The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sukanya ศธจ.ราชบุรี, 2022-04-09 09:35:23

รายงาน Coaching Teams 2562

รายงาน Coaching Teams 2562

คำนยิ ม

สำนักงำนศึกษำธิกำรจังหวัดรำชบุรี ได้ส่งเสริมสนับสนุนหน่วยงำนทำงกำรศึกษำ สถำนศึกษำ
ในกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ โดยสร้ำงเครือข่ำยควำมร่วมมือในกำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำระดับจังหวดั
โดยมีเปำ้ หมำยในกำรพฒั นำคณุ ภำพกำรบริหำรจดั กำรศกึ ษำทุกระดับ ทุกชว่ งวัย

กำรดำเนินงำนตำมโครงกำร Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภำพกำรศึกษำ ระดับจังหวัด
เป็นโครงกำรท่ีมีเป้ำหมำยเพื่อยกระดับคุณภำพกำรศึกษำและกำรเรียนรู้ให้มีคุณภำพและสร้ำงคุณลักษณะ
ทจี่ ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21 ได้รบั ควำมรว่ มมือจำกหน่วยงำนทำงกำรศึกษำในจังหวัดรำชบุรี ไดแ้ ก่ มหำวิทยำลัย
รำชภัฏหมู่บ้ำนจอมบึง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดรำชบุรี สำนักงำนเขตพ้ืนท่ีกำรศึกษำ สำนักงำน
คณะกรรมกำรประสำนและส่งเสริมกำรศึกษำเอกชนจังหวัดรำชบุรี วิทยำลัยเทคนิครำชบุรี สำนกั งำนสง่ เสริม
กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจังหวัดรำชบุรี ที่ร่วมเป็นเครือข่ำยควำมร่วมมือในกำรนิเทศ
ติดตำมและประเมินผลกำรบริหำรจัดกำรศึกษำขั้นพ้ืนฐำน ในระดับจังหวัด ได้ร่วมสร้ำงแนวทำงกำรนิเทศ ฯ
และดำเนินกำรนิเทศ ติดตำมและประเมินผลกำรบริหำรจัดกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน โรงเรียนกลุ่มเป้ำหมำย
ที่เข้ำร่วมโครงกำร 5 แห่ง ได้แก่ โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม โรงเรียนบ้ำนทุ่งแจง โรงเรียนวัดแก้วฟ้ำ โรงเรียน
เทศบำล 3 ประชำยินดี และโรงเรยี นวนั ทำมำรีอำ รำชบรุ ี

ขอบขอบคุณ ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องทุกหน่วยงำนทุกสังกัดที่มุ่งหวังให้กำรพัฒนำคุณภำพกำรศึกษำ
ของจังหวัดรำชบุรี ที่ให้ควำมร่วมมือในกำรร่วมพัฒนำรูปแบบแนวทำงกำรนิเทศ ติดตำมและประเมินผล
กำรบรหิ ำรจดั กำรศกึ ษำข้นั พน้ื ฐำน จงั หวัดรำชบรุ ี เพื่อเปน็ แนวทำงให้หนว่ ยงำนทำงกำรศึกษำและสถำนศึกษำ
ไปประยุกตใ์ ชใ้ นกำรนิเทศภำยในหนว่ ยงำนและสถำนศึกษำ เพอื่ พัฒนำคุณภำพกำรศึกษำตอ่ ไป

ดร.วนิ ยั ตะปะสำ
ศึกษำธิกำรจงั หวดั รำชบุรี

คำนำ

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีมี
ความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่โรงเรียนกลุม่ เปา้ หมาย : จังหวัดราชบุรี ตามโครงการ Coaching
Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ระดับจังหวัด เล่มน้ีจัดทาขึ้นเพ่ือให้ศึกษานิเทศก์ ผู้บริหารโรงเรียน
และผู้ท่ีเก่ียวข้องใชเ้ ป็นแนวทางนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจดั การศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือยกระดับ
คุณภาพการศึกษา ตามบริบทพื้นท่ี การดาเนินการ Coaching เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาในคร้ังนี้
ได้ดาเนินการกับสถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย จานวน 5 โรงเรียน ประกอบด้วย โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม สังกัด
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 โรงเรียนบ้านทุ่งแจง สังกัดสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 โรงเรียนวัดแก้วฟ้า สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
โรงเรียนเทศบาล 3 ประชายินดี สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจังหวัดราชบุรี และโรงเรียนวันทามารีอา
ราชบุรี สงั กัดสานักงานสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชนจงั หวดั ราชบุรี

ขอขอบคุณ ศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี รองศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ
หมู่บ้านจอมบึง อาจารยค์ ณะครศุ าสตรม์ หาวิทยาลยั ราชภฏั หมู่บ้านจอมบึง ทอ้ งถ่ินจงั หวัดราชบรุ ี ผ้อู านวยการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประธานคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดราชบุรี
รองผู้อานวยการเทคนิคราชบุรี นักวิชาการ สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
จังหวัดราชบุรี ผทู้ รงคณุ วฒุ ิ และศกึ ษานิเทศก์ทุกท่าน ทรี่ ว่ มกันสรา้ งแนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล
การบริหารจดั การศึกษาข้นั พน้ื ฐานจนเสรจ็ สมบรู ณแ์ ละสามารถนาไปใชไ้ ด้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพต่อไป

คณะผู้จดั ทา
สานกั งานศึกษาธิการจังหวดั ราชบุรี

กันยายน 2562

บทสรุปสำหรับผบู้ ริหำร

สรุปผลกำรนเิ ทศ ติดตำมและประเมินผลกำรบริหำรจัดกำรศกึ ษำขัน้ พ้นื ฐำน ตำมโครงกำร
Coaching Teams เพอ่ื ยกระดับคุณภำพกำรศึกษำ ระดบั จงั หวดั
สำนักงำนศึกษำธิกำรจงั หวัดรำชบุรี ประจำปงี บประมำณ 2562

สานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี ได้จัดทาโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพ
การศึกษา ระดับจังหวัด ประจาปีงบประมาณ 2562 มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพ่ือสร้างเครือข่ายความร่วมมือใน
การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ในระดับจังหวัด เพื่อพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาและยกระดับคณุ ภาพผเู้ รยี น และ 2) เพอ่ื พฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการบริหาร
จัดการศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานในระดับจงั หวดั อยา่ งน้อย 1 แนวทาง โดยไดม้ จี ัดตัง้ หน่วยงานบรู ณาการด้านการนิเทศ
ติดตาม เป็นผู้ทรงคุณวุฒิระดับจังหวัด นักวิชาการศึกษา ศึกษานิเทศก์ และตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ อาทิ
สานักงานศึกษาธิการภาค 3 สานักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง องค์กร
ปกครองสว่ นท้องถ่นิ จังหวัดราชบุรี สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา สานักงานคณะกรรมการประสานและส่งเสริม
การศึกษาเอกชนจังหวัดราชบุรี สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัด
ราชบุรี และวิทยาลัยเทคนิคราชบุรี สร้างเครือขา่ ยความร่วมมอื ในการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหาร
การจัดการศกึ ษาข้ันพน้ื ฐานในระดับจังหวัด สาหรบั พัฒนาการศกึ ษาและยกระดับคณุ ภาพของผเู้ รยี น

การพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ระดับ
จังหวดั ท่ีมคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี ไดด้ าเนนิ การพิจารณาคัดเลือกโรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมาย
เข้าร่วมโครงการ โดยการสร้างเกณฑพ์ จิ ารณาและคดั เลือกสถานศึกษาข้ันพืน้ ฐานทกุ สังกดั ท่มี ีข้อมูลผลทดสอบ
ระดับชาติ O-NET ปีการศึกษา 2561 ในรายวิชาคณิตศาสตร์ ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ และวิทยาศาสตร์ที่มี
นักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึ้นไปอยู่ในระดับต่า และสมัครใจเข้าร่วมโครงการเป็นกลุ่มเป้าหมาย ซึ่งได้
โรงเรยี นจากหน่วยงานทางการศึกษา 5 แหง่ ดังนี้

1. โรงเรียนมธั ยมวัดดอนตูม สงั กัดสานักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 8
2. โรงเรียนบ้านทุง่ แจง สังกัดสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
3. โรงเรียนวัดแกว้ ฟา้ สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
4. โรงเรียนเทศบาล 3 ประชายนิ ดี สังกัดองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถน่ิ จงั หวัดราชบุรี
5. โรงเรยี นวันทามารีอา ราชบรุ ี สังกัดสานักงานคณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชน จังหวัด
ราชบุรี
การดาเนินการตามโครงการได้แต่งตั้งคณะกรรมการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพ
การศกึ ษา จังหวดั ราชบรุ ี ตามบรบิ ทพ้นื ที่โรงเรยี นกลุ่มเป้าหมาย เปน็ 5 ทมี ดงั นี้
1) Coaching Teams สงั กดั สานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 8 นิเทศ ตดิ ตามฯ โรงเรียน
มัธยมศึกษาวัดดอนตูม อาเภอบ้านโปง่ จังหวดั ราชบรุ ี
2) Coaching Teams สังกัดสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 นิเทศ ติดตามฯ
โรงเรียนบ้านทงุ่ แจง อาเภอจอมบงึ จงั หวัดราชบุรี

3) Coaching Teams สังกัดสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 นิเทศ ติดตามฯ
โรงเรยี นวดั แกว้ ฟ้า อาเภอโพธาราม จังหวดั ราชบรุ ี

4) Coaching Teams สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จังหวัดราชบุรี นิเทศ ติดตามฯ โรงเรียน
เทศบาล 3 ประชายนิ ดี อาเภอบ้านโปง่ จังหวดั ราชบุรี

5) Coaching Teams สังกัดสานักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัดราชบุรี นิเทศ
ตดิ ตามฯ โรงเรียนวันทามารอี า ราชบุรี อาเภอดาเนนิ สะดวก จังหวดั ราชบรุ ี

Coaching Teams ร่วมกันวางแผนการดาเนินงาน กาหนดปฏิทินการนิเทศ ติดตามและประเมินผล
การบริหารจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานตามบรบิ ทพ้นื ท่ี โดยลงพน้ื ท่ีโรงเรียนกลมุ่ เปา้ หมาย โรงเรยี นละ 4 ครงั้

การพัฒนาแนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการบริหารจดั การศึกษาข้ันพ้นื ฐานระดับจังหวัดท่ี
พัฒนาข้ึน ได้รูปแบบ IPCCR 5 Step Model เป็นแนวทางในการนิเทศฯ แบบมีส่วนร่วม เพ่ือให้หน่วยงานต้น
สังกัดและสถานศึกษาสามารถนาไปปรับใช้ให้สอดคล้อง เหมาะสมกับบริบทของพื้นที่ ซึ่งประกอบด้วย 5
ขั้นตอน คือ 1) ช้ีแจงและสร้างความเข้าใจ 2) วางแผนการดาเนินงาน พัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตาม 3)
ร่วมสร้างแนวทางการนิเทศ ติดตามการบริหารจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน เพื่อยกระดับเชิงพื้นท่ี 4) ร่วมนิเทศ
ติดตามการบริหารจดั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาท่ีสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทของ
พ้ืนท่ี และ 5) การสะทอ้ นผลการปฏิบัตงิ าน

และจากการรายงาน สรุปและสะท้อนผลการดาเนินงาน Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพ
การศึกษา เชิงพื้นท่ีโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย 5 แห่ง ได้แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหาร
จัดการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน ที่สอดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทของพื้นท่ี มุ่งเนน้ ทีก่ ารพฒั นาการจัดการเรียนการสอน
ท่ีสอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา ตามกระบวนการ PDCA ใช้รูปแบบการนิเทศ ติดตาม Coaching and
Mentoring โดยการฟัง-ถาม เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงข้อมูล วิเคราะห์ หาและสร้างแนวทาง
ในการแก้ไขหรือพัฒนา และบอก-แนะนา เพื่อเติมเต็มส่วนท่ีขาด โดยการ Coaching และ Mentoring
อัตราส่วน 70 : 30 ซ่ึง Coaching Teams ตามบริบทพื้นที่ และโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายสามารถให้ข้อมูล
ย้อนกลับ เพื่อสะท้อนผลการปฏิบัติที่เกิดขึ้นเพ่ือสร้างความเข้าใจ กระบวนการแก้ไข หรือพัฒนาสะท้อนคิด
(Reflection) มีการส่งเสริมให้โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายสามารถนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหาร
จัดการศึกษาได้ด้วยตนเอง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับองค์กรได้อย่างสม่าเสมอ โดยผู้นาองค์กรสนับสนุนและ
ให้ความสาคญั ในการจดั กิจกรรมเพื่อพฒั นาคุณภาพการจดั การเรยี นการสอน รับฟงั และใหข้ ้อเสนอแนะ รวมทั้ง
สรา้ งบรรยากาศและจิตสานึกร่วมในการทางานให้ตอ่ เนื่อง

สำรบัญ

คำนำ หนา้

บทสรุปสำหรบั บริหำร 1
4
สว่ นที่ 1 บริบทของการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล 5
ส่วนที่ 2 แนวทางการดาเนินงาน 6

 การสรา้ งเครือขา่ ยความร่วมมือ (Coaching Teams) 10

 การพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผล 32
การบรหิ ารการจัดการศึกษาข้ันพืน้ ฐานจังหวดั ราชบรุ ี
32
 แนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการบรหิ ารการจัดการศึกษา 33
ขน้ั พน้ื ฐาน จงั หวัดราชบุรี 33
33
สว่ นท่ี 3  ผลของการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจดั การศกึ ษา
ภำคผนวก ตามโครงการ Coaching Teams เพอื่ ยกระดับคุณภาพการศึกษา 36
จงั หวดั ราชบรุ ี 38
- ผล O-NET (จากการดาเนนิ งานในชว่ งเดือนมกราคม-กมุ ภาพนั ธ)์
- ผลทเ่ี กิดกับผเู้ รยี น 40
- ผลทเี่ กิดขนึ้ กับโรงเรยี นกลุ่มเป้าหมาย
- ผลที่เกิดกบั ครผู ู้สอน 45
- ปัจจัยความสาเรจ็
50
ปญั หาอปุ สรรค ข้อเสนอแนะ และสง่ิ ทจ่ี ะดาเนินการในระยะตอ่ ไป
- Supervisor Teams/Coaching Teams สานกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัด 55
ราชบุรี
- แนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา
ขน้ั พืน้ ฐาน ระดบั จังหวดั ทีพ่ ัฒนาขน้ึ
- คาสง่ั แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ Supervisor Teams/Coaching Teams
เพ่ือยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา ระดบั จังหวดั
- ประกาศแต่งตง้ั คณะกรรมการ Supervisor Teams/Coaching Teams
เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา ระดบั จังหวัด
- ภาพกจิ กรรม

สำรบญั ภำพ

หนา้

แผนภำพ แนวทางการดาเนนิ งานนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหาร 10
1 จัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ท่ีมีความ
สอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทของพื้นท่ี จังหวดั ราชบุรี โดยใช้รปู แบบ 12
2 IPCCR 5 Step Model 16
แนวทางการดาเนนิ การนเิ ทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัด
3 การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ท่มี ีความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทของ 20
4 พน้ื ท่ี จงึ หวัดราชบุรี 22
5 กระบวนการในการ Coaching and Mentoring 27
6 แนวทางการดาเนนิ งาน Coaching Teams ตามบรบิ ทพน้ื ท่ี 30
7
สังกดั สานกั งานเขตพนื้ ทกี่ ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
8
แนวทางการดาเนนิ งาน Coaching Teams ตามบรบิ ทพื้นท่ี
สงั กัดสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1

แนวทางการดาเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพน้ื ท่ี
สงั กัดสานักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2

แนวทางการดาเนินงาน Coaching Teams ตามบรบิ ทพื้นท่ี
สังกดั องคก์ รปกครองส่วนท้องถิน่

แนวทางการดาเนนิ งาน Coaching Teams ตามบริบทพ้นื ท่ี
สังกดั คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษาเอกชนจังหวัดราชบุรี

ส่วนที่ 1

บริบทของการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผล

ความเป็นมา

แผนพัฒนาเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ ฉบับท่ี 12 พ.ศ. 2560-2564 ขอ้ 2.3.4 คุณภาพการศกึ ษา
และการเรียนรู้ของคนไทยยังอยู่ในระดับค่อนข้างต่า (ส่านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สงั คมแหง่ ชาติ (สศช.), 41) เม่อื พิจารณาคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี นข้ันพื้นฐาน ( O-NET )
ปี พ.ศ. 2558 พบว่า มีค่าเฉลี่ยต่ากว่าร้อยละ 50 ตามเป้าหมายท่ี 2 ตัวชี้วัดท่ี 2.2 สัดส่วน นักเรียนที่มี
ผลสัมฤทธ์ิทุกระดับช้ันผ่านเกณฑ์คะแนนร้อยละ 50 มีจ่านวนเพ่ิมข้ึน และ ความแตกต่างของ คะแนน
ผลสัมฤทธิ์ระหว่างพื้นที่ และภูมิภาคลดลง แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2560-2579 ตามยุทธศาสตร์ที่ 3
ข้อ 3.2 คนทุกช่วงวัยมีทักษะ ความรู้ความสามารถ นักเรียนมีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษา
ระดับชาติ ข้ันพื้ นฐาน (O-NET) แต่ละวิชาผ่านเกณ ฑ์ คะแนนร้อยละ 50 ขึ้นไปเพิ่ มข้ึน และ
กระทรวงศึกษาธิการมีนโยบาย พัฒนาและยกระดับคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริม
ให้มศี กั ยภาพสงู สู่มาตรฐานสากลและ ทดั เทียมกบั นานาชาติ (สา่ นักงานเลขาธิการสภาการศึกษา,110.) และ
ได้ด่าเนินการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษที่สอง (พ.ศ.2552-2561) ซ่ึงเน้นในการยกระดับคุณภาพผู้เรียน
ให้เต็มศักยภาพ กลยุทธ์ท่ี 1 พัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับตามหลักสูตรและส่งเสริม
ความสามารถด้านเทคโนโลยี เพื่อเป็นเครื่องมือในการเรียนรู้คณะกรรมการนโยบายปฏิรูปการศึกษา
ในทศวรรษท่ีสองได้ก่าหนดเป้าหมายให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในวิชาหลักจากการทดสอบระดับชาติ
(O–NET) มีคะแนนเฉล่ียมากกว่า ร้อยละ 50 และผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน
(O-NET) ของนักเรียนระดับประถมศึกษาปีท่ี 6 และระดับมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในปีการศึกษา 2561 ใน
ภาพรวมของจังหวัดราชบุรี ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 44.43 (ระดับประเทศ
43.14) และระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 มีคะแนนเฉลี่ยร้อยละ 37.87 (ระดบั ประเทศ 37.50)

