The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ระบบหายใจ วิชาสุขสึกษา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by somsaktn.005, 2021-07-06 06:14:19

ระบบหายใจ วิชาสุขสึกษา

ระบบหายใจ วิชาสุขสึกษา

เรือ่ ง ระบบหายใจ

อากาศเข้า

ท้องป่อง อากาศออก

ทอ้ งแฟบ

ครูสมศกั ด์ิ ทองเงนิ

กลุ่มสาระการเรียนรสู้ ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา
โรงเรยี นวงั ไกลกงั วล ในพระบรมราชูปถัมภ์

Email [email protected]

ระบบหายใจ (Respiratory System)

องคป์ ระกอบของระบบหายใจ

ประกอบไปดว้ ยอวยั วะ ๒ สว่ น

• ส่วนท่เี ป็นทางผ่านของลมหายใจเข้า-ออก ไดแ้ ก่ จมกู ปาก หลอดคอ หลอดเสยี ง หลอดลม

• สว่ นทท่ี าหนา้ ทใี่ นการแลกเปลย่ี นแก๊ส คอื ปอด
แผนภาพแสดงกระบวนการทางานของระบบหายใจ

แก๊สออกซเิ จนมีความสาคัญ จมกู (Nose)
อย่างไรตอ่ ระบบหายใจ หลอดเสยี ง (Larynx)
หลอดคอ (Pharynx)
หลอดลม (Trachea)

ปอด (Lung)

๒. สบื คน้ และศกึ ษา (ใบความรทู้ ่ี ๒)

๑ ๑ จมูก (Nose)

๓ ภายในรจู มูกจะมีเยือ่ บุจมกู และขนจมูก ทาหน้าทเ่ี ป็นทางผา่ นของอากาศท่หี ายใจเขา้ ไปและ
๔ กรองฝนุ่ ละออง

๕ ๒ หลอดเสียง (Larynx)

อยู่ติดใต้หลอดคอ ขณะกลนื อาหารหรอื เครอื่ งด่มื จะมีแผ่นเนือ้ เยื่อขนาดเลก็ ทเี่ รียกว่า “ฝากล่อง
เสียง” คอยปิดหลอดลมเพ่อื ไม่ให้อาหารลงไปผดิ ช่อง

๓ หลอดคอ (Pharynx)

เป็นหลอดต้งั ตรงยาวประมาณ ๕ น้วิ ติดต่อทัง้ ทางช่องปากและช่องจมูกทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ตัวแยก
ระหว่างหลอดลมกับหลอดอาหาร (Esophagus) ประกอบด้วยกระดกู อ่อน ๙ ชิ้น โดยชนิ้ ท่ีใหญ่
ท่ีสุด คือ กระดกู ธัยรอยด์ หรือท่เี รียกว่า “ลูกกระเดอื ก” (Adam’s apple)

๔ หลอดลม (Trachea)

เปน็ สว่ นท่ตี ่อจากหลอดเสียงยาวลงไปในทรวงอก ประกอบด้วยกระดกู ออ่ นรปู วงแหวนวางอยู่
ทางดา้ นหลงั ของหลอดลมทาให้หลอดลมเปดิ อยู่ตลอดเวลา ไม่แฟบเขา้ หากนั โดยแรงดนั จาก
ภายนอก สง่ ผลให้อากาศเข้าได้ตลอดเวลา

๕ ปอด (Lung)

ถูกหอ่ หุม้ ด้วยกระดกู ซี่โครง ภายในปอดจะมถี งุ ลม ทาหน้าทใ่ี นการแลกเปลี่ยนแกส๊ ออกซิเจนกับ
แก๊สคารบ์ อนไดออกไซด์

กระบวนการทางานของระบบหายใจ

เรม่ิ ตน้ ต้งั แต่ เราหายใจผา่ นเขา้ ทางจมกู โดยอากาศจะถกู สง่ ตอ่ ไปยัง

ระบบหายใจทางาน โพรงจมกู
สมั พันธก์ นั อยา่ งไร และ หลอดคอ
เปรียบเทียบกระบวนการ หลอดเสยี ง
ทางานของระบบหายใจ หลอดลม
เข้าและระบบหายใจออก

วัตถุประสงค์ของการหายใจ ปอดทง้ั ๒ ขา้ ง

การนาแก๊สออกซเิ จนจากอากาศไปยังเซลลต์ ่างๆและกาจัดของเสยี เพ่ือนาอากาศบริสุทธ์ิเข้าสรู่ ่างกายและปลอ่ ยแก๊ส
คาร์บอนไดออกไซดท์ ี่เกิดจากกระบวนการ เผาผลาญสารอาหารภายในร่างกายออกสภู่ ายนอกรา่ งกายในรูปของลมหายใจออก

การถ่ายเทอากาศในปอด เกิดจากการทางานของกล้ามเนอ้ื สาหรบั หายใจ โดยกลไกของการหายใจ
เข้า-ออกจะเกิดขน้ึ สลับต่อเน่อื งกัน ซงึ่ เป็นไปตามหลักของความดันบรรยากาศ

หายใจเขา้ หายใจออก

ท้องป่อง อากาศเข้า อากาศออก

ยกตวั ขน้ึ กระดูกซีโ่ ครง เลอื่ นตา่ ลง ทอ้ งแฟบ
เลื่อนตา่ ลง กล้ามเน้อื กะบงั ลม ยกตัวขึน้

