-4.54 14-18 11-13 6.23 ข้ึนไป
วนิ าท)ี
2.50-7.76 0.14-2.49

12.78-13.95 13.96-14.53

3.9-9.4 1.2-3.8

4.55-5.53 5.54-6.22

เกณฑม์ าตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น อายุ 14 ปี

เพศชาย

ระดับคณุ ภาพและคะแนน

รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง ต่า ตา่ มาก
(1 คะแนน)
(5 คะแนน) (4 คะแนน) (3 คะแนน) (2 คะแนน) 9.61 ขน้ึ ไป
158 ลงมา
1. วิ่ง 50 เมตร(วนิ าที) 7.39 ลงมา 7.40-7.94 7.95-9.05 9.05-9.60 22.2 ลงมา
18 ลงมา
2. ยืนกระโดดไกล(ซม.) 207 ขนึ้ ไป 195-206 171-194 159-170
1 ลงมา
3. แรงบบี มอื (กก.) 36.8 ขึ้นไป 33.2-36.7 25.9-33.1 22.3-25.8 12.83 ขนึ้ ไป
1.7 ลงมา
4. ลุก-น่งั 30 วนิ าที 28 ขึน้ ไป 26-27 21-25 19-20 6.09 ข้ึนไป

(ครั้ง)

5. ดงึ ข้อราวเดี่ยว(ครงั้ ) 8 ข้ึนไป 7 3-6 2
11.35-12.33 12.34-12.82
6. วิง่ เกบ็ ของ (วินาที) 10.85 ลงมา 10.86-11.34 4.6-10.2 1.8-4.5
4.49-5.42 5.43-6.08
7. งอตวั ขา้ งหน้า (ซม.) 13.1 ข้ึนไป 10.3-13.0

8. วิง่ 1,000 เมตร 4.21 ลงมา 4.22-4.48

(นาท:ี วินาท)ี



เพศหญิง

ระดบั คุณภาพและคะแนน

รายการ ดีมาก ดี ปานกลาง ตา่ ตา่ มาก
(5 คะแนน) (4 คะแนน) (1 คะแนน)
1. วงิ่ 50 เมตร(วนิ าท)ี 8.72 ลงมา 8.73-9.34 (3 คะแนน) (2 คะแนน) 11.20 ขึน้ ไป
2. ยนื กระโดดไกล(ซม.) 168 ข้นึ ไป 158-167 128 ลงมา
3. แรงบีบมอื (กก.) 28.2 ข้ึนไป 25.9-28.1 9.35-10.58 10.59-11.19 18.8 ลงมา
4. ลุก-น่ัง 30 วินาที 21ข้ึนไป 19-20 10 ลงมา
(ครัง้ ) 139-157 129-138
5. งอแขนหอ้ ยตัว 10.04 ขึน้ ไป 0.08 ลงมา
(วินาท)ี 21.2-25.8 18.9-21.1
6. วง่ิ เก็บของ (วินาที) 12.24 ลงมา 14.46 ข้นึ ไป
7. งอตวั ขา้ งหนา้ (ซม.) 13 ขึ้นไป 14-18 11-13 1.9 ลงมา
8. วิ่ง 800 เมตร 4.24 ลงมา 6.13 ขึ้นไป
(นาท:ี วินาท)ี 7.51-10.03 2.44-7.50 0.09-2.43

12.25-12.79 12.80-13.90 13.91-14.45
10.3-12.9 4.8-10.2 2.0-4.7
4.25-4.51 4.52-5.45 5.46-6.12

เกณฑ์มาตรฐานสมรรถภาพทางกายของนักเรยี น อายุ 15 ปี

เพศชาย

ระดบั คณุ ภาพและคะแนน

รายการ ดมี าก ดี ปานกลาง ต่า ต่ามาก
(1 คะแนน)
(5 คะแนน) (4 คะแนน) (3 คะแนน) (2 คะแนน) 9.26 ขนึ้ ไป
169 ลงมา
1. วงิ่ 50 เมตร (วินาที) 7.10 ลงมา 7.11-7.64 7.65-8.72 8.73-9.28 26.7 ลงมา
19 ลงมา
2. ยนื กระโดดไกล (ซม.) 221 ข้ึนไป 208-220 183-207 170-182 1 ลงมา
12.49 ข้นึ ไป
3. แรงบีบมือ (กก.) 41.0 ขนึ้ ไป 37.4-40.9 30.3-37.3 26.8-30.2 3.0 ลงมา
5.58 ข้ึนไป
4. ลกุ -นั่ง 30 วินาที (ครงั้ ) 29 ข้ึนไป 27-28 22-26 20-21

5. ดึงขอ้ ราวเดี่ยว (ครั้ง) 9 ข้ึนไป 8 4-7 2-3

6. ว่ิงเกบ็ ของ (วินาที) 10.55 ลงมา 10.56-11.03 11.04-12.00 12.01-12.48

7. งอตัวขา้ งหน้า (ซม.) 14.7 ขึน้ ไป 11.9-14.6 6.0-11.8 3.1-5.9

8. วง่ิ 1,000 เมตร (นาท:ี 4.15 ลงมา 4.16-4.40 4.41-5.32 5.33-5.57

วินาท)ี



เพศหญงิ

ระดบั คณุ ภาพและคะแนน

รายการ ดมี าก ดี ปานกลาง ต่า ต่ามาก
(5 คะแนน) (4 คะแนน)
1. วง่ิ 50 เมตร 8.87 ลงมา (3 คะแนน) (2 คะแนน) (1 คะแนน)
(วนิ าท)ี 88.88-9.52
2. ยืนกระโดดไกล 169 ขน้ึ ไป 9.53-10.82 10.83-11.46 11.47 ข้ึนไป
(ซม.)
3. แรงบบี มือ (กก.) 29 ข้ึนไป 159-168 138-158 128-137 127 ลงมา
4. ลุก-น่งั 30 21 ขึ้นไป
วินาที (คร้ัง) 28.0-28.9 22.3-27.9 20.0-22.2 19.9 ลงมา
5. งอแขนห้อยตัว 10.32 ขึน้ ไป
(วนิ าที) 19-20 14-18 12-13 11 ลงมา
6. วงิ่ เก็บของ 12.23 ลงมา
(วินาที) 7.63-10.31 2.24-7.62 0.45-2.23 0.44 ลงมา
7. งอตวั ขา้ งหน้า 14.2 ขน้ึ ไป
(ซม.) 12.24-12.83 12.84-14.03 14.04-14.62 14.63 ข้นึ ไป
8. วง่ิ 800 เมตร 4.29 ลงมา
(นาท:ี วินาท)ี 11.2-14.1 5.2-11.1 2.3-5.1 2.2 ลงมา

4.30-4.56 4.57-5.21 5.22-6.18 6.19 ข้ึนไป

วิธกี ารแปลผล
ส า ห รั บ วิ ธี ก า ร แ ป ล ผ ล ก า ร ท ด ส อ บ ส ม ร ร ถ ภ า พ ท า ง ก า ย เ พ่ื อ ท่ี จ ะ ท า ใ ห้ ท ร า บ ว่ า นั ก เ รี ย น แ ต่ ล ะ ค น

มผี ลการประเมนิ ด้านสขุ ภาพ รา่ งกายอยู่ในระดับใด ให้ดาเนนิ การ ดงั น้ี
๑. นาคะแนนท่ีไดร้ บั จากทุกรายการทดสอบหาผลคะแนนรวม
๒. นาผลคะแนนรวมมาคานวณหาคา่ ร้อยละของผลการทดสอบ
๓. นาคา่ รอ้ ยละของผลการทดสอบมาเปรยี บเทยี บกบั เกณฑ์การตดั สินผลการประเมนิ

เกณฑ์การตดั สินผลการประเมิน

ช่วงคะแนนเป็นรอ้ ยละ ความหมาย
จากผลการทดสอบสมรรถภาพทางกาย ของผลการประเมนิ ดา้ นสขุ ภาพ ร่างกาย

๘๐-๑๐๐ ดเี ยีย่ ม
๖๕-๗๙ ดี
๕๐-๖๔ ผ่าน
ต่ากว่า ๔๙
ไม่ผา่ น

ทีม่ า : https://www.slideshare.net/OhmTarit/fitness-test-718

๑๐

ใบความรทู้ ี่ ๓ เรอ่ื ง สาเหตกุ ารเปล่ียนแปลง ด้านต่างๆ ของร่างกายจากการออกกาลังกายและเล่นกฬี า
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๔ เรอื่ ง การออกกาลังกายและเล่นกฬี าจนเป็นวิถีชีวติ

รายวชิ า สขุ ศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การออกกาลังกาย การเลน่ กีฬาและกิจกรรมทางกาย มีความหมายใกลเ้ คียงกัน ปฏบิ ตั แิ ลว้ สามารถส่งผลใหม้ ี
สขุ ภาพดไี ด้ ดังนี้

๑.การออกกาลังกาย (Exercise) หมายถงึ การใชก้ ล้ามเน้ือและอวัยวะอ่ืนๆ ของร่างกายทางานมากกว่าการ
เคล่ือนไหวหรืออิริยาบถต่างๆ ตามปกติในชีวิตประจาวัน การออกกาลังกายที่ดี ต้องปฏิบัติสม่าเสมอ ตามความ
เหมาะสมของ อายุ เพศ วัย และสภาวะของร่างกาย มีสัญญาณบ่งบอกวา่ เหมาะสมหรือไม่ คือ อัตราการเต้นของหัวใจ
สูงข้ึน หายใจถ่ีและแรงขึ้น มีเหง่ือออก และผลท่ีตามมาถ้าออกกาลังกายอย่างสม่าเสมอ คือสมรรถภาพด้านความ
แข็งแรงของกล้ามเนือ้ แขน ขา ความคล่องแคล่วว่องไว ความเรว็ ในการตอบสนองสถานการณ์ ความอดทนและระบบ
ไหลเวียนโลหิตดีขน้ึ

๒. การเล่นกีฬา (Sports) หมายถึง กิจกรรมการเล่น การออกกาลังกาย ซ่ึงเป็นไปตามกฎ กติกา การเล่น
และก่อใหเ้ กิดความแขง็ แรง อดทน สนกุ สนาน โดยมงุ่ หมาย เร่ืองชัยชนะจากการแขง่ ขัน ซึง่ นอก เหนือจากความหนัก
ของกจิ กรรมทท่ี าแลว้ ยงั ตอ้ งการทกั ษะการเลน่ กฬี าช่วยสร้างรา่ งกายและจิตใจ ให้มสี ุขภาพดี โดยมีจุดมุง่ หมาย ดังน้ี

๒.๑ กีฬาเพื่อสุขภาพ ผู้เล่นใช้กีฬาเป็นส่ือ ในการออกกาลังกาย เพื่อสร้างเสริมสุขภาพทาให้ไม่เบ่ือหน่าย มี
ความกระตือรือร้น เกิดการท้าทายและสนุกสนาน โดยมไิ ดห้ วังชนะเพียงอย่างเดียว กฬี าเพอ่ื สุขภาพอาจเล่นคนเดียว
หรือเปน็ ทีมกไ็ ด้ตามความเหมาะสมของ เวลา และสถานท่ี

๒.๒ กีฬาเพื่อการแขง่ ขนั ผเู้ ล่นจาเปน็ ตอ้ งมีพ้นื ฐานการเคลื่อนไหวและทักษะกฬี าชนดิ น้ันๆ ดงั นั้นจงึ จาเปน็ ท่ี
จะต้องฝึกซ้อมและทส่ี าคัญ ความสมบูรณ์แข็งแรงของร่างกายท่ีเป็นรากฐานเพ่อื ใช้ในการแข่งขัน

๓. กิจกรรมทางกาย (Physical Activities) คือ การจัดระบบการออกกาลังกาย เพ่ือให้ร่างกาย
มีความพร้อม อวัยวะต่างๆมีการเคลื่อนไหวต่างกันไป เพิ่มความฟิตแก่ร่างกายได้ชัดเจน กิจกรรมในชีวิตประจาวัน
ทากิจกรรมเหล่าน้ีในปริมาณทีม่ ากพอ ร่างกายไดม้ ีการใช้พลังงานในกิจกรรมทเ่ี คลื่อนไหวมากพอ ก็ส่งผลให้ผปู้ ฏิบตั ิมี
สุขภาพทแ่ี ขง็ แรงได้

ดังน้ัน ผู้ท่ีต้องการมีสุขภาพดี ควรมีกิจกรรมทางกายที่มีการเคล่ือนไหว ที่ใช้พลังงานในระดับที่เหมาะสม
สง่ เสรมิ สขุ ภาพใหด้ ีขึน้ ได้
ความสาคญั ท่ีตอ้ งออกกาลังกาย
การออกกาลังกาย เป็นการป้องกันเสริมสร้างสุขภาพท่ีดีที่สุดเพราะได้ผลและประหยัดท่ีสุด สุขภาพที่ดี คือ ดีทั้งทาง
กายและจิตใจขณะน้ีสาเหตุการตายของประชาชนในประเทศที่พัฒนาแล้ว ได้เปลี่ยนจากโรคติดเชื้อ เป็นโรคท่ีไม่ติด
เชอื้ และจากพฤตกิ รรมของมนุษย์ เช่น การสบู บหุ รี่ ดม่ื สุรา ยาเสพตดิ มเี พศสัมพันธท์ ไี่ ม่เหมาะสม ฯลฯ คนเราทุกคน
จะต้องแก่ เจ็บ และตายทุกคน แต่ในปัจจุบันนี้เราสามารถป้องกันโรคได้หลายโรค ฉะนั้น จึงควรดารงชีวิตอย่างมี
คุณภาพ และไม่ควรเสียชีวิตจากโรคที่ป้องกันได้การออกกาลังและเล่นกีฬาอยา่ งสม่าเสมออย่างเปน็ วถิ ีชีวิต จงึ เป็น
สาเหตุหนึ่งที่จะทาให้ผู้ปฏิบัติมีการเปลี่ยนแปลงทางด้านร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปัญญา ท่ีมา :
http://www.bangkokhealth.com/health/article-1818

๑๑

ภาพประกอบการจดั กรรมการเรยี นรู้
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี ๔ เรือ่ ง การออกกาลงั กายและเลน่ กฬี าจนเป็นวิถชี ีวิต

รายวิชา สขุ ศึกษา ชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒

ภาพชดุ ที่ ๑

ภาพที่ ๑ ภาพพต่ี ูนบอดแ้ี สลม

ทีม่ า : https://www.google.co.th/search?q=ภาพพี่ตูน+บอดี้แสลมวิ่ง
ภาพที่ ๒ วัยรุ่นกาลังเลน่ เกม

ที่มา : https://www.google.co.th/
หมายเหตุ ภาพประกอบการจัดกิจกรรมสามารถปรบั ได้ตามสถานการณแ์ ละบริบถของโรงเรยี นและสภาวะแวดลอ้ ม

๑๒

ภาพชุดท่ี ๒

ภาพท่ี ๑ คนว่ิงออกกาลงั กาย

ที่มา : https://www.google.co.th/search?q=ภาพวง่ิ ออกกาลังกาย+เดนิ
ภาพที่ ๒ คนเล่นเกม,คอมพิวเตอร์

ท่มี า : https://www.google.co
หมายเหตุ ภาพประกอบการจัดกจิ กรรมสามารถปรบั ได้ตามสถานการณส์ ภาวะแวดลอ้ มและบรบิ ถของโรงเรียน

๑๓

ใบความรูท้ ี่ ๔ เรอ่ื ง การสรา้ งวิถชี ีวิตที่มีสขุ ภาพดีโดยการออกกาลังกายและเลน่ กฬี า
หน่วยการเรียนร้ทู ี่ ๑ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ี่ ๕ เรอ่ื ง การออกกาลงั กายและเลน่ กีฬาจนเป็นวิถชี ีวติ (๒)

รายวชิ า สขุ ศึกษา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

การมีสุขภาพดีเปน็ สิ่งท่ีทุกคนปรารถนา ประกอบดว้ ยการดูแลสุขภาพตัวเองอย่างเหมาะสมถูกต้อง เช่น การ
รับประทานอาหารท่ีมีประโยชน์ การพักผ่อนเพียงพอ การป้องกันโรค การใช้ไลฟ์สไตล์ (Life Style) ที่ถูกต้องไม่
ทาลายสุขภาพทั้งระยะสั้นและระยะยาว ที่สาคัญคือ การออกกาลังกายสม่าเสมอจะส่งผลให้ร่างกาย(กล้ามเนื้อ)มี

ความแข็งแรง สดช่ืน กระฉับกระเฉง เป็นต้นวิธีการออกกาลังกายทาได้หลายวิธี
แตกต่างกันเช่นการเดินเร็วๆ การว่ิงเยาะๆ การเต้นแกว่งแขน ยกขา อยู่กับที่ ใน
บ้านสนามหน้าบ้าน การรามวยจีน ไทเก๊ก การใช้ไม้พลองการทาโยคะ การเต้น
แอโรบิกที่ถูกต้องและท่ีสาคัญมาก คือ จะต้องดูว่า อายุ สุขภาพ เหมาะสมกับการออก

กาลังกายแบบไหนดีท่ีจะมปี ระโยชน์ มากทีส่ ดุ ไม่ใชว่ ่าจะออกกาลังกายตามคนอื่น วิธีการ
ออกกาลังกาย

ที่ถูกต้องเหมาะสมจะต้องให้กล้ามเน้ือได้ทางาน เช่น กล้ามเน้ือท่ี แขน ขา ท้อง
คอ รวมทงั้ ปอดและหวั ใจ

ประโยชน์ของการออกกาลังกาย

๑. ทาให้กล้ามเน้ือได้ทางาน เพ่ิมความแข็งแรงให้กล้ามเนื้อ หรือร่างกายนั่นเอง การทางานของกล้ามเนื้อ การ
เคลื่อนไหวกลา้ มเนื้อคลอ่ งแคลว่ ขึน้
๒.ช่วยขับของเสียท่ีเกิดจากกระบวนการเมททาโบลิซึม (Metabolism) ของเซลล์ ออกจากร่างกายเช่น
คาร์บอนไดออกไซด์ที่ออกมาพร้อมลมหายใจออก ของเสียทอ่ี อกมาพร้อมเหงื่อ และ ปัสสาวะ เปน็ ตน้
๓.กล้ามเน้ือหัวใจมีความแข็งแรงข้ึน สูบฉีดโลหิตไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ของร่างกายได้ดี รวมทั้งไปเล้ียงกล้ามเน้ือหัวใจ
ดว้ ยเชน่ กัน

๔.ชว่ ยในการทางานของต่อมไร้ท่อดีข้ึน เช่น ตอ่ มใต้สมอง ต่อมหมวกไต ระบบต่าง ๆ ในรา่ งกายทางานได้อย่าง
มีประสิทธภิ าพ

๕.ลดไขมนั ในเลือด กล้ามเนอื้ และ กระดกู แข็งแรง ช่วยให้เอ็นท่ี
ยึดข้อตอ่ ตา่ ง ๆ ทางานได้ดขี ้นึ