กระทรวงศึกษาธิการเป็นองค์กรหลักในการขับเคลื่อนพัฒนาคุณภาพการศึกษาของประเทศให้มี
ประสิทธิภาพ รวมท้ังส่งเสริมการศึกษาให้เยาวชน ประชาชน มีความรู้ มีคุณภาพ มีศักยภาพในการพัฒนา
ตนเอง พัฒนาเศรษฐกิจ พัฒนาสังคม และเพ่ิมขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ จึงได้ก่าหนด
นโยบายและมาตรการต่าง ๆ ท่ีจะด่าเนินการพัฒนาก่าลังคนซ่ึงเป็นทรัพยากรมนุษย์ที่ส่าคัญในการพัฒนา
ประเทศ แต่ปรากฏว่ายังมีปัญหาบางประการในการจัดการศึกษาของประเทศในส่วนภูมิภาค ท้ังในด้าน
โครงสร้างขององค์กร ด้านระบบบริหารจัดการและด้านบุคลากรที่เก่ียวข้อง ซ่ึงปัญหาเหล่าน้ีส่งผลต่อ
คุณภาพ การศึกษาและการพัฒนาเยาวชน และเป็นอุปสรรคต่อการขับเคลื่อนและการพัฒนาด้านการศึกษา
ของประเทศ ให้มีประสิทธิภาพทัดเทียมนานาประเทศ แม้ท่ีผ่านมาคณะรักษาความสงบแห่งชาติ
ได้มีความพยายามในการแก้ปัญหาด้วยการก่าหนดมาตรการและกลไกต่าง ๆ ข้ึน โดยมีค่าสั่งหัวหน้าคณะ
รักษาความสงบแห่งชาติมาแล้ว หลายฉบับ แต่โดยเหตุที่สภาพปัญหาการจัดการศึกษาของประเทศในส่วน
ภูมิภาคมีความซับซ้อนและส่ังสมเป็นเวลานาน รัฐบาลจึงได้มีการปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาค ของ
กระทรวงศึกษาธิการขึ้น เพื่อก่าหนดมาตรการ และกลไกเพ่ิมเติมให้ปัญหาส่วนใหญ่ได้รับการแก้ไขโดยเร็ว
เพ่ือประโยชน์ในการเตรียมการและรองรับการ ปฏิรูปประเทศตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
ได้บญั ญตั ิไว้

1

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
ที่มีความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพนื้ ทโี่ รงเรียนกลุม่ เปา้ หมาย : จงั หวดั ราชบรุ ี

สา่ นักงานศึกษาธกิ ารจงั หวัดราชบุรี จัดต้ังขึ้นตามคา่ ส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ค่าส่ัง
ท่ี 19/2560 เร่ือง การปฏิรูปการศึกษาในภูมิภาคของกระทรวงศึกษาธิการ ลงวันท่ี 3 เมษายน พ.ศ.2560
โดยมีหน้าท่ีในการก่าหนดยุทธศาสตร์และบทบาทการพัฒนาการศึกษา ให้เช่ือมโยงและสอดคล้องกับ
ทิศทางการพัฒนาประเทศและการพัฒนาด้านอ่ืน ๆ ตามศักยภาพและโอกาสของบุคคลและชุมชนในแต่ละ
พื้นท่ี ส่งเสริม สนับสนุน และด่าเนินการวิจัยและพัฒนาเพ่ือสรา้ งองค์ความรู้และนวัตกรรมการศึกษาระดับ
จงั หวัด ก่ากับ ดูแล เร่งรัด นิเทศ ติดตามและประเมินผลการพฒั นางานวชิ าการและการพัฒนาคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาในพื้นท่ีรับผิดชอบ และที่ส่าคัญ คือ มีหน้าท่ีก่ากับดูแล เร่งรัด นิเทศ ติดตามและ
ประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศึกษาของหนว่ ยงานการศึกษาในสังกดั กระทรวงศึกษาธกิ ารในพื้นท่ีรบั ผดิ ชอบ

ส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี ได้จัดท่าโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพ
การศึกษาข้ึน เพื่อพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหาร การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ของหน่วยงานทางการศึกษาให้ตรงกับบริบทของพ้ืนท่ี ตรงกับผลการวิเคราะห์ ผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษา
และความต้องการของแต่ละพื้นท่ี เพ่ือให้การนิเทศ ติดตาม และประเมินผล สามารถ เป็นกลไกลกระตุ้น
ให้หน่วยงานทางการศึกษา บริหารจัดการศึกษา รวมทง้ั แก้ไขปัญหาด้านคุณภาพของ ผู้เรียน ให้เกิดผลลัพธ์
ต่อคุณภาพของผู้เรียนท่ีสูงข้ึน ให้ผู้เรียนได้รับพัฒนาอย่างเหมาะสม เป็นผู้มีองค์ความรู้ ตามศักยภาพและ
เปน็ คนดขี องสังคม

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพ่ือพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

ระดับจังหวดั ท่มี คี วามสอดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทของพืน้ ท่ี
2. เพอ่ื สร้างเครือขา่ ยความร่วมมือในการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา

ขั้นพนื้ ฐานในระดับจังหวัด ส่าหรบั พฒั นาการศกึ ษาและยกระดบั คณุ ภาพของผู้เรยี น

ตวั ชี้วัดความสาเรจ็
1. ส่านักงานศึกษาธิการจัดหวัดราชบุรี มีแนวทางและเครือข่ายความร่วมมือในการนิเทศ ติดตาม

และประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานในพื้นท่ีรับผิดชอบท่ีสอดคล้องเหมาะสมตามบริบท
ของพน้ื ท่อี ยา่ งนอ้ ย 1 แนวทาง

2. จังหวัดราชบุรีมี Supervisor Teams เพื่อเป็นศูนย์กลางการบูรณาการด้านการนิเทศ ติดตาม
และประเมินผลการบริหารการจัดการศกึ ษาขัน้ พ้ืนฐานในพนื้ ที่

3. ส่านักงานเขตพื้นทกี่ ารศึกษา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และส่านักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศกึ ษาเอกชน จงั หวัดราชบุรี มแี นวทางการนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการ การศึกษา
ขนั้ พื้นฐานในพน้ื ทรี่ ับผดิ ชอบท่สี อดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทของพ้นื ท่ี

4. สถานศึกษากลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลตามแนวทางท่ีพัฒนาข้ึน
มีร้อยละของนักเรียนท่ีคะแนนผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) ในแต่ละวิชา
ผ่านเกณฑ์คะแนนรอ้ ยละ 50 ข้ึนไป เพิ่มขนึ้

ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั
1. จังหวัดราชบุรี มีเครือข่ายและแนวทางการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหาร

จัดการศึกษาระดับจังหวัดท่ีสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพ้ืนที่ เพื่อน่ามาส่งเสริม สนับสนุนการพัฒนา

2

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
ทมี่ ีความสอดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทพ้นื ทโ่ี รงเรียนกลุ่มเปา้ หมาย : จังหวดั ราชบุรี

การศึกษาในการระดับคุณคะแนนเฉลี่ยผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน O-NET ของ
นกั เรยี นไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

2. ส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี และส่านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาได้แนวทางการนิเทศ
ติดตาม และประเมนิ ผลการบริหารการจดั การศึกษา ดว้ ยเทคนิคการโคช้ (coaching)

3. ครูในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มเป้าหมายในจังหวัดราชบุรีได้รับการพัฒนาด้วยการนิเทศ
ติดตาม และ ประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษา ด้วยเทคนิคการโค้ช (coaching) และสามารถ
น่าองคค์ วามรู้ไปพฒั นา วิชาชพี ของตนเอง

4. นกั เรียนมีผลสัมฤทธทิ์ างการเรียน (ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้นั พนื้ ฐาน (O-NET))
ท่สี ูงขน้ึ ในรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ

3

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐาน
ที่มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพ้นื ทโี่ รงเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย : จงั หวดั ราชบรุ ี

ส่วนท่ี 2

แนวทางการดาเนินงาน

1. การสร้างเครอื ขา่ ยความร่วมมอื (Coaching Teams)
การด่าเนินการโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ระดับจังหวัด

สา่ นักงานศกึ ษาธิการจังหวัดราชบุรีได้ดา่ เนินการ ดังน้ี
1.1 การแต่งต้ังคณะกรรมการด่าเนินงานโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพ

การศึกษา ระดบั จังหวัดราชบุรี (วันท่ี 20 กุมภาพันธ์ 2562)
1.1.1 เสนอโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ต่อคณะกรรมการ

ศกึ ษาธิการจังหวัดราชบรุ ี ใหค้ วามเห็นชอบ เมื่อวันท่ี 25 ธนั วาคม 2561
1.1.2 ขอรายชื่อคณะกรรมการด่าเนินงานโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับ

คณุ ภาพการศึกษา ระดบั จังหวัดราชบรุ ี จากหน่วยงานการศกึ ษาในจังหวดั ราชบุรี
1.1.3 แต่งต้ังคณะกรรมการด่าเนินงานโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพ

การศึกษา ระดับจังหวัดราชบุรี โดยผู้ว่าราชการจังหวัดราชบุรีลงนาม ประกอบด้วย ผู้แทนหน่วยงาน
ทีเ่ กย่ี วข้องกับการจัดการศึกษาในจังหวัด ได้แก่ ผู้แทนจาก หน่วยงานการศึกษาในจังหวัดราชบุรี ส่านักงาน
ศึกษาธิการภาค 3 ส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี ส่านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นจังหวัดราชบุรี ส่านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏหมบู่ ้านจอมบึง ผบู้ รหิ าร นกั วิชาการ ผ้แู ทนจากคณะกรรมการศึกษาธกิ ารจังหวดั ราชบุรี ผูแ้ ทนจาก
สถานศกึ ษา และผแู้ ทนภาคเอกชนในพ้นื ที่ ดงั น้ี

1) สา่ นกั งานศึกษาธิการภาค 3 จ่านวน 3 คน
2) ส่านกั งานศึกษาธิการจังหวัดราชบรุ ี จา่ นวน 13 คน
3) ส่านักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศึกษาเขต 8 จ่านวน 3 คน
4) ส่านักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 จ่านวน 3 คน
5) ส่านักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2 จา่ นวน 3 คน
6) องค์กรปกครองส่วนท้องถนิ่ จังหวัดราชบุรี จ่านวน 2 คน
7) ส่านักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษาจงั หวดั ราชบุรี จ่านวน 2 คน
8) ส่านกั งานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จงั หวดั ราชบุรี จ่านวน

2 คน
9) ประธานคณะกรรมการสง่ เสริมการศึกษาเอกชน จงั หวดั ราชบรุ ี จ่านวน 1 คน
10) ตัวแทนคณะกรรมการศึกษาธิการจงั หวัดราชบรุ ี จ่านวน 1 คน

ผู้ทรงคุณวุฒิในโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ระดับ
จงั หวดั ส่านกั งานศึกษาธิการจังหวดั ราชบุรี ได้แก่ อาจารย์ประสิทธิ์ เทียมเดช คณะกรรมการอนุยุทธศาสตร์
ส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี และผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ชัยฤทธิ์ ศิลาเดช อธิการบดีมหาวิทยาลัย
ราชภฏั หมบู่ ้านจอมบึง จังหวดั ราชบุรี

4

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
ท่มี คี วามสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพนื้ ทโี่ รงเรยี นกลุม่ เปา้ หมาย : จงั หวัดราชบุรี

ผูท้ รงคุณวุฒิในโครงการ Coaching Teams เพอ่ื ยกระดับคณุ ภาพการศึกษา ระดับจังหวดั
ผทู้ รงคณุ วุฒิ
อาจารย์ ประสิทธิ์ เทียมเดช
กรรมการอนุยทุ ธศาสตร์ ส่านักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ราชบุรี

ผู้ทรงคณุ วุฒิ
ผชู้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ชยั ฤทธิ์ ศลิ าเดช
อธิการบดมี หาวิทยาลัยราชภฏั หมบู่ า้ นจอมบงึ จงั หวดั ราชบุรี

เครือขา่ ยความร่วมมือ Coaching Teams ระดับจงั หวัด สานกั งานศกึ ษาธิการจังหวดั ราชบุรี

เครือข่ายความรว่ มมือ Coaching Teams ระดับจงั หวัด ส่านักงานศึกษาธกิ ารจังหวัดราชบุรี
ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานการศึกษาในจังหวัดราชบรุ ี ไดแ้ ก่

1. ส่านักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 3
2. ส่านักงานศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั ราชบรุ ี
3. มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั หมบู่ ้านจอมบงึ สงั กัดส่านักงานคณะกรรมการการอดุ มศึกษาจงั หวัด
ราชบุรี
4. ส่านักงานคณะกรรมการการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จงั หวัดราชบรุ ี
5. วทิ ยาลยั เทคนิคราชบุรี สังกัดสา่ นกั งานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จงั หวดั ราชบุรี
6. สา่ นกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ราชบุรี
7. ส่านักงานเขตพน้ื ที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8 สงั กัดคณะกรรมการการศึกษาขั้น
พืน้ ฐาน
8. ส่านักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 1 สังกัดคณะกรรมการการศึกษา
ข้นั พ้ืนฐาน
9. ส่านักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 สังกัดคณะกรรมการการศึกษา
ขนั้ พ้นื ฐาน

5

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
ท่ีมีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพ้ืนทโ่ี รงเรยี นกล่มุ เปา้ หมาย : จงั หวัดราชบรุ ี

2. การพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารการจดั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน จังหวดั
ราชบรุ ี
การพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน

จังหวัดราชบรุ ี ดา่ เนินการ ดังน้ี

2.1 ประชุมเชิงปฏิบัติการชี้แจงโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา

ระดบั จงั หวดั (26-27 มีนาคม 2562) การประชุมเชิงปฏิบตั ิการชี้แจง ทา่ ความเขา้ ใจการดา่ เนินงานโครงการ

Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ระดับจังหวัด กลุ่มเป้าหมายเป็นคณะกรรมการ

ด่าเนินงาน Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณ ภ าพการศึกษา ระดับจังหวัด จ่านวน 35 คน

โดยดา่ เนินการดังนี้

2.1.1 วิเคราะห์ข้อมูลผลการผลทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET)

ปกี ารศึกษา 2560-2561 ระดบั จงั หวัด ในแต่ละวิชาทมี่ นี ักเรยี นผา่ นเกณฑ์ร้อยละ 50 ขึน้ ไป

2.1.2 กา่ หนดแนวทางในการคดั เลือกโรงเรยี นกล่มุ เปา้ หมาย

2.1.3 ช้ีแจงรูปแบบการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ของโรงเรยี นท่จี ดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน ในจังหวดั ราชบรุ ี

2.1.4 วิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
ปี การศึกษา 2560-2561 ระดบั จังหวัด ในแต่ละวิชาท่มี ีนกั เรียนผ่านเกณฑร์ ้อยละ 50 ข้ึนไป อยู่ในระดบั ต่า

2.2 วิเคราะหส์ ภาพปัญหาเชิงพน้ื ที่
คณะกรรมการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ตามบริบทพื้นที่ ร่วมกัน

วิเคราะห์สภาพปัญหาเชิงพื้นท่ีโดย แบ่งเป็นกลุ่มย่อย ในการด่าเนินการตามโครงการ Coaching Teams
เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา จงั หวดั ราชบุรี ตามบริบทพนื้ ท่โี รงเรยี นกลมุ่ เป้าหมาย เป็น 5 ทมี ดังน้ี

1) Coaching Teams สงั กดั ส่านักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษามธั ยมศึกษา เขต 8
2) Coaching Teams สงั กดั ส่านักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1
3) Coaching Teams สงั กดั สา่ นกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
4) Coaching Teams สงั กัดองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิ่น จงั หวดั ราชบรุ ี
5) Coaching Teams สังกัดส่านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จังหวัด
ราชบุรี
2.3 พิจารณาคัดเลอื กโรงเรียนกลมุ่ เป้าหมาย
คณะกรรมการ Coaching Teams ตามบรบิ ทพ้ืนท่ี พิจารณาคัดเลือกโรงเรยี นกลมุ่ เป้าหมาย
โดยพิจารณาคัดเลือก ในแต่ละวิชาที่มีนักเรียนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ข้ึนไป อยู่ในระดับต่าและมีความ
สมัครใจในการเขา้ ร่วมโครงการ ได้โรงเรียนทเ่ี ป็นกลุ่มเป้าหมายตามบริบทพน้ื ที่ จ่านวน 5 แห่ง ดงั น้ี
1) โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม สงั กัดส่านักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษามัธยมศึกษา เขต 8
2) โรงเรียนบา้ นทงุ่ แจง สงั กดั ส่านักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
3) โรงเรียนวดั แกว้ ฟ้า สงั กดั ส่านกั งานเขตพื้นทกี่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2
4) โรงเรียนเทศบาล 3 ประชายินดี สังกดั กรมสง่ เสรมิ การปกครองท้องถ่ินจงั หวดั ราชบรุ ี
5) โรงเรียนวันทามารีอา ราชบุรี สังกัดส่านักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
จังหวดั ราชบุรี

6

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
ทมี่ คี วามสอดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทพ้นื ทโี่ รงเรยี นกลุ่มเป้าหมาย : จงั หวดั ราชบุรี

2.4 จัดท่าแนวทางการนิเทศ ติดตาม เชงิ บริหารของจงั หวดั ราชบุรี ตามบริบทพ้นื ที่
คณะกรรมการ Coaching Teams ระดบั จังหวดั จดั ทา่ แนวทางการนิเทศ ติดตามเชิง

บริหารของจงั หวัดราชบุรี ตามบริบทพนื้ ท่ี
2.5 ก่าหนดปฏทิ นิ การนิเทศ ติดตามฯ ตามบริบทพ้นื ท่ี
คณะกรรมการ Coaching Teams ระดับจังหวัด ก่าหนดปฏิทินการนิเทศ ติดตาม และ

ประเมินผล ตามโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ระดับจังหวัด จ่านวน 4 ครั้ง
ภายในเดือนเมษายน – กรกฎาคม 2562 ดงั นี้

ปฏิทินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล
ตามโครงการ Coaching Teams เพอ่ื ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา ระดับจงั หวัด

โรงเรยี นท่นี เิ ทศ สงั กัด วันทน่ี เิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ผนู้ ิเทศฯ

มธั ยมวัดดอนตูม ส่านกั งานเขตพืน้ ท่ี ครั้งที่ 1 วนั พฤหัสบดที ่ี 30 พฤษภาคม 2562 1.นายวัฒนา ตรงเทีย่ ง ผูอ้ ่านวยการฯ กลมุ่ นิเทศฯ สพม.8

การศกึ ษา ครั้งที่ 2 วันจนั ทร์ที่ 17 มิถนุ ายน 2562 2.นางจงกลนี ห่วงทอง ศึกษานิเทศก์ ศธจ.ราชบุรี

มัธยมศกึ ษาเขต 8 ครั้งที่ 3 วนั จนั ทรท์ ่ี 8 กรกฎาคม 2562 3.นางสุภร เสาวัง ศกึ ษานเิ ทศก์ สพม.8
4.นางสาวพจนพร รุ่งทอง ศึกษานิเทศก์ สพม. 8
ครงั้ ท่ี 4 วันพุธท่ี 31 กรกฎาคม 2562 5.นางสาวศริ วิ รรณ ลีก้ จิ เจริญผล ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ.ราชบุรี