ขณะหายใจเข้า เกดิ จากกล้ามเน้อื กะบงั ลมหดตัว ทาให้แผน่ กะบงั ลมเล่อื นต่าลงมาทางชอ่ งท้อง เมื่อกล้ามเนอื้ กะบงั ลมหรอื กล้ามเนอ้ื ยึดระหว่างซโ่ี ครงดา้ นนอกคลายตัว ขณะหายใจออก
เปน็ การเพิม่ ปรมิ าตรของช่องอกในแนวตง้ั เนอื่ งจากเนื้อเยอ่ื ปอดอย่ตู ิดกับกะบงั ลม เน่อื งจากผนงั ชอ่ งอกและเน้ือเยื่อปอดมีความยดื หยุ่นทงั้ ผนงั ชอ่ งอกและเนื้อเย่ือ
และชอ่ งว่างระหว่างเนอื้ เยอื่ ปอดกับกะบังลมเปน็ สญุ ญากาศ เมือ่ กะบังลมเลือ่ นต่า ปอดจะหดตวั กลบั สู่ปรมิ าตรเดมิ ทาให้ความดนั ภายในปอดเพ่มิ สูงขนึ้ กว่า
ลงจงึ ดึงเนื้อเย่อื ปอดให้ขยายตวั ตามแนวตงั้ ด้วย ความดันภายในปอดจึงลดลง ความดันบรรยากาศ อากาศจึงไหลออกจากปอดสบู่ รรยากาศภายนอก
อากาศจากภายนอกจึงเข้ามาแทนทไ่ี ด้

การสร้างเสรมิ และดารงประสทิ ธิภาพการทางานของระบบหายใจ

แนวทางเสริมสรา้ งและดารงประสิทธิภาพการทางานของระบบหายใจ

๑. อย่ใู นสถานท่ที ี่มอี ากาศบริสุทธ์แิ ละหลีกเล่ียงการอย่ใู นบริเวณที่มมี ลภาวะ เพราะอาจ
ทาให้มโี อกาสตดิ เชอ้ื โรคในระบบทางเดินหายใจได้ง่าย แต่ถ้าไมส่ ามารถหลกี เลยี่ งได้ ควร
มอี ปุ กรณส์ าหรบั ปอ้ งกันตนเอง เชน่ หนา้ กากอนามยั

๒. หากจิ กรรมนนั ทนาการต่างๆ ทาเพ่อื เป็นการผอ่ นคลายความเครยี ด เพราะ
ความเครยี ดมผี ลทาใหห้ ายใจเร็ว ซ่งึ เป็นการหายใจท่ไี มถ่ กู ต้อง

๓. งดสูบบุหรี่ หรอื ใกล้ชิดกบั บุคคลทีก่ าลังสูบบหุ รี่ เพราะบุหร่เี ป็นสาเหตขุ อง
โรคระบบทางเดนิ หายใจตา่ งๆ เช่น โรคถุงลมโป่งพอง โรคหลอดลมอักเสบ
เรื้อรัง โรคมะเร็งปอด เป็นต้น

แนวทางเสรมิ สร้างและดารงประสิทธภิ าพการทางานของระบบหายใจ (ต่อ)

๔. เม่อื มีการเปลยี่ นแปลงของอากาศ ควรรกั ษาความอบอนุ่ ของรา่ งกายอยู่
เสมอหลกี เล่ียงการตากนา้ คา้ งหรอื ตากฝน เพราะอาจทาให้เป็นหวดั ได้

๕. รบั ประทานอาหารใหค้ รบ ๕ หมู่ พักผอ่ นใหเ้ พยี งพอ และออกกาลงั กาย
สม่าเสมอเพอื่ ให้รา่ งกายแข็งแรงและเพม่ิ ประสทิ ธิภาพการทางานของปอดไดด้ ขี ึ้น

๖. หลีกเลยี่ งการอยู่ใกลช้ ิดกับบคุ คลทปี่ ่วยเป็นโรคติดตอ่ ทางระบบทางเดนิ
หายใจ เช่น โรคหวัด วัณโรค โรคไวรัสโควดิ -๑๙ เป็นตน้

๗. หม่ันดแู ลรกั ษาสุขภาพตนเอง เพ่อื ปอ้ งกันการเกดิ ความผดิ ปกตเิ กีย่ วกับระบบ
ทางเดินหายใจ และควรตรวจสอบสมรรถภาพในการทางานของปอดโดยการ
เอกซเรย์ปอด อยา่ งน้อยปลี ะ ๑ ครั้ง

๘. เมอื่ เกดิ ความผดิ ปกตขิ องระบบทางเดนิ หายใจ ควรรีบไปพบแพทย์เพอื่ ตรวจ
สุขภาพและทาการรักษา

สวสั ดีครบั

ครสู มศกั ดิ์ ทองเงิน

กลมุ่ สาระการเรยี นร้สู ุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรยี นวงั ไกลกังวล ในพระบรมราชปู ถมั ภ์

Email [email protected]

สขุ ภาพดีอย่าง ยงั่ ยนื


Click to View FlipBook Version