๖.ช่วยให้ระบบภูมิคุ้มกันหรือระบบอิมมูน (Immune System)
ของร่างกายแขง็ แรงดขี ึน้
๗. ท่ีสาคัญอย่างย่ิง คือ เป็นการลด ความเครียด ของร่างกาย เพราะ
ถ้าเรามีความเครียดมาก ๆ จะนาไปสู่โรคภัยต่าง ๆหลายอย่าง เช่น
ความดันโลหิตสูง ปวดศีรษะ ปวดไมเกรน โรคหัวใจ การขับถ่าย
ผิดปกติและที่สาคัญยิ่งคือ ความเครียดจะนาไปสู่การเป็น โรคมะเร็ง
ได้ เวลาทเ่ี หมาะสมในการออกกาลังกาย
การดารงชีวิตของคนในปัจจุบนั ทั้งในเมืองและชนบทแต่ละวันจะต้องตื่นแตเ่ ชา้ รีบเรง่ ไปทางาน ตอนเย็นเลิกงานตอ้ ง
รีบกลับบ้าน การจราจรติดขัดการที่จะบอกว่า การออกกาลังกายเวลาไหนดีที่สุดน้ันบอกชัดเจนไม่ได้ ข้ึนอยู่กับเวลา
และความพรอ้ มของแตล่ ะคน

ตอนเช้าอากาศค่อนข้างดี มมี ลภาวะน้อย กเ็ หมาะในการออกกาลงั กาย
ตอนเย็นหลังจากเลิกงานชว่ งเวลา ๑๖.๐๐-๑๘.๐๐น. ก็เหมาะสม ไม่ต้องกังวลเรื่องไปทางานและเป็นช่วงที่ระบบ
กล้ามเน้อื ทีไ่ ด้เคลอ่ื นไหวมาในตอนกลางวันแล้วทาให้การยดื หยุ่นของกล้ามเนื้อดขี ้นึ

๑๔

ดังนั้นจึงขึ้นอยู่กับเวลาท่ีเหมาะสมของแต่ละคนที่จะต้องพิจารณาตัวเอง ว่าควรจะออกกาลังกายเวลาไหนดีที่สุดไม่มี
กฎตายตัวสาหรับการดารงชีวิตในสังคมปัจจุบันที่สาคัญอย่างย่ิงคือร่างกายของคนเราต้องมีการออกกาลังกาย เพื่อ
เสรมิ สรา้ งความแข็งแรงใหร้ า่ งกายมีสุขภาพดี

ระยะเวลาในการออกกาลงั กาย

ระยะเวลาในการออกกาลงั กาย ก่นี าที กช่ี ่ัวโมง ทางด้าน
การแพทย์ก็ไม่ได้กล่าวไว้ตายตัวว่าออกกาลังกายนานแค่ไหน ท้ังน้ี
ขนึ้ อยู่กับ อายุ สุขภาพ ความแขง็ แรงของร่างกาย มโี รคประจาตัว
อะไรบา้ ง เช่นความดันโลหิต โรคหวั ใจ ฯลฯ

แต่โดยท่ัวไปทางการแพทยแ์ นะนาให้ ออกกาลงั กายนาน
ประมาณ ๑๐-๓๐นาทีต่อวนั สปั ดาห์ละ ๓วัน หรือวันเวน้ วนั หรือ
ออกกาลังกาย ๑๐นาที แล้วรสู้ กึ เหนื่อยก็ใหห้ ยุดพักก่อน แล้วจงึ ออกกาลังกายต่ออกี จนครบเวลา ๓๐นาที ก็ได้

การออกกาลังกายอย่างปลอดภัยรองศาสตราจารย์นายแพทย์อภิชาติ อัศวมงคลกุล ภาควิชาศัลยศาสตร์ ออร์
โธปิดิคส์และกายภาพบาบดั มหาวิทยาลัยมหิดล ได้กล่าวว่า ผู้ท่ีออกกาลังกายควรเลือกการออกกาลังกายตามแบบท่ี
ชอบและสะดวกผู้ที่มีโรคประจาตัว เช่น โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน ไขมันในเลือดสูง หรือมีประวัติคนใน
ครอบครัวเปน็ โรคหัวใจควรปรึกษาแพทย์ก่อนเลือกวิธีออกกาลังกายนอกจากนี้การออกกาลังกายในครง้ั แรกๆ ไมค่ วร
หักโหมมาก การออกกาลังกายท่ีดี ควรเป็นการออกกาลังกายอย่างต่อเน่ือง ไม่ใช่ทาเป็นคร้ังคราวแต่หักโหมในขณะ
ออกกาลังกายให้สงั เกตอาการดังต่อไปนี้

๑. หัวใจเตน้ มาก เต้นแรง จนรสู้ กึ
๒. หายใจเหน่อื ยจนพูดไม่เป็นประโยค
๓.เหนื่อย ใจหววิ ๆ จนเปน็ ลม
หากมอี าการดงั กล่าวให้หยุดออกกาลังกาย พกั ร่างกายสกั ๒วนั และเวลาออกกาลังกายคร้งั ต่อไปให้ลดระดับ
การออกกาลงั กาย
การเตรยี มตัวสาหรับการออกกาลังกาย
๑. ก่อนออกกาลงั กายทกุ คร้ัง ควรรับประทานอาหารรองท้อง เช่น ดื่มนมโอวัลตินหรือน้าเตา้ หู้ ๑แกว้ (ไม่ใช่
รับประทานเป็นอาหารหลัก) หากไม่กินอะไรเลยเวลาออกกาลงั กายมีโอกาสเป็นลมได้
๒.ต้องทาการอบอุ่นร่างกายก่อนทุกคร้ัง เช่นเดินภายในบ้าน รอบ ๆ บ้าน ในสนาม หรือท่ีๆ เหมาะสม
ประมาณ ๕-๑๐นาที เพือ่ ให้เลอื ดไปเล้ียงสว่ นต่าง ๆ ได้มากขนึ้ หลอดเลือดมีการเตรียมความพรอ้ มมากขนึ้
๓.เรม่ิ ออกกาลังกายตามปกติ
๔.หลังจากออกกาลังกายตามปกตแิ ลว้ อย่าหยุดออกกาลงั กายทันที ควรผ่อนการออกกาลังกายลงจนกระทั่ง
ชีพจรปกติหรือการออกกาลังกายเพ่ือสุขภาพโดยรวมจะได้มี สุขภาพดี จิตใจดี อารมณ์ดี ความเครียดลดลง
ปราศจากโรคภัยมารบกวน

ท่มี า : http://www.thaihealth.or.th/Content/25028.html

๑๕

ภาพประกอบการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้
หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี ๑ แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ี ๕ เรื่อง การออกกาลังกายและเล่นกีฬาจนเปน็ วถิ ีชวี ิต (ต่อ)

รายวชิ า สุขศึกษา ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒
ภาพนักกฬี าวอลเลยบ์ อล,ว่ิงมาราธอน

ท่มี า : https://www.google.co.th/

เพลงกราวกฬี า

..พวกเรานกั กีฬา ใจกลา้ หาญ เชี่ยวชาญชงิ ชยั ไม่ยน่ ย่อ

คราวชนะรกุ ใหญ่ไมร่ ีรอ คราวแพ้ก็ไม่ทอ้ กัดฟนั ทน

(สร้อย) ฮึม.ฮึม.ฮึม.ฮมึ .กีฬา กีฬา เป็นยาวิเศษฮา-ไฮ ฮา-ไฮกีฬา กีฬา เป็นยาวิเศษแก้กองกเิ ลสทาตนให้เป็นคนผลของ

การฝกึ ตนเลน่ กีฬาสากลตะละล้า

..รา่ งกายกายาล้าเลิศ กลา้ มเนื้อกอ่ เกิดทุกแห่งหน

แข็งแรงทรหด อดทน ว่องไวไม่ย่นระย่อใครฮมึ ฮึมฮึมฮึม (สร้อย)

..ใจคอมัน่ คงทรงศักด์ิ รจู้ กั ทหี่ นีที่ไล่

รแู้ พร้ ชู้ นะรู้อภัย ไว้ใจไดท้ ว่ั ทั้งรักชังฮมึ ฮึมฮึม ฮึม(สรอ้ ย)

..ไม่ชอบเอาเปรียบเทียบแขง่ ขัน สู้กันซึง่ หนา้ อยา่ ลับหลัง

มวั สว่ นตวั เบอื่ เหลือกาลัง เกลยี ดชงั การเล่นเห็นแก่ตวั ฮึมฮมึ ฮมึ ฮึม (สร้อย)

ที่มา : https://xn--72c9bva0i.meemodel.com=เพลงกราวกีฬา

๑๖

ใบความรทู้ ่ี ๖ เรือ่ งลักษณะเบือ้ งตน้ ของผู้มปี ัญหาสุขภาพจิต
หนว่ ยการเรียนรู้ที่ ๑ แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๗ เร่ืองลกั ษณะอาการเบ้อื งต้นของผู้มีปญั หา

รายวชิ า สขุ ศกึ ษาชั้นมธั ยมศึกษาปที ี่ ๒
......................................................................................................................................................................
ลักษณะของผ้ทู ีม่ สี ุขภาพจติ ดีผู้ที่มีสุขภาพจติ ดีมีลกั ษณะดังนี้

๑. เป็นผ้ทู ่รี ู้จกั และเขา้ ใจตนเอง ซ่งึ จะแสดงออก ดังนี้
- ยอมรับความผดิ หวงั ได้อย่างกล้าหาญ
- ใจกว้างพอที่จะยอมรบั และเขา้ ใจความรู้สกึ นึกคดิ ของผู้อืน่
- ประมาณความสามารถของตนเองได้ใกล้เคยี งกับความเปน็ จริง
- ยอมรับสภาพความขาดแคลนหรือขีดจากัดบางอย่างของตนได้ และยอมรบั นับถือตนเอง
- สามารถจดั การกบั สภาพการณ์หรอื เหตุการณ์ ต่าง ๆ ท่เี กิดขึน้ กับตนได้
- พอใจและชืน่ ชมยนิ ดตี ่อความสุขหรือความสาเร็จของตนในชวี ติ ประจาวัน ไมว่ า่ จะเลก็ นอ้ ยก็ตาม

๒. เป็นผู้ทีร่ ู้จักเข้าใจผู้อืน่ ซง่ึ แสดงออก ดังนี้
- ให้ความสนใจและรกั คนอน่ื เป็นและยอมรับความสนใจและความรักใครท่ ่ีคนอื่นมตี อ่ ตน
- เข้าใจและยอมรับความแตกต่างระหวา่ งบุคคล
- เปน็ ไดท้ ้งั ผ้นู าและผตู้ ามท่ดี ี
- เป็นส่วนหน่งึ ของหมู่คณะ
- มีความรับผดิ ชอบตอ่ หมคู่ ณะหรือบคุ คลอื่นทีเ่ กย่ี วโยง

๓. เปน็ ผทู้ สี่ ามารถเผชญิ กับความจรงิ ในชวี ติ ดังนี้
- แกป้ ัญหาและเผชญิ กับอปุ สรรคไดด้ ้วยตัวเอง โดยไมห่ วาดกลวั มากนัก
- มกี ารวางแผนลว่ งหนา้ ในการกระทางานหรือการปฏิบัติงานตา่ ง ๆ
- ตง้ั จุดมงุ่ หมายของชวี ิตไว้สอดคล้องกบั ความจรงิ
- ตัดสินใจในปัญหาตา่ งๆ ได้อย่างฉลาด ฉับพลนั ปราศจากการลงั เลหรอื เสยี ใจภายหลงั
- สามารถใชพ้ ลังงานที่มอี ยู่ได้อย่างเต็มท่แี ละเกดิ ประโยชน์มากทสี่ ุดเท่าท่ีจะทาได้

๔. ไม่ใช้กลวิธีปอ้ งกันตนเอง แบบใดแบบหนึง่ มากเกินไป แต่จะยอมรบั ความจริงท่ีเกิดขนึ้ และพยายามหาวธิ ี
ลดความวิตกกงั วลลงดว้ ยวิธีการทสี่ มเหตสุ มผล

๕. เป็นผู้มอี ารมณข์ ันบา้ ง พยายามมองโลกในแง่ดีด้วยการพิจารณาข้อดขี องเหตุการณ์ตา่ งๆ หรอื การกระทา
ตา่ งๆ เพราะเหตุการณ์หรอื การกระทาบางอย่างน้นั มีทัง้ ข้อดแี ละข้อเสยี และการใช้
อารมณ์ขันชว่ ยแกไ้ ขเหตุการณ์ท่ีตงึ เครยี ด จะทาให้มองโลกแง่ดขี ้นึ

ลักษณะเบ้ืองตน้ ของผู้มปี ญั หาสขุ ภาพจิต ผมู้ ีปัญหาสขุ ภาพจิตจะมอี าการทีต่ นเองรสู้ ึก
ไดเ้ องหรอื ผู้อื่นสังเกตเหน็ แต่ตนเองไม่ร้วู ่า คือปญั หา ได้แก่
๑. อาการทางกาย ปว่ ยทางกาย เชน่ มคี วามกงั วลทาให้ระบบหายใจผิดปกติ เกิดอาการ ใจสัน่ หอบ ทอ้ งอดื ท้องเฟ้อ
รับประทานอาหารไม่ได้หรือทานมากเกินไป นอนไม่หลับ อ่อนเพลีย ท้องผูก ปวดศรี ษะ ความดนั โลหติ สูง ชกั เกรง็
ปวดขอ้ หรือปวดเม่ือยตามร่างกาย

๑๗

๒. อาการทางจิตแสดงออกทางทางความรู้สกึ หรืออารมณ์
๒.๑ดา้ นความรสู้ ึก ไมส่ บายใจ นอ้ ยใจ หลงตัวเอง
๒.๒ ด้านความคิด ฟุ้งซ่าน สับสน หูแว่ว เบื่อชีวิตขี้ระแวงน้ันเป็นคนที่ไม่เคยไว้วางใจใครเลย ใครจะทาอะไร จะ

คิดอะไรก็นึกคิดไปว่าเขามีความประสงค์ร้ายกับตน คิดว่าใครๆ ไม่รัก ไม่นับถือ ระแวงว่าจะถูกทรยศหักหลัง ถ้าคุณ
เปน็ เจ้านาย คณุ กจ็ ะระแวงวา่ งานที่มอบหมายให้ลกู น้องอาจจะทาไม่สาเรจ็ ถา้ คณุ มแี ฟน ก็ระแวงว่าแฟนจะ
มีก๊กิ หมกมุ่นอยู่กับความอาฆาตแคน้
๒.๓ ดา้ นอารมณ์ ซึมเศรา้ อ่อนไหว แสดงออกไมเ่ หมาะสม ความจาเส่อื ม ไม่มีสมาธิ
๓. ด้านพฤติกรรม แสดงออกลักษณะที่สังคมไม่ยอมรับ ก้าวร้าว ทาลายทรัพย์สิน ทาร้ายผู้อ่ืน แยกตัว ติดยาเสพติด
ประพฤติผิดทางเพศ เจ้าระเบียบเกินไป ย้าคิดย้าทา พึ่งพาผู้อื่น แต่งกายไม่เหมาะสมกับเพศและวัยลักขโมย พูดปด
เป็นต้นปญั หาสขุ ภาพจิตทแ่ี สดงออกทางพฤติกรรม โดยเฉพาะพฤตกิ รรมทางเพศพวกน้ีจะไม่
สามารถเก็บกดความร้สู ึกได้ เมือ่ มโี อกาสเวลาใดจะมีความตอ้ งการอย่างผิดปกติและรนุ แรงแสดงออกโดยไม่ร้ตู วั ไดแ้ ก่

- Homosexual รกั รว่ มเพศ สนใจเพศเดียวกัน
- Incest มคี วามสัมพนั ธ์ทางเพศกับสายโลหิตเดยี วกนั
- Pedophillia การชอบร่วมเพศกับเดก็ เล็ก ๆ
- Best- tiolity ความร้สู กึ รักใคร่ในสัตวเ์ ดรัจฉาน
- Satyiasis ความรู้สกึ มกั มากในทางกามารมณ์ ชอบมีความรู้สึกแปลก ๆ
- Nymphomania หญงิ ทม่ี คี วามร้สู กึ ทางอารมณ์จัด
- Exhibitionism ชอบอวดอวัยวะเพศให้เพศตรงข้ามดู
- Sadism เพศชายที่ชอบกระตุ้นโดยการทารุณเพศตรงข้าม
- Masochism เพศหญงิ ท่ชี อบให้ฝ่ายตรงข้ามทาใหเ้ จ็บปวดทรมาน
- Kleptomania พวกทีช่ อบขโมยหรือสะสมกางเกงใน เส้ือชนั้ ในหญงิ สาว
๔. การเจบ็ ป่วยทางจิต มีอาการเจ็บปว่ ยทางจติ แบง่ ออกเป็น ๒ ชนิดคือ
๔.๑โรคประสาท (Neurosis or Psychoneurosis) เปน็ ความผดิ ปกติของจติ ใจค่อนขา้ งรุนแรง มีความวิตกกังวลเปน็
อาการหลกั ร่วมกับอาการทางจติ อืน่ ๆ จากสภาพจิตใจท่อี ่อนแอไม่สามารถทนต่อความคับแค้นของสงั คมและ
ส่ิงแวดลอ้ มได้ สามารถปฏบิ ัติหนา้ ทกี่ ารงานไดต้ ามปกติ อยู่ในกรอบของสังคมได้ ประสิทธภิ าพในการทางานจะ
ลดลง จะมีอาการนานเกินหนึ่งเดือน สามารถรกั ษาให้หายหรือทุเลาได้ อาการของโรคแบง่ ออกเปน็ ๗ ชนิด คือ

๑) วิตกกงั วลมาก (Anxiety) โดยไมท่ ราบสาเหตุ มีอาการทางกายและทางใจรว่ มด้วย
๒) อาการชกั กระตุกหรือเกร็งคลา้ ยผเี ขา้
๓) อาการหวาดกลวั (Phobic disorder) เกิดความกลัวฝงั แน่นตอ่ สง่ิ ใดสิ่งหน่ึงอยา่ งรุนแรงโดยไมม่ ีเหตผุ ล
๔) ย้าคดิ ย้าทา (Obsessive Compulsive disorder) ทาซา้ ๆ คิดซา้ ๆ เปน็ เวลานานทง้ั ทร่ี ตู้ วั แตค่ วบคมุ ไม่ได้
๕) เสียใจซมึ เศรา้ เกินกวา่ เหตุ (Neurotic depressive) จดจ่อยกู่ บั เรอ่ื งราวทไี่ ดร้ ับความสะเทอื นใจ
มากกว่าทค่ี วรจะเปน็
๖) หมกมุ่นอยู่กบั ความเจ็บป่วยของตนเอง
๗) ออ่ นเพลีย เบ่ือหนา่ ย

๑๘

๔.๒ โรคจติ (Psychosis) เปน็ ความผิดปกติของจิตใจข้นั รุนแรง ไม่สามารถประกอบภารกิจการงานได้ ไมท่ ราบว่า
ตนเองมีความผดิ ปกติ ไมส่ ามารถช่วยตนเองในการดารงชีวติ ประจาวนั ได้ ไมส่ ามารถรบั รู้สภาพความเปน็ จรงิ ใน
ปัจจุบนั ได้ ไม่ทราบวา่ ตนเองเปน็ ใคร บุคลกิ เปลี่ยนไปจากเดมิ จาเปน็ ต้องได้รบั การรักษา อาการของโรคจิตแบง่
ออกเป็นกลุ่มใหญๆ่ ได้ ๖ กลุ่ม ดังนี้