6. นางสาว อญั ชลี ภวู พานชิ กศน.เมืองราชบุรี

วัดทงุ่ แจง สา่ นกั งานเขตพื้นที่ คร้งั ท่ี 1 วนั องั คารที่ 4 มถิ นุ ายน 2562 1.อาจารยก์ ารญพ์ ชิ ชา กชกานน อาจารย์ มรภ.หมบู่ า้ นจอมบงึ

การศึกษา คร้งั ที่ 2 วันองั คารที่ 25 มิถนุ ายน 2562 2. นางชอ่ ทิพย์ อินแสน ผอู้ า่ นวยการกลมุ่ นเิ ทศฯ สพป.ราชบรุ ี เขต 1
ประถมศกึ ษา ครง้ั ท่ี 3 วนั พุธที่ 10 กรกฎาคม 2562 3.นางเชาวนยี ์ สายสดุ ใจ ผู้อ่านวยการกลุ่มนเิ ทศฯ ศธจ.ราชบุรี
ราชบรุ ี เขต 1 4.นางอ่าไพ มาศศริ ิทรัพย์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ราชบุรี เขต 1
ครั้งท่ี 4 วนั พธุ ท่ี 24 กรกฎาคม 2562 5.นายบญุ ประคอง โคตรพฒั น์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ราชบรุ ี เขต 1

6.นายนิรุทธ์ิ อทุ าทพิ ย์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ.ราชบรุ ี

7. นางสาวมยรุ ี สทิ ธกิ าร กศน.จงั หวัดราชบรุ ี

วดั แก้วฟา้ สา่ นกั งานเขตพน้ื ที่ คร้ังที่ 1 วนั พธุ ท่ี 15 พฤษภาคม 2562 1.อาจารย์ ดร.เกรยี งวุธ นลี ะคุปต์ อาจารย์ มรภ.หมบู่ า้ นจอมบงึ
การศึกษา ครง้ั ท่ี 2 วันพุธท่ี 5 มถิ ุนายน 2562 2.นายศุภกร มรกต ผู้อา่ นวยการกลมุ่ นิเทศฯ สพป.ราชบุรี เขต 2
ประถมศึกษา ครง้ั ที่ 3 วันพธุ ท่ี 26 มิถุนายน 2562 3.นางสาวกฤตยา จา่ ปาจนั ทร์ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.ราชบุรี เขต 2
ราชบุรี เขต 2 ครั้งที่ 4 วันพธุ ท่ี 24 กรกฎาคม 2562 4.นางสวุ ภัทร์ จิตรเพง่ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.ราชบรุ ี เขต 2
5.นางสาววงศ์จนิ ดา ฤกษ์เมอื ง ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ.ราชบุรี
6.นางกลุ จริ า ชวะณชิ ย์ ศึกษานเิ ทศก์ ศธจ.ราชบุรี
7.นายคมกฤษณ์ สขุ ะวพิ ัฒน์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ.ราชบุรี

เทศบาล 3 กรมสง่ เสรมิ การ ครงั้ ท่ี 1 วันจันทร์ท่ี 3 มิถุนายน 2562 1.นายประเทือง ทรพั ย์เกดิ ผแู้ ทน กศจ.ราชบุรี
ประชายนิ ดี ปกครองส่วน
ทอ้ งถิน่ คร้ังที่ 2 วนั จันทรท์ ่ี 17 มถิ ุนายน 2562 2.นายสกุ รรณ ทองแบบ ศกึ ษานเิ ทศก์ เทศบาลเมอื งราชบุรี
ครั้งท่ี 3 วนั จนั ทร์ท่ี 1 กรกฎาคม 2562 3.นางทองเจอื เอย่ี มธนานุรักษ์ นกั วชิ าการศกึ ษา ศธจ.ราชบรุ ี
4.นางสาวศศกิ านต์ แสวงลาภ ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ.ราชบรุ ี
ครง้ั ท่ี 4 วันจันทร์ที่ 22 กรกฎาคม 2562 5.นางสาวกนกพรรณ งามขา่ นกั วชิ าการศึกษา เทศบาลเมืองบ้านโปง่

6.นายชัยวฒั น์ พูลสวสั ดิ์ ครู วิทยาลัยเทคนคิ ราชบรุ ี

7

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาขน้ั พืน้ ฐาน

ทมี่ ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพ้ืนทโี่ รงเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย : จังหวัดราชบุรี

ทีน่ เิ ทศ สงั กัด วนั ทนี่ เิ ทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล ผู้นิเทศฯ

วนั ทามารีอา สา่ นกั งานส่งเสรมิ ครัง้ ที่ 1 วนั ศุกรท์ ่ี 24 พฤษภาคม 2562 1.บาทหลวงจ่าเนียร จิตรเสรวี งศ์ ปส.กช.ราชบรุ ี
ราชบรุ ี
การศกึ ษาเอกชน ครง้ั ที่ 2 วันศกุ รท์ ่ี 21 มถิ ุนายน 2562 2.นางสาวพยิ ะดา มว่ งอิ่ม ผู้อา่ นวยการกลมุ่ สช.

ครง้ั ที่ 3 วนั ศกุ รท์ ี่ 12 กรกฎาคม 2562 3.นายชมุ พล คา่ เทยี น รองผู้อา่ นวยการวทิ ยาลยั เทคนิคราชบรุ ี
4.นางพนั ธ์ประภา พนู สิน ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ.ราชบรุ ี
คร้ังที่ 4 วนั พฤหัสบดีท่ี 30 กรกฎาคม 5.นางสาวสพุ ิชญน์ ันท์ ทิมพิทักษ์ ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ.ราชบุรี
2562
6.นางสาวอรจริ า สุวรรณมาลี ศกึ ษานิเทศก์ ศธจ.ราชบุรี

2.6 สรา้ งเคร่อื งมอื การนเิ ทศระดับโรงเรียน
2.7 ดา่ เนนิ การนิเทศ ติดตาม และประเมนิ ผลตามแผนการนิเทศ

คณะกรรมการนิเทศ ติดตาม และประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน โรงเรียน
กลุ่มเป้าหมาย 5 แห่ง ตามปฏิทินการนิเทศ ติดตาม และประเมินผล ตามโครงการ Coaching Teams เพื่อ
ยกระดบั คุณภาพการศึกษา ระดับจงั หวัด

หลักการการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
1. การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน ด้วยการนิเทศฯ แบบมี

ส่วนร่วม โดยหน่วยงานเครือข่ายความร่วมมือ สามารถจัดการศึกษาร่วมพัฒนาด้วยการนิเทศ ติดตาม
(Coaching Teams) เพอ่ื ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา

2. การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน ดว้ ยการท่างานเปน็ ทมี
3. การนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ด้วยการนิเทศ ติดตาม
และประเมนิ ผล โดยการนิเทศอยา่ งกัลยาณมติ ร
ในการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพ่ือยกระดับคุณภาพ
การศึกษา สามารถพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูอย่างต่อเน่ืองจะช่วยให้ครูสามารถปฏิบัติงานในวิชาชีพ
และจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพและส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน (ผลการทดสอบทาง
การศึกษาระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET) ที่สูงขึ้นในรายวิชาภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และ
ภาษาอังกฤษ

เป้าหมายการนิเทศ ตดิ ตามการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน เพ่ือยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา
1.เพ่อื ให้หน่วยงานทางการศกึ ษา และสถานศึกษามแี นวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผล
2.เพ่ือยกระดับคุณภาพผู้เรียนให้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (ผลการทดสอบทางการศึกษา

ระดับชาติข้ันพ้ืนฐาน (O-NET) ทีส่ งู ขึน้ ในรายวชิ าภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และ ภาษาอังกฤษ

คณุ สมบตั ิของผู้มสี ่วนร่วมในโครงการ

1. โรงเรียนทีเ่ ขา้ รว่ มโครงการ การดา่ เนนิ การโครงการน้ีได้กา่ หนดคุณสมบัตขิ องสถานศึกษา
ในการเขา้ รว่ มโครงการและร่วมพฒั นา โดยมรี ายละเอียดดังน้ี

1.1 โรงเรียนอยใู่ นพน้ื ทจี่ ังหวดั ราชบรุ ี
1.2 นักเรียนมีผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) สูงกวา่ 50% อยใู่ นระดบั ตา่
1.3 ได้รับการคัดเลือกจากส่านักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและหน่วยงานต้นสั งกัด
ใหค้ วามเห็นชอบในการด่าเนนิ การ

8

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน

ท่มี ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพน้ื ทโี่ รงเรียนกลมุ่ เป้าหมาย : จังหวัดราชบุรี

2. ศกึ ษานิเทศก์ การด่าเนนิ การในส่วนงานของศึกษานเิ ทศก์ในการร่วมด่าเนินการนิเทศตดิ ตาม
Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาในครัง้ นี้ มีข้อก่าหนด ดงั นี้

2.1 จบการศึกษาในระดับปริญญาโทหรอื ปริญญาเอก ในสาขาหลักสูตรและการสอน สาขา
หลักสูตรและการนิเทศ สาขาการนเิ ทศการศึกษา หรือสาขาทางการศกึ ษา

2.2 มีประสบการณ์นิเทศไม่น้อยกว่า 2 ปี นับตั้งแต่วันปฏิบัติการในต่าแหน่งศึกษานิเทศก์
ในแต่ละหน่วยงานตามสังกัด หรือมีประสบการณ์นิเทศในต่าแหน่งครู ไม่น้อยกว่า 5 ปี หรือปฏิบัติงานการ
นิเทศมาอย่างตอ่ เน่อื ง

3. ผู้ร่วมนิเทศ การด่าเนินการในส่วนของการนิเทศ ติดตาม Coaching Teams เพื่อยกระดับ
คุณภาพการศึกษา ผู้ร่วมนิเทศเป็นนักวิชาการศึกษา ผู้บริหาร ครูผู้สอนในหน่วยงานการศึกษาในจังหวัด
ราชบรุ ที เี่ ป็น คณะกรรมการ Supervisor Team หรือ Coaching Teams ระดบั จังหวัด

บทบาทของหนว่ ยงานในการดำเนินการ

ในการด่าเนินงานโครงการฯ ได้มีหลายหน่วยงานเข้ามามีส่วนในการร่วมนิเทศ ติดตาม
Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้การด่าเนินการบรรลุ เป้าหมาย คณะกรรมการฯ
ไดก้ ่าหนดบทบาทการด่าเนินการดังนี้

1. สำนกั งานศึกษาธกิ ารจังหวัด
1.1 จดั ท่าข้อเสนอโครงการ รายละเอียดการด่าเนินการ จัดสรรงบประมาณ และจัดท่าค่าส่ัง

แต่งตัง้ ผูป้ ฏิบัตหิ น้าที่ในการดา่ เนินงาน
1.2 จัดประชมุ ชี้แจงการดา่ เนนิ งานโครงการฯ
1.3 วเิ คราะหส์ ภาพปญั หา ส่งิ ทต่ี ้องการพฒั นา คบั เลอื กโรงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย
1.4 ร่วมมือกับหนว่ ยงานทางการศึกษารว่ มพฒั นาครผู สู้ อนของโรงเรียนกลุ่มเปา้ หมาย
1.5 จัดท่าแนวทางนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพื่อ

ยกระดับคณุ ภาพการศึกษาตามบรบิ ทพนื้ ท่ี
1.6 นเิ ทศ กา่ กับตดิ ตามโครงการ และรายงานผล

2. สานักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา
2.1 ประสานงานกบั ส่านักงานศกึ ษาธิการจงั หวัด
2.2 คัดเลอื กสถานศึกษาและบคุ ลากรในการเข้ารว่ มโครงการฯ
2.3 ลงพนื้ ทภ่ี าคสนาม
2.4 จดั ท่ารายงานสรุปการพัฒนาโรงเรียนกลุ่มเปา้ หมาย
2.5 ประสานและร่วมมอื ในการนเิ ทศตดิ ตามพัฒนากับหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ท่ีเข้าร่วมโครงการ
2.6 พัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามการบริหารจัดการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือยกระดับ

คุณภาพการศกึ ษาของส่านักงานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาเพื่อการพฒั นาในล่าดับต่อไป
3. สถานศึกษา
3.1 เข้ารว่ มโครงการดว้ ยความสมคั รใจ
3.2 ประสานงานกบั สา่ นักงานเขตพน้ื ทแ่ี ละศกึ ษาธิการจังหวัดในการดา่ เนินการ
3.3 คัดเลอื กครใู นการเขา้ รว่ มพัฒนาในโครงการ
3.4 วางแผนการนิเทศ ติดตามและรับการติดตามการนิเทศ ติดตาม เพ่ือยกระดับคุณภาพ

การศกึ ษา

9

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาข้นั พื้นฐาน

ทีม่ ีความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพนื้ ทโี่ รงเรยี นกลุ่มเป้าหมาย : จังหวดั ราชบุรี

3.5 รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน

แนวทางการดาเนินงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน เพื่อยกระดับคุณภาพ
การศกึ ษา ทมี่ ีความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทของพ้ืนท่ี จังหวัดราชบรุ ี

แนวทางการด่าเนินงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อ
ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา ทีม่ ีความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ จังหวัดราชบุรี โดยใช้รูปแบบ

IPCCR 5-Step Model เป็นแนวทางการนิเทศฯ แบบมีส่วนร่วม เพ่ือใหห้ น่วยงานตน้ สังกัดและสถานศึกษา

สามารถน่าไปปรับใชใ้ หส้ อดคล้อง เหมาะสมกับบรบิ ทของพืน้ ท่ี ซง่ึ ประกอบดว้ ย 5 ขัน้ ตอน ดังภาพ

51 IPCCR 5-Step Model

42 ข้ันที่ 1 I : Inform ชแ้ี จง และสรา้ งความเข้าใจ
3
ขน้ั ที่ 2 P : Plan วางแผนการดาเนนิ งานพฒั นา
แนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตาม
ขนั้ ที่ 3 Create Conceptual Framework รว่ ม
สรา้ งแนวทางการนเิ ทศ ติดตาม เพอื่ ยกระดบั
คณุ ภาพการศกึ ษาเชิงพน้ื ที่
ขัน้ ที่ 4 C : Coaching & Mentoring รว่ มนิเทศ
ตดิ ตามการบรหิ ารจัดการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน เพื่อ
ยกระดับคุณภาพการศึกษา ตามบรบิ ทพน้ื ที่
ขน้ั ท่ี 5 R : Reflect การสะทอ้ นผลการปฏบิ ตั ิงาน

หลกั การ

1.การทางานแบบมสี ่วนร่วม

2.การทางานเป็นทมี

3.ใช้แนวทางการนิเทศแบบกลั ยาณมิตร

เปา้ หมาย
1.หน่วยงานทางการศึกษา/สถานศกึ ษามีแนว
ทางการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผล
2.เพอื่ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน O-NET ใน
รายวิชาภาษาไทย คณติ ศาสตร์ ภาษาอังกฤษ และ
วทิ ยาศาสตร์ให้สูงขน้ึ

แผนภาพ 1 แนวทางการด่าเนินงานนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน เพื่อ
ยกระดับคุณภาพการศึกษา ที่มีความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทของพื้นท่ี จังหวัดราชบุรี โดยใช้รูปแบบ
IPCCR 5-Step Model

ซ่ึงสามารถอธิบายขน้ั ตอนไดด้ ังนี้

ข้นั ที่ 1 ชีแ้ จง และสร้างความเขา้ ใจ I : Inform
1.1 ช้ีแจง และสร้างความเข้าใจ
1.2 ร่างกรอบแนวทางการดา่ เนินงาน
1.3 ก่าหนดผ้รู บั ผดิ ชอบการด่าเนินงาน
1.4 พจิ ารณาคัดเลอื กกลุม่ เป้าหมายตามเกณฑ์พจิ ารณา

10

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

ท่ีมีความสอดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทพ้นื ทโี่ รงเรียนกลมุ่ เปา้ หมาย : จังหวัดราชบรุ ี

ขัน้ ท่ี 2 วางแผนการดาเนนิ งานพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตาม P : Plan
2.1 วางแผนการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษา

เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาส่าหรับส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดและส่านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา และ
หนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วข้อง

2.2 วางแผนพัฒนาการนิเทศ ติดตาม เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ส่าหรับศึกษานิเทศก์และ
ผู้ร่วมนิเทศ

2.3 วางแผนการพัฒนาการนิเทศ ติดตาม เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ส่าหรับสถานศึกษา
ผู้บริหารและครูผูส้ อน

ขน้ั ท่ี 3 รว่ มสรา้ งแนวทางการนิเทศ ตดิ ตาม เพือ่ ยกระดับคุณภาพการศกึ ษาเชิงพื้นที่
กลุ่มที่ 1 ศกึ ษานเิ ทศก์ นักวิชาการ ผทู้ รงคุณวุฒิ
1.1 สร้างกระบวนการการนิเทศ ติดตาม Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพ

การศกึ ษาเชิงพ้นื ที่
1.2 วางแผนการนิเทศ ติดตาม Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา

เชงิ พ้ืนที่
1.3 ออกแบบการนิเทศ ติดตาม Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา

เชิงพน้ื ที่
กล่มุ ท่ี 2 พัฒนาครูผูส้ อน

2.1 ประชุมชี้แจงเป้าหมายโครงการการนิเทศ ติดตาม Coaching Teams เพ่ือยกระดับ
คณุ ภาพการศึกษา

2.2 วิเคราะห์ปัญหาคุณภาพผูเ้ รียนของสถานศกึ ษาข้นั พนื้ ฐานในจังหวัดราชบุรี

2.3 หาแนวทางการแกป้ ัญหายกระดบั คณุ ภาพผู้เรยี น

2.4 สรา้ งเคร่ืองมือ (นวัตกรรม/แผนการสอน/สอ่ื /ฯลฯ) เพ่ือยกระดบั คุณภาพผเู้ รียน

2.5 ทบทวนประสิทธิภาพและเปา้ หมายของการยกระดบั คุณภาพผเู้ รยี น

ข้ันท่ี 4 ร่วมนิเทศ ติดตามการบริหารจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา
ตามบรบิ ทพ้ืนท่ี
4.1 การนิเทศ ติดตามเชงิ พ้นื ที่ ตามบรบิ ทพน้ื ที่

4.2 การนิเทศแบบออนไลน์

ขนั้ ท่ี 5 การสะท้อนผลการปฏบิ ตั ิงาน R : Reflect

กลมุ่ ที่ 1 ศึกษานเิ ทศกแ์ ละรว่ มผนู้ เิ ทศ

1. แลกเปลย่ี นเรียนรู้ (PLC) จากการปฏบิ ตั ิงานที่ดี (Good Practice)

2. สะท้อนผล และถอดบทเรียนการปฏิบัติการยกระดับผลการเรียนรู้การพัฒนาครู
และผู้เรียนตามบริบทพนื้ ที่

กลมุ่ ท่ี 2 ผ้บู รหิ าร ครผู ูส้ อนทีร่ บั การพฒั นาตามบริบทพน้ื ท่ี

1. แลกเปลย่ี นเรียนรู้ (PLC) จากการปฏิบตั ิงานท่ดี ี (Good Practice)

2. สะทอ้ นผล และถอดบทเรียนการปฏิบัตกิ ารยกระดบั คุณภาพการศึกษา

3. สรุปและประเมนิ ผลการด่าเนินงานยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา

11

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาขั้นพืน้ ฐาน

ท่ีมีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพืน้ ทโ่ี รงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย : จงั หวัดราชบุรี

สรุปและสะท้อนผลการดาเนินงาน

การด่าเนินงานโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ส่านักงานศึกษาธิการ
จังหวัดราชบุรี ได้ด่าเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน ท่ีสอดคล้อง
เหมาะสมตามบริบทพ้ืนที่ โรงเรียนกลุ่มเป้าหมายจ่านวน 5 โรงเรียน ตามปฏิทินการนิเทศ ระหว่างเดือน
เมษายนถึงเดือนกรกฎาคม 2562 จ่านวน 4 ครั้ง และได้การจัดการประชุมเชิงปฏิบัติการสรุปและสะท้อน
ผลการด่าเนินงาน Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษา ตามบริบทพื้นที่จากคณะกรรมการ
Coaching Teams ระดับจงั หวดั ผ้บู รหิ าร และคณะครูโรงเรียนกลุ่มเปา้ หมายทัง้ 5 แหง่ ทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ
เพื่อรายงานผลการด่าเนินงาน ได้แนวทางการดาเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัด
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ท่ีมีความเหมาะสมตามบริบทของพื้นท่ี จังหวัดราชบุรี ได้ด่าเนินการตามล่าดับ
วงจร PDCA ซ่ึงจะผ่านกระบวนการ Coaching and Mentoring ตามองค์ประกอบของ Coaching Team
และมีการนิเทศ ติดตาม แบบ Coaching and Mentoring สอดคล้องกับวงจร PDCA ในแต่ละล่าดับข้ัน
ระหว่างองค์ประกอบ Coaching Team และ โรงเรยี น (School) ดงั ภาพ

Coaching Teams SCHOOL

P
D

C
A

แผนภาพ 2 แนวทางการด่าเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ีมี
ความเหมาะสมตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี จังหวัดราชบรุ ี

กระบวนการ Coaching and Mentoring ตามองค์ประกอบของ Coaching Team และมีการ
นิเทศ ติดตาม แบบ Coaching and Mentoring สอดคล้องกับวงจร PDCA ในแต่ละล่าดับข้ันระหว่าง
องคป์ ระกอบ Coaching Team และ โรงเรยี น (School) ดงั น้ี

12

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
ท่มี ีความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพื้นทโ่ี รงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย : จงั หวดั ราชบุรี

ทมี นิเทศ (Coaching Teams)
1. Planning : วางแผนการดาเนินงาน

 ประชุมทีมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานตามบริบท
ของพน้ื ที่

 วิเคราะห์ข้อมูล บริบทของโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย/ครู/นักเรียน/ผลการทดสอบ O-NET
เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาการ Coaching and
Mentoring ตามบริบทของสถานศึกษาเปา้ หมาย

 วางแผนจัดท่าแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนา จากข้อมูลที่ได้
วิเคราะห์ สังเคราะห์ จากโรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย จากคณะกรรมการ Coaching Team เพ่ือใช้ในการ
ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาตามบรบิ ทของสถานศึกษา

 วางแผนการ Coaching เชงิ พนื้ ท่ี
2. Doing : Coaching and Mentoring 4 คร้งั

ด่าเนินงานตามแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาการนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลท่สี รา้ งหรอื พัฒนาข้ึน

 Coaching and Mentoring 4 คร้ัง

 กระบวนการในการ Coaching and Mentoring

Coaching Mentoring

ฟงั บอก

ถาม แนะนา

70% 30%

แผนภาพ 3 กระบวนการในการ Coaching and Mentoring

กระบวนการ Coaching and Mentoring โดยวิธีการฟัง-ถาม และบอก-แนะน่า การฟัง-ถาม
เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงข้อมูล วิเคราะห์ หาและสร้างแนวทางการแก้ไข หรือพัฒนา บอก-แนะน่า
เพ่ือเติมเตม็ ส่วนท่ขี าด โดยการ Coaching และ Mentoring อตั ราส่วน 70:30

 AAA
- Awareness สร้างความตระหนักให้กับบุคลากรในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายเช่ือม่ัน

ในตนเองและทมี งานในการพฒั นาคุณภาพการศึกษาขององค์กร
- Alignment สร้างภาพความส่าเร็จร่วมกันในการด่าเนินงานพัฒนาคุณภาพการศึกษา

ไปยงั เป้าหมายเดียวกนั
- Actions ดา่ เนินการพัฒนาคุณภาพการศึกษารว่ มกัน

13

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจดั การศึกษาข้นั พื้นฐาน

ท่มี คี วามสอดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทพืน้ ทโี่ รงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย : จงั หวดั ราชบุรี

 พัฒนาบคุ ลากร
สื่อสาร และสร้างความมีส่วนร่วม โดยมุ่งสร้างความเข้าใจ ความม่ันใจให้โรงเรียน ชุมชน

และผเู้ กีย่ วขอ้ ง และสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ทกั ษะด้านวิชาการตามความเหมาะสม
 PLC : Professional Learning Community
สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การบริหารจัดการ

และการดา่ เนนิ งานการ Coaching & Mentoring เตมิ เต็มในสว่ นทีข่ าด ส่งิ ทต่ี อ้ งการต่อยอดในการพัฒนา
 AAR : After Action Review
การทบทวนหลังการด่าเนินงาน เป็นการทบทวนวิธีการท่างานในด้านความส่าเร็จและ

ปัญหาท่ีเกิดข้ึนในระหว่างด่าเนินงาน เพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณ์การท่างานและช่วยแก้ปัญหาท่ีเกิดข้ึน
AAR เปน็ เครื่องมือหนึง่ ในการจดั การความรู้ในการด่าเนินงาน

3. Check : ตรวจสอบ ทบทวนและสรปุ ผล
 Coaching and Mentoring
นิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่มีความสอดคล้อง

เหมาะสมตามบริบทของพื้นท่ี จ่านวน 4 คร้ัง ประเมินผลการดา่ เนินงานตามวัตถุประสงค์ทต่ี ั้งไว้ น่าผล
ทีไ่ ด้วิเคราะห์ เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการดา่ เนินงาน

 PLC : Professional Learning Community
สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพเพื่อแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การบริหารจัดการ

และการด่าเนินงานการ Coaching & Mentoring สรุปผล เติมเต็มในส่วนที่ขาด ส่ิงท่ีต้องการต่อยอดและ
การพฒั นา

4. Acting : รายงานผลการดาเนินงาน
 รายงานผลการด่าเนินงาน การบรรลุเป้าหมายตามวัตถปุ ระสงค์ของการดา่ เนินงาน
 สรุปผลการดา่ เนนิ งาน
 แนวทางการปรบั ปรงุ การพัฒนา

ให้ข้อเสนอแนะ แนวทางการปรบั ปรงุ หรอื การพัฒนา จากข้อมูลท่ีไดจ้ ากผลการดา่ เนินงาน เพอื่ การ
พฒั นาการ Coaching & Mentoring ในครั้งต่อไป

โรงเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย (School)
โรงเรียนกลุ่มเป้าหมาย (School) ด่าเนินงานตามกระบวนการตามล่าดับวงจร PDCA ซ่ึงแต่ละ

ล่าดับข้ันจะผ่านกระบวนการ Coaching and Mentoring ในแต่ละลา่ ดบั ขนั้ ดังนี้
Planning : วางแผนการดาเนนิ งาน
1. วเิ คราะห์ข้อมลู
 ประชุมทีมบรหิ าร ครูวชิ าการ
 บริบทของโรงเรียน ครูผู้สอน นักเรียน ผลการทดสอบทางการศึกษา O-NET รายวิชา

สาระการเรียนรู้ ตวั ชีว้ ดั
 ความรว่ มมือและโอกาสในการเข้ารว่ มพัฒนาคณุ ภาพการศึกษาของโรงเรียน
 วางแผนการดา่ เนินการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา

14

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
ท่มี คี วามสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพืน้ ทโ่ี รงเรียนกลุ่มเปา้ หมาย : จังหวดั ราชบุรี

วิเคราะห์ข้อมูลเพ่ือใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบแนวทางการพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษาของโรงเรียน

2. วางแผนการดาเนนิ งานและรูปแบบแนวทางการพฒั นา
 ท่าแผนพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
 แผนการพัฒนารปู แบบแนวทางการพฒั นาคุณภาพผู้เรียน
การวางแผนการด่าเนินงานและรูปแบบแนวทางการพัฒนา จากข้อมูลที่ได้วิเคราะห์ สังเคราะห์

จากครูผู้สอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ต้องการพัฒนา ผ่านกระบวนการ Coaching and Mentoring จาก
คณะกรรมการ Coaching Team เพือ่ ใช้ในการยกระดับคุณภาพการศึกษาตามบริบทของสถานศึกษา

Doing : ดาเนินการตามแผน
ด่าเนินงานตามแผนการดา่ เนนิ งาน/รูปแบบหรือแนวทางการพฒั นาที่ไดส้ รา้ งหรือพฒั นาขึ้น

 พฒั นาบุคลากร
ส่ือสาร และสร้างความมีส่วนร่วม โดยมุ่งสร้างความเข้าใจ ความม่ันใจให้โรงเรียน ชุมชน

และผเู้ กย่ี วข้อง และสนับสนุน สง่ เสรมิ ทกั ษะดา้ นวิชาการตามความเหมาะสม
 AAA
- Awareness สร้างความตระหนักให้กับบุคลากรในโรงเรียนให้เกิดเชื่อมั่นในตนเองและ

ทีมงานในการรว่ มพัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี นและ
- Alignment สร้างภาพความส่าเร็จร่วมกันในการด่าเนินงานพัฒนาคุณภาพผู้เรียนและ

คุณภาพการศกึ ษาไปสู่เปา้ หมายเดียวกนั
- Actions ดา่ เนินการพัฒนาตนเองและผู้เรยี นร่วมกัน
 PLC : สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การบริหาร

จัดการ และการด่าเนินงานการ Coaching & Mentoring เติมเต็มในส่วนที่ขาด ส่ิงที่ต้องการต่อยอดและ
การพฒั นา

 Improvement พฒั นาศกั ยภาพตนเองดา้ นการจัดการเรยี นการสอน
Check : นิเทศ ติดตาม

นิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ที่มคี วามสอดคล้องเหมาะสม
ตามบริบทของพ้ืนท่ี จ่านวน 4 คร้ัง ประเมินผลการด่าเนินงานตามวัตถุประสงค์ท่ีตั้งไว้ น่าผลที่ได้
วเิ คราะห์ เพอ่ื ใชเ้ ป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ และพัฒนากระบวนการดา่ เนินงาน

 ครั้งที่ 1 วิเคราะห์ ศึกษาข้อมูลทั่วไป ผลการวิเคราะห์ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ตามรายสาระการเรยี นรู้

 ครั้งที่ 2 แผนการด่าเนินงาน รูปแบบแนวทางการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน แผนการจัดการ
เรียนรู้

 ครัง้ ท่ี 3 ด่าเนนิ งานนิเทศ ตดิ ตามการจัดการเรียนการสอนรายสาระการเรยี นร้ทู ี่พฒั นา
PLC (Professional Learning Community) สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพเพ่ือ

แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การบริหารจัดการ และการด่าเนินงานการ Coaching & Mentoring
สรปุ ผล เติมเตม็ ในส่วนที่ขาด สง่ิ ทต่ี ้องการตอ่ ยอดและการพัฒนา

15

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน
ทมี่ ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพืน้ ทโี่ รงเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย : จังหวดั ราชบุรี

AAR (After Action Review) เป็นการทบทวนหลังการดา่ เนินงาน เป็นการทบทวนวิธีการ
ท่างานในด้านความส่าเร็จและปัญหาท่ีเกิดข้ึนในระหว่างด่าเนินงาน เพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณ์
การท่างานและช่วยแก้ปัญหาทเี่ กดิ ขนึ้

 ครั้งท่ี 4 วางแนวทางการพัฒนาต่อไป
Acting : รายงานผลการดาเนนิ งาน

 รายงานผลการดา่ เนินงาน การบรรลุเป้าหมายตามวตั ถุประสงค์ของการดา่ เนินงาน
 สรปุ ผลการดา่ เนินงาน
 แนวทางการปรบั ปรุง การพัฒนา
จากแนวทางการด่าเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ท่ีมีความเหมาะสมตามบริบทของพื้นที่ จังหวัดราชบุรี ดังกล่าว ได้ด่าเนินการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
กับบริบทของพ้ืนท่ี โดยได้พัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตาม ฯ เป็นแนวทางการด่าเนินงาน Coaching
Teams ท่ีมีความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพ้นื ที่ 5 แนวทาง ดังนี้
1. แนวทางการดาเนนิ งาน Coaching Teams ตามบรบิ ทพื้นที่ สังกัด สานกั งานเขตพื้นที่
การศึกษามธั ยมศึกษา เขต 8 บรู ณาการกระบวนการนเิ ทศแบบ PIDRE ผสานเทคนิค
การนเิ ทศแบบชีแ้ นะ (Coaching) ผสานเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) และ
กระบวนการ PLC นาสูก่ ารปฏบิ ัตใิ นโรงเรียนมธั ยมวดั ดอนตูม

Coaching

Coachi
ng

PLC

แผนภาพ 4 แนวทางการด่าเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพ้นื ที่ สังกัดส่านักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
มธั ยมศึกษา เขต 8 บูรณาการกระบวนการนเิ ทศแบบ PIDRE ผสานเทคนคิ การนิเทศแบบช้ีแนะ (Coaching)
ผสานเทคนิคการนิเทศแบบช้ีแนะ (Coaching) และกระบวนการ PLC น่าสู่การปฏิบัติในโรงเรียนมัธยม
วดั ดอนตมู

แนวทางการด่าเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพ้ืนท่ี สังกัดส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 8 บูรณาการกระบวนการนิเทศแบบ PIDRE ผสานเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ

16

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
ทีม่ ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพ้นื ทโี่ รงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย : จังหวดั ราชบุรี

(Coaching) ผสานเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) และกระบวนการ PLC น่าสู่การปฏิบัติ
ในโรงเรยี นมธั ยมวัดดอนตูม ด่าเนนิ การ ดงั น้ี

P : Planning ขั้นวางแผนการนเิ ทศ
การวางแผนพัฒนา เป็นการเตรียมการร่วมกันของคณะนิเทศ Coaching Teams และสถานศึกษา

มรี ายละเอยี ดการด่าเนินงาน ดังนี้
1) การวางแผนของคณะนเิ ทศ Coaching Teams
ก่อนการเข้านิเทศคร้ังที่ 1 ของคณะนิเทศ Coaching Teams ซึ่งจะต้องช้ีแจงเพื่อสร้าง

ความเข้าใจ ความร่วมมือในการพัฒนาให้กับผู้บริหารโรงเรียนและคณะครูกลุ่มเป้าหมายนั้น คณะนิเทศ
ได้ประชุม ปรึกษา หารือร่วมกัน (PLC) เพ่ือสร้างความเข้าใจในการด่าเนินงานนิเทศ วิเคราะห์ข้อมูล
สารสนเทศด้านผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) วิชาภาษาอังกฤษ ระดับ
ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 3 และมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 ย้อนหลัง 3 ปีการศึกษา ทั้งผลคะแนนเฉล่ียในภาพรวม
รายมาตรฐาน ตัวช้ีวัด และปัจจัยอ่ืนๆ ท่ีเกี่ยวข้องเป็นใช้เป็นฐานข้อมูลในการก่าหนดแนวทางการพัฒนา
แผน/ปฏิทินการนิเทศ รูปแบบ วิธีการนิเทศ เครื่องมือนิเทศ และเป้าหมายการพัฒนาเมื่อส้ินสุดโครงการ
ที่มีระยะเวลาด่าเนินงานในช่วงสั้นๆ เพียง 1 ภาคเรียน คือ การปรับเปล่ียนพฤติกรรมของครูผู้สอน และ
ความพึงพอใจในการเรียนวิชาภาษาอังกฤษของนักเรียน (ส่วนการสนับสนุน ช่วยเหลืออย่างต่อเนื่อง
เพ่ือไปสู่พัฒนาการของผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ปีการศึกษา 2562
จะเป็นบทบาท หน้าท่ีประจา่ ของศกึ ษานิเทศก์ทด่ี ูแลโรงเรยี นในสงั กัดตอ่ ไป)

ส่าหรับการนิเทศในคร้ังที่ 2 - 4 คณะนิเทศได้มีการประชุม ปรึกษาหารือร่วมกันก่อนทุกคร้ัง
เพอ่ื ทบทวน สรปุ ผลการด่าเนินงานในครง้ั ท่ผี า่ นมา และวางแผนเตรียมความพรอ้ มในการเขา้ นิเทศครัง้ ต่อไป

2) การวางแผนของสถานศกึ ษา
นอกจากการวางแผนพัฒ นาของคณ ะนิเทศแล้ว ในส่วนของสถานศึกษา ผู้บริหาร

มคี วามตระหนกั และให้ความส่าคัญต่อการยกระดับผลสัมฤทธ์ิอย่างจรงิ จัง และไดว้ างแผนขบั เคล่ือนไปแล้ว
เช่นกันโดยก่าหนดให้เรื่องการยกระดับผลสัมฤทธ์ิเป็นวาระส่าคัญที่ต้องด่าเนินการอย่างเร่งด่วน มีการ
ประชุมเพ่ือวิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-NET) 3 ปีย้อนหลัง
ทุกรายวิชา ท้ังผลคะแนนเฉล่ียในภาพรวม และรายมาตรฐาน ตัวชี้วัด สภาพ ปัญหา สาเหตุ และแสวงหา
แนวทางการพัฒนา มีการท่าบันทึกข้อตกลง (MOU) เพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์กับครูผู้สอนทุกคน ทุกกลุ่ม
สาระการเรียนรู้ จัดท่าโครงการนิเทศยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเพ่ือการทดสอบระดับชาติ
มอบหมายผู้รับผิดชอบ และปฏิทินการด่าเนนิ งาน

3) การวางแผนร่วมกนั ระหว่างคณะนิเทศ Coaching Teams และสถานศกึ ษา
คณะนิเทศ Coaching Teams ได้ประชุมผู้บริหาร และครูผู้สอน เพ่ือช้ีแจงสร้างความเข้าใจ

ในการดา่ เนนิ งานร่วมกัน และใช้กระบวนการ PLC ในการร่วมวิเคราะห์สภาพปจั จุบนั ปญั หา ความตอ้ งการ
และแนวทางในการพัฒนา

I : Informing ข้ันใหค้ วามรู้ ความเขา้ ใจในการทางาน
ครูผู้สอนภาษาอังกฤษ โรงเรียนมัธยมวดั ดอนตูม จ่านวน 4 คน และครูอัตราจา้ ง จ่านวน 1 คน

เป็นครูที่มีประสบการณ์ในการสอน ไม่เกิน 2 ปี คณะนิเทศ Coaching Teams ได้ทบทวน ให้ความรู้ และ
ค่าแนะน่าเพ่ิมเติมแก่ครูผู้สอนเก่ียวกับทฤษฎี หลักการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning หลักการสอน
ทักษะภาษาอังกฤษตามธรรมชาติวิชา การจัดกิจกรรมเสริมทักษะด้านภาษา การเสริมสร้างคุณลักษณะ

17

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน

ท่ีมีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพ้นื ทโี่ รงเรยี นกลุม่ เป้าหมาย : จังหวดั ราชบรุ ี