๑) คลมุ้ คลงั่ เอะอะ อาละวาด เกรี้ยวกราด ดุรา้ ย
๒) ยม้ิ คนเดยี ว พดู พมึ พา เดินไปมา
๓) ซึมเฉย แยกตวั เอง ไมพ่ ดู กับใคร
๔) หลงผดิ (Delusion) หวาดระแวง กลัวถกู ทาร้าย
๕) ประสาทหลอน (Hallusination) ได้ยินเสยี งคนมาพูดคยุ ดว้ ยโดยไม่มตี ัวตน เห็นภาพแปลก ๆ
๖) อาการหลายๆ อยา่ ง บางครัง้ เอะอะ บางคร้งั ซึมเฉย บางรายมอี าการหลงผิด หวาดกลัวประสาทหลอน
สาเหตุของปัญหาสุขภาพจิต
๑. สาเหตขุ องร่างกาย
มีการถ่ายทอดทางพันธุกรรมโดยโครโมโซม (Chromosome) เช่นเดียวกับโรคเบาหวาน มะเร็งตับและความพิการ
ของอวัยวะต่างๆ เช่น ในกลุ่มบิดา มารดา พ่ีน้องที่เคยเป็นโรคจติ มีโอกาสที่จะเป็นได้ร้อยละ ๗-๑๖ แต่ในคนท่ัวไปจะ
เป็นโรคจิตเพียงร้อยละ ๐.๙ เท่าน้ันหรือ คู่แฝดของผู้ป่วยโรคจิตจากไข่ใบเดียวกัน มีโอกาสเป็นโรคจิตด้วยร้อย
ละ ๗๐-๙๐ นอกจากน้ีความเจบ็ ป่วยทางกาย ความพิการ หรือมีโรคเรื้อรังจะทาให้บุคคลนนั้ มีอารมณ์แปรปรวน เกิด
ความวิตกกังวล ท้อแท้ คดิ มาก มีผลกระทบตอ่ สขุ ภาพจิตได้ ดังนี้
๑.๑ โรคทางสมอง โรคทางสมองท่ีพบบ่อย ไดแ้ ก่
- ความเสื่อมของสมองตามวยั (Senile dermentia)
- ความเส่อื มจากหลอดเลอื ดสมองตบี (Arteriosclerosis dermentia)
- การอกั เสบของสมอง (Encephalitis)
- เนอื้ งอกของสมอง (Intracranial Neoplasm)
- สมองพิการจากซิฟิลสิ (Syphilis Meningoencephalitis)
พยาธิสภาพดังกล่าว ทาให้เซลล์ของสมองถูกทาลายและเกิดความเสื่อมของเซลล์สมองอันเป็นสาเหตุทาให้เกิดความ
ผิดปกตขิ องจิต
๑.๒ สารจากต่อมไร้ท่อ สารจากต่อมต่างๆ ในร่างกายมีผลต่อร่างกาย เช่น ต่อมไทรอยด์เป็นพิษ
(Hyperthyroidism) มีอาการหงุดหงิดกระวนกระวาย มีความเครียด มีอาการซึมเศร้าและเฉื่อยชา ความจาเสื่อมเมื่อ
อาการทาง จิต เป็ น มา ก อาจกลายเป็นโ ร คจิต หรื อโ รค จิต เภ ท สาหรับโ รคขาด ฮ อร์โ มน จา ก ต่ อ ม
ไทรอยด์ (Hypothyroidism ) ผู้ป่วยจะมีอาการอ่อนเพลีย เฉื่อยชา ความจาเสื่อม อารมณ์เฉยเมย ไม่อยาก
พูด ประสาทหลอน และมอี าการซึมเศรา้
๑.๓ อุบัติเหตทุ างสมอง เมอ่ื สมองไดร้ ับอุบัติเหตุ เชน่ กะโหลกศีรษะไดร้ บั อุบัติเหตุ กะโหลกศรี ษะฟาดพ้ืนหรือ
ของแข็ง และสมองได้รับความกระทบกระเทือนมากจนเกิดพยาธิสภาพของเซลล์สมอง หรืออาจมีเลือดออกภายใน
เนื้อสมองจนเลือดไปกดดันเนอ้ื เย่ือของสมองย่อมทาใหเ้ ซลลข์ องสมองเสื่อมไปตามความรนุ แรงของอุบัติเหตุและพยาธิ
สภาพท่เี กดิ ขนึ้ ทาให้เกิดความผดิ ปกติ และความแปรปรวนของจิตได้

๑๙

๑.๔ สารพษิ ตา่ งๆ ถา้ รา่ งกายไดร้ ับสารพษิ เช่น กญั ชา มอร์ฟีน เฮโรอนี ฝนิ่ โคเคอนี ยานอนหลับ แอมเฟตามีน
( ยาบ้า ) เม่ือใช้สารต่าง ๆ เหล่านี้จนติด หากไม่ได้กินหรือเสพจะทาให้เกิดอาการแปรปรวนของจิตได้ เช่น หงุดหงิด
ทุรนทรุ าย หาวนอน ประสาทหลอน หมดความละอาย กา้ วรา้ ว ชอบทะเลาะววิ าท คมุ สตไิ มอ่ ยแู่ ละมักทารา้ ยรา่ งกาย
ผ้อู ่นื

๑.๕ โรคพิษสุราเรื้อรัง สุรามีสารที่สาคัญคือแอลกอฮอล์ เมื่อแอลกอฮอล์อยู่ในกระแสเลือดสามารถทาลายเซลล์
ของสมองให้เส่ือมลงตามลาดับ ถ้าด่มื สรุ ามากและดื่มทุกวันสมอง จะเสอื่ มมากขึ้น จนเกิดความวปิ รติ ทางจิต หรอื เกิด
โรคจติ ไดห้ ลายอย่าง เชน่ มีอาการพลงุ่ พล่าน อาละวาด ดรุ ้ายจนถงึ ขน้ั ทาร้ายรา่ งกายและทาลายชีวิตผู้อืน่ ได้

๑.๖ การทางานหนักเกินกาลัง การทางานหนักเกินกาลังทุกๆ วันจะก่อให้เกิดความเครียด ความกังวลความ
หงุดหงิด คิดมาก นอนไม่หลับ อ่อนเพลียจนเกิดความสับสนและตัดสินใจผิดพลาด ทาให้เกิดปฏิกิริยาทางจิตใจและ
เป็นเหตขุ องโรคประสาทได้
๒. สาเหตุทางจติ ใจ
เนอ่ื งจากมนษุ ย์มคี วามต้องการดา้ นจิตใจอยเู่ สมอตราบใดที่ยังมีชวี ิตอยคู่ วามต้องการดังกลา่ วคือ ความต้องการ
พน้ื ฐานที่เปน็ แบบแผนเดียวกันกบั ทฤษฎขี องมาสโลว์ ซงึ่ แบง่ ออกเป็น ๕ ข้นั ดังน้ี

ขนั้ ที่ ๑ ต้องการทางดา้ นร่างกาย เชน่ ตอ้ งการอาหาร ทอ่ี ยอู่ าศยั เครอ่ื งนุ่งหม่ ยารกั ษาโรค เปน็ ตน้
ขั้นที่ ๒ ต้องการความปลอดภัย ไมต่ ้องการใหช้ วี ติ ไดร้ บั อันตราย
ข้ันท่ี ๓ ตอ้ งการความรัก เชน่ ความรกั จากพ่อแม่ เพอ่ื น เป็นต้น
ข้ันที่ ๔ ตอ้ งการมชี อ่ื เสียง เชน่ อยากใหเ้ ป็นท่ีรจู้ ักของสังคม
ขนั้ ที่ ๕ ต้องการประสบความสาเร็จ เชน่ ประสบความสาเร็จด้านการประกอบอาชพี ดา้ นการเรียน เปน็ ต้น
ในความต้องการพ้ืนฐานทั้ง ๕ ข้ันดงั กลา่ ว บางคนก็สมปรารถนาทุกขั้น บางคนกไ็ ด้เพียง ๒-๓ ขั้น และบางคนกว่าจะ
ได้ตามความต้องการก็จะพบกับอุปสรรคมากมาย แม้จะต่อสู้ก็ไม่สมกับท่ีหวังไว้และไม่อาจทาใจได้ หรือทาให้เกิด
ความผิดหวังรุนแรง เกิดความทุกข์ความไม่สบายใจเป็นเวลานาน จนอาจเกิดความเจ็บป่วยทางจิต หรือเกิดปัญหา
สขุ ภาพจิตได้จากสาเหตตุ า่ งๆ ดังนี้
๒.๑ความผิดหวังรุนแรง คนที่ไม่เคยผิดหวัง เมื่อผิดหวังย่อมทาให้เกิดอารมณ์เศร้าและเสียใจได้มาก เช่น สอบไม่
ผา่ น สอบเขา้ ทางานไม่ไดห้ รอื อกหัก บางครัง้ รอ้ งไหค้ นเดียว มีอาการนอนไม่หลับ ออ่ นเพลยี กนิ ขา้ วไมไ่ ด้ หงดุ หงดิ
๒.๒ การสญู เสยี บุคคลทรี่ ัก การสญู เสยี บิดามารดาและบุคคลท่ีตนรกั เป็นเหตุใหเ้ กิดความ เสยี ใจอย่างรุนแรง
จนมอี าการซึมเศรา้ นอนไมห่ ลับ หดหูใ่ จ หงดุ หงดิ โกรธงา่ ย รสู้ กึ ทอ้ แทแ้ ละเบ่ือชวี ิต
๒.๓การตัดสินใจผิด ทุกคนมีความคิด ต่างก็คิดว่าตนคิดดีและตัดสินใจดีท่ีสุดแล้ว แต่กลับได้รับความล้มเหลว
และความเสียหาย เช่นเดียวกับการสอบไล่ตก จึงทาให้เกิดอารมณ์เศร้าและหมดความสุข มีความเสียใจเศร้าอย่าง
รนุ แรง
๒.๔การสูญเสียทรพั ย์สนิ เงนิ ทอง ของคนบางคนรนุ แรงพอๆ กับการสูญเสียบคุ คลที่ตนรกั เพราะจิตใจมุ่งมั่นอยู่
แต่เร่ืองทรัพย์สินเม่ือสูญเสียคร้ังเดียวและเป็นเงินจานวนมาก ทาให้เสียใจ คิดมาก ทาให้เกิดอาการซึมเศร้านอนไม่
หลับ

๒๐

๓. ปัจจัยภายนอกตัวบคุ คลแบ่งออกเป็น ๖ ประการ ได้แก่
๓.๑ สาเหตุจากครอบครวั และสมั พันธภาพระหวา่ งพอ่ แม่ ลกู บุคคลท่ไี ม่ได้รบั ความรกั ความอบอุ่นจากพ่อแม่ อยู่

ในครอบครัวท่ีไม่มีความสุข ไม่ได้รับประสบการณ์ของสัมพันธภาพที่ดีจากครอบครัว เมื่อโตข้ึนจึงไม่สามารถปรับตัว
ได้ จิตใจไมเ่ ข้มแข็ง ไม่สามารถเผชญิ ปญั หาและอุปสรรคต์ ่าง ๆ ของชวี ติ ซงึ่ นาไปสูป่ ัญหาสุขภาพจติ

๓.๒ สาเหตุจากฐานะเศรษฐกจิ เงินเป็นปัจจัยสาคัญ หากครอบครวั ใดไมส่ ามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจใหส้ มดุลกับ
รายจา่ ยได้ จงึ เกิดหน้สี ินก็กระทบกบั สขุ ภาพจติ ของครอบครัวได้

๓.๓ การขาดการศึกษาอบรม การขาดการศึกษาอบรมสั่งสอนที่ดี ทาให้ชีวิตหมกมุ่นอยู่แต่ในความมืดมน หมด
หวงั ย่อมทาใหจ้ ิตใจหดหเู่ กดิ ความเสือ่ มของสมองเปน็ ปญั หาสขุ ภาพจิตได้

๓.๔ สภาพชีวิตสมรสหรือชีวิตโสดท่ีมีปัญหายุ่งยาก ในชีวิตสมรสมีปัญหาเกิดขึ้นได้เสมอ เช่น ความขัดแย้ง การ
ตั้งครรภ์ การมีบุตร สิ่งเหล่านี้นาปัญหาเข้ามาในชีวิตสมรส ถ้าทางออกไม่ได้ก็จะก่อให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต สาหรับ
คนเป็นโสดอาจเกิดปัญหา เชน่ วา้ เหว่ขาดเพ่อื น เหงา คดิ มาก นอนไม่หลับ เกดิ ปญั หาสขุ ภาพจติ ไดเ้ ชน่ กนั

๓.๕ สาเหตุจากสภาวการณ์แวดล้อมต่าง ๆ เหตุการณ์หรือกิจกรรมที่เกิดข้ึนในช่วงวัยต่าง ๆ ที่คนต้องปรับตัว
ตั้งแต่วัยเด็กจนถึงวัยผู้ใหญ่ ถ้าปรับตัวไม่ได้ก็จะทาให้เกิดปัญหาสุขภาพจิต นอกจากนั้นการประสบภัยธรรมชาติ
เช่น นา้ ท่วม แผ่นดินไหว ไฟไหม้ ซง่ึ สถานการณ์เหล่านจ้ี ะมผี ลกระทบต่อจิตใจอย่างรนุ แรงทาใหเ้ กดิ ปัญหาสุขภาพจิต
ได้

๓.๖ สาเหตจุ ากวฒั นธรรมและค่านยิ มของสังคม ในสังคมปัจจบุ ันน้ีมกี ารเปล่ยี นแปลงทางวฒั นธรรม และคา่ นยิ ม
อย่างรวดเร็ว เด็กและวัยรุ่น มักรับวัฒนธรรมท่ีเปลี่ยนใหม่ได้ง่ายและรวดเร็ว ซ่ึงจะเกิดความขัดแย้งกับผู้ใหญ่ ทาให้
ผู้ใหญไ่ มพ่ อใจ ส่งผลให้เกดิ ปัญหาสขุ ภาพจติ ไดท้ ั้งเด็กและผใู้ หญ่

ท่ีมา : www.ilchonburi.org/substance/mental_health.htm

๒๑

แบบทดสอบดัชนชี ี้วดั สุขภาพจิตคนไทยฉบบั สมบรู ณ์ ๕๕ ขอ้ ปี พ.ศ.๒๕๕๐
....................................................................

ช่อื -สกลุ .......................................................................หอ้ ง..................เลขท่.ี .....................

คาช้แี จง : กรณุ าเลือกคาตอบในชอ่ งท่มี ีขอ้ ความตรงกบั ตัวทา่ นมากทีส่ ุด และขอความร่วมมือตอบคาถามทกุ ข้อ
คาถามต่อไปนี้จะถามถึงประสบการณ์ของท่านในช่วง ๑เดือนที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบัน ให้ท่านสารวจตัวท่านเองและ
ประเมินเหตุการณ์ อาการหรือความคิดเห็นและความรูส้ ึกของท่าน ว่าอยู่ในระดับใด แล้วตอบลงในช่องคาตอบที่เป็น
จริงกับตวั ทา่ นมากทีส่ ดุ โดยคาตอบจะมี ๔ ตวั เลือก คอื

ไม่เลย หมายถึง ไม่เคยมีเหตกุ ารณ์ อาการ ความรสู้ ึก หรือไม่เหน็ ด้วยกับเรือ่ งน้ัน ๆ
เลก็ น้อย หมายถงึ เคยมเี หตุการณ์ อาการ ความรู้สกึ ในเรื่องน้ัน ๆ เพียงเล็กนอ้ ยหรือเหน็ ดว้ ยกบั เรือ่ งนัน้ ๆ

เพยี งเลก็ นอ้ ย
มาก หมายถึง เคยมีเหตกุ ารณ์ อาการ ความรู้สกึ ในเรอื่ งนนั้ ๆ มาก หรอื เหน็ ด้วยกบั เรอ่ื งนั้น ๆ มาก
มากที่สุด หมายถงึ เคยมเี หตกุ ารณ์ อาการ ความรสู้ ึกในเร่ืองนัน้ ๆ มากที่สุด หรือเห็นดว้ ย กับเรอ่ื งนั้นๆ มากทสี่ ุด

ข้อ รายการ ไม่เลย เลก็ นอ้ ย มาก มากทส่ี ดุ

๑ ทา่ นรู้สกึ พึงพอใจในชวี ิต

๒ ทา่ นรู้สึกสบายใจ

๓ ท่านรู้สกึ สดชนื่ เบกิ บานใจ

๔ ท่านรู้สกึ ชวี ิตของทา่ นมีความสขุ สงบ (ความสงบสุขในจิตใจ)

๕ ทา่ นรสู้ กึ เบื่อหนา่ ยท้อแท้กบั การดาเนนิ ชวี ติ ประจาวนั

๖ ทา่ นรสู้ ึกผดิ หวงั ในตัวเอง

๗ ทา่ นรสู้ กึ วา่ ชีวติ ของทา่ นมีแตค่ วามทุกข์

๘ ทา่ นรสู้ กึ กงั วลใจ

๙ ท่านรู้สึกเศร้าโดยไมท่ ราบสาเหตุ

๑๐ ท่านรสู้ ึกโกรธหงุดหงิดงา่ ยโดยไม่ทราบสาเหตุ

๑๑ ท่านต้องไปรับการรกั ษาพยาบาลเสมอๆเพือ่ ใหส้ ามารถดาเนนิ ชวี ิตและ

ทางานได้

๑๒ ทา่ นเปน็ โรคเร้อื รงั (เบาหวาน ความดนั โลหิตสูง อัมพาต ลมชกั ฯลฯ ใน

กรณีถา้ มใี หร้ ะบุว่ามีความรนุ แรงของโรคเล็กน้อยหรอื มากตามอาการทม่ี ี

๑๓ ท่านรสู้ กึ กังวลหรอื ทกุ ขท์ รมานใจเกยี่ วกบั การเจ็บปว่ ยของท่าน

๑๔ ท่านพอใจต่อการผูกมติ รหรอื เข้ากบั บคุ คลอื่น

๑๕ ทา่ นมสี ัมพันธภาพที่ดกี ับเพื่อนบ้าน

๑๖ ทา่ นมสี มั พนั ธภาพทดี่ กี ับเพ่อื นรว่ มงาน (ทางานรว่ มกบั คนอนื่ )

๑๗ ทา่ นคิดวา่ ทา่ นมีความเปน็ อยแู่ ละฐานะทางสังคมตามท่ีทา่ นไดค้ าดหวัง

ไว้

๒๒

ข้อ รายการ ไม่เลย เล็กน้อย มาก มากทสี่ ุด

๑๘ ทา่ นร้สู ึกประสบความสาเร็จและความกา้ วหนา้ ในชีวิต

๑๙ ทา่ นรู้สกึ พงึ พอใจกับฐานะความเป็นอย่ขู องทา่ น

๒๐ ท่านเหน็ วา่ ปญั หาส่วนใหญเ่ ป็นสิ่งทแี่ กไ้ ขได้

๒๑ ทา่ นสามารถทาใจยอมรับไดส้ าหรบั ปัญหาทย่ี ากจะแก้ไข (เมื่อมปี ญั หา)