เพื่อปลูกฝังเจตคติท่ีดีต่อการเรียน การเสริมสร้างคุณธรรม (วินัย) การพัฒนาสื่อ นวัตกรรมในการเรียน
การสอน หลักการวัดและประเมินผล หลักการวิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล การท่าวิจัยในช้ันเรียน
เพ่ือแก้ปัญหาผู้เรียนรายกลุ่มย่อย รายบุคคล เป็นต้น โดยเน้นให้ครูน่าไปปรับใช้ตามความเหมาะสมกับ
ศกั ยภาพของผู้เรียน บรบิ ท และความพร้อมของสถานศกึ ษา

D : Doing ขัน้ ปฏบิ ัติงาน
คณะนิเทศ Coaching Teams ได้ด่าเนินงานโดยก่าหนดการนิเทศ ติดตาม เป็นระยะๆ จ่านวน

4 ครงั้ และดา่ เนนิ การนเิ ทศโดยใช้เทคนคิ การนิเทศแบบชแ้ี นะ (Coaching) ซง่ึ มีกิจกรรม ดังน้ี
คร้ังท่ี 1 การแนะน่าคณะนิเทศ Coaching Teams การชี้แจงสร้างความเข้าใจเก่ียวกับ

วัตถุประสงค์ เป้าหมายของโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ให้แก่ผู้บริหาร
และคณะครู เพื่อสร้างความร่วมมือในการพัฒนา และร่วมวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศพ้ืนฐานที่เก่ียวข้อง
ได้แก่ ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET) วิชาภาษาอังกฤษ ย้อนหลัง
3 ปีการศึกษา (2559 – 2561) ทั้งคะแนนเฉลี่ยรวมรายวิชา คะแนนรายมาตรฐาน รายสาระ ตัวช้ีวัด และ
รายข้อ รายบุคคล ซ่ึงพบว่าต้องพัฒนาอย่างเร่งด่วนในทุกมิติ วิเคราะห์สภาพปัจจุบัน ปัญหา เพื่อหาสาเหตุ
วิเคราะห์ปัจจัยท่ีเก่ียวข้องท่ีส่งผลกระทบต่อการพัฒนา และร่วมระดมความคิด เพื่อหารูปแบบ แนวทาง
ในการปรับปรุง พัฒนา ในบริบท โอกาสท่ีเป็นไปได้ เช่น การวิเคราะห์ข้อสอบ O-NET และน่าเน้ือหา
มาสอดแทรก/เน้นย่้าในช่วงการสอนปกติในช้ันเรียน การน่า Test Blueprint ของ ส่านักทดสอบ
ทางการศึกษา (สทศ.) มาเป็นแนวในการจัดเนื้อหา ประสบการณ์ให้นักเรียน การท่าแบบทดสอบระดับ
ช้ันเรียน การคัดกรองนักเรียนกลุ่มเก่ง ปานกลาง อ่อน และสอนซ่อม สอนเสริม ตามศักยภาพ
นอกเหนือจากการสอนเสริมแบบเข้ม การใช้ส่ือ DLTV/DLIT เสริมการเรียนรู้ ตลอดจนการใช้ระบบนิเทศ
ภายในของสถานศึกษาเพ่ือกา่ กับ ตดิ ตาม ประเมินผลการด่าเนนิ งาน เป็นต้น

ในการนิเทศครั้งนี้ ได้มอบหมายให้ครูผู้สอนน่าปัญหาท่ีพบจากการจัดการเรียนรู้มาจัดท่าวิจัย
ในช้ันเรียน เน้นในส่วนที่เป็นปัญหาเฉพาะบุคคล หรือรายกลุ่มเล็กๆ ใช้ระยะเวลาไม่นาน วิธีการไม่ซับซ้อน
โดยอาจศึกษาค้นคว้าจากงานวิจัยในช้ันเรียนท่ีมีอยู่มากมายในเว็บไซต์ เอกสารวิชาการต่างๆ มาปรับใช้
หรือการคดิ ค้นเทคนิค วธิ กี ารดว้ ยตนเอง และน่าเสนอเค้าโครงงานวจิ ยั ในการนเิ ทศครั้งต่อไป

ครั้งท่ี 2 การสังเกตการสอน คณะนิเทศตรวจสอบแผนการจัดการเรียนรู้ และเข้าสังเกต
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในช้ันเรียนของครูผู้สอนทุกคน ดูเทคนิค วิธีการสอน/จัดกิจกรรม การใช้ส่ือ
การเรียนรู้ การวัดและประเมินผล พฤติกรรม/การมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ของนักเรียน ภายหลังเสร็จสิ้น
การสอนได้ร่วมสะท้อนคิด แลกเปล่ียนกับครูผู้สอน ผู้บริหาร ซึ่งคณะนิเทศได้ให้ค่าช้ีแนะประเด็นท่ีควร
ปรับปรุง พัฒนา ท้ังในส่วนของรูปแบบ เทคนิค วิธกี ารจดั กิจกรรม การใช้ส่ือ นวัตกรรม การบริหารจัดการ
ช้นั เรียน การวัดและประเมินผล และเสริมให้ครูผู้สอนค่านึงถึงความแตกต่างในศักยภาพของผู้เรียน รวมท้ัง
การจัดกิจกรรมเสริมทักษะนอกชั้นเรียน และประเด็นอ่ืนๆ ที่เก่ียวข้อง ซึ่งครูผู้สอนจะได้น่าไปปรับปรุง
พัฒนาในครั้งตอ่ ๆ ไป

คร้ังที่ 3 การจัดท่างานวิจัยในชั้นเรียน และการวัดและประเมินผล คณะนิเทศได้ร่วมสะท้อนคิด
แลกเปล่ียนเกยี่ วกับงานวิจัยในช้ันเรียนท่ีครผู ู้สอนได้น่าเสนอ และให้ค่าปรกึ ษา แนะน่างานวจิ ัยในช้ันเรียน
ทค่ี รไู ด้เริ่มดา่ เนินการไปบา้ งแล้ว ใหม้ คี วามเหมาะสม เปน็ ไปได้มากขน้ึ

ในส่วนของการวัดและประเมินผล ได้แนะน่าให้ครูผู้สอนด่าเนินการอย่างหลากหลาย
เน้นการประเมินตามสภาพจริง พัฒนาทักษะการคิดขั้นสูง เพ่ือให้ผู้เรียนได้ฝึกทักษะทางภาษา สามารถ
น่าความรู้มาเช่ือมโยงกับสภาพหรือสถานการณ์ในชีวิตจริง เกิดความคงทนในการเรียนรู้ เครื่องมือวัด

18

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ที่มคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพืน้ ทโี่ รงเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย : จงั หวัดราชบรุ ี

และประเมินผลต้องสอดคล้องและครอบคลุมกับมาตรฐาน ตัวช้ีวัดที่ต้องรู้ และให้ครูวิเคราะห์และจัดท่า
โครงสร้างแบบทดสอบ (Item Bank) เพ่ือให้มั่นใจว่าได้วัดและประเมินผลเนื้อหา ทักษะต่างๆ
อย่างเหมาะสม ครบถ้วนตามมาตรฐาน ตัวชี้วัด และหากเป็นแบบประเมินส่าหรับการวัดผลระหว่างเรียน
ควรใช้แบบบรรยายคุณภาพของทักษะหรือช้ินงานมากกว่าให้คะแนนเป็นระดับตัวเลข (Rating Scale)
ส่วนการสอนเสริมโจทย์ O-NET ควรเน้นให้นักเรียนได้ฝึกท่าโจทย์ข้อง่ายๆ (ซึ่งจะมีจ่านวนข้อในอัตราส่วน
ท่ีมากกว่าข้อยาก-ปานกลาง) ให้ม่ันใจว่านักเรียนส่วนใหญ่ท่ีมีพ้ืนฐานความรู้อยู่ในระดับปานกลางถึงอ่อน
สามารถทา่ ได้

ครั้งท่ี 4 การสรุป และสะท้อนผลการนิเทศของคณะนิเทศ Coaching Teams โดยคณะนิเทศ
ครูผู้สอน และฝ่ายบริหาร ได้ร่วมกันสะท้อนผลส่ิงท่ีได้ในการให้ค่าช้ีแนะ (Coaching) รวมทั้งหาแนวทาง
ในการขับเคลื่อนอย่างต่อเนื่อง ซ่ึงแม้จะส้ินสุดโครงการ Coaching Teams ในปีงบประมาณ 2562 แล้ว
ครูผูส้ อนยังคงขอค่าปรึกษา แนะนา่ จากศกึ ษานิเทศก์ได้ รวมท้ังการใหข้ ้อคิดเห็น เสนอแนะในการปรับปรุง
โครงการในโอกาสตอ่ ไป
R : Reinforcing ข้นั สรา้ งขวญั และกาลังใจ

ในการนิเทศครงั้ น้ี คณะนิเทศมคี วามต้ังใจในการสร้างขวัญ กา่ ลังใจให้กบั ครูผสู้ อน ผ่านการเป็น
ผชู้ แ้ี นะ (Coach) ทร่ี ่วมคิด ให้ค่าปรึกษา แนะน่า แลกเปล่ียน แบบกัลยาณมิตร ชว่ ยเหลอื ในส่ิงทค่ี รตู ้องการ
เพื่อให้ครรู ู้สึกว่ามีทีป่ รึกษาทางวชิ าการที่ไว้วางใจได้ กลา่ วช่นื ชม สนับสนุน สง่ เสริมในส่ิงท่ีครทู า่ ไดด้ ี ช่วยให้
ครูมีความม่ันใจ ความมุ่งม่ันในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาผู้เรียนไปสู่เป้าหมายตามศักยภาพ
ของแต่ละบคุ คล
E : Evaluating ขนั้ ประเมินผลการดาเนนิ งาน

หลังการนิเทศ คณะนิเทศ Coaching Teams จะประชุมร่วมกันเพื่อประเมินผลการนิเทศ
ในครั้งท่ีผ่านมา และหาแนวทางในการปรบั ปรงุ แก้ไข (AAR) ทัง้ ในส่วนการดา่ เนนิ งานของคณะนเิ ทศ และ
ส่วนท่ีเป็นการด่าเนินงานของครูผู้สอน เพื่อให้ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ หรือร่วมแลกเปล่ียนแนวคิด
ต่อครูผู้สอน ผู้บริหาร เพื่อแก้ปัญหา ปรับปรุง พัฒนาให้เหมาะสม รวมทั้งเพื่อวางแผนการนิเทศ
ในครง้ั ต่อไป

ท้ังนี้ ในการนิเทศทุกข้ันตอน คณะนิเทศ Coaching Teams จะใช้กระบวนการ PLC กับผู้รับ
การนิเทศ ในการวิเคราะห์ข้อมูล แลกเปล่ียนความคิดเห็น ให้ข้อเสนอแนะ เพื่อหาแนวทางการพัฒนา
รว่ มกนั

19

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจดั การศึกษาขั้นพื้นฐาน
ที่มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพ้ืนทโ่ี รงเรียนกลมุ่ เป้าหมาย : จังหวดั ราชบรุ ี

2. แนวทางการดาเนนิ งาน Coaching Teams ตามบริบทพ้ืนที่ สังกัดสานกั งานเขตพนื้ ท่ี
การศกึ ษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ตามขน้ั ตอน 4P Model นาสู่การปฏบิ ัตใิ นโรงเรยี น
บา้ นทงุ่ แจง
การพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลน้ัน ทางคณะท่างานท่ีได้รับการแต่งตั้ง

ได้พัฒนารูปแบบแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลสถานศึกษาเพื่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ร่วมกัน ตาม กระบวนการ PDCA เพ่ือพัฒนาคุณภาพท้ังระบบอย่างต่อเนื่องและเป็นระบบอย่างต่อเน่ือง
และเป็นระบบ ผ่านการระดมสมองของทีมและการรวบรวมวรรณกรรม ทฤษฎีท่ี เกี่ยวข้อง รวมถึง
การแลกเปลี่ยนประสบการณ์การทา่ งานของทีม และพัฒนาข้นึ มาเปน็ รปู แบบ 4P Model โดยมรี ายละเอียด
ของการดา่ เนนิ การ ดังนี้

แผนภาพ 3 แนวทางการดา่ เนนิ งาน Coaching Teams ตามบรบิ ทพืน้ ที่ สังกดั สา่ นักงานเขตพ้นื ที่
การศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ตามข้นั ตอน 4P Model นา่ สกู่ ารปฏิบตั ใิ นโรงเรียนบ้านทงุ่ แจง

แนวทางการด่าเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพ้ืนท่ี สังกัดส่านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 ตามขั้นตอน 4P Model น่าสู่การปฏิบัติในโรงเรียนบ้านทุ่งแจง ด่าเนินการ
ดังน้ี
PLAN : การวางแผนการทางาน

เพ่ือเป็นการก่าหนดกรอบในการท่างานให้ครอบคลุมถึงส่ิงท่ีทีมต้องการพัฒนาร่วมกับสถานศึกษา
จึงมีการดา่ เนินงานเปน็ 2 สว่ น คือ

1) การวางแผนการด่าเนินงานของทีม Coaching Team เพ่ือเป็นการก่าหนดเป้าหมาย
ในการท่างานของทีม ในการให้ค่าแนะน่าการยกระดับคุณภาพการศึกษากับสถานศึกษา โดยมีการ
ดา่ เนินงาน ดังนี้

ก่อน Coaching Team จะลงพ้ืนที่เพ่ือให้ค่าแนะน่ากับสถานศึกษาน้ัน มีการวางแผน
การด่าเนินงานของทีมผ่านการระดมสมองเพื่อเป็นการก่าหนดเป้าหมายการด่าเนินงาน โดยทีมได้วาง
กา่ หนดเปา้ หมายเพ่ือใช้เป็นแนวทางในการดา่ เนินงาน เปน็ 2 ระยะดว้ ยกัน คอื

ระยะท่ี 1 เป้าหมายระยะส้ัน : การเปล่ียนแปลงการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน
ตามสาระวิชาท่ีโรงเรียนต้องการพัฒนา มุ่งเน้นท่ีการวิเคราะห์ถึงสภาพจริงของปัญหาการจัดการเรียนรู้
ในสถานศึกษา

20

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจดั การศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน
ท่มี ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพ้ืนทโี่ รงเรยี นกลมุ่ เป้าหมาย : จงั หวดั ราชบรุ ี

ระยะท่ี 2 เป้าหมายระยะยาว : ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนโดยประเมินจาก
ผลการทดสอบทางการศกึ ษาระดบั ชาติขัน้ พนื้ ฐาน (O-NET) ทีส่ อดคลอ้ งกับสภาพจรงิ ของสถานศกึ ษา

2) การวางแผนของสถานศึกษา เพ่ือให้การด่าเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลสถานศึกษา
เพื่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา เป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการน้ัน จ่าเป็นต้องมีข้อมูลพื้นฐาน
ของสถานศึกษาประกอบการพิจารณาให้ค่าแนะน่าจาก Coaching Teams จึงได้มีการประสานงานร่วมกับ
สถานศึกษาให้ด่าเนินการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
เพื่อวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาที่แท้จริงของสถานศึกษา โดยทางสถานศึกษาจะวิเคราะห์จากผลการทดสอบ
O-NET ย้อนหลังสามปี เพื่อดูแนวโน้มของมาตรฐานและตัวชี้วัดที่มีปัญหา และวิเคราะห์ตัวชี้วัด
ในการจัดการเรียนการสอนเพ่ือเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการให้ค่าแนะน่าจาก Coaching Teams โดยน่า
ผลการวิเคราะห์ดงั กลา่ วมาร่วมกนั แลกเปลีย่ นเรยี นรูใ้ นการลงพน้ื ท่ี คร้งั ที่ 1
DO : ขั้นตอนการปฏิบตั ิ

Coaching Teams ได้พัฒนารูปแบบในการให้ค่าแนะน่ากับสถานศึกษา ซึ่งเรียกว่า รูปแบบ
4P Model ในการให้คา่ แนะนา่ เพ่อื พฒั นาอยา่ งเป็นกัลยาณมติ ร และมีสว่ นรว่ มจากสถานศึกษา โดยรปู แบบ
4P Model ประกอบไปด้วย 1) PLAN 2) PROCESS 3) PLUS 4) PROGRESS โดยมีรายละเอียด ดังน้ี

1) PLAN : เร่มิ ตน้ จากการวิเคราะห์และสงั เคราะหป์ จั จยั ท่ีเก่ยี วข้องกบั ผลสัมฤทธ์ขิ องผู้เรยี น เม่ือ
สถานศึกษาได้ท่าการวิเคราะห์ผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ของโรงเรียน ตามมาตรฐานและตัวชี้วัด
ซ่ึงแสดงให้เห็นปัญหาเบื้องต้นของสถานศึกษาในการจัดการเรียนการสอนแล้ว จึงน่าข้อมูลดังกล่าวมา
ตรวจสอบกับข้อมูลการวิเคราะห์ของกลุ่มนิเทศ ติดตามของศึกษานิเทศก์จากส่านักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา
ประถมศึกษาราชบุรี เขต 1 จากน้ันจึงร่วมกันวิเคราะห์ถึงปัญหาและแนวทางในการพัฒนา โดยใช้รูปแบบ
ของการถอดบทเรียนปัญหาท่ีเกิดขึ้น ผ่านการตั้งค่าถามจาก Coaching Teams เพื่อให้สถานศึกษา
ได้วเิ คราะห์ถึงปัญหาอย่างแท้จริง ในกระบวนการดังกลา่ วน้ี มุ่งเน้นให้สถานศึกษาวิเคราะห์ถึงปัจจัยทีส่ ่งผล
ต่อปัญหาการจัดการเรียนรู้ และรับข้อเสนอแนะในการจัดท่าแผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
ของสถานศึกษา จากประสบการณ์ที่หลากหลายของ Coaching Teams นอกเหนือจากการวิเคราะห์ข้อมูล
พื้นฐานเกี่ยวกับผลการทดสอบระดับชาติ O-NET ยังมีการเย่ียมชมสภาพแวดล้อมของสถานศึกษา
เพ่ือ รับข้อเสนอแนะในการปรับปรุง การจัดสภาพแวดล้อมเพ่ือสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน จุดที่ทีม
ให้ความส่าคัญคือการมีส่วนร่วมของการวิเคราะห์ปัญหา โดยสถานศึกษาเอง ทีมจะให้ค่าแนะน่าเท่าน้ัน
เพอ่ื ให้สถานศกึ ษาสามารถดา่ เนนิ การได้เมอ่ื ไม่มที ีมที่ใหค้ ่าแนะน่า

2) PROCESS : ขั้นตอนของการด่าเนินงานสถานศึกษาน้ัน เม่ือมีการวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหา
และด่าเนินการจัดท่า แผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของสถานศึกษา โดยบูรณาการร่วมกับ
แผนพัฒนาสถานศึกษาท่ีได้ดา่ เนินการไว้ก่อนหน้าน้แี ล้วนน้ั สถานศึกษาก็ดา่ เนินการตามแผนดังกลา่ ว และ
มกี ารนิเทศ ติดตามจาก Coaching Teams เป็นระยะ โดยก่าหนดให้มีการนิเทศ ติดตามฯ เดือนละ 1 คร้ัง
เป็นอย่างน้อย เพ่ือให้เกิดความต่อเน่ืองของการพัฒนา โดยผ่านกระบวนการถอดบทเรียนและแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ ทงั้ สิน้ 4 ครั้ง โดยมรี ายละเอียด ดังน้ี

ครั้งท่ี 1 : มุ่งเน้นถึงการมีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ปัญหา โดยเน้นที่การพูดคุยให้เห็นถึงปัญหา
และแนวทางในการด่าเนินงานของโรงเรียน ผ่านการตั้งค่าถามจาก Coaching Team ตัวอย่างค่าถามท่ีใช้
ในวงสนทนา จะเป็นค่าถามเพ่ือให้โรงเรียนได้น่าเสนอ ถึงปัญหาที่เกิดข้ึนในการจัดการ เรียนรู้ เช่น ช่วงปี
ท่ีผ่านมา การจัดการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เป็นอย่างไร เกิดอะไรข้ึนในชั้นเรียน ผู้เรียน
มีพฤติกรรม อย่างไร และคุณครคู ิดว่า ท่ีคะแนนผลสัมฤทธ์ิของตัวช้ีวัดวทิ ยาศาสตร์ ลดลงมาจาก สาเหตุใด
จากเหตุการณ์อะไรบ้าง ผู้อ่านวยการเห็นด้วยหรือไม่ คุณครูท่านอื่นเห็นด้วยกับประเด็นน้ี หรือไม่ เพื่อให้

21

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
ทมี่ คี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพืน้ ทโี่ รงเรียนกล่มุ เป้าหมาย : จังหวดั ราชบุรี

ท้ังสถานศึกษาได้เห็นถึงปัญหาร่วมกันและร่วมกันหาแนวทางแก้ไข รวมถึงแสดงถึง ความต้องการ
ส่ิงที่ต้องการให้ Coaching Team สนับสนุน

ครั้งที่ 2 : เป็นการติดตามการด่าเนินการจาก คร้ังท่ี 1 โดยมีการเยี่ยมชมห้องเรียน เพ่ือสังเกต
การจัดการเรียนรู้และ ติดตามผลการด่าเนินงานของสถานศึกษาผ่านการถอดบทเรียน แผนการสอนท่ีดี
แผนการสอนที่สนับสนุนผู้เรียน เน้นให้สถานศึกษาสร้างแผนการเรียนรู้ที่เน้นการให้ประสบการณ์
กับผู้เรียน และให้ครูผู้สอนวิเคราะห์ถึงจุดอ่อนของแผนการจัดการเรียนรู้ของตนเอง และให้น่าแผนไปร่วม
ในกระบวนการ PLC ของสถานศกึ ษา

ครั้งท่ี 3 : เป็นการถอดบทเรียนร่วมกันถึง ความส่าเร็จของแผนยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
โดยเนน้ ไปที่ สิ่งท่คี รเู ปล่ยี นแปลงในการจัดการเรยี นรใู้ หก้ ับผ้เู รียน

ครั้งที่ 4 : เป็นการถอดบทเรียนเพื่อสรุป ส่ิงท่ีโรงเรียนเปลี่ยนแปลงในรอบ 3 เดือนท่ีได้
ด่าเนินงานตามโครงการ

3) PLUS : การเสริมแรงและสนับสนุนจาก Coaching Team เม่ือโรงเรียนมีแผนยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และต้องการด่าเนินการน้ัน ทาง Coaching Team จะท่าการสนับสนุนให้กับ
โรงเรียนตามความต้องการของโรงเรียน เช่น ต้องการพัฒนาเทคนิคในการจัดการเรียนรู้ ต้องการ ตัวอย่าง
แผนการเรียนรู้อย่างหลากหลาย หรือต้องการค่าแนะน่าในด้านวิชาการ ทาง Coaching Team จะต้อง
ท่าหน้าที่ในการ Coaching and Mentoring ให้กับสถานศึกษาหรือจัดหาผู้เชี่ยวชาญในการให้ ค่าแนะน่า
อยา่ งเหมาะสมกับความต้องการของสถานศกึ ษา

4) PROGRESS : ความก้าวหน้าของการด่าเนนิ งาน การติดตามการทา่ งานของโรงเรยี นนั้นเปน็ ไป
ลักษณะของการติดตามความก้าวหน้า ตามสภาพจริงสะท้อนผ่านการพูดคุยและการถอดบทเรียน มากกว่า
การรายงานด้วยเอกสาร เนอ่ื งจากโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา น้ันเป็นการ
ด่าเนินงานจากหลายภาคส่วน การมีส่วนร่วมในการการวิเคราะห์และการติดตามจึงเป็น เร่ืองท่ีควรให้
ความส่าคัญ การติดตามควรเป็นไปลักษณะที่ วิเคราะห์ถึงความก้าวหน้าร่วมกันมากกว่า การรายงาน
ดว้ ยเอกสาร
Check : การตรวจสอบ

การด่าเนิ น การ coaching และ Mentoring ของที มนั้ น มี 2 รูป แบ บ ที่ ด่าเนิ น การ คื อ
1) การ Coaching แบบเป็นทางการ ผ่านการลงพื้นที่เพื่อเยี่ยมโรงเรียนท้ัง 4 คร้ัง และ 2) ส่วนการนิเทศ
แบบไม่เป็นทางการนั้น จะใช้ในกรณีของการติดตามผลการท่างานหรือให้แนะน่าตามสถานการณ์จริง
ท่เี กดิ ขึ้น ยกตวั อย่างเช่น เกดิ ข้อสงสัยเก่ียวกบั การท่าแผนยกระดับผลสมั ฤทธ์ิ จะมกี ารส่งข้อความผ่าน Line
หรือการโทรศัพท์ เพ่ือพูดคุยสอบถามหรือให้ค่าแนะน่าจาก coaching Team เนื่องจากยังไม่ถึงเวลาในการ
ลงพน้ื ทีเ่ ยี่ยมชมโรงเรียน เปน็ ต้น
Act : การปรับปรงุ แกไ้ ข

ในกระบวนการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนทุ่งแจง น้ัน
มกี ารปรับปรุงแกไ้ ขการด่าเนินการในทุกข้ันตอน โดยผ่านกระบวนการถอดบทเรยี น ร่วมกนั ระหว่างทีมและ
สถานศกึ ษา เนน้ ทกี่ ารวเิ คราะห์และแก้ปัญหาแต่ละขอ้ ที่พบโดยใช้เทคนิค PMI ซง่ึ มีรายละเอียด ดังน้ี

1) PLUS โดยเน้นท่ีการคิดถึงด้านดี ของปัญหาหรือสถานการณ์ท่ีน่ามาวิเคราะห์ หรือ การคิด
ในเชงิ บวก ของการแกป้ ญั หาน้ัน

2) Minus เป็นการคิดด้านลบ ด้านท่ีไม่ดีของสถานการณ์ดังกล่าว Interest เป็น การพูดถึง
ส่ิงที่สนใจอยากให้เกิดขึ้นหรือ สิ่งที่ต้องการจะเปล่ียนแปลง ในการถอดบทเรียนแต่ละครั้ง ของการนิเทศ

22

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน
ทมี่ ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพืน้ ทโี่ รงเรียนกลมุ่ เป้าหมาย : จงั หวัดราชบรุ ี

ติดตามงานนั้น จะใช้เทคนิคดังกล่าวอย่างมีส่วนร่วมระหว่าง Coaching Teams และ บุคลากร
ในสถานศกึ ษา

3. แนวทางการดาเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพ้นื ที่ สังกัดสานักงานเขตพน้ื ที่
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ตามขนั้ ตอน PDCA นาส่กู ารปฏิบัตใิ นโรงเรยี นวดั แกว้ ฟ้า

แผนภาพ 5 แนวทางการด่าเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพ้ืนท่ี สงั กดั สา่ นักงานเขตพ้ืนที่
การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 ตามข้ันตอน PDCA นา่ ส่กู ารปฏิบตั ิในโรงเรยี นวัดแกว้ ฟา้

จากภาพ ได้น่าหลักการ แนวคิด และทฤษฏี ดังกล่าวมาพัฒนาการ Coaching and Mentoring
ส่าหรับโรงเรียนวัดแก้วฟ้า โดยน่าหลักการทรงงานตามศาสตร์พระราชา (เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา) มาใช้
เป็นฐานในการออกแบบการนิเทศ ประกอบดว้ ย

Understanding เขา้ ใจ : เข้าใจเรือ่ ง ศาสตร์พระราชา “เขา้ ใจ เข้าถึง พฒั นา” รู้เขา รูเ้ รา เข้าใจ
ตนเอง ผอู้ ่ืน และบรบิ ทของสังคม

Connection เข้าถงึ : ศกึ ษาขอ้ มูล สารสนเทศ แนวทางการพัฒนา โอกาส
Development พฒั นา : แก้ไขปญั หาหรือพฒั นา เพ่ือใหบ้ รรลวุ ตั ถปุ ระสงคท์ ี่ตงั้ ไว้
โรงเรียน (School) มอี งคป์ ระกอบยอ่ ย ดังน้ี
PLAN

1. วเิ คราะหข์ ้อมลู
 ผลสมั ฤทธ์ิ O NET
 บริบทสถานศึกษา
 ใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนา

ตามบรบิ ทของสถานศึกษา
2. ความร่วมมือ/โอกาส
สร้างความร่วมมือในการท่างานระหว่างหน่วยงานที่เก่ียวข้อง ร่วมถึงการสร้างโอกาส

ในการเข้าถึงข้อมลู ทางการศึกษาผา่ นชอ่ งทางหรือส่ือตา่ งๆ ท่จี ะสนบั สนนุ ในการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษา

23

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน
ทีม่ ีความสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพื้นทโ่ี รงเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย : จังหวัดราชบรุ ี

3. แผนการดาเนนิ งาน/รปู แบบหรอื แนวทางการพัฒนา
วางแผนจัดท่าแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนา จากข้อมูลท่ีได้

วิเคราะห์ สังเคราะห์ โดยพัฒนาจากผู้ปฏิบัติ (สถานศึกษา) ผ่านกระบวนการ Coaching and Mentoring
(Coaching Team) เพือ่ ใช้ในการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาตามบริบทของสถานศกึ ษา

DO
1. ดาเนนิ งาน
1.1 พัฒนาแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบหรือแนวทางการโดยพัฒนาจากผู้ปฏิบัติ

(สถานศึกษา) ผ่านกระบวนการ Coaching and Mentoring (Coaching Team) เพ่ือใช้ในการยกระดับ
คุณภาพการศึกษาตามบริบทของสถานศึกษา

1.2 ด่าเนินการตามแผน/รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนา ที่สถานศึกษา
ได้พฒั นาข้นึ

2. PLC
2.1 สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์

การจดั การเรยี นรู้ การบรหิ ารจัดการงาน เตมิ เตม็ ในสว่ นทีข่ าด สิ่งที่ตอ้ งการต่อยอดและการพฒั นา
3. Empowerment
3.1 เสริมสร้างขวญั ก่าลังใจ ให้มีจิตสา่ นกึ ในการพัฒนาสคู่ วามยงั่ ยืน

CHECK
1. นิเทศ
ครงั้ ที่ 1 วิเคราะหศ์ กึ ษาข้อมูล
ครั้งท่ี 2 แผนการดา่ เนนิ งาน/รปู แบบหรือแนวทางการพฒั นา
ครัง้ ท่ี 3 การด่าเนินงาน
ครั้งท่ี 4 ผลการดา่ เนนิ งาน
2. PLC
สร้างชุมชนแห่งการเรยี นรวู้ ิชาชพี เพ่ือแลกเปลีย่ นเรียนร้ปู ระสบการณก์ ารจัดการ

เรยี นรู้ การบริหารจัดการงาน สรุปผล เติมเตม็ ในส่วนทขี่ าด สง่ิ ท่ีตอ้ งการต่อยอดและการพัฒนา
3. ประเมินผลการดาเนินงาน
ประเมินผลการด่าเนินงานตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ น่าผลท่ีได้วิเคราะห์ เพ่ือใช้

เป็นแนวทางในการปรบั ปรุงและพฒั นากระบวนการดา่ เนนิ งานในคร้ังต่อไป
ACT
สรุปผลการดาเนินงาน
1. สรุปผลการดา่ เนินงาน การบรรลุเป้าหมายตามวตั ถปุ ระสงค์ของการดา่ เนินงาน
2. แนวทางการปรบั ปรงุ การพัฒนา
ให้ ข้อเสน แน ะ แน วท างการป รับ ป รุงห รือการพั ฒ น า จากข้อมู ลท่ี ได้จาก

ผลการด่าเนินงาน เพือ่ การยกระดับคุณภาพการศกึ ษาที่ยัง่ ยืน

24

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน
ทมี่ คี วามสอดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทพนื้ ทโี่ รงเรียนกลมุ่ เปา้ หมาย : จังหวดั ราชบุรี

Coaching Team มอี งคป์ ระกอบย่อย ดงั น้ี
PLAN
1. วิเคราะห์ข้อมลู

 สถานศึกษา

 นโยบาย

 Coaching Team
ใช้ เป็ น ข้ อ มู ล ใน ก า ร ว า ง แ ผ น ก า ร ด่ า เนิ น งา น /รู ป แ บ บ ห รื อ แ น ว ท า งก า ร พั ฒ น า
การ Coaching and Mentoring ตามบริบทของสถานศกึ ษาเปา้ หมาย
2. แผนการดาเนนิ งาน/รปู แบบหรอื แนวทางการพัฒนา
2.1 วางแผนจัดท่าแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนา จากข้อมูล
ที่ได้วิเคราะห์ สังเคราะห์ เพ่ือพัฒนาการ Coaching and Mentoring และยกระดับคุณภาพการศึกษา
ตามบริบทของสถานศกึ ษา
2.2 วางแผน ออกแบบเครื่องมือสา่ หรับการ Coaching and Mentoring
DO
1. ดาเนนิ การตามแผน
พัฒนาแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนา Coaching and
Mentoring เครื่องมือส่าหรับการ Coaching and Mentoring เพื่อใช้ในการยกระดับคุณภาพการศึกษา
ตามบริบทของสถานศึกษา และด่าเนินงานตามแผนการด่าเนินงาน/รูปแบบหรือแนวทางการพัฒนาท่ีได้
สรา้ งหรือพฒั นาขึ้น
2. พัฒนาบคุ ลากร
ส่ือสาร และสร้างความมีส่วนร่วม โดยมุ่งสร้างความเข้าใจ ความมั่นใจให้โรงเรียน
ชมุ ชน และผูเ้ กีย่ วขอ้ ง และสนบั สนุน สง่ เสริมทักษะด้านวชิ าการตามความเหมาะสม
3. PLC
สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพเพ่ือแลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การบริหาร
จัดการงาน และการด่าเนินงานการ Coaching & Mentoring เติมเต็มในส่วนที่ขาด สิ่งที่ต้องการต่อยอด
และการพัฒนา
CHECK
1. ประเมนิ ผลการดาเนินงาน Coaching & Mentoring
ประเมินผลการด่าเนินงานตามวัตถุประสงค์ที่ต้ังไว้ น่าผลที่ได้วิเคราะห์ เพ่ือใช้
เป็นแนวทางในการปรบั ปรงุ และพฒั นากระบวนการดา่ เนินงาน
2. PLC
สร้างชมุ ชนแห่งการเรยี นรวู้ ิชาชีพเพือ่ แลกเปล่ียนเรียนรู้ประสบการณ์การบริหารจดั การ
และการด่าเนินงาน Coaching & Mentoring สรุปผล เติมเต็มในส่วนท่ีขาด ส่ิงที่ต้องการต่อยอดและ
การพฒั นา
ACT
1. สรุปผลการดาเนินงาน
สรปุ ผลการดา่ เนินงาน การบรรลุเปา้ หมายตามวัตถปุ ระสงคข์ องการด่าเนินงาน
2. แนวทางการปรบั ปรุง การพัฒนา

25

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน

ท่ีมคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพน้ื ทโ่ี รงเรียนกลมุ่ เปา้ หมาย : จังหวดั ราชบรุ ี

ให้ข้อเสนแนะ แนวทางการปรับปรุงหรือการพัฒ นา จากข้อมูลท่ีได้จาก
ผลการด่าเนนิ งาน เพือ่ การพฒั นาการ Coaching & Mentoring ในครั้งตอ่ ไป

การด่าเนินงานขององค์ประกอบ โรงเรียน (School) จะด่าเนินการตามล่าดับวงจร
PDCA ซ่ึงแต่ละล่าดับขั้น Plan Do Check Act จะผ่านกระบวนการ Coaching and Mentoring
ตามองค์ประกอบของ Coaching Team ทสี่ อดคล้องกัน ในแต่ละล่าดับขน้ั ระหว่างองค์ประกอบ โรงเรียน
(School) และ Coaching Team

การ Coaching and Mentoring
การ Coaching and Mentoring ใช้วิธีการฟัง-ถาม และบอก-แนะน่า การฟัง-ถาม เพื่อให้

กลุ่มเป้าหมายเข้าถึงข้อมูล วิเคราะห์ หาและสร้างแนวทางการแก้ไข หรือพัฒนา บอก-แนะน่า เพ่ือเติมเต็ม
สว่ นทขี่ าด โดยการ Coaching และ Mentoring อตั ราสว่ น 70:30

เขา้ ใจ (Understanding)

1. วเิ คราะห์ปจั จยั นาเขา้
1.1 ผลสมั ฤทธิ์ O-NET 3 ปีการศกึ ษา
วิเคราะห์ผล O-NET โดยการเปรียบเทียบคะแนนเฉล่ียของโรงเรียนเปรียบเทียบกับ

คะแนนเฉล่ียระดับประเทศในแต่ละมาตรฐาน จัดล่าดับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดท่ีโรงเรียน
ควรเร่งพฒั นา

1.2 หลกั สูตร
วิ เค ร า ะ ห์ ห ลั ก สู ต ร เพ่ื อ ใช้ ใน ก า ร ว า ง แ ผ น ป รั บ ป รุ ง พั ฒ น า แ ผ น ก า ร จั ด ก า ร เรี ย น รู้

ตามมาตรฐานและตัวชี้วัดที่โรงเรียนควรเร่งพัฒนา พร้อมทั้งปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้องกับบริบท
ของโรงเรียน

1.3 มาตรฐานและตัวชี้วัด

วเิ คราะห์มาตรฐานและตัวช้ีวัดเพอื่ ต้องการทราบวา่ นักเรียนตอ้ งเรียนรู้อะไร ท่าอะไรได้

วเิ คราะห์สือ่ ,หนังสอื และแบบทดสอบ ท่ีไมส่ นองตอบต่อตัวชีว้ ดั หรือพลาดเปา้

เครือ่ งมอื

1. แบบวิเคราะห์ผล O-NET

2. แบบวเิ คราะห์หลักสูตร

3. แบบวิเคราะห์มาตรฐานและตัวช้วี ดั

2. การจดั เตรียมและพฒั นา
2.1 แผนการจดั การเรียนรู้
ปรับปรงุ พัฒนาแผนการจดั การเรยี นรใู้ ห้สอดคลอ้ งกบั มาตรฐาน ตัวช้วี ัด
2.2 สอ่ื การเรียนการสอน

 สอื่ New DLIT (http://www.dlit.ac.th/home.php)