๒๒ ท่านมนั่ ใจว่าจะสามารถควบคุมอารมณ์ไดเ้ มือ่ มเี หตุการณค์ บั ขันหรอื

ร้ายแรงเกดิ ขนึ้

๒๓ ทา่ นมน่ั ใจทจ่ี ะเผชิญกบั เหตุการณร์ ้ายแรงท่ีเกิดขน้ึ ในชีวิต

๒๔ ทา่ นแกป้ ัญหาทขี่ ดั แยง้ ได้

๒๕ ทา่ นจะรู้สึกหงดุ หงิด ถ้าสิง่ ต่างๆ ไม่เปน็ ไปตามท่ีคาดหวงั

๒๖ ท่านหงุดหงิดโมโหงา่ ยถา้ ทา่ นถกู วิพากษว์ จิ ารณ์

๒๗ ท่านรสู้ ึกหงดุ หงิด กงั วลใจกบั เร่อื งเลก็ ๆนอ้ ยๆ ทเ่ี กิดขนึ้ เสมอ

๒๖ ทา่ นรูส้ กึ กังวลใจกับเรื่องทุกเรอื่ งท่ีมากระทบตวั ทา่ น

๒๙ ทา่ นรสู้ กึ ยนิ ดีกบั ความสาเร็จของคนอน่ื

๓๐ ทา่ นรู้สกึ เหน็ ใจเมื่อผู้อ่ืนมที กุ ข์

๓๑ ทา่ นรู้สกึ เปน็ สุขในการชว่ ยเหลือผูอ้ ื่นเมอ่ื มีโอกาส

๓๒ ทา่ นใหค้ วามช่วยเหลอื แกผ่ ู้อืน่ เมอื่ มีโอกาส

๓๓ ท่านเสียสละแรงกายหรอื ทรัพยส์ นิ เพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นรวมโดยไม่หวงั

ผลตอบแทน

๓๔ หากมีสถานการณ์คับขนั ท่านพรอ้ มทจ่ี ะให้ความช่วยเหลอื ร่วมกับผอู้ น่ื

๓๕ ท่านพงึ พอใจกับความสามารถของตนเอง

๓๖ ท่านรสู้ กึ ภูมิใจในตนเอง

๓๗ ท่านรูส้ กึ วา่ ทา่ นมคี ุณค่าต่อครอบครวั

๓๘ ท่านมสี ง่ิ ยดึ เหนี่ยวสงู สุดในจิตใจทีท่ าใหจ้ ติ ใจมนั่ คงในการดาเนนิ ชีวิต

๓๙ ทา่ นมคี วามเชอื่ มัน่ วา่ เมอื่ เผชญิ กบั ความยงุ่ ยากทา่ นมสี ิง่ ยดึ เหนี่ยวใน

จิตใจ

๔๐ ท่านเคยประสบกบั ความยงุ่ ยากและส่งิ ยดึ เหนย่ี วในจิตใจชว่ ยใหผ้ า่ นพน้

ไปได้

๔๑ ท่านต้องการทาบางสิ่งทใี่ หมใ่ นทางทีด่ ขี นึ้ กวา่ ที่เปน็ อยู่เดิม

๔๒ ท่านมคี วามสขุ กบั การริเร่มิ งานใหม่ๆ และม่งุ มนั่ ท่ีจะทาให้สาเรจ็

๔๓ ทา่ นมีความกระตอื รอื รน้ ทีจ่ ะเรียนร้สู ่ิงใหม่ๆ ในทางที่ดี

๔๔ ท่านมเี พอ่ื นหรือคนอืน่ ๆ ในสงั คมคอยชว่ ยเหลือท่านในยามท่ตี ้องการ

๔๕ ทา่ นได้รบั ความช่วยเหลือตามทที่ ่านต้องการจากเพ่อื นหรือคนอ่ืนๆใน

สังคม

๔๖ ทา่ นรสู้ กึ มน่ั คง ปลอดภัยเมื่ออยู่ในครอบครัว

๒๓

ข้อ รายการ ไม่เลย เล็กน้อย มาก มากที่สุด

๔๗ หากท่านปว่ ยหนกั ท่านเชอื่ วา่ ครอบครวั จะดูแลท่านเป็นอยา่ งดี ๒๓
๔๑
๔๘ ท่านปรึกษาหรอื ขอความชว่ ยเหลือจากครอบครวั เสมอเม่อื ท่านมปี ัญหา ๕๕

๔๙ สมาชิกในครอบครัวมคี วามรักและผกู พันต่อกนั

๕๐ ท่านมน่ั ใจว่าชุมชนท่ีทา่ นอาศยั อยมู่ ีความปลอดภัยต่อท่าน

๕๑ ทา่ นรู้สกึ มน่ั คงปลอดภยั ในทรพั ย์สินเม่ืออาศยั อยใู่ นชมุ ชนนี้

๕๒ มีหน่วยงานสาธารณสุขใกล้บา้ นทท่ี า่ นสามารถไปใชบ้ รกิ ารได้

๕๓ หนว่ ยงานสาธารณสุขใกล้บา้ นสามารถไปให้บรกิ ารไดเ้ ม่ือท่านตอ้ งการ

๕๔ เมื่อทา่ นหรือญาติเจ็บปว่ ยจะใชบ้ ริการจากหนว่ ยงานสาธารณสขุ ใกล้

บา้ น

๕๕ เมื่อทา่ นเดอื ดรอ้ นจะมหี น่วยงานในชุมชน(เช่น มลู นธิ ิ ชมรม สมาคม วดั

สุเหร่า ฯลฯ) มาชว่ ยเหลือดแู ลทา่ น

สรปุ

ดชั นีชีว้ ดั สุขภาพจติ คนไทยฉบับสมบูรณ์ ๕๕ ขอ้ (TMHI – ๕๕) : มกี ารให้คะแนนแบบประเมนิ

โดยแบง่ เป็น ๒ กลมุ่ ดังนี้

กลุ่มที่ ๑ไดแ้ กข่ ้อ

๑ ๒ ๓ ๔ ๑๔ ๑๕ ๑๖ ๑๗ ๑๘ ๑๙ ๒๐ ๒๑ ๒๒
๒๔ ๒๙ ๓๐ ๓๑ ๓๒ ๓๓ ๓๔ ๓๕ ๓๖ ๓๗ ๓๘ ๓๙ ๔๐

๔๒ ๔๓ ๔๔ ๔๕ ๔๖ ๔๗ ๔๘ ๔๙ ๕๐ ๕๑ ๕๒ ๕๓ ๕๔

แตล่ ะขอ้ ใหค้ ะแนนดังตอ่ ไปน้ี

ไมเ่ ลย ๑ เลก็ น้อย ๒ มาก ๓ มากทีส่ ุด ๔

กลุ่มที่ ๒ได้แก่ข้อ

๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑

๑๒ ๑๓ ๒๕ ๒๖ ๒๗ ๒๘

แต่ละข้อให้คะแนนดังตอ่ ไปนี้

ไมเ่ ลย ๔ เล็กนอ้ ย ๓ มาก ๒ มากท่ีสดุ ๑

การแปลผลการประเมนิ
ดชั นีช้วี ัดสุขภาพจติ คนไทยฉบับสมบรู ณ์ ๕๕ข้อ มีคะแนนเต็มทง้ั หมด ๒๒๐คะแนน
เมอ่ื ผ้ตู อบได้ประเมนิ ตนเองแล้ว และรวมคะแนนทกุ ข้อได้คะแนนเท่าไร สามารถนามาเปรียบเทียบ
กบั เกณฑ์ปกตทิ ี่กาหนดดงั นี้

๒๔

๑๗๙-๒๒๐ คะแนน หมายถงึ มสี ขุ ภาพจิตมากกวา่ คนท่ัวไป (Good)
๑๕๘-๑๗๘ คะแนน หมายถงึ มสี ขุ ภาพจติ เท่ากบั คนทวั่ ไป (Fair)
คะแนนหรือนอ้ ยกว่า หมายถึง มสี ขุ ภาพจติ ต่ากวา่ คนทัว่ ไป (Poor)
๑๕๗

ในกรณที ี่ท่านมีคะแนนอย่ใู นกลมุ่ สุขภาพจติ ต่ากวา่ คนทว่ั ไป ท่านอาจช่วยเหลอื ตนเองเบ้อื งต้น โดยขอรบั บริการ
ปรกึ ษาจากสถานบรกิ ารสาธารณสขุ ใกลบ้ า้ นของท่านได้

ภาพข่าวเพ่อื วิเคราะห์ สาเหตุ ปัจจยั และผลทเี่ กิดจากปัญหาสขุ ภาพจติ

รักห่ันศพ !ย้อนคดีสะเทือนขวัญ ลงมือฆ่าสาวสุดที่รัก ชาแหละศพสยองรักหั่นศพ ย้อนคดีสะเทือนขวัญฆ่าคน
รกั และหั่นศพอาพราง / จากกรณพี บศพน.ส.ลักษณาหรือเมย์ กาลงั เกง่ อายุ 24 ปี ชาว จ.รอ้ ยเอ็ด หญิงสาวผม
แดงถูกฆ่าหั่นศพ แยกชิ้นส่วนรวม 14 ช้ิน ยัดใส่กระสอบปุ๋ยโยนท้ิงอยู่ในป่าซอยสามวา เขตคลองสามวา กทม.
ซงึ่ นายธนกฤตหรือวุธ ประกอบ อดีตแฟนหน่มุ ไดร้ บั สารภาพวา่ เป็นคนลงมือฆ่าหน่ั ศพแฟนตัวเอง เพราะเกิดจาก
ความหงึ หวงเกรงวา่ ผ้เู สียชีวติ จะนอกใจ จงึ ใชค้ ้อนตที ีศ่ ีรษะจนเลือดทว่ มและเสยี ชวี ิตจากนั้นจึงได้ใช้ผ้าห่มห่อตัว
และนอนกอดตลอดท้ังคืน จากน้ันค่อยๆลงมือห่ันศพทีละช้ิน เลาะแบบไม่ติดกระดูก ซึ่งความชานาญในการแล่
ศพน้ีเน่ืองจากผู้ก่อเหตุเคยทางานเป็นเชฟและคนชาแหละไก่ท่ีโรงฆ่าสัตว์มาก่อนโดย “คดีฆ่าหั่นศพคนรัก” ที่
เกิดมาจากความหึงหวง กรณีน้ีไม่ได้เกิดข้ึนคร้ังแรก ย้อนกลับไปเม่ือปี 2541 ได้มีคดีที่ ว่าที่นายแพทย์ เสริม
สาครราษฎร์ นักศกึ ษาแพทย์ช้ันปีที่ 2 อายุ 21 ปี ได้ลงมอื ฆา่ หน่ั ศพ น.ส.เจนจิรา พลอยองุ่นศรี นกั ศึกษาแพทย์
ชั้นปีท่ี 5 เมื่อวันที่ 26 ม.ค.2541 ซ่ึงนายเสริมยอมรับว่าไม่พอใจท่ีถูกแฟนสาวบอกเลิก ที่วางแผนฆ่า โดยลวง
แฟนสาวมาติวหนังสือท่ีคอนโดมิเนียม ก่อนใช้ปืนยิงที่ศีรษะก่อนและลงมือชาแหละศพ นายเสริมได้ทิ้งหัว
กะโหลกของ น.ส.เจนจริ า บริเวณแมน่ ้าบางปะกง ซึ่งเปน็ ทางผา่ นทนี่ ายเสริมใชข้ ับรถกลับบา้ นเกิดที่ จ.ชลบุรี

ภาพข่าวที่ ๑ ฆ่าหัน่ ศพ

ทีม่ า : https://www.thairath.co.th

๒๕

ภาพข่าวเพ่อื วิเคราะห์ สาเหตุ ปจั จัย และผลทีเ่ กดิ จากปัญหาสุขภาพจติ ใบงานท่ี ๑
ภาพขา่ วที่ ๒ นายแพทย์ ฆ่าหนั่ ศพ....ภรรยา

ว่าทน่ี ายแพทย์ เสรมิ สาครราษฎร์ นกั ศกึ ษาแพทย์ช้นั ปีท่ี 2 อายุ 21 ปี ได้ลงมอื ฆา่ หั่นศพ น.ส.เจนจริ า
พลอยองนุ่ ศรี นกั ศกึ ษาแพทย์ชั้นปที ่ี 5

ท่มี า : http://khlonglan.kamphaengphet.police.go.th
ภาพข่าวเพ่ือวิเคราะห์ สาเหตุ ปจั จยั และผลทเ่ี กดิ จากปัญหาสุขภาพจติ ใบงานที่ ๑

ภาพข่าวที่ ๓ นายแพทย์ ฆ่าห่ันศพ....ภรรยา

เกิดข้ึนในปี 2544 คือ คดี นพ.วิสุทธ์ิ บุญเกษมสันติ ผู้เชี่ยวชาญด้านสูตินรีแพทย์ที่เป็นถึงระดับอาจารย์
แพทย์ช่ือดังของประเทศไทย ได้ลงมือฆ่า พญ.ผัสพร บุญเกษมสันติ สูตินรีแพทย์ ซึ่งเป็นภรรยาโดยคดีดังกล่าว นพ.
วิสุทธ์ิ ได้เข้าแจ้งความกับตารวจสน.พญาไท เมื่อวันท่ี 21 ก.พ.2544 ว่า ภรรยาได้หายตัวไป ก่อนจะแจ้งให้ตารวจ
ทราบภายหลังว่าเจอตัวแล้ว พบว่าไปน่ังวิปัสสนาท่ี จ.ระยอง อีกทั้งยังมีจดหมายลางานจากพญ.ผัสพร เป็นเวลา 15
วัน แต่เม่ือครบกาหนด พญ.ผัสพร ไม่ปรากฏตัวทาให้ญาติ พญ.ผัสพรเข้าแจ้งความกับตารวจ โดยพุ่งเป้าไปท่ีสามี
เพราะกาลังมีปัญหาเรื่องฟ้องหย่ากันอยู่จากนั้นเจ้าหน้าท่ีตารวจ ค้นพบจากกล้องวงจรปิดว่า ก่อนเกิดเหตุ นพ.วิสทุ ธ์ิ
ได้พา พญ.ผัสพร ไปรับประทานอาหารในห้างสรรพสินค้าแห่งหนึ่ง ซึ่งขากลับน้ัน นพ.วิสุทธิ์ ได้เดินประคอง พญ.ผัส
พร ท่ีมีอาการผิดปกติคล้ายคนเหม่อลอย พอเจ้าหน้าที่ตารวจตามรอยไปถึงห้องพักในมหาวิทยาลัยชื่อดังได้พบคราบ
เลอื ดจานวนมากและยังพบชิน้ ส่วนมนษุ ย์ทีบ่ ่อเกรอะ ตรวจสอบดเี อ็นเอพบวา่ ตรงกบั พญ.ผัสพร

ท่มี า : http://khlonglan.kamphaengphet.police.go.th

๒๖

ภาพประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียน
ภาพนี้...... บอกอะไร

นกั เรยี น......มีลักษณะตรงกบั ภาพใด

๒๗

ใบความรทู้ ี่ ๗ เรือ่ ง อารมณ์และความเครยี ด

หน่วยการเรยี นรู้ที่ ๑แผนการจัดการเรยี นรู้ที่ ๘ เรื่อง วธิ ีปฏบิ ัติตนเพื่อจดั การอารมณ์และความเครยี ด

รายวิชา สขุ ศกึ ษาชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒

..........................................................................................................................................................

ความหมายอารมณ์และความเครียด
อารมณ์ (Emotion)เป็นการแสดงออกของภาวะจิตใจผ่านทางร่างกาย คาพูด และความรู้สึก มีทั้งอารมณ์

ดา้ นบวก ทาให้เกิดความสุข เช่น ดใี จ พอใจ และอารมณใ์ นด้านลบ ทีท่ าให้เกดิ ความทกุ ข์ เช่น เสยี ใจ เศรา้ โกรธ
ความเครยี ด (Stress)เปน็ ภาวะจติ ใจและร่างกายท่เี ปล่ียนแปลงไปเป็นผลจากการที่บุคคลต้องปรับตัวต่อสิ่ง

กระตุ้นหรอื ส่งิ เร้าตา่ งๆ ในส่งิ แวดลอ้ มทกี่ ดดันหรอื ทาใหเ้ กิดความทกุ ขแ์ ละความไม่สบายใจ
สาเหตุของความเครียด

สาเหตุของความเครียดมีด้วยกันหลากหลายประการแต่ท่ีพบได้บ่อยๆมีอยู่เพียง 3 ประการดังนี้
๑. ความเปลี่ยนแปลง

เป็นสาเหตุที่ทาให้เกิดความเครียดได้ง่ายมาก หากร่างกายและจิตใจยังไม่ได้ปรับตัวให้พร้อมรับ
กับความเปลี่ยนแปลงนั้น โดยจะเกิดขึ้นในช่วงก่อนที่จะเปลี่ยนแปลง(มีการรับรู้)และหลังเปลี่ยนแปลง
ใหม่ๆ เช่น การย้ายที่อยู่อาศัย ที่เรียน หรือที่ทางาน หากใครที่ใจไม่ได้เตรียมพร้อมกับเรื่องพวกนี้มักจะ
มีความกังวลภายในจิตใจเสมอ ท้ังน้ีความเปลี่ยนแปลงทาให้มนุษย์เครียดได้มากที่สุด ไม่เว้นแม้แต่สภาพ
อากาศที่เปลี่ยนแปลง ก็สามารถที่ให้เกิดความเครียดในใจของเราได้เช่นกัน
๒. ความไม่ได้อย่างใจ

การที่มีเหตุการณ์ที่ไม่เป็นไปตามความคาดหวังของเรา ก็จะเกิดความเครียดขึ้นมาในจิตใจของ
เราทันที เป็นอีกสาเหตุสาคัญของความเครียดที่เกิดขึ้นกับทุกๆคนในทุกวัน การที่เรานั้นมีสภาพการ
จัดการสภาวะทางอารมณ์ที่ต่า ความเครียดก็จะเข้ามาสู่จิตใจของเราได้ง่ายกว่าปกติ
๓. ต้องตัดสินใจในเรื่องท่ีไม่พร้อม

ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องการงาน เรื่องชีวิต หรือแม้แต่การเลือกตัวเลือกในห้องสอบ โดยที่เราไม่อาจรู้
ผลที่จะเกิดขึ้นได้ เป็นสาเหตุที่สาคัญของความเครียดอีกประการหนึ่งเลยทีเดียว โดยความเครียดจะ
เกิดขึ้นทั้งก่อนและหลังตัดสินใจ จนกว่าผลของการตัดสิน ใจนั้นจะออกกมา และในบางครั้งยังส่งผลกะ
ทบแม้ว่าผลนั้นจะออกมาแล้วก็ตาม การต้องตัดสินใจในเรื่องที่ไม่มีความพร้อม หรือข้อมูลไม่เพียงพอจึง
ก่อให้เกิดความเครียดต่อจิตใจเราได้ไม่น้อยไปกว่าความเปลี่ยนแปลงเลยทีเดียว
สาเหตุอ่ืนๆ ที่ส่งผลให้เกิดความเครียด
๑. การเสพสื่อต่างๆมากเกินไป

รับข้อมูลข่าวสารต่างๆบนโลกออนไลน์ตลอดเวลาก็เป็นสาเหตุของความเครียดได้เช่นกัน
๒. การรับประทานอาหารไม่ครบตามท่ีต้องการ

ที่พบบ่อยคืออาการขาดน้าตาลในกระแสเลือด มักจะเกิดในผู้ที่กาลังควบคุมอาหารหรือลด
นา้ หนัก การมีน้าตาลในเลือดไม่สมดุลส่งผลให้ร่างกายเกิดความเครียดได้เช่นกัน การขาดไขมันชนิด
โอเมกา3เป็นอีกสาเหตุหนึ่งของความเครียดได้เช่นกัน การรับประทานปลาทะเลอาจช่วยให้ระดับ
ความเครียดของเราลดลง เนื่องจากมีส่วนในการช่วยควบคุมการหลั่งของฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องในเรื่ องน้ี
อย่างเซโรโทนิน
๓. การรับประทานยาบางชนิด

การรับประทานยาบางชนิดส่งผลให้เกิดความเครียดได้ อันดับแรกที่พบบ่อยที่สุดคือยาคุมกาเนิด
เน่ืองจากมีฤทธิ์ส่งผลต่อฮอร์โมนโดยตรง จึงมีส่วนที่ให้เกิดความเครียด ใครที่เครียดง่ายอยู่แล้วควร

๒๘

หลีกเลี่ยงการใช้ยาชนิดนี้ ยาที่มีผลต่อฮอร์โมนชนิดอื่น เช่นยารักษาสิวบางชนิด ก็ส่งผลต่อความเครียด

ได้เช่นกัน ยาอีกประเภทหนึ่งที่ส่งผลให้เกิดความเครียดได้ง่ายคือยาที่ส่งผลต่อประสาทต่างๆ เช่นยา

กล่อมประสาท ยานอนหลับ เป็นต้น

๔. การพักผ่อนไม่เพียงพอ

การนอนน้อยหรือนอนไม่เป็นเวลา นอกจากจะส่งผลโดยตรงต่อร่างกายทาให้อ่อนเพลีย ยังส่งผล

ต่อสภาพจิตใจอีกด้วย นอกจากจะทาให้เราหงุดหงิดได้ง่าย ยังทาให้เกิดความเครียดได้ง่าย

๕. การสูบบุหรี่

สารนิโคตินในบุหร่ี เป็นสารท่ีมีฤทธิ์ก่อกวนการทางานของสารที่ส่งผลโดยตรงในเร่ืองของ

ความเครียด เป็นสาเหตุหนึ่งที่ทาให้ผู้เลิกบุหรี่มีอาการเครียดอย่างมาก เมื่อสารในสมองถูรบกวนจึงเป็น

สาเหตุของอาการซึมเศร้าหรือหงุดหงิดง่าย

๖. การเจ็บป่วยเป็นโรคต่างๆและสภาพแวดล้อมต่างๆ

อาการและการแสดงออกของบุคคลทีม่ คี วามเครียด

อาการและการแสดงออกของบุคคลทีม่ ีความเครยี ด แบ่ง เป็น ๓ ลกั ษณะ ดงั ตาราง

การแสดงออกทางกาย การแสดงออกทางจิตใจ การแสดงออกทาง

พฤติกรรม

- ปวดกลา้ มเนอื้ - โกรธงา่ ย - โผงผาง

- มนึ งง เวยี นศีรษะ - ซมึ เศรา้ - แยกตัวเอง

- แน่นท้อง ท้องผูก - หงดุ หงดิ โมโหง่าย -ทานเก่ง บ่อย

-นอนไม่หลบั - มองโลกแง่รา้ ยขาด - เปลีย่ นงานบอ่ ย ขาด

กระสบั กระสา่ ย เหตุผล ความอดทน

- ใจเต้นเรว็ - วิตกกังวล - ขวา้ งปาสงิ่ ของ

-มือ เท้าเยน็ อ่อนเพลยี -ลงั เล ตดั สินใจไม่ได้ - ชอบกดั เลบ็ ดึงผม ทา

- สมาธสิ ั้น หลงลมื - ขาดความเชอ่ื มั่น ไม่มี รา้ ยตนเอง

- ความจาเสื่อม ความคิดรเิ ริ่ม -ไม่สามารถเรียนร้สู ิ่งใหม่ๆ

- เบอื่ อาหาร ทานไม่ลง ได้

- ทาอะไรผิดพลาดเสมอ

ท่ีมา : http://computer 16928.blogspot.com

๒๙

แบบวัดความเครียดสวนปรุง

ใหค้ ุณอ่านข้อคาถามต่อไปน้ี แลว้ สารวจดวู า่ ในระยะ 6 เดอื นที่ผา่ นมา มีเหตุการณ์ในข้อใดเกิดขนึ้ กับตัวคุณ
บา้ ง ถา้ ข้อไหนไม่ไดเ้ กดิ ขน้ึ ให้ข้ามไปไม่ต้องตอบ แต่ถ้ามีเหตกุ ารณใ์ นขอ้ ใดเกิดข้ึนกบั ตัวคุณให้ประเมินวา่ คุณมี
ความรู้สึกอยา่ งไรต่อเหตุการณน์ นั้ แลว้ ทาเครื่องหมาย  ให้ตรงช่องตามท่คี ุณประเมิน โดย

ระดับของความเครียด 1 หมายถึง ไม่รู้สกึ เครียด
2 หมายถงึ ร้สู ึกเครยี ดเลก็ น้อย
3 หมายถึง รู้สึกเครยี ดปานกลาง
4 หมายถงึ รสู้ กึ เครยี ดมาก
5 หมายถึง ร้สู กึ เครยี ดมากที่สดุ

ขอ้ ท่ี คาถามในระยะ 6 เดอื นที่ผา่ นมา ระดับของความเครยี ด
1 2 345
1 กลัวทางานผดิ พลาด
2 ไปไม่ถึงเป้าหมายทวี่ างไว้
3 ครอบครัวมีความขดั แยง้ กันในเรือ่ งเงิน หรือเร่ืองงานในบา้ น
4 เป็นกงั วลกับเรอื่ งสารพิษ หรอื มลภาวะในอากาศ นา้ เสียง

และดิน
5 ร้สู ึกว่าต้องแขง่ ขนั หรือเปรียบเทียบ
6 เงินไม่พอใช้จา่ ย
7 กลา้ มเนอื้ ตงึ หรอื ปวด
8 ปวดหวั จากความตงึ เครียด
9 ปวดหลัง
10 ความอยากอาหารเปลีย่ นแปลง
11 ปวดศีรษะข้างเดียว
12 รสู้ กึ วติ กกังวล
13 รู้สึกคบั ข้องใจ
14 รสู้ กึ โกรธ หรือหงดุ หงดิ
15 รู้สกึ เศร้า
16 ความจาไม่ดี
17 รสู้ กึ สับสน
18 ต้ังสมาธลิ าบาก
19 รู้สกึ เหน่อื ยงา่ ย
20 เป็นหวัดบอ่ ยๆ

๓๐

การแปลผลแบบวดั ความเครยี ดสวนปรุง

มคี ะแนนไม่เกนิ 100 คะแนน

--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

โดยผลรวมท่ไี ด้ แบง่ เปน็ 4 ระดบั

คะแนน 0 - 23 มีระดบั ความเครียดน้อย

คะแนน 24 – 41 มรี ะดบั ความเครยี ดปานกลาง

คะแนน 42 – 61 มีระดับความเครียดสูง

คะแนน 62 ขึน้ ไป มีระดับความเครียดรนุ แรง

เม่อื รวมคะแนนทกุ ข้อแล้วนามาเปรียบเทียบกับเกณฑ์ปกตทิ กี่ าหนด ดังน้ี
1. คะแนน 0-23 คะแนน ท่านมีความเครียดในระดับน้อย (mild stress) หมายถึง ความเครียดขนาด

น้อยๆ และหายไปในระยะเวลาอันสั้น เป็นความเครียดท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวัน ความเค รียดระดับน้ี
ไม่คุกคามต่อการดาเนินชีวิต บุคคลมีการปรับตัวอย่างอัตโนมัติ เป็นการปรับตัวด้วยความเคยชิน และการปรับตัว
ตอ้ งการพลงั งานเพียงเลก็ น้อยเปน็ ภาวะท่ีร่างกายผ่อนคลาย

2. คะแนน 24 – 41 คะแนน ท่านมีความเครียดในระดับปานกลาง (moderate stress) หมายถึง
ความเครียดท่ีเกิดขึ้นในชีวิตประจาวันเนื่องจากมีสิ่งคุกคาม หรือพบเหตุการณ์สาคัญๆในสังคม บุคคลจะมีปฏิกิริยา
ตอบสนองออกมาในลักษณะความวิตกกังวล ความกลัว ฯลฯ ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ปกติทั่วๆไป ไม่รุนแรงจนก่อให้เกิด
อนั ตรายแก่รา่ งกาย เป็นระดับความเครยี ดท่ีทาใหบ้ คุ คลเกดิ ความกระตือรือรน้

3. คะแนน 42 – 61 คะแนน ท่านมีความเครียดในระดับสูง (high stress) เป็นระดับที่บุคคลได้รับ
เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเครียดสูง ไม่สามารถปรับตัวให้ลดความเครียดลงได้ในเวลาอันสั้นถือว่าอยู่ในเขตอันตราย
หากไมไ่ ดร้ ับการบรรเทาจะนาไปส่คู วามเครยี ดเรื้อรงั เกิดโรคต่างๆ ในภายหลังได้

4. คะแนน 62 คะแนนขนึ้ ไป ท่านมคี วามเครยี ดในระดบั รนุ แรง (severe stress) เปน็ ความเครยี ดระดับสูง
ท่ีดาเนินติดต่อกันมาอย่างต่อเน่ืองจนทาให้บุคคลมีความล้มเหลวในการปรับตัว เกิดความเบ่ือหน่าย ท้อแท้ หมดแรง
ควบคุมตวั เองไมไ่ ด้ เกดิ อาการทางกายหรือโรคภัยต่างๆ ตามมาได้งา่ ย

๓๑

ภาพใบหนา้ แสดงอารมณแ์ ละความเครียด
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ เรือ่ ง วธิ ีปฏบิ ัตติ นเพื่อจดั การอารมณ์และความเครยี ด

รายวิชา สุขศกึ ษาชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒

ภาพที่ ๑ ภาพท่ี ๒

ภาพท่ี ๓ ภาพท่ี ๔

ภาพท่ี ๕ ภาพท่ี ๖

๓๒

ภาพตวั อยา่ งประกอบการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน
หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๑ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๙ เรอ่ื ง วิธปี ฏบิ ตั ติ นเพ่ือจัดการอารมณแ์ ละความเครยี ด

รายวชิ า สุขศึกษา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒

๓๓

ใบความรู้ที่ ๑๑ เรื่อง เทคโนโลยีกับสขุ ภาพ

หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี ๒ แผนในการจัดการเรียนรูท้ ่ี ๑๑ เรอื่ ง ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยที ม่ี ตี ่อสขุ ภาพ

รายวชิ า สุขศึกษา ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒

---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

ความหมายของเทคโนโลยี

เทคโนโลยี หมายถึง การนาความรู้ทางธรรมชาติวิทยาและต่อเน่ืองมาถึงวิทยาศาสตร์ มาเป็นวิธีการปฏิบัติ

และประยุกต์ใช้เพ่ือช่วยในการทางานหรือแก้ปัญหาต่างๆอันก่อให้เกิดวัสดุ อุปกรณ์ ระบบหรือกระบวนการต่างๆ
เพอื่ ให้เกิดการดารงชีวิตของมนุษย์งา่ ยและสะดวกขนึ้ เทคโนโลยี มีความสัมพันธ์กบั การดารงชีวติ ของมนุษย์ เปน็ เวลา

ทีย่ าวนาน มนุษย์ไดใ้ ช้แกป้ ัญหาพืน้ ฐานในการดารงชีวิต

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ ๙ ทรงกล่าวถึงความหมายของเทคโนโลยีเป็นภาษาง่ายๆ หมายถึง
การรู้จักนามาทาให้เป็นประโยชน์น่ันเอง (เย็นใจ เลาหวณิช. ๒๕๓๐ : ๖๗) เทคโนโลยีมี ๔ระดับ ได้แก่

๑. เทคโนโลยีระดบั เบ้ืองตน้ สามารถจัดหาได้ภายในประเทศหรอื พฒั นาข้นึ ไดใ้ นระยะเวลาอนั ส้นั
เช่น ต้เู ยน็ โทรศพั ท์ เป็นต้น

๒. เทคโนโลยรี ะดบั กลาง มกั ต้องซ้ือจากต่างประเทศ แตส่ ามารถพฒั นาได้ภายในประเทศ หากมแี ผนการ
พฒั นาทต่ี ่อเนื่อง เช่น โทรทัศน์ เครือ่ งเสียง เปน็ ตน้

๓. เทคโนโลยรี ะดับสงู ต้องซื้ออุปกรณจ์ ากต่างประเทศ แต่สามารถใชง้ านโดยคนไทย หากพัฒนาในประเทศ
จะต้องซือ้ เทคโนโลยแี กนจากต่างประเทศ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์เคลื่อนที่ เปน็ ตน้

๔. เทคโนโลยรี ะดับสงู มาก ต้องซื้ออุปกรณ์ และทกั ษะการใชง้ านจากต่างประเทศ เชน่ ระบบคมนาคม
สือ่ สารขนาดใหญ่
ความสาคัญของเทคโนโลยี

ปัจจุบันระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเป็นสิ่งสาคัญสาหรับองค์กรที่เข้ามาช่วยอานวยความสะดวกในการ
ดาเนินงาน ทาให้การเข้าถึงข้อมูลมีความรวดเร็ว การติดต่อส่ือสารมีประสิทธิภาพ และช่วยประหยัดต้นทุนในการ
ดาเนินงานด้านต่างๆ ของหน่วยงานท่ีเช่ือมต่อในระบบอินเทอร์เน็ต เช่น การรับส่งจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ การมี
เว็บไซตส์ าหรบั เปน็ ชอ่ งทางในการประชาสัมพนั ธข์ ่าวสารต่างๆ การแก้ปัญหาบางประการในการดารงชวี ิต เชน่ การใช้
เคร่ืองจักรแทนการเพาะปลูกด้วยแรงคน การแปรสภาพวัตถุดิบเป็นเคร่ืองนุ่งห่ม เป็นต้น แม้ระบบเทคโนโลยี
สารสนเทศจะมีประโยชน์และสามารถช่วยอานวยความสะดวกในด้านต่างๆ แต่ในขณะเดียวกันก็มีความเส่ียงสูง และ
อาจก่อให้เกดิ ภยั อนั ตรายหรอื สรา้ งความเสียหายต่อการปฏบิ ัตริ าชการได้เข่นกัน
คุณค่าของเทคโนโลยที างสขุ ภาพ

เทคโนโลยที างสขุ ภาพมีคณุ ค่าต่อวิถีการดาเนนิ ชวี ิตของบคุ คลในภาพรวม ดังน้ี
๑. ดา้ นคณุ ภาพชีวติ ความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยใี นส่วนทีเ่ กย่ี วขอ้ งกบั สุขภาพนัน้ ชว่ ยใหบ้ ุคคลมีวถิ ี
ชีวิตท่สี ะดวกสบาย
๒.ดา้ นประสทิ ธภิ าพของงานการนาเทคโนโลยที างสขุ ภาพมาใช้ในการดูแลสุขภาพ การสร้างเสรมิ สุขภาพ การป้องกัน
รกั ษาโรคภยั ไข้เจบ็ และการฟื้นฟสู มรรถภาพร่างกาย
๓.ด้านประสิทธผิ ลของผลผลติ เทคโนโลยีในส่วนที่เกีย่ วข้องกับสุขภาพช่วยให้การศึกษา คน้ คว้า และการ
วจิ ยั ของนักวิชาการทางสขุ ภาพในหลากหลายสาขาวิชา สามารถสรา้ งผลงานหรือผลผลิตที่มีคณุ คา่ และมีประโยชน์
ตอ่ ชวี ติ มนษุ ยไ์ ดอ้ ย่างรวดเรว็
๔.ดา้ นความประหยัดการใช้เทคโนโลยีทางสุขภาพ ชว่ ยประหยดั ทั้งแรงงานและเวลาในการทางาน รวมถึง
ชว่ ยให้บุคคลสามารถใชเ้ วลาในการปฏบิ ัตงิ านได้อย่างรวดเร็ว

๓๔

ประเภทของเทคโนโลยที างสุขภาพ
๑. เทคโนโลยีเกย่ี วกับผลิตภณั ฑส์ ุขภาพ เป็นเทคโนโลยีทีน่ ามาใชเ้ ป็นเครื่องอุปโภคและบริโภคใน

ชีวิตประจาวนั แบง่ ออกได้ ๕ ประเภท ดงั น้ี
๑.๑ เทคโนโลยเี กี่ยวกับผลิตภณั ฑเ์ คร่ืองสาอาง
๑.๒ เทคโนโลยีเก่ียวกบั ผลิตภณั ฑอ์ าหาร
๑.๓ เทคโนโลยีเกีย่ วกบั ผลติ ภณั ฑ์ยา
๑.๔ เทคโนโลยเี กย่ี วกบั ผลติ ภณั ฑ์ท่เี ป็นเครือ่ งมือแพทย์
๑.๕ เทคโนโลยเี กี่ยวกบั ผลติ ภณั ฑท์ เ่ี ป็นอุปกรณห์ รือเครอื่ งมือสุขภาพ

๒. เทคโนโลยเี กีย่ วกบั บรกิ ารสขุ ภาพ เป็นเทคโนโลยเี พื่อการใหบ้ รกิ ารสุขภาพแบ่งออกเป็น๖ ประเภท
ดงั น้ี

๒.๑ เทคโนโลยีเกี่ยวกบั การตรวจและรกั ษาโรค
๒.๒เทคโนโลยเี กย่ี วกบั การป้องกนั โรค
๒.๓เทคโนโลยเี กยี่ วกบั การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ
๒.๔เทคโนโลยีเกี่ยวกบั ข่าวสารสุขภาพ
๒.๕เทคโนโลยีการพิมพ์เกี่ยวกบั ขา่ วสารสุขภาพ
๒.๖เทคโนโลยคี มนาคมเก่ียวกบั ข่าวสารสขุ ภาพ
ประโยชนข์ องเทคโนโลยี
๑. ลดแรงงานคนในการทางานตา่ งๆ เชน่ การควบคุมการผลิต และชว่ ยในการคานวณ
๒.เพ่ิมความสะดวกสบายตงั้ แต่ส่วนบคุ คล จนถงึ การคมนาคมและการสื่อสารทว่ั โลก
๓.เป็นแหลง่ ความบันเทิง
๔.ได้ผลผลิตท่ีมีมาตรฐาน เหมือนกันหมดทุกช้ิน ซึ่งอิเฎลเคนว่าเป็นการลดคุณค่าของชิ้นงาน เพราะ
handmade งานชิ้นเดียวในโลก
๕.ลดต้นทุนการผลติ ทาให้คณุ ภาพชวี ิตดขี น้ึ
๖. ทาให้การเท่าเทยี มสังคมและการกระจายโอกาสทาให้เกิดสื่อการเรียนการสอนต่างๆมากขน้ึ
๗.ทาให้เกดิ การจัดการทรพั ยากรธรรมชาติไดดยี ง่ิ ขึ้น
โทษของเทคโนโลยี
๑.สิ้นเปลืองทรพั ยากร เชน่ นา้ มนั แก๊ส และถา่ นหิน
๒. เปล่ยี นสังคมชาวบ้าน ให้กลายเปน็ วัตถุนิยม
๓.ทาให้มนุษยข์ าดการออกกาลงั กาย
๔.ทาใหเ้ กิดปัญหาการว่างงาน เพราะใชแ้ รงงานเครอ่ื งจกั แทนแรงงานคน
๕.ทาให้เสียเวลา ท้ังจากรายการไร้สาระในโทรทศั น์
๖.จะทาให้ผู้ใช้มีโลกเปน็ ของตวั เองขาดการติดตอ่ กับผู้อื่น โดยเฉพาะท่เี หน็ ชดั เจนเกดิ ช่องวา่ งระหว่าง
ผสู้ งู อายุกับเด็ก