 WEB ทรูปลูกปญั ญา (http://www.trueplookpanya.com/)
2.3 คลงั ขอ้ สอบ

 เตรียมความพร้อมเกี่ยวกับระบบอินเตอร์เน็ตท่ีใช้เชื่อมต่อกับคลังข้อสอบจาก
เวป็ ไซตท์ ีส่ อดคล้องกบั เนอื้ หาทใี่ ชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน

26

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

ทีม่ คี วามสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพ้ืนทโี่ รงเรยี นกล่มุ เป้าหมาย : จังหวัดราชบรุ ี

 คลงั ขอ้ สอบ New DLIT (http://www.dlit.ac.th/home.php)
 คลังขอ้ สอบ WEB ทรปู ลกู ปญั ญา (http://www.trueplookpanya.com/)
 คลังข้อสอบ สา่ นักงานเขตพื้นที่การศึกษาฯ

(http://amssrb2.org/index.php?option=bets)
เคร่ืองมอื

1. เวบ็ ไซด์ New DLIT
2. แบบทดสอบ,คลงั ขอ้ สอบ ONET ของ สทศ./ คลังข้อสอบ ส่านักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 2
3. แผนการจัดการเรียนรูบ้ รู ณาการ
4. ส่ือออนไลน์/ส่อื เทคโนโลยี DLIT / ทรปู ลกู ปัญญา

เข้าถงึ (Connecting)

3. กระบวนการ (Process) การเตรียมความพร้อม
1. คดั กรองตรวจสอบความรู้ การอา่ น การเขียน

ด่าเนนิ การคัดกรองจัดกลุ่มผเู้ รยี น ตามระดับความสามารถทางการเรยี น เพ่ือวางแผน
ในการพัฒนาผ้เู รยี นรายบุคคล จากคะแนนใน ปพ.5 ของแตล่ ะรายวชิ า

เคร่ืองมือ
1.1 แบบคดั กรองตรวจสอบความรู้ การอา่ น การเขียน
1.2 ขอ้ มูลจาก คะแนนผลการเรยี น ใน SchoolMIS

2. ดาเนินการจัดการเรยี นการสอน
2.1 ปรบั หลักสตู ร/ตารางเรยี น/ตารางสอน
ด่าเนินการปรับหลักสูตรตามผลการวิเคราะห์หลักสูตร และปรับตารางเรียน

ใหเ้ หมาะสมกับหลกั สูตร
2.2 ปรบั พ้นื ฐาน
ด่าเนินการจัดการเรียนรู้ปรับพ้ืนฐานในรายวิชาท่ีนักเรียนมีผลคะแนนเฉล่ียต่ากว่า

ค่าเป้าหมายของโรงเรียน ในทุกรายวิชา/ทุกช้ันเรียน โดยทบทวนความรู้ในช้ันที่ผ่านมาเพ่ือ
เตรียมความพรอ้ มในการเรยี น และการจัดกลุ่มการเรยี น

พัฒนา (Development)

บูรณาการกิจกรรมเสริมลดเวลาเรียน โดยจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ ช่วงลดเวลาเรียน
ให้ช่วยกระตุ้นความสนใจ หรือเชื่อมโยงความรู้กับกิจกรรมลดเวลาเรียน เพื่อน่าไปสู่ความอยากรู้ หรือ
การคน้ หาค่าตอบ ฯลฯ

ด่าเนินการบูรณาการโดยการจัดการเรียนรู้ใช้ DLIT เป็นส่ือช่วยสอน ด้วยการดาวน์โหลด
ส่ือการสอนจาก DLIT มาสอนในวิชาท่ีครูไม่ตรงเอกหรือขาดแคลน ซ่ึงส่ือนี้สามารถน่ามาเตรียมการสอน
ล่วงหน้าได้ และเลือกเรื่องท่ีจะใช้ในการแก้ปัญหาการสอนของครูท่ีไม่ถนัด ในแต่ละรายวิชาได้ ที่ส่าคัญคือ
สามารถน่ามาสอนซ้่าได้

27

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
ทีม่ ีความสอดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทพ้นื ทโ่ี รงเรียนกลุม่ เป้าหมาย : จังหวัดราชบุรี

4. แนวทางการดาเนนิ งาน Coaching Teams ตามบรบิ ทพน้ื ที่ สงั กัดองคก์ รปกครอง
ส่วนทอ้ งถน่ิ จงั หวดั ราชบรุ ี โดยใช้กระบวนการ PLC นาส่กู ารปฏบิ ตั ใิ นโรงเรียนเทศบาล 3
ประชายินดี

เตรียมการ Coaching - ศกึ ษา วิเคราะหส์ ภาพปญั หา/ P
(P ; Plan) ความต้องการพฒั นา L
C
ออกแบบกจิ กรรมการแก้ปัญหา (D ; Do) - จัดลาดับความสาคัญ
- กาหนดแนวทางแกไ้ ขปญั หา
การแลกเปลี่ยนเรยี นรู้และใหข้ ้อเสนอแนะ
(C ; Check) - สรา้ งความสัมพันธร์ ะหวา่ งครูกบั Coaching
Teams
สะท้อนผล (A ; Apply)
- พจิ ารณาแผนการจัดการเรยี นรรู้ ว่ มกัน
- สงั เกตการสอน บันทึกพฤตกิ รรมการจดั การ

เรยี นการสอน

- นาข้อมลู ท่ีบันทกึ มาพิจารณาร่วมกัน
- จดุ เด่น/จุดดอ้ ยของการสอน
- นาไปปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้

- สรปุ การนารปู แบบ/วธิ ีการ ในการนาไปใช้
แก้ปญั หา

- สะท้อนผลทไี่ ด้
- เสนอแนะแนวทางในการพฒั นา

แผนภาพ 6 แนวทางการดา่ เนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพ้ืนท่ี สังกดั องค์กรปกครอง
สว่ นทอ้ งถนิ่ จงั หวัดราชบุรี โดยใช้กระบวนการ PLC น่าสู่การปฏิบัตใิ นโรงเรยี นเทศบาล 3
ประชายนิ ดี

แนวทางการด่าเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพ้ืนที่ สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน
จังหวัดราชบรุ ี โดยใช้กระบวนการ PLC น่าสู่การปฏิบตั ใิ นโรงเรยี นเทศบาล 3 ประชายนิ ดี ดา่ เนนิ การ ดังนี้

ข้นั ที่ 1 เตรียมการ Coaching : (P ; Plan)
1. ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการพัฒนา โดยวิเคราะห์และระบุปัญหา ส่ิงที่ต้องการ

พัฒนา ของสถานศึกษา โดย ผู้บริหาร ครู ร่วมกันวิเคราะห์ปัญหาที่ตนเองรับผิดชอบ หรือสิ่งที่ต้องการ
พัฒนาผเู้ รยี น ด้านความรู้ ทักษะ และคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ของสถานศกึ ษา

2. เรียงลา่ ดบั ความส่าคญั ของปัญหา และสิง่ ท่ตี ้องการพฒั นาผเู้ รยี น
3. เลือกปัญหา สิ่งที่ต้องการพัฒนา ท่ีส่าคัญ จ่านวน 1-2 เร่ือง ที่จ่าเป็นต้องปรับปรุงแก้ไข
สิ่งที่ต้องการพฒั นาก่อน
4. ในล่าดับ ที 1-3 เป็นการจัดท่ากระบวนการ ของสถานศึกษาเม่ือทราบปัญหาภาพรวม
ของสถานศกึ ษา จงึ ด่าเนนิ การของกล่มุ สาระการเรยี นรู้
5. จัดแบ่งกลุ่มสาระการเรียนรู้ ในสาระท่ีตนเองรับผิดชอบ ศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา
ความต้องการพฒั นา โดยวิเคราะห์และระบปุ ัญหา สิง่ ทตี่ ้องการพัฒนาของสถานศึกษา โดย ครู ในกลุ่มสาระ
เดยี วกนั ร่วมกันวเิ คราะห์ปัญหาทีต่ นเองรับผิดชอบ หรอื สงิ่ ที่ตอ้ งการพัฒนาผู้เรียน ด้านความรู้ ทักษะ และ
คุณลักษณะ
6. เรียงลา่ ดบั ความส่าคัญของปัญหา และส่งิ ที่ต้องการพฒั นาผูเ้ รยี น
7. เลือกปัญหา ส่ิงท่ีต้องการพัฒนา ที่ส่าคัญ จ่านวน 1-2 เร่ือง ที่จ่าเป็นต้องปรับปรุงแก้ไข
สง่ิ ทต่ี ้องการพัฒนาก่อน

28

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน

ท่มี ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพื้นทโี่ รงเรียนกล่มุ เป้าหมาย : จังหวัดราชบรุ ี

8. หาสาเหตุของปัญหา ท่ีเกิดจากการสอน การฝึกปฏิบัติของครูเป็นอันดับแรก/ว่ามีอะไรบ้าง
ท่ีท่าให้เกิดปัญหากับการเรียนรู้ของผู้เรียน หรือที่ท่าให้พฤติกรรมของผู้เรียนไม่เป็นไปตามท่ีคาดหวังไว้
ตามหลักสูตรท่ีกา่ หนดเชน่ เนอ้ื หา วธิ ีการสอน กจิ กรรม ส่อื การสอน การวัดและประเมินผล ฯลฯ

9. กา่ หนดแนวทางแกไ้ ขปญั หา ทต่ี ้องการพฒั นาผเู้ รยี นท่ีสอดคล้องกับปัญหาและสาเหตุ
ขนั้ ท่ี ๒ ออกแบบกจิ กรรมการแกป้ ัญหา (D ; Do)

ออกแบบกจิ กรรมการแก้ปัญหา นา่ สูก่ ารปฏิบัตโิ ดยสังเกตการสอน ดังนี้
Coaching Teams ได้มีการใช้วิธีการสังเกต (Observation) ซึ่งเป็นเทคนิควิธีการตลอดจน
เป็นเครื่องมือท่ี ทีม coaching ใช้ในการนิเทศ เพื่อปรับปรุงการสอน และมีวัตถุประสงค์เพ่ือให้ครูสามารถ
หรือ ปรับปรุงการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพ โดยใช้ข้อมูลป้อนกลับจากการนิเทศหรือ
ทมี coach การจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ มีดังน้ี

1. สร้างความสมั พันธ์ระหวา่ งครูกับผู้ coach

2. ปฏิบัตติ นใหเ้ ป็นเพื่อนรว่ มวิชีพกบั ครู ให้ข้อมลู ความรู้ และสนับสนนุ การท่างานของครู

3. ปรึกษาหารือและการเตรียมแผนการเรียนรู้ วางแผนการจัดการเรียนรู้รว่ มกนั ครูและ

ทมี Coach พิจารณาแผนการจดั การเรยี นรรู้ ว่ มกัน

4. ทีม coach เขา้ ไปสังเกตการณส์ อนการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้แบบเงียบ ๆ โดยไม่ท่าลาย
บรรยากาศการจัดการเรยี นรขู้ องครูและนักเรยี น

5. จดบันทึกพฤติกรรมการเรียนการสอน และบรรยากาศในห้องเรียนอย่างละเอียด โดยใช้
เครือ่ งมือการนเิ ทศ

6. สังเกตการสอน การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนต้ังแตต่ ้นจนจบ

ขั้นท่ี 3 การแลกเปลีย่ นเรียนรู้และใหข้ อ้ เสนอแนะ (C ; Check)

เมื่อเสร็จสิ้นการสังเกต ครู และทีม coach ร่วมกันวิเคราะห์พฤติกรรมการจัดกิจกรรม
การเรียนรู้ น่าข้อมูลจากการจดบันทึกพฤติกรรมการจัดการเรียนการสอนพิจารณาร่วมกัน ว่าพฤติกรรมใด
เป็นจุดเด่น พฤติกรรมใดเป็นจุดด้อย และพฤติกรรมใดเป็นปัญหา ครูและทีม coach น่าข้อมูลที่ได้
มารว่ มกันปรบั ปรุงการจัดกจิ รรมการเรยี นรู้

ขน้ั ท่ี 4 การสะทอ้ นผล (A ; Apply)
มีการปรบั ปรุงการจัดการเรยี นรู้ ครูต้องยอมรับพฤติกรรมการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ของตน

เอาผลวิเคราะห์พฤติกรรมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ท้ังท่ีเป็นจุดเด่น จุดด้อย และพฤติกรรมท่ีเป็นปัญหา
มาเปน็ ขอ้ มลู ในการปรับกรงุ การจัดท่าแผนการเรียนรู้ครัง้ ต่อไป

ประเมินผล ติดตามการปฏิบัติการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ และศกึ ษาผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน
และเจตคติของผู้เรียนว่า มีผลสัมฤทธิ์การเรียนการสอนข้ึนหรือไม่ และผู้เรียนมีเจตคติต่อการจัดการเรียน
การสอนของครอู ย่ใู นระดับใด

1. การ Coaching โรงเรยี นเทศบาล 3 ประชายนิ ดี ไดน้ ่ารูปแบบ PLC ไปใชใ้ นสถานศึกษา
มีรายละเอยี ด แต่ละขัน้ ตอน ดงั น้ี

1.1 คน้ หาตวั อยา่ ง/รปู แบบท่ปี ระสบความสา่ เร็จ
1.2 ร่วมตัดสินใจเลอื กรปู แบบ/วธิ กี าร/นวตั กรรมในการแก้ปญั หา

29

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน
ท่ีมีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพ้นื ทโ่ี รงเรยี นกลมุ่ เป้าหมาย : จังหวัดราชบุรี

2. การรวมกลุ่ม PLC รวมกลุ่มครูที่มีปัญหา/ความต้องการเดียวกัน เช่น ครูกลุ่มสาระ
การเรียนรู้เดยี วกัน ครทู ่สี อนในระดับชั้นเดยี วกัน เปน็ ตน้

3. ค้นหาปัญหา ความต้องการ
3.1 ร่วมกนั เสนอปัญหา/ความต้องการ
3.2 จดั กลุ่มปญั หา
3.3 จดั ลา่ ดับความจา่ เป็นเร่งดว่ น
3.4 เลอื กปัญหาเพียง 1 ปัญหา โดยการพจิ ารณารว่ มกัน

4. รว่ มกันหาแนวทางในการแก้ปัญหา
4.1 บอกเล่าประสบการณ์ท่ีแกป้ ัญหาได้สา่ เร็จ
4.2 ค้นหาตัวอยา่ ง/รูปแบบท่ีประสบความสา่ เร็จ
4.3 รว่ มตัดสนิ ใจเลอื กรปู แบบ/วิธีการ/นวัตกรรมในการแกป้ ญั หา

5. ออกแบบกิจกรรมการแก้ปญั หา
ออกแบบกจิ กรรมตามวธิ กี าร/นวตั กรรมท่ีกลุม่ เลือก

6. แลกเปลีย่ นเสนอแนะ
นา่ เสนอกจิ กรรมการแกป้ ัญหา ใหผ้ ทู้ ี่มีประสบการณใ์ ห้ขอ้ เสนอแนะน่าสู่การปฏบิ ตั /ิ

สังเกตการณ์สอน
6.1 น่ากจิ กรรมไปใช้ในการแกป้ ัญหา
6.2 ผู้สังเกตการณ์เข้าร่วมสังเกตในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เช่น การเย่ียม

ชัน้ เรยี น สงั เกตการสอนเป็นต้น
7. สะทอ้ นผล
7.1 สรปุ การนา่ รูปแบบ/วธิ กี าร ในการนา่ ไปแก้ปัญหา
7.2 อภปิ รายผลการแก้ปัญหา เสนอแนะแนวทางในการพฒั นา

30

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
ท่มี คี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพนื้ ทโ่ี รงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย : จังหวดั ราชบรุ ี

5. แนวทางการดาเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพื้นที่ สังกดั คณะกรรมการสง่ เสรมิ การศึกษา
เอกชน จงั หวัดราชบุรี โดยใช้รปู แบบการนเิ ทศชแ้ี นะและระบบพีเ่ ล้ียง (Coaching and Mentoring)
นาสู่การปฏิบตั ิในโรงเรยี นวันทามารีอา ราชบุรี

แนวทางการ Coaching Teams : โรงเรยี นวนั ทามารอี า ราชบรุ ี
P : ประชมุ ทมี นเิ ทศ วเิ คราะหข์ อ้ มลู วางแผนกอ่ น Coaching

D : Coaching & Mentoring (4 ครงั้ )

1st วเิ คราะห์ปัญหา/แนวทาง  แผนยกระดบั O-NET / ผลสัมฤทธ์ิ
 พัฒนาแหล่งเรียนรู้/ส่อื เทคโนโลยี
พฒั นา ผล O-NET วิทยาศาสตร์/คณติ ศาสตร์ต่า  สร้างสมั พนั ธภาพ
 สอนเสริม O-NET รายสปั ดาห์ / แบบเข้ม
พนื ้ ฐานความรู้ของนกั เรียน

สภาพปัญหา ความต้องการในการพฒั นา

2nd Coaching 3 A  นโยบาย/เป้าหมายการพฒั นา
 หลกั สูตร
Awareness : สร้างความตระหนกั ในองค์กร  การบริหารงานวชิ าการ
Alignment : มองเหน็ แนวทางในการพฒั นาร่วมกนั  แนวทางการยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ิ วิทย์-
Actions : ดาเนนิ การ/ลงมือปฏิบตั ิ คณิต
 การประเมนิ ความพงึ พอใจ ตบช.ความ
สขุ ของนักเรียน
3rd สังเกตการสอนในชนั้ เรียน 
 แผนการสอน/การออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้
ตรวจสอบแผนการจดั การเรียนรู้  เน้น Active Learning /การมสี ่วนร่วมของนกั เรียน
สงั เกตการสอน  เพ่มิ โอกาส กระต้นุ การฟัง-ถาม
ร่วมสะท้อนผล แลกเปลยี่ นแนวทาง  การปรับการเรียนเปล่ียนการสอน
ปรับปรุง พฒั นา การวัดและประเมินผล รอบด้าน หลายรูปแบบ
 formative/ summative
4th ติดตามงาน / สรุปผล 
สสขยระสสขุปทายะรยแุ้ปอทาเลนยแ้อคะเลผนรคระือลผารรขทือลยา่าีไ่ขทงยดยา่าี่ไง้จกดนยาา้าจกผนกราาลผพกกรลฒพาักรฒาั นดราานดเาานเนินงนิ างนาน ครู...ปรับเปล่ยี นพฤตกิ รรมการสอน
 แนวคดิ การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การ
วัดผล
 สร้างวัฒนธรรมแลกเปล่ยี นเรียนรู้ พฒั นา
ร่ วมกัน
กาหนดเป้าหมาย แนวทางและกระบวนการ
ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิ ระยะยาว

C : ตรวจสอบ ทบทวน สรปุ ผล Coaching และวางแผนนเิ ทศรอบตอ่ ไป
A : นาปญั หาทพี่ บหลงั Coaching ทกุ ครงั้ มาทบทวน ปรบั ปรงุ

แผนภาพ 7 แนวทางการด่าเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพ้นื ที่ สงั กดั คณะกรรมการ
ส่งเสรมิ การศึกษาเอกชน จังหวดั ราชบุรี โดยใช้รปู แบบการนเิ ทศช้ีแนะและระบบพเ่ี ลยี้ ง
(Coaching and Mentoring) นา่ สกู่ ารปฏบิ ัตใิ นโรงเรียนวันทามารอี า ราชบุรี

แนวทางการด่าเนินงาน Coaching Teams ตามบริบทพื้นที่ สังกัดคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน จังหวัดราชบุรี โดยใช้รูปแบบการนิเทศชี้แนะและระบบพ่ีเล้ียง (Coaching and
Mentoring) นา่ สกู่ ารปฏิบัติในโรงเรยี นวันทามารีอา ราชบุรี มขี ้ันตอนการด่าเนนิ งาน ดังน้ี

1. การศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหา ความต้องการพัฒนา โดยวิเคราะห์ข้อมูลผลการทดสอบ
ทางการศึกษาระดับชาติขั้นพ้ืนฐาน (O-Net) คัดเลือกสถานการศึกษาความต้องการจ่าเป็นในการพัฒนา
รูปแบบการนิเทศโดยใช้กระบวนการชี้แนะและระบบพ่ีเลี้ยง เพื่อส่งเสริมศักยภาพการจัดการเรียนรู้ในการ
ยกระดบั ผลสัมฤทธข์ิ องโรงเรียน สังกัดสา่ นกั งานศกึ ษาธกิ ารจังหวัดราชบุรี

2. การวางแผนประชุม Coaching team วางแผนพัฒนารูปแบบและแนวทางการการนิเทศ
โดยใช้กระบวนการชี้แนะและระบบพี่เลี้ยง (Coaching and Mentoring) ก่อนคณะ Coaching Team
จะลงพื้นท่ีเพ่ือให้ค่าแนะน่ากับสถานศึกษาน้ัน มีการวางแผนการด่าเนินงานของทีมผ่านการระดมสมอง

31

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน

ท่ีมีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพื้นทโ่ี รงเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย : จังหวัดราชบุรี

เพื่อเป็นการก่าหนดเป้าหมายการด่าเนินงาน โดยทีมได้วางก่าหนดเป้าหมายเพื่อใช้เป็นแนวทาง
ในการดา่ เนินงาน เปน็ 2 ระยะดว้ ยกนั คอื

ระยะที่ 1 เป้าหมายระยะส้ัน : การเปล่ียนแปลงการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอน
ตามสาระวิชาที่โรงเรียนต้องการพัฒนา มุ่งเน้นท่ีการวิเคราะห์ถึงสภาพจริงของปัญหาการจัดการเรียนรู้
ในสถานศึกษา

ระยะที่ 2 เป้าหมายระยะยาว : ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนโดยประเมินจากผล
การทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาติขั้นพื้นฐาน (O-NET) ทสี่ อดคล้องกับสภาพจรงิ ของสถานศึกษา

3) การวางแผนของสถานศึกษา เพ่ือให้การด่าเนินการนิเทศ ติดตามและประเมินผลสถานศึกษา
เพื่อการยกระดับคุณภาพการศึกษา เป็นไปตามวัตถุประสงค์โครงการนั้น จ่าเป็นต้องมีข้อมูลพื้นฐาน
ของสถานศึกษาประกอบการพิจารณาให้ค่าแนะน่าจาก Coaching Teams จึงได้มีการประสานงานร่วมกับ
สถานศึกษาให้ด่าเนินการวิเคราะห์ผลการทดสอบทางการศึกษาระดับชาติข้ันพื้นฐาน (O-NET)
เพื่อวิเคราะห์ถึงสภาพปัญหาที่แท้จริงของสถานศึกษา โดยทางสถานศึกษาจะวิเคราะห์จากผลการทดสอบ
O-NET ย้อนหลังสามปี เพ่ือดูแนวโน้มของมาตรฐานและตัวชี้วัดท่ีมีปัญหา และวิเคราะห์ตัวช้ีวัดในการ
จัดการเรียนการสอนเพ่ือเป็นข้อมูลพื้นฐานประกอบการให้ค่าแนะน่าจาก Coaching Teams โดยน่าผล
การวเิ คราะห์ดงั กลา่ วมาร่วมกันแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ในการลงพืน้ ที่ ครัง้ ท่ี 1

3. การสรา้ งความตระหนกั ในการร่วมพฒั นาให้บรรลวุ ตั ถปุ ระสงค์ในทศิ ทางเดยี วกัน
4. นิเทศโดยใช้กระบวนการชี้แนะและระบบพี่เล้ยี ง (Coaching and Mentoring) จ่านวน
4 คร้ัง ด่าเนนิ การเปน็ 4 ระยะ คอื

ระยะท่ี 1 สร้างสัมพันธภาพ (Compliment) โดย ร่วมกันศึกษา วิเคราะห์ ปัญหา
คดั เลือกสาระและเนื้อหาท่จี ะพัฒนา ผลการทดสอบระดับชาติขนั้ พนื้ ฐาน (O-NET) สภาพปญั หา และความ
ต้องการในการพัฒนา

ระยะท่ี 2 สร้างความตระหนักในองค์กร (Awareness) มองเหน็ แนวทางในการพฒั นา
รว่ มกัน (Alignment) ดา่ เนินการ/ลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Actions)

ระยะที่ 3 สังเกตการณ์สอนข้ันเรียนรู้ร่วมกัน แลกเปลี่ยนในการปฏิบัติการนิเทศ
(Learning and Sharing ) ใช้กระบวนการชี้แนะและระบบพ่ีเล้ียง (Coaching and Mentoring) และมี
การสะทอ้ นคดิ หลงั การนเิ ทศ (After Action Review / feedback)

ระยะท่ี 4 การด่าเนินการตามน่าข้อเสนอหรือแนวทางท่ีตกลงกันไว้ (Demonstrate )
ในระยะท่ี 3 มีการปรับการเรียนการสอนหรือการใช้ส่ือนวัตกรรม การวัดประเมินผล เป็นต้น ซ่ึงผู้รับ
ค่าแนะน่าเป็นผู้ปฏิบัติ ผู้เป็น Coach เป็นผู้แนะน่าอย่างใกล้ชิด การสร้างเครือข่ายผ่าน ชุมชนการเรียนรู้
ทางวิชาชีพ PLC (Professional Learning Community) ของโรงเรียน และ จัดการความรู้ (Knowledge
Management: KM)

32

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาข้นั พื้นฐาน
ที่มคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพนื้ ทโี่ รงเรียนกลุ่มเปา้ หมาย : จังหวดั ราชบรุ ี

ผลการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจดั การศึกษาข้ันพ้ืนฐานที่มคี วามสอดคล้อง

เหมาะสมตามบรบิ ทของพน้ื ที่ ตามโครงการ Coaching Teams เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพ
การศึกษา จังหวัดราชบุรี โรงเรียนกล่มุ เป้าหมาย 5 แห่ง

1. ผล O-NET (จากการดาเนินงานในช่วงเดอื นมกราคม-กมุ ภาพนั ธ)์
ผลสัมฤทธ์ิของนักเรียน จากการทดสอบทางการศึกษ าระดับชาติข้ันพื้ น ฐาน( O-NET)
ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 6 ปกี ารศกึ ษา 2561 จงั หวัดราชบุรี

ผลสัมฤทธ์ิของนักเรยี น คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลี่ย คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลีย่ คะแนนเฉล่ีย
จากการทดสอบ ภาษาไทย อังกฤษ คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ 4 วิชา

ระดบั ประเทศ 55.90 39.24 37.50 39.93 43.14

ระดบั จงั หวัด ศธจ.ราชบุรี 57.37 40.59 38.88 40.88 44.43

โรงเรยี นบ้านทงุ่ แจง 47.57 32.14 29.29 38.57 36.89

โรงเรยี นวัดแก้วฟา้ 49.77 25.50 24.00 38.13 34.35

โรงเรียนเทศบาล 3 ประชายินดี 57.23 33.85 33.37 42.49 41.74

โรงเรียนวนั ทามารีอา ราชบรุ ี 66.37 51.11 48.35 48.85 53.67

ผลสมั ฤทธ์ขิ องนกั เรียนจากการทดสอบทางการศกึ ษาระดับชาตขิ นั้ พนื้ ฐาน (O-NET)
ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 3 ปีการศึกษา 2561 จงั หวดั ราชบรุ ี

ผลสัมฤทธข์ิ องนักเรยี น คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉลยี่ คะแนนเฉลย่ี คะแนนเฉล่ยี คะแนนเฉลี่ย

จากการทดสอบ ภาษาไทย องั กฤษ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ 4 วิชา

ระดับประเทศ 54.42 29.45 30.04 36.10 37.50

ระดับจังหวดั ศธจ.ราชบุรี 55.78 28.93 30.60 36.18 37.87

โรงเรยี นมัธยมวัดดอนตมู 47.09 25.36 24.48 31.16 32.02

โรงเรยี นวดั แกว้ ฟ้า 56.00 22.80 25.60 34.25 35.95

โรงเรียนเทศบาล 3 ประชายินดี 54.68 25.57 25.95 32.00 34.55

โรงเรียนวนั ทามารีอา ราชบรุ ี 64.80 28.68 37.02 42.44 43.24

33

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาข้ันพ้นื ฐาน

ท่ีมีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพน้ื ทโี่ รงเรียนกลุม่ เป้าหมาย : จังหวัดราชบรุ ี

2. ผลที่เกิดกับผู้เรียน
1. นักเรียนได้รับการปรับพื้นฐาน เพ่ือหาจุดเหมาะสมในการจัดการเรียน การสอน และการสอบ

ประเมนิ มคี วามสุขในการเรยี นและมีพัฒนาการท่ีเหมาะสมกบั วัย
2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน จะเกิดในภาพรวมเป็นการยกระดับท้ังระบบ ตั้งแต่

ชั้นอนบุ าล จนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนต้น เปน็ การพฒั นาทตี่ ่อเนอื่ งและยง่ั ยืน

3. ผลทเ่ี กดิ กับโรงเรยี นกลุ่มเป้าหมาย
1. โรงเรยี นมเี คร่ืองมือทจ่ี ะใช้พัฒนาคุณภาพการศึกษา
2. ผู้บริหารมีแนวทางบริหารจัดการอย่างเปน็ ระบบ ท่ีจะน่าไปสกู่ ารยกระดับผลสัมฤทธข์ิ อง

โรงเรียนได้
3. ผู้บริหาร ครูมองเหน็ ศกั ยภาพตนเอง เพื่อนครู ทีมงานโรงเรยี นเปดิ ใจแลกเปลีย่ นและเช่อื มั่นทีม

ในการแก้ปญั หา และค้นคว้า เพื่อเสนอแนวทางใหม่ๆ ใหโ้ รงเรียน

4. ผลทีเ่ กดิ กับครผู สู้ อน
1. สามารถดงึ ศกั ยภาพของโรงเรยี น ครู ให้กล้าออกจาก comfort zone ตง้ั ใจเรยี นร้สู งิ่ ใหม่ และ

พฒั นาตวั เองอย่างต่อเน่ือง
2. สามารถลดปัญหาข้อขัดแย้ง สร้างความไว้วางใจและความศรัทธาได้จากการฟังอย่างลึกซึ้ง การ

feedback อย่างมเี หตุ
3. ลดชอ่ งว่างระหวา่ งวัย ระหวา่ ง Generation ในการสอนของครู ดว้ ยทักษะการฟัง มกี ารถาม

เพอ่ื ระดมความคิด เปน็ การเปิดพืน้ ทีใ่ ห้ทกุ คนได้ออกความเหน็ อยา่ งอสิ ระ และเขา้ ใจคนอนื่ ๆ
4. ครูได้ปรับการเรียน เปลี่ยนการสอน และมีการวิเคราะห์แก้ปัญหาให้นักเรียน ได้ตรงกับพื้นฐาน

ของผู้เรยี น
5. ครูมีการใช้ส่ือเทคโนโลยีช่วยสอน DLIT / คลังข้อสอบ / บทเรียนออนไลน์ ในการแก้ปัญหา

ความถนัดของครู กรณีทค่ี รูไม่ครบชน้ั และหรือ ครูสอนไม่ตรงเอก

5. ปจั จัยความสาเรจ็ ในการนิเทศ ฯ แบบ Coaching Teams

การด่าเนินงานโครงการ Coaching Teams เพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษา ระดับจังหวัด
ส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี มีวัตถปุ ระสงคเ์ พื่อสร้างเครือข่ายความร่วมมือในการนิเทศ ติดตามและ
ประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ในระดับจังหวัด เพ่ือพัฒนาคุณภาพการศึกษาและยกระดับ
คุณภาพผู้เรียน และ เพ่ือพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้ น
พื้นฐานในระดบั จังหวัดอยา่ งนอ้ ย 1 แนวทาง พบว่า ปจั จยั ความส่าเร็จท่ีสา่ คัญ ประกอบดว้ ย

1. ความร่วมมือจากทุกหน่วยงาน และได้รับความอนุเคราะห์ จากผู้มีความรู้ความสามารถจาก
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัดการศึกษา ได้รับความอนุเคราะห์จาก ผศ.ดร.ชัยฤทธ์ิ ศิลาเดช อธิการบดี
มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง เป็นผู้ทรงคุณวุฒิระดับจังหวัด เป็นท่ีปรึกษาหลักในการด่าเนินการ
ส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรีได้จัดต้ังหน่วยงานบูรณาการด้านการนิเทศ ติดตาม เป็น นักวิชาการ
ศึกษา ศึกษานิเทศก์ และตัวแทนจากหน่วยงานต่างๆ อาทิ ส่านักงานศึกษาธิการภาค 3 ส่านักงาน
ศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี รองศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี คณาจารย์คณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฏ
หมู่บ้านจอมบึง องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินจังหวัดราชบุรี ส่านักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประธาน
คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนจังหวัดราชบุรี และวิทยาลัยเทคนิคราชบุรี สร้าง
เครือข่ายความร่วมมือในการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐานในระดับ

34

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาขั้นพ้นื ฐาน

ท่มี ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพน้ื ทโ่ี รงเรียนกลุม่ เป้าหมาย : จงั หวัดราชบรุ ี

จังหวัด ส่าหรับพัฒนาการศึกษาและยกระดับคุณภาพของผู้เรียน ซ่ึงในแต่ละทีม มีคณะกรรมการที่ความรู้
ความสามารถและมคี วามเหมาะสมตามบริบทพนื้ ทีโ่ รงเรียน ดังน้ี

คณะกรรมการ Coaching Teams นิเทศ ติดตาม โรงเรียนมัธยมวัดดอนตูม สังกัดส่านักงาน
เขตพนื้ ทก่ี ารศึกษามธั ยมศกึ ษาเขต 8 ประกอบดว้ ย

1.ดร.วัฒนา ตรงเทยี่ ง ศึกษานเิ ทศก์ ส่านักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามธั ยมศึกษาเขต 8
2.นางศุภร เสาวัง ศึกษานิเทศก์ สา่ นกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 8
3.นางสาวพจนพร รุง่ ทอง ศึกษานเิ ทศก์ สา่ นักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษามัธยมศกึ ษาเขต 8
4.ดร.ศิรวิ รรณ ลีก้ จิ เจรญิ ผล ศกึ ษานเิ ทศก์ สา่ นกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดราชบุรี
5.นางจงกลนี หว่ งทอง ศึกษานิเทศก์ ส่านักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั ราชบรุ ี
6.นางสาวอัญชลี ภวู พานชิ ครู กศน.จังหวดั ราชบุรี

คณะกรรมการ Coaching Teams นิเทศ ติดตาม โรงเรียนบ้านทุ่งแจง สังกัดส่านักงานเขต
พื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 1 ประกอบดว้ ย

1.นางชอ่ ทพิ ย์ อนิ แสน ศึกษานเิ ทศก์ สา่ นกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
2.อาจารย์กาญพชิ ชา กชกานน รองคณะบดคี ณะครศุ าสตร์ มรภ.หมบู่ ้านจอมบึง
3.นางอ่าไพ มาศศิริทรพั ย์ ศึกษานเิ ทศก์ สา่ นักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
4.นายบุญประคอง โคตรพฒั น์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส่านกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
5.นางเชาวนยี ์ สายสดุ ใจ ศกึ ษานิเทศก์ ส่านักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ราชบรุ ี
6.นางมยุรี สทิ ธิการ ครู กศน.จังหวดั ราชบุรี
7.นายนิรทุ ธ์ิ อุทาทิพย์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สา่ นักงานศกึ ษาธิการจงั หวัดราชบรุ ี

คณะกรรมการCoaching Teams นิเทศ ติดตาม โรงเรียนบ้านทุ่งแจง สังกัดส่านักงานเขต
พนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบรุ ี เขต 2 ประกอบดว้ ย

1.นายศภุ กร มรกต ศกึ ษานิเทศก์ ส่านกั งานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2
2.อาจารย์ ดร.เกรยี งวธุ นลี ะคปุ ต์ คณะบดคี ณะครุศาสตร์ มรภ.หมบู่ ้านจอมบงึ
3.นางสาวกฤตยา จ่าปาจันทร์ ศกึ ษานิเทศก์ สา่ นักงานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 1
4.นางสุวภทั ร์ จิตเพง่ ศึกษานิเทศก์ สา่ นักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาราชบรุ ี เขต 1
5.นางสาววงศจ์ นิ ดา ฤกษเ์ มือง ศกึ ษานิเทศก์ สา่ นักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ราชบรุ ี
6.นายคมกฤษณ์ สขุ ะวพิ ฒั น์ ศึกษานเิ ทศก์ สา่ นักงานศึกษาธกิ ารจังหวดั ราชบรุ ี
7.นางกลุ จิรา ชวะณชิ ย์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี
คณะกรรมการ Coaching Teams นิเทศ ติดตาม โรงเรียนเทศบาล 3 ประชายินดี สังกัดกรม
สง่ เสริมการศกึ ษาท้องถน่ิ จังหวัดราชบรุ ี ประกอบดว้ ย
1.นายประเทอื ง ทรัพยเ์ กิด คณะกรรมการ กศจ.ราชบุรี
2.นางทองเจอื เอ่ยี มธนานรุ ักษ์ นกั วชิ าการศึกษา ส่านกั งานศกึ ษาธิการจังหวัดราชบรุ ี
3.นายสกุ รรณ ทองแบบ ศกึ ษานิเทศก์ เทศบาลเมืองราชบุรี
4.นางสาวกนกพรรณ งามข่า นักวชิ าการศกึ ษา เทศบาลเมอื งบ้านโปง่
5.นายชัยวฒั น์ พูลสวสั ด์ิ ครู วิทยาลยั เทคนคิ ราชบรุ ี
6.นางสาวศศิกานต์ แสวงลาภ ศึกษานเิ ทศก์ สา่ นกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดราชบรุ ี

35

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

ทมี่ คี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพน้ื ทโี่ รงเรียนกลุ่มเป้าหมาย : จงั หวัดราชบรุ ี

คณะกรรมการ Coaching Teams นิเทศ ติดตาม โรงเรียนวันทามารีอา ราชบุรี สังกัด
คณะกรรมการส่งเสรมิ การศกึ ษาเอกชน จังหวัดราชบุรี ประกอบดว้ ย

1.บาทหลวงจ่าเนียร จิตเสรีวงศ์ ประธานคณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชน
จังหวดั ราชบรุ ี

2.นางพนั ธป์ ระภา พนู สนิ ศกึ ษานิเทศก์ ส่านักงานศกึ