ดังน้ันในชีวิตประจาวันของมนุษย์ทุกคน จะต้องเกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอยู่ตลอดเวลา
เก่ียวข้องกับวิวัฒนาการทางด้านความรู้ ทาให้มีการเปล่ียนแปลงหลาย ๆ ด้าน จึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะทาให้
บุคคลในสังคม รู้จักวิธีการคิดอย่างมีเหตุผล มีวิธีการแก้ปัญหาต่าง ๆ ท่ีมีระบบ อันจะส่งผลให้เกิดกา รพัฒนาด้าน
สติปญั ญาซง่ึ วิธีการคิดนั้นเปน็ วิธีเดียวกนั กบั ทใ่ี ช้อยใู่ นกระบวนการแสวงหาความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์

๓๕

อิทธิพลของเทคโนโลยีท่มี ตี ่อสขุ ภาพ

๑.โทรทัศน์

การดโู ทรทัศน์ก็สง่ ผลกระทบต่อพฒั นาการของเด็กแล้ว

โดยที่ยังไม่ต้องคานึงถึงเนื้อหาของรายการ รวม ท้ังส่ือ

อิเล็กทรอนิกส์ดิจิตอลสมัยใหม่ต่างๆที่ทาให้เด็กตอ้ งอยู่นิ่ง เฝ้าดู

จ้องมองทั้งหลายด้วย เช่นคอมพิวเตอร์ วีซีดี มีผลงานวิจัย

แสดงให้เห็นถึงผลของการดูทีวีต่อการคิด การพูด จินตนาการ

สัมผัสรู้ต่างๆ(senses) ร่างกาย อารมณ์ความรู้สึก และ

พฤติกรรมของเด็ก จึงเป็นเรื่องสาคัญท่ีผู้ปกครอง ครู นัก

การศกึ ษาต้องตระหนักถงึ ผลกระทบเหล่านี้

ผลกระทบของการดโู ทรทศั น์
๑. เด็กตกอยู่ในสภาวะ “ผดี ิบซอมบ”ี้ การดูโทรทัศน์ทาใหเ้ ด็กไมก่ ระตือรือร้น และจติ ตกภวังค์ คล้าย “ผีดบิ

ซอมบ”ี้ สภาวะเช่นนีจ้ ะต่างไปจากภาวะทเี่ ด็กร่าเรงิ กระตือรือร้น เมอ่ื พวกเขาไม่ได้นง่ั หน้าจอ
๒. หลังการดูโทรทัศน์เด็กจะสนองต่อการเร้าได้ง่าย เช่นโกรธฉุนเฉียวง่าย “เด็กๆ ขัดเคืองใจและโกรธง่าย

หลังดทู ีวี” “หลงั ดทู วี ีหงุดหงดิ เบ่อื ขัดอกขัดใจ ก่อนทีจ่ ะค่อยๆกลับสู่ภาวะปกติ” คาถามกค็ อื เด็กมีประสบการณ์แบบ
ไหนกนั เลา่ ในระหว่างทีพ่ วกเขาดทู วี ี

๓. โทรทัศน์และการพดู เด็กเรียนรู้การพูดจากการพูดคุยกับผู้คนจรงิ ๆ ไม่ใช่จากการฟังคาพูดที่ออกมาจาก
กลไก ไม่เอื้อให้เด็กหัดที่จะพูด โทรทัศน์ส่งเสริมให้เป็นนักอ่านที่เกียจคร้าน การอ่านนั้นสัมพันธ์กับการมีสมาธิ การ
รับรู้ที่ถูกต้อง จินตนาการ และความเข้าใจเรื่องราว และความเป็นอิสระของผู้อ่านในการกาหนดจังหวะการ
เคลอื่ นไหว การจอ้ งมองทวี่ า่ งเปล่า จงึ ทาให้ไมก่ ระตือรือรน้

๔.พฤติกรรมต่อต้านสังคมเน้ือหาของรายการที่แฝงความรุนแรงอาจส่งผลต่อพฤติกรรมของเด็ก เพราะเด็ก
เรียนรู้ผ่านการเลียนแบบ อย่างไรก็ตามการดูทีวีโดยตัวของมันโดยที่ยังไม่ต้องคานึงถึงเน้ือหาก็อาจก่อ ให้เกิด
พฤติกรรมต่อต้านสังคมได้ ผลจากการดูทีวีท่ีทาให้เด็กคิดว่าผูอ้ ื่นเปน็ วตั ถุสิ่งของแทนท่ีจะเห็นว่า เป็นมนุษย์ ก็อาจก่อ
ความรุนแรงขนึ้ ได้

๕. เป็นโรคอ้วนและคลอเลสเตอรอลสูง เน่ืองจากนั่งอยู่กับท่ีไม่ได้ขยับตัวหรือเคล่ือนไหว และรับประทาน
อาหารขบเค้ยี ว แนวโนม้ เมอ่ื เปน็ ผใู้ หญ่ จะเปน็ โรคอว้ น เบาหวาน โรคหัวใจ มะเรง็ ลาไส้ มะเรง็ เต้านม ปวดหลงั
ข้อแนะนาการใช้

๑. ควรดโู ทรทัศน์ทีม่ ีแสงสว่างเพียงพอ
๒. ไม่ควรดรู ายการที่มภี าพเคลื่อนไหวมาก นานกว่าปกติ จะทาใหส้ านตาเสยี
๓. หลกี เล่ยี งการเปล่ยี นชอ่ งโทรทัศน์บ่อยเกนิ ไป
๔. ควรรบั สารจากสื่ออนื่ ๆบ้าง
๒. โทรศพั ทเ์ คลอื่ นท่ี

ผลกระทบทม่ี ตี ่อสุขภาพ

๑. จากการแผ่รังสี คือ รังสีไมโครเวฟ หากได้รับปริมาณรังสีมากๆ จากการคุยโทรศัพท์นานๆ ทาให้มี
ผลกระทบต่อสขุ ภาพ เชน่ มีอาการปวดหปู วดศีรษะ ตาพร่ามวั มึนงง ขาดสมาธิ และเกดิ ความเครียดนอนไม่หลบั อาจ
ทาให้เกดิ โรคความจาเสือ่ ม ผวิ หนงั เหยี่ วยน่ นอกจากน้คี ลืน่ แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ อาจทาใหเ้ กิดการรั่วของฮีโมโกลบินในเมด็

๓๖

เลือดแดง ซึง่ จะสะสมในระบบหมนุ เวียนโลหิต ส่งผลใหเ้ กิดโรคความดันโลหิตสูง เย่ือหมุ้ สมองเสือ่ ม และเป็นโรคอัลไซ
เมอร์ได้ เสี่ยงกับการเนื้องอก เป็นมะเร็งสมอง ไม่ควรพกมือถือท่ีเอวเพราะ เส่ียงได้รับผลกระทบต่อไขกระดูกและ
อณั ฑะ

๒. อันตรายจากแบตเตอรโี่ ทรศัพท์
แบตเตอรี่หรือไส้แบตเตอรี่ที่เส่ือมคุณภาพแล้วจัดเป็นขยะอันตรายท่ีก่อให้เกิดโทษกับสุขภาพของสิ่งมีชีวิตทกุ
ชนิดในโลกและสิ่งแวดล้อม เนื่องจากขั้วลบของถ่านชนิดน้ีเป็น "แคดเมียม ไฮดรอกไซด์" เมื่อบรรจุไฟแล้วจะกลาย
สภาพเป็นแคดเมียม" ซ่ึงมีท้ัง สารตะก่ัว ลิเธียม ทองแดง นิเกิล มีผลกระทบต่อระบบประสาทส่วนกลาง ทาให้ระบบ
หายใจผดิ ปกติ ไตอกั เสบ ไตวาย เกดิ อาการหอบหดื หลอดลมอกั เสบ ขอ้ เสือ่ ม ถุงลมโปง่ พอง และทาใหเ้ กิดมะเรง็ ใน

อวัยวะได้หลายชนิด เพราะฉะนั้นเม่ือแบตเตอรี่เสื่อมคุณภาพแล้วไม่ควรเก็บไว้ควรนาไปทิ้งหรือถ้าจะทาลายก็โดย

วธิ ีการฝังดนิ

ขอ้ แนะนาการใช้

๑. ควรใชโ้ ทรศัพทแ์ ต่ละคร้งั ไมค่ วรเกนิ ๑๕นาทตี ่อ ๑ครง้ั

๒. ควรใช้อุปกรณห์ ูฟงั ทกุ ครง้ั ทีใ่ ช้ เพ่อื ใหโ้ ทรศัพท์อยู่ห่างจากสมองจะทาใหไ้ ด้รับคล่ืนแม่เหลก็ ไฟฟา้ น้อยลง

๓. ขณะท่มี ีสายเรียกเข้า ควรกดรบั สายให้หา่ งจากตวั แล้วเวน้ ระยะก่อนนาโทรศัพท์มาแนบหู

เพราะขณะทีม่ ีสายเรียกเข้าจะมีคลน่ื แมเ่ หล็กจากโทรศพั ท์ ซง่ึ เป็นพลงั แรงมากทส่ี ดุ

๔. อยา่ ตดิ หรือแขวนโทรศัพท์ตดิ ตวั ไว้ตลอดเวลา เพราะคล่ืนรงั สจี ะแผ่มาถูกอวยั วะทส่ี าคญั

โดยเฉพาะกระดกู ซง่ึ มไี ขกระดูกท่ที าหนา้ ทส่ี รา้ งเม็ดเลอื ดต่างๆ เช่น กระดกู เชงิ กรานและกระดูกท่หี นา้ อก อาจทาให้มี

ผลกระทบต่อการสรา้ งเมด็ เลือดแดงและเม็ดเลือดขาวได้

๕. หลกี เลย่ี งการใช้โทรศัพท์ ในเดก็ อายุตา่ กว่า ๑๐ขวบ เพราะคลนื่ แม่เล็กไฟฟา้ จะผ่านกะโหลกศรี ษะ

ของเด็กเข้าสูเ่ ย่ือสมองได้ลกึ กวา่ ของผใู้ หญ่

๖. หลกี เลย่ี งการใชใ้ นขณะขับรถ เพราะทาให้ขาดสมาธิ จะทาให้เกดิ อบุ ัตเิ หตุได้

๗. หลกี เลยี่ งการใช้ในขณะเติมนา้ มนั ,แก๊สรถยนต์ เพราะจะทาให้เกิดอบุ ัติเหตุไฟไหมไ้ ด้

๘. หลกี เล่ยี งการฟังเพลงจากโทรศัพท์ ขณะนอนหลับเพราะทาใหอ้ วยั วะในหสู ่นั ตลอดเวลาและสมองตนื่ ตัว

การติดโทรศพั ทม์ อื ถือทาลายอะไรบ้าง

-ทาลายนาฬิกา -ทาลายโทรทัศน์ -ทาลายคอมพิวเตอร์ -ทาลายเครือ่ งรับวทิ ยุ
-ทาลายธุรกจิ การพิมพ์
-ทาลายเครื่องบันทึกเทป -ทาลายกล้องถ่ายรูป -ทาลายเคร่ืองเล่นเกมตา่ งๆ

-ทาลายปฏิทิน -ทาลายเครดิตการ์ดตา่ งๆ-ทาลายกระเปา๋ สตางค์ ฯลฯ

ส่ิงทตี่ ามมา......ยังทาลายอะไรอกี …..?

กาลังทาลาย “ดวงตาสองข้าง”ของท่าน

กาลังทาลาย “กระดูกสันหลงั -สว่ นคอ”ของท่าน

กาลังทาลาย “สุขภาพ”ของท่าน

กาลังทาลาย “ชีวิตครอบครวั ”ของท่าน

และ “กาลังทาลายผสู้ ืบสกุล”ของทา่ น

๓๗

รูแ้ บบนแี้ ล้ว ..... จะวาง “โทรศัพทม์ ือถือ” ไดบ้ า้ งหรือยงั
๓. คอมพิวเตอร์

อนั ตรายจากการใชค้ อมพิวเตอร์
๑.สง่ ผลตอ่ ดวงตาและระบบประสาทเม่อื เราใช้คอมพิวเตอร์ไปนานๆ หรือเพ่งจอมากๆจะทาให้รสู้ ึกวา่ ปวดตา
อาจทาให้สายตามีปัญหา เช่น สายตาส้ัน ส่วนใหญ่ผู้ท่ีทางานหน้าเครอ่ื งคอมพิวเตอร์เป็นประจา หรือคนท่ีเล่นเกมจะ
ปวดตามาก
๒. ส่งผลต่อระบบประสาท โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ทาให้เกิดอาการปวดศีรษะ คล่ืนไส้ อึดอัดและนอนไม่
หลับ อ่อนเพลีย
๓. เสี่ยงตอ่ การเปน็ หมนั เน่ืองจากมอี ุณหภูมสิ ูงสง่ ผลต่อการสร้างสเปริ ม์ ซ่ึงมีผลต่อการทาใหล้ ดจานวนลง
๔. เกดิ อาการปวดข้อพบกบั กลมุ่ ทใ่ี ช้คอมพิวเตอร์นานๆ เกิดโรคปวดข้อ ขอ้ กระดูกข้อน้วิ มือและอาการชา
ข้อแนะนาการใช้
๑. ใช้ในทม่ี แี สงสว่างเพยี งพอ ติดต่อกันนานไม่ควรเกนิ ๓ ช่ัวโมง
๒. พกั สายตาบอ่ ยๆ หรือเปล่ียนอริ ิยาบถระหวา่ งใช้งาน
๓. ติดต้งั หรือวางคอมพิวเตอร์ในทม่ี ีอากาศถ่ายเทสะดวก
๔. เคร่อื งถา่ ยเอกสาร
อันตรายท่ีไดร้ ับจากเคร่อื งถ่ายเอกสาร
๑. กา๊ ซโอโซน เป็นการทาใหเ้ กดิ การระคายเคือง และการสัมผสั กา๊ ซน้นี านๆ จะเปน็ อันตรายต่อระบบหายใจ
และระบบประสาทได้
๒.ฝนุ่ ผงหมึก เปน็ สว่ นประกอบของสารเคมที ่เี ป็นอันตราย รวมถึงสารที่อาจก่อมะเร็ง และสารที่เปน็ สาเหตุ
ของภูมแิ พ้
๓.แสงเหนือม่วง (UV Light) มักเปน็ อันตรายต่อตา การสมั ผัสแสงจ้าจากการถ่ายเอกสารเป็นเวลานานจะ
เปน็ สาเหตุของการอาการปวดตาและปวดศรี ษะ
๔. การหายใจเอาผงหมึกเขา้ ไปจะทาให้เกิดการระคายเคืองต่อระบบหายใจ มีการไอและจาม นอกจากนสี้ าร
ไนไตรไพรีนซึ่งพบในผงคาร์บอนดา และสารไนไตโตรฟลอู อรีน (TNF) ก็เปน็ สารก่อมะเรง็ และทาใหเ้ กิดการ
เปล่ียนแปลงทางพันธุกรรมมีผลตอ่ ทารกในครรภ์
ขอ้ แนะนาการใชเ้ พ่อื ความปลอดภัย
๑.ถ่ายเอกสารทุกครั้งควรปดิ ฝาครอบใหส้ นทิ หากไม่สามารถปดิ ได้ควรหลกี เลยี่ งการมองที่กระจกตน้ ฉบับ
๒.ติดตง้ั พดั ลมดดู อากาศเฉพาะทใ่ี นห้องถ่ายเอกสาร
๓.สวมถุงมอื ขณะเติมหรือเคล่ือนย้ายผงหมึก ในกรณจี าเปน็ ควรใส่หน้ากากกนั ฝุ่นเคมี และขอเอกสารข้อมูล
เคมีภัณฑ์ (MSDS) จากผูผ้ ลิตหรอื ผู้จาหนา่ ย
๔. ผงหมึกทใ่ี ชแ้ ลว้ นาไปกาจัดลงในภาชนะปดิ มดิ ชดิ รวมไปถึงผงหมึกทห่ี กเลอะเทอะหรือฟุง้ กระจายขณะ
เตมิ ผงหมึกดว้ ย
๕. เลือกซอ้ื เคร่ืองถา่ ยเอกสารท่มี ี
- ระบบเติมผงหมึกที่ปลอดภัยและมีภาชนะบรรจุเศษผงหมึกภายในเคร่ือง

๓๘

- ระบบตัดการทางานอตั โนมัติเมอ่ื ภาชนะบรรจเุ ศษผงหมึกเติมแลว้
๖. มีการบารงุ รักษาเครื่องเป็นประจา
๗. ไมค่ วรวางเครอ่ื งถ่ายเอกสารในห้องทางาน ควรจัดแยกไว้ในทีเ่ ฉพาะ หรอื ไวท้ มี่ ุมห้องไกลจากคนทางาน
และมีการระบายอากาศท่ีเหมาะสม
๘. ผซู้ ่อมบารงุ เครื่องถา่ ยเอกสารควรสวมถงุ มือแบบใชแ้ ลว้ ทงิ้ ขณะทางานและหลกี เลี่ยงการสัมผัสโดยตรง
กับลกู กล้งิ ด้วย
๙. ไมค่ วรมีผใู้ ดตอ้ งทางานถา่ ยเอกสารท้ังวัน โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ทมี่ รี ะบบทางเดนิ หายใจ
๑๐. ผู้ทมี่ ีหน้าที่เกีย่ วขอ้ งกับการถ่ายเอกสาร ควรไดร้ บั การแนะนาอบรมวธิ ีการใช้ การเปล่ียนถ่านผงหมกึ
รวมทัง้ การกาจัดผงหมึก ฯลฯ

๕. ไมโครเวฟ
อนั ตรายจากการใช้ไมโครเวฟคลืน่ แมเ่ หล็กไฟฟ้าแรงสูง มีผลทาให้สมองเสื่อม มะเรง็ เม็ดเลือดขาวได้

ข้อแนะนาการใชเ้ พื่อความปลอดภยั
๑. ศกึ ษาวธิ ใี ช้และปฏิบัตติ ามอยา่ งเคร่งครัด
๒. ขณะเตาทางานไม่ควรเขา้ ใกลอ้ าจเปน็ อนั ตรายได้
๓. หมน่ั ทาความสะอาดเป็นประจาปอ้ งกันเช้อื โรคต่างๆ

ทม่ี า :https://health.kapook.com/view117459.html
ภาพประกอบกิจกรรมการเรียนรู้
หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ ๒ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี ๑๑ เรอ่ื ง ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยที ีส่ ่งผลต่อสุขภาพ
รายวิชา สุขศกึ ษา ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒
ภาพท่ี ๑ การใช้จักรกลเกย่ี วข้าวแทนแรงคน

๓๙

ภาพท่ี ๒ การใชเ้ ทคโนโลยใี นการปลูกผกั

ภาพ ๖ วิกฤตสขุ ภาพจากเทคโนโลยี
หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ ๒ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่ ๑๓ เรือ่ ง ผลกระทบของการใช้เทคโนโลยที ่สี ง่ ผลต่อสุขภาพ

รายวิชา สุขศึกษาชัน้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒

๔๐

ใบความรู้ที่ ๑๔ เร่ือง ความกา้ วหนา้ ทางการแพทย์ที่มผี ลต่อสุขภาพแต่ละช่วงวัย
หนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๑๔ เรอ่ื ง ความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางการแพทย์ท่ีมผี ลต่อสขุ ภาพ
ปัจจุบันเทคโนโลยีทางการแพทย์มีความเจริญก้าวหน้ามากย่ิงขึ้นหลายสิ่งหลายอย่าง สามารถนามาพัฒนา และ
สร้างสรรค์นวตั กรรมใหมๆ่ เพ่ือเอื้อประโยชนใ์ หแ้ ก่แพทยแ์ ละผู้ป่วยได้มากขึ้น

กระแสความก้าวหน้าของวงการแพทย์แผนปจั จบุ นั ได้ตอบสนองความต้องการของมนุษยใ์ นหลายรูปแบบ และท่ี
สาคัญได้ช่วยให้ผู้ทุกข์ยากในหลากหลายพ้ืนที่บนโลก บรรเทาความเจ็บปวดที่แสนทรมาน แต่กระนั้นกระแสของการ
ท้าทายทฤษฎีการแพทย์ปัจจุบัน ก็มีอยู่ให้เราได้พบเห็นอย่างต่อเน่ือง ไม่ว่าจะเป็นการหันกลับมาให้ความสนใจในภมู ิ
ปัญญาด้ังเดิม การใช้สมุนไพร การทาโยคะ การฝังเข็ม หรือแม้กระท่ัง การใช้สมาธิบาบัด ทั้งน้ีแม้จะไม่ได้เป็นการ
ปฏิเสธแนวทางแพทย์แผนปัจจุบันโดยส้ินเชิง แต่กเ็ พยี งพอทจี่ ะทาใหว้ งการแพทยแ์ ผนปจั จุบนั ตอ้ งหันกลับมาทบทวน
บทบาทหนา้ ท่ี ตลอดจนองคค์ วามรทู้ ไ่ี ด้ก่อตวั และพัฒนาข้นึ เร่ือยๆว่าแท้จริงแล้วได้ตอบสนองความต้องการของมนุษย์
และพัฒนามาถกู ทศิ ทางเพียงไรหรือแม้กระทงั่ มแี นวคดิ ของทฤษฎีใหมท่ างการแพทย์เกดิ ขึน้ มา

การรวบรวม การจดั เก็บและวเิ คราะห์ขอ้ มลู ทางสุขภาพและทางการแพทย์ หรือแม้แตข่ ้อมลู เฉพาะของแต่ละ
บุคคลเพ่ือทราบผลกระทบที่เกิดจากพฤติกรรมต่างๆของตนเอง เป็นการเพ่ิมประสิทธิภาพในการทางานของบุคลากร
ทางการแพทย์ อีกทั้งช่วยให้เกิดความเท่าเทียมกันในการเข้าถึงบริการด้านการดูแลสุขภาพ เนื่องจากประชาชน
สามารถเข้าถึงข้อมูลที่สาคัญและเป็นประโยชน์ได้อย่างทั่วถึง ซ่ึงการพัฒนาของเทคโนโลยีและนวัตกรรมไม่เพียงช่วย
พัฒนาและส่งเสริมสุขภาพทางกายเท่านั้นแต่ยังหมายรวมถึงสุขภาพทางจิตใจและจิตวิญญาณอีกด้วยเน่ืองจากคนใน
สงั คมมชี อ่ งทางในการเข้าถงึ เรอ่ื งจติ วิญญาณที่หลากหลายมากข้ึน ไม่เปน็ กลมุ่ คนผู้มฐี านะอยา่ งแตก่ อ่ น อย่างไรก็ตาม
ในปัจจุบันยังมีอีกหลายพื้นที่ตามชนบทที่ขาดแคลนเคร่ืองมือเคร่ืองใช้ทางการ แพทย์เน่ืองจากความห่างไกลและ
งบประมาณท่ีมีไม่เพียงพอต่อความต้องการ ตัวอย่างท่ีเห็นได้ชัดคือ ภาวะปัญหาสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ หากแต่
งบประมาณทางการแพทย์ท้ังเคร่ืองมือ อุปกรณ์ทางการแพทย์และบุคคลากรทางการแพทย์ไม่เพียงพอต่อการดูแล
รักษาสุขภาพของประชาชนในพน้ื ทน่ี ี้ โดยเฉพาะดา้ นประสาทศลั ยศาสตร์หรือการผ่าตัดสมอง

หากพิจารณาภาพรวมในคุณค่าของความเจริญก้าวหน้าทางการแพทย์โดยการนาเทคโนโลยีทางสุขภาพ
ท่ีมีต่อวิถีการดาเนินชีวิต ของคนในสังคม พบว่าเทคโนโลยีช่วยให้ ๑.บุคคลมีวิถีชีวิตท่ีสะดวกสบาย ๒.เพิ่ม
ประสิทธิภาพของงานในการดูแลสุขภาพ การสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันรักษาโรคภัยไข้เจ็บ และการฟ้ืนฟู
สมรรถภาพร่างกาย ๓.การศึกษา ค้นคว้า และการวิจัยของนักวิชาการทางสุขภาพในหลากหลายสาขาวิชา สามารถ
สร้างผลงานหรือผลผลติ ที่มีคุณค่า และมีประโยชน์ต่อชวี ิตมนุษย์ได้อย่างรวดเร็ว และ๔.ประหยัดทั้งแรงงานและเวลา
ในการทางาน รวมถงึ ชว่ ยใหบ้ ุคคลสามารถใชเ้ วลาในการปฏิบตั งิ านได้อยา่ งรวดเร็ว

การเลอื กใช้บรกิ ารทางการแพทย์ ควรยดึ หลัก ๔ ประการ ดังนี้
๑. หลกั ของความน่าเชื่อถือ ๒. หลักของความปลอดภยั
๓. หลกั ของการมปี ระสทิ ธิผล ๔. หลักของความคุ้มค่า

๔๑

ภาพประกอบการสอน
ภาพท่ี ๑ เคร่อื งมือแพทย์และความก้าวหนา้ ทางการแพทย์

ภาพที่ ๒ การใช้อลั เตอร์ซาวด์

๔๒

ภาพท่ี ๓ ผลจากความเจรญิ กา้ วหนา้ ทางการแพทย์

ก่อน หลงั

๔๓

ใบความร้ทู ่ี ๑๖ เรือ่ งวิธกี าร ปจั จัยและแหล่งช่วยเหลือบาบัดรักษาผตู้ ิดสารเสพติด
หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ ๒ แผนการจดั การเรยี นรู้ที่ ๑๖ เร่ือง วธิ ีการ ปจั จัยและแหลง่ ช่วยเหลอื ฟื้นฟูผตู้ ิดสารเสพตดิ

รายวิชา สขุ ศึกษา ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๒
------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
การช่วยเหลือบาบดั ฟ้ืนฟูผ้ตู ิดสารเสพตดิ

การบาบัดรักษาและฟ้ืนฟูผู้ติดสารเสพติด หมายถงึ การดาเนินงานเพ่ือแก้ไขสภาพร่างกายและจติ ใจของผู้ติด
สารเสพติด ให้เลิกจากการเสพและสามารถกลับไปดารง ชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างปกติในอดีต ประเทศไทยใช้วิธีการ
บาบัดรักษาและฟ้ืนฟูผู้ติดสารเสพติดอยู่ ๒ ระบบคือ ระบบสมัครใจและระบบต้องโทษ จนได้มีการตรา
พระราชบัญญตั ิฟ้ืนฟสู มรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพติด พ.ศ. ๒๕๔๕
นโยบายการฟืน้ ฟูผู้ติดสารเสพตดิ ตามพระราชบัญญตั ิฟื้นฟสู มรรถภาพ
ความสาคัญและปจั จัยในการฟืน้ ฟูผู้ตดิ สารเสพตดิ

นโยบายการฟ้นื ฟูผูต้ ิดสารเสพตดิ ตามพระราชบญั ญัตฟิ นื้ ฟูสมรรถภาพผู้ติดสารเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ เพื่อให้
เกดิ ประโยชน์ ดงั นี้

๑. ใหโ้ อกาสผตู้ ดิ สารเสพติดได้กลบั ตวั กลบั ใจเปน็ คนดี
๒. ลดการสญู เสยี ทรพั ยากรมนษุ ยท์ ่อี าจมีศักยภาพช่วยพัฒนาประเทศได้
๓. ช่วยให้ผู้ตดิ สารเสพตดิ ไม่ต้องมีประวตั ดิ ่างพร้อยไม่ถูกตราหนา้ วา่ เป็นคนขค้ี ุก
๔. สง่ ผลดีต่อสขุ ภาพร่างกายและจิตใจของผู้ติดสารเสพติด
๕. เม่อื ผู้ตดิ สารเสพติดกลับตัวเปน็ คนดี จะชว่ ยลดปญั หาอาชญากรรม
๖. ชว่ ยลดปญั หานกั โทษลน้ เรือนจา และคา่ ใชจ้ า่ ยทีต่ ้องเล้ยี งดูนกั โทษ
ปัจจยั ทเ่ี กยี่ วข้องกับการฟ้ืนฟผู ูต้ ดิ สารเสพติด
การฟ้นื ฟผู ู้ตดิ สารเสพตดิ จะประสบความสาเร็จได้ ตอ้ งมีปจั จัย ๓ ข้อ คอื
๑. ผู้ติดสารเสพติดจะต้องมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับพ.ร.บ.ฟื้นฟูสมรรถภาพผตู้ ิดสารเสพติด พ.ศ.๒๕๔๕
เกยี่ วกับเจตนาที่ดีใหโ้ อกาส ปรบั ปรงุ ตนเองเพือ่ จะสามารถกลับไปใช้ชีวติ ในสังคมได้
๒. ผูต้ ดิ สารเสพติดตอ้ งให้ความรว่ มมือและมคี วามมุ่งมน่ั ในการเลกิ สารเสพติดโดยไม่กลบั ไปใช้อีก
๓. ผู้ติดสารเสพติดจะต้องยินยอมท่ีจะเข้ารับการอบรมในกระบวนการฟื้นฟู เช่น การเข้าค่าย การถูกคุม
ประพฤติ เปน็ ตน้
แนวทางในการชว่ ยเหลือฟนื้ ฟูผูต้ ิดสารเสพตดิ
การชว่ ยเหลือฟ้นื ฟผู ตู้ ดิ สารเสพตดิ ตอ้ งบาบัดรกั ษาทางกายควบคู่ไปกับทางจติ ใจ แบ่งเป็น ๔ ข้ันตอน ดังนี้
ข้ันตอนท่ี ๑ ขั้นเตรียมการก่อนบาบัดรักษา (pre-admission) เป็นข้ันตอนของการศึกษาประวัติและทา
ความเข้าใจในตัวของผู้ตดิ สารเสพตดิ เองและครอบครัว เพือ่ นามาประเมนิ วิเคราะห์ถงึ ปัญหา สาเหตุในการตดิ
สารเสพติดและให้คาแนะนาแก่ครอบครัวผตู้ ิดสารเสพติดในระยะนจี้ ะใชเ้ วลาประมาณ ๑-๗ วนั
- สัมภาษณ์ประวัติการตดิ สารเสพติด
- การตรวจร่างกายและจติ ใจ
- ให้คาปรกึ ษาแก่ผปู้ ว่ ยและญาติ

๔๔

ข้ันตอนที่ ๒ ข้ันการถอนพิษยา (detoxification)ระยะถอนพิษยา เน้นการบาบัดรักษาอาการทางร่างกายที่
เกิดจากการใช้สารเสพติดด้วยการใช้ยาอื่นทดแทน เช่น เมทาโดน (Metha done) เพื่อช่วยระงับความอยากหรือ
ความต้องการยาระยะนี้จะใชเ้ วลาประมาณ ๑๕-๔๕ วนั

ข้นั ตอนที่ ๓ ขน้ั การฟ้นื ฟูสมรรถภาพ
(rehabilitation)ระยะน้ีใช้เวลาประมาณ ๖-๑๒ เดอื น เปน็
การบาบดั รักษาเพอ่ื ปรบั เปล่ยี นพฤติกรรม บุคลกิ ภาพ และ
ลกั ษณะนิสัย ซงึ่ มวี ธิ ีการดังน้ี

๑. การให้คาปรกึ ษาและอบรม จากผู้เชย่ี วชาญในดา้ น
การบาบดั รกั ษาผู้ติดสารเสพติด เช่น แพทย์
พยาบาล นักสังคมสงเคราะห์แก่ผเู้ สพทั้งเป็นรายบคุ คลและ
เป็นกล่มุ ตลอดจนครอบครัวของผู้เสพที่มสี ่วนในการดแู ลผู้เสพ

ขั้นตอนที่ ๔ ขน้ั ตอนการติดตามผล (follow-up/after-
care) ระยะนี้ใชเ้ วลา ๑-๕ ปี เปน็ ขัน้ ตอนในการติดตามดแู ลผู้
ท่เี ลิกเสพสารเสพติดหลังจากท่ีไดร้ ับการบาบัดครบทงั้ ๓
ขน้ั ตอนมาแล้ว โดยใช้วธิ ีการดงั นี้
๑. การตดิ ตามผลทางตรง คือการพบปะพูดคุยกบั ผู้เสพ
โดยตรง
๒. การติดตามผลทางออ้ ม คือการพดู คุยทางโทรศัพท์
จดหมาย หรือผ่านบุคคลทสี่ าม

วธิ ีการบาบดั และฟ้ืนฟผู ตู้ ดิ สารเสพติด

รูปแบบการบาบัดรกั ษาผตู้ ิดสารเสพติด

๑. การบาบัดรกั ษาทางร่างกาย ๒. การบาบดั รักษาทางจติ ใจ

- แบบแผนปจั จบุ ัน - จติ บาบดั

- แบบแผนโบราณ - ศาสนบาบดั

- การรักษาด้วยคล่นื แม่เหล็กไฟฟา้ - อาชวี บาบดั

- ชุมชนบาบดั

๑. การบาบัดรักษาทางรา่ งกาย
๑.๑ แบบแผนปัจจุบัน
- การรักษาให้คงสภาพการติดยา คือการใหส้ ารเสพติดแก่ผู้ปว่ ยภายใต้การควบคุมของแพทย์ เช่น การให้ตดิ

ยาเมทาโดนแทนการตดิ สารเสพตดิ จนกว่าผู้เสพคิดจะเลกิ ยาเอง กจ็ ะเร่มิ คอ่ ยๆ ลดยาเมทาโดนลง
๑.๒ แบบแผนโบราณ คือการใช้ยาสมุนไพรในการบาบัดรักษา โดยการนาสมุนไพรมาให้ผูป้ ่วยรับประทานเพ่ือลา้ งพษิ
ทาใหผ้ ้ปู ่วยอาเจยี นและถ่ายนอกจากน้ียงั ใช้วิธีการอบไอน้าด้วยสมุนไพรเพ่ือขับถ่ายของเสยี ออกตาม
รูขุมขนและเกิดความสดชน่ื จากไอระเหยของสมุนไพรและไอของน้า

๔๕

๑.๓ การบาบัดรักษาทางร่างกายการรักษาด้วยคล่ืน
แมเ่ หล็กไฟฟ้าอุปกรณ์ท่ีใช้ ไดแ้ ก่ เคร่ืองกระตุน้ ไฟฟ้า
สายไฟพร้อมขั้วไฟฟ้าของเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า ใช้
กระดาษชาระพับทบกันแล้วตัดเป็นชิ้นเล็กๆขนาด
๑.๒ x๑.๒ ซม.
ชุบน้าให้เปียก และเทปกาวใช้ติดข้ัวไฟฟ้ากับผิวหนัง
เ มื่ อ เ ปิ ด เ ค รื่ อ ง ก ร ะ ตุ้ น ไ ฟ ฟ้ า จ ะ ท า ใ ห้ ค ลื่ น
แม่เหล็กไฟฟ้าเข้าไปกระตุ้นร่างกาย ทาให้ป่วยงดหรือ
หยุดสารเสพตดิ ได้

๒. การบาบัดรักษาทางจิตใจ
๒.๑ จติ บาบดั

- วธิ กี ารใหค้ าปรึกษาทนี่ ามาใชใ้ นการฟ้นื ฟสู ภาพจติ ใจของผตู้ ดิ
สารเสพติดท่ีนิยมใช้มี ๓ วธิ ี คือ

๑) การให้คาปรึกษารายบุคคล
๒) การให้คาปรกึ ษาแบบกลุ่ม
๓) การให้คาปรึกษาครอบครัว

๒.๒ ศาสนบาบัดวิธกี ารบาบดั ทางจิตที่ต้องอาศัยความเลื่อมใสศรทั ธาใน
ศาสนาทต่ี นเองนับถือเช่น ศาสนาอสิ ลามใชห้ ลักศาสนาในการรักษา
จติ ใจ รว่ มกบั การใช้ยาทดแทนทางรา่ งกาย โดยมีการละหมาดวันละ 5
เวลา การศกึ ษาคัมภีรอ์ ลั กุรอาน
๒.๓ อาชีวบาบดั ผู้ป่วยใช้เวลาว่างใหเ้ กิดประโยชน์ เห็นคุณค่าของการ
ทางาน อาชวี บาบัด คือการฝกึ อาชพี เพื่อให้ผูร้ ับการบาบัดมีทกั ษะใน
การประกอบอาชีพหลงั เสร็จส้ินการบาบดั เชน่ การทาอาหารการทาขนม
งานตดั เย็บผา้ ช่างไม้ ช่างโลหะ ช่างเหล็ก ชา่ งเฟอรน์ ิเจอร์เปน็ ต้น

๔๖

๒.๔ ชมุ ชนบาบดั เนน้ การแก้ปัญหาทางจติ ใจ
คอื การใช้อทิ ธิพลกล่มุ เพือ่ เป็นแรงเสรมิ ในการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในทางทเ่ี หมาะสม โดยกลมุ่
เพื่อนจะเปน็ ผสู้ รา้ งความเปลีย่ นแปลงนน้ั
วิธีการบาบัดและฟนื้ ฟูผตู้ ดิ สารเสพตดิ

๑. การฟื้นฟูผูต้ ิดสารเสพติดแบบเข้มข้นทางสาย
ใหม่ (FAST Model) T = Therapeutic Community
การให้ผูต้ ิดสารเสพติดมาอยูร่ ่วมกันแบบครอบครวั ใหญ่
เพื่อฝึกการแกป้ ญั หา โดยใชว้ ิธกี ลมุ่ บาบัด เชน่ กลุ่มประชมุ กลุม่ ซกั ประวตั ิกลมุ่ จติ บาบัด กลุ่มออกกาลังกาย

๒. การฟน้ื ฟผู ตู้ ิดสารเสพตดิ แบบจิราสา“จิราสา” แปลวา่ การช่วยเหลอื กัน การอาสาสมัครอย่างเต็มใจและ
ยัง่ ยืน“จอิ าสา” เป็นคาสมาสระหวา่ งคาวา่ จริ ะ + อาสา

- “จริ ะ” แปลว่า ย่งั ยนื ถาวร
- “อาสา” แปลว่า ช่วยเหลอื
หลกั การของ จิราสา คือ การใช้บุคคลหลากหลายเป็นแนวร่วมในการตา้ นสารเสพติดซึ่งไม่จาเปน็ ตอ้ งเปน็
บุคคลทางการแพทย์ หนว่ ยงานท่ใี ช้ระบบฟ้นื ฟูจริ าสามาใช้ ไดแ้ ก่ สถานฟนื้ ฟูผตู้ ดิ ยาเสพติดในสังกดั กองทพั อากาศ
๓. การฟ้นื ฟูผูต้ ิดสารเสพติดแบบโปรแกรมสานักงานคุมประพฤตปิ ัญหา โดยใช้วธิ ีกลุม่ บาบดั เชน่ กล่มุ ประชุม
เชา้ กล่มุ ซกั ประวัติ กลุ่มจติ บาบดั กลุม่ ออกกาลังกายโดยกาหนดให้ผ้ตู ดิ สารเสพตดิ มารายงานตัวท่สี านักงานควบคมุ
ประพฤติ พร้อมกับกาหนดให้ผู้เข้ารับการบาบดั ฟ้นื ฟู เขา้ ร่วมกจิ กรรมทส่ี ามารถชว่ ยใหเ้ ลกิ สารเสพตดิ ได้สาเร็จ
แหลง่ ช่วยเหลือฟ้ืนฟูผู้ติดสารเสพตดิ
ตาม พ.ร.บ. ฟ้นื ฟสู มรรถภาพผ้ตู ดิ ยาเสพตดิ พ.ศ. ๒๕๔๕ มหี นว่ ยงานหลัก คือ กรมควบคุมประพฤติ สว่ น
หน่วยงานอืน่ เปน็ หนว่ ยงานสนบั สนนุ ซ่ึงหนว่ ยงานอนื่ จาแนกตามลักษณะงานไดด้ ังน้ี
๑. หน่วยงานท่เี กย่ี วขอ้ งกับการบังคบั ใช้กฎหมายเชน่ การจบั กมุ ตวั เปน็ ตน้ ได้แก่ สานักงานตารวจแหง่ ชาติ
ซ่งึ มหี นว่ ยงานที่รับผดิ ชอบ คือกองบัญชาการตารวจนครบาลและกองบญั ชาการตารวจภธู รทม่ี อี ยทู่ ่ัวประเทศ ส่วน
การดาเนนิ การชะลอการฟ้องเปน็ หน้าทข่ี องสานกั งานอยั การ
๒.หนว่ ยงานที่เก่ียวขอ้ งกับการควบคุมตัวระหวา่ งการตรวจพสิ ูจนไ์ ด้แก่
- กรมราชทณั ฑ์
- กรมพนิ จิ และคุม้ ครองเดก็ และเยาวชน มีหนา้ ที่ควบคมุ เด็กผ้กู ระทาความผิดอายุเกิน ๗ ปี บรบิ ูรณ์ แตไ่ ม่
เกิน ๑๔ ปีบริบูรณ์ และเยาวชน ๑๔ ปี บรบิ รู ณ์ แตย่ ังไม่เกิน ๑๘ ปีบรบิ ูรณ์
๓. หนว่ ยงานที่เก่ยี วข้องกับสถานทเ่ี พ่อื การตรวจพิสูจน์การเสพหรือ ติดสารเสพตดิ และการฟน้ื ฟู
สมรรถภาพผู้ตดิ สารเสพติดได้แก่

๔๗

๓.๑ สถานบาบดั ฟน้ื ฟูผตู้ ิดสารเสพตดิ แบบเข้มงวด

กรมคมุ ประพฤติ กองทัพอากาศ

- ศูนย์ฟนื้ ฟูสมรรถภาพผูต้ ดิ ยา - ศนู ยฟ์ ื้นฟูสมรรถภาพผู้ตดิ ยา

เสพติดลาดหลมุ แกว้ จังหวดั ปทมุ ธานี เสพตดิ กองทัพอากาศทงุ่ สกี ัน กรงุ เทพมหานคร

- ศนู ยฟ์ นื้ ฟูสมรรถภาพผตู้ ิดยา

เสพตดิ โรงเรยี นการบนิ จงั หวัดนครปฐม

๓.๒ สถานบาบดั ฟ้ืนฟูผู้ติดสารเสพตดิ แบบไม่เขม้ งวด

กองทัพบก กองทัพเรือ

- ศนู ยว์ วิ ัฒน์พลเมอื งศนู ย์ทหารม้าคา่ ยอดิสร จงั หวัด - โรงเรียนวิวัฒน์พลเมอื ง กองทัพเรือ ๑ จังหวดั ชลบุรี

สระบุรี - โรงเรยี นววิ ฒั นพ์ ลเมือง

- ศูนย์วิวฒั นพ์ ลเมืองกองพันฝึกรบพเิ ศษศนู ย์สงคราม กองทัพเรือ ๒ จังหวัดชลบุรี

พเิ ศษ คา่ ยฝึกการรบพเิ ศษปากช่อง จังหวดั นครราชสมี า - โรงเรยี นววิ ัฒนพ์ ลเมือง

กองทัพเรือ ๓ จังหวดั ชลบรุ ี

กรมการปกครอง กรมการแพทย์

ศูนย์ฟื้นฟสู มรรถภาพผู้ติดยาเสพตดิ กองรอ้ ยอาสา - สถาบันธัญญารักษ์ จังหวดั ปทมุ ธานี

รักษาดนิ แดน ไดแ้ ก่ - ศูนย์บาบัดรักษายาเสพติด เชยี งใหม่

- จงั หวัดบรุ รี ัมยท์ ี่ ๑ - ศูนยบ์ าบดั รักษายาเสพติด ขอนแก่น

- จังหวดั กาฬสนิ ธ์ุที่ ๑ - ศูนย์บาบดั รกั ษายาเสพติด ศูนย์รัตนา

- จังหวัดเลยท่ี ๒ นรุ ักษ์ จงั หวัดลาปาง

- จงั หวดั พะเยาที่ ๒ - ศูนยบ์ าบัดรกั ษายาเสพติด แม่ฮ่องสอน

- จังหวดั ตากท่ี ๑ - ศนู ยบ์ าบัดรักษายาเสพติด สงขลา

- จังหวัดพิษณโุ ลกท่ี ๒ - ศนู ย์บาบดั รกั ษายาเสพติด ปตั ตานี

ท่ีมา : www.stfx.ac.th/images/Documents/2-2-59.pptx

๔๘

ใบความรทู้ ี่ ๑๘ เรอ่ื ง พฤติกรรมท่เี ปน็ ทกั ษะชีวิต (Life skill)
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๑๘ เรือ่ ง ทักษะการปอ้ งกนั ตนเองและหลกี เลย่ี งสถานการณค์ ับขัน

รายวิชา สขุ ศึกษา ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
๑. ความหมายของทักษะชวี ิต

คาว่า ทักษะ (Skill) หมายถึง ความชดั เจน และความชานชิ านาญในเรื่องใดเรื่องหน่ึง ซ่ึงบุคคลสามารถสร้าง
ข้ึนได้จากการเรียนรู้ ได้แก่ ทักษะการอาชีพ การกีฬา การทางานร่วมกับผู้อื่น การอ่าน การสอน การจัดการ ทักษะ
ทางคณิตศาสตร์ ทกั ษะทางภาษา ทักษะทางการใชเ้ ทคโนโลยี ฯลฯ ซึ่งเป็นทกั ษะภายนอกทีส่ ามารถมองเห็นไดช้ ัดเจน
จากการกระทา หรือจากการปฏิบัติ ซ่ึงทักษะดังกล่าว นั้นเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการดารงชีวิตที่จะทาให้ผู้มีทักษะ
เหล่าน้ัน มีชีวิตที่ดี สามารถดารงชีพอยู่ในสังคมได้ โดยมีโอกาสท่ีดีกว่าผู้ไม่มีทักษะดังกล่าว ซึ่งทักษะประเภทนี้
เรียกว่า Livelihood skill หรือ Skill for living ซ่งึ เป็น คนละอยา่ งกบั ทักษะชีวติ ทเี่ รยี กวา่ Life skill

ดั ง น้ั น ทั ก ษ ะ ชี วิ ต ห รื อ Life skill จึ ง ห ม า ย ถึ ง คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ ห รื อ ค ว า ม ส า ม า ร ถ เ ชิ ง สั ง ค ม
จิตวิทยา (Phychosoclal competence) ท่ีเป็นทักษะภายในท่ีจะช่วยให้บุคคลสามารถเผชิญสถานการณ์ต่างๆ ท่ี
เกิดขึ้นในชีวิตประจาวันได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเตรียมพร้อมสาหรับการปรับตัวในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเร่ืองการ
ดแู ลสขุ ภาพ เอดส์ ยาเสพตดิ ความปลอดภยั สงิ่ แวดล้อม คณุ ธรรมจริยธรรม ฯลฯ เพื่อให้สามารถมชี วี ิตอยใู่ นสังคมได้
อย่างมีความสุข หรือจะกล่าวง่ายๆ ทักษะชีวิต ก็คือ ความสามารถในการแก้ปัญหาท่ีต้องเผชิญในชีวิตประจาวัน
เพ่อื ให้อยู่รอดปลอดภัย และสามารถอยูร่ ่วมกับผู้อืน่ ได้อย่างมคี วามสขุ
๒. องคป์ ระกอบของทกั ษะชีวติ

องคป์ ระกอบของทกั ษะชีวติ จะมีความแตกต่างกนั ตามวัฒนธรรมและสถานที่แต่ทักษะชวี ิตท่จี าเปน็ ท่สี ดุ ที่ทุก
คนควรมี ซึ่งองค์การอนามัยโลกไดส้ รุปไว้ และถือเปน็ หวั ใจสาคญั ในการดารงชวี ิต ดังนี้

๒.๑ ทกั ษะการตัดสนิ ใจ (Decision making) เป็นความสามารถในการตัดสนิ ใจเกีย่ วกบั เรอื่ งราวต่างๆ ใน
ชีวิตได้อยา่ งมรี ะบบ เชน่ ถ้าบุคคลสามารถตัดสินใจเกยี่ วกบั การกระทาของตนเองท่ีเกยี่ วกับพฤติกรรมด้านสขุ ภาพ
หรือความปลอดภัยในชวี ิต โดยประเมินทางเลอื กและผลท่ีได้จากการตดั สนิ ใจเลอื กทางที่ถกู ต้องเหมาะสม กจ็ ะมีผล
ตอ่ การมสี ขุ ภาพทด่ี ีท้งั รา่ งกายและจิตใจ

๒.๒ ทักษะการแก้ปัญหา (Problem Solving) เป็นความสามารถในการจัดการกบั ปัญหาท่เี กดิ ขนึ้ ในชีวติ ได้
อยา่ งมีระบบ ไม่เกดิ ความเครียดทางกายและจิตใจ จนอาจลกุ ลามเปน็ ปญั หาใหญโ่ ตเกนิ แก้ไข

๒.๓. ทกั ษะการคิดสร้างสรรค์ (Creative thinking) เป็นความสามารถในการคิดท่จี ะเปน็ สว่ นช่วยในการ
ตัดสนิ ใจและแกไ้ ข ปัญหาโดยการคิดสร้างสรรค์ เพื่อคน้ หาทางเลือกตา่ ง ๆ รวมทัง้ ผลท่จี ะเกิดขนึ้ ในแต่ละทางเลอื ก
และสามารถนาประสบการณ์มาปรับใช้ในชีวิตประจาวนั ได้อย่างเหมาะสม

๒.๔ ทักษะการคดิ อยา่ งมวี จิ ารณญาณ (Critical thinking) เป็นความสามารถในการคดิ วเิ คราะห์ข้อมลู ตา่ ง ๆ
และประเมินปัญหา หรอื สถานการณท์ ่ีอยูร่ อบตัวเราทมี่ ผี ลตอ่ การดาเนินชวี ติ

๒.๕ ทกั ษะการสื่อสารอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ (Effective communication) เป็นความสามารถในการใช้
คาพดู และทา่ ทางเพ่ือแสดงออกถึงความรูส้ ึกนึกคดิ ของตนเองได้อยา่ งเหมาะสมกบั วัฒนธรรม และสถานการณต์ ่าง ๆ
ไม่ว่าจะเปน็ การแสดงความคิดเห็น การแสดงความตอ้ งการ การแสดงความชน่ื ชม การขอรอ้ ง การเจรจาต่อรอง การ
ตักเตือน การช่วยเหลอื การปฏเิ สธ ฯลฯ

๔๙

๒.๖ ทักษะการสร้างสัมพันธภาพระหว่างบุคคล (Interpersonal relationship) เป็นความสามารถในการ
สร้างความสัมพนั ธท์ ด่ี รี ะหวา่ งกันและกัน และสามารถรกั ษาสมั พันธภาพไว้ไดย้ นื ยาว

๒.๗ ทักษะการตระหนักรู้ในตน (Self awareness) เป็นความสามารถในการค้นหารู้จักและเข้าใจตนเอง
เช่น รู้ข้อดี ข้อเสียของตนเอง รู้ความต้องการ และส่ิงที่ไม่ต้องการของตนเอง ซ่ึงจะช่วยให้เรารู้ตัวเองเวลาเผชิญกับ
ความเครยี ดหรือสถานการณ์ ตา่ ง ๆ และทักษะนี้ยังเป็นพื้นฐานของการพัฒนาทักษะอ่ืน ๆ เชน่ การส่อื สาร การสร้าง
สัมพันธภาพ การตดั สนิ ใจ ความเหน็ อกเห็นใจผ้อู ื่น

๒.๘ ทักษะการเข้าใจผู้อ่ืน (Empathy) เป็นความสามารถในการเข้าใจความเหมือนหรือความแตกต่าง
ระหว่างบุคคล ในด้านความสามารถ เพศ วัย ระดับการศึกษา ศาสนา ความเชื่อ สีผิว อาชีพ ฯลฯ ช่วยให้สามารถ
ยอมรับบุคคลอื่นที่ต่างจากเรา เกิดการช่วยเหลือบุคคลอื่นที่ด้อยกว่าหรือได้รับความเดือดร้อน เช่น ผู้ติดยาเสพติด ผู้
ติดเช้ือเอดส์

๒.๙ ทักษะการจัดการกับอารมณ์ (Coping with emotion) เป็นความสามารถในการรับรู้อารมณ์ของ
ตนเองและผ้อู น่ื รู้วา่ อารมณ์มีผลตอ่ การแสดงพฤติกรรมอยา่ งไร รูว้ ิธีการจัดการกับอารมณ์โกรธ และความเศร้าโศก ที่
ส่งผลทางลบต่อร่างกาย และจิตใจได้อยา่ งเหมาะสม

๒.๑๐ ทักษะการจัดการกับความเครียด (Coping with stress) เป็นความสามารถในการรับรู้ถึงสาเหตุของ
ความเครียด รู้วิธีผ่อนคลายความเครียด และแนวทางในการควบคุมระดับความเครียด เพ่ือให้เกิดการเบี่ยงเบน
พฤติกรรมไปในทางท่ีถูกตอ้ งเหมาะสมและไม่เกดิ ปัญหาดา้ นสุขภาพ
๓. กลวิธใี นการสร้างทกั ษะชีวติ

จากองคป์ ระกอบของทักษะชีวิต ๑๐ ประการ เมือ่ จะนาไปจัดกจิ กรรมพฒั นาทกั ษะชีวิตใหก้ ับ
กลมุ่ เป้าหมาย สามารถแบง่ ได้เป็น ๒ ส่วน ดังน้ี

๓.๑ ทักษะชีวิตทั่วไป คือ ความสามารถพื้นฐานท่ีใช้เผชิญปัญหาปกติในชีวิตประจาวันเช่น ความเครียด
สุขภาพ การคบเพือ่ น การปรับตัว ครอบครวั แตกแยก การบรโิ ภคอาหาร ฯลฯ

๓.๒ ทักษะชีวิตเฉพาะ คือ ความสามารถท่ีจาเป็นในการเผชิญปัญหาเฉพาะ เช่น ยาเสพติด โรคเอดส์ ไฟ
ไหม้ นา้ ท่วม การถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ ฯลฯ
๔. เนือ้ หาทีเ่ ปน็ จุดเน้นในการพัฒนาทกั ษะชีวิต

จากองค์ประกอบของทักษะชีวิต ๑๐ ประการ กรมการศึกษานอกโรงเรียนได้กาหนดเนื้อหาที่เป็นจุดเน้นใน
การพัฒนาทักษะชีวติ ๔ ด้าน โดยมจี ุดมุง่ หมายเพ่ือการสง่ เสริม การปอ้ งกันและการแก้ไขท่ีสอดคล้องกับสภาพปัญหา
และความตอ้ งการขอ งกลุ่มเปา้ หมายในแตล่ ะพ้นื ท่ี ดังน้ี

๔.๑ ด้านสุขภาพอนามัย มีจุดมุ่งหมายเพ่ือส่งเสริมให้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนักใน การดูแลตนเอง
ให้มีสุขภาพอนามัยที่ดีทั้งร่างกายและจิตใจ มีบุคลิกภาพท่ีเหมาะสม รู้วิธีป้องกันไม่ให้เกิดโรคภัยไข้เจ็บ และสามารถ
แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า พ ฤ ติ ก ร ร ม ท่ี ไ ม่ พึ ง ป ร ะ ส ง ค์ ท่ี จ ะ น า ไ ป สู่ โ ร ค ภั ย ไ ข้ เ จ็ บ ไ ด้ อ ย่ า ง ถู ก ต้ อ ง เ ห ม า ะ ส ม

๔.๒ ด้านความปลอดภัยในชวี ติ และทรัพย์สนิ มีจุดมุ่งหมายเพ่ือส่งเสริมให้มีความรู้ความเข้าใจและตระหนกั
ใน ภยั อันตรายทอี่ าจจะเกดิ ขน้ึ ในชีวิตประจาวัน รวู้ ธิ ปี ้องกันภัยอนั ตรายที่จะเกดิ ขึ้น และสามารถแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
จากภัยอันตรายไดอ้ ย่างถกู ต้องเหมาะสม

๔.๓ ดา้ นทรพั ยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม มจี ดุ ม่งุ หมายเพอื่ ส่งเสรมิ ใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจและตระหนัก
ในคณุ ค่าของทรัพยากรธรรมชาติ และส่งิ แวดลอ้ ม มจี ิตสานึกในการรว่ มอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม รู้

๕๐

วธิ ีใชท้ รัพยากรอยา่ งประหยัดและคมุ้ คา่ รูว้ ธิ ีป้องกันไม่ใหเ้ กิดสภาพแวดลอ้ มเปน็ พษิ และสามารถแก้ไขปัญหา
สภาพแวดลอ้ มเป็นพษิ ในชุมชนไดอ้ ยา่ งถกู ต้องเหมาะสม

๔.๔ ดา้ นคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านิยม และคณุ ลกั ษณะที่พงึ ประสงค์ มีจุดมุ่งหมาย เพือ่ ส่งเสริมใหม้ คี วามรู้
ความเข้าใจ และตระหนกั ถึงความสาคัญของการมีคุณธรรม จรยิ ธรรม คา่ นิยมท่ีถูกต้อง และคุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์
ของคนในสงั คมไทย รวู้ ิธีป้องกันไม่ให้ตนเอง ครอบครวั ชุมชนเขา้ ไปเกยี่ วข้องกับอบายมุข สามารถปฏบิ ัติตัวเป็น
แบบอย่างทดี่ ขี องครอบครวั ชุมชน และสามารถแก้ไขปัญหาพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ได้อยา่ งถูกต้องเหมาะสม

http://www.nfe.go.th/0405/NFE-note/SkillLife.html

ภาพประกอบการเรียนการสอน
หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ ๒ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๑๘ เรือ่ งทักษะการปอ้ งกันตนเองและหลกี เลยี่ งสถานการณค์ ับขัน

รายวชิ า สขุ ศึกษา ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๒

ภาพคนเมายาบา้ จับเด็กเป็นตวั ประกนั


Click to View FlipBook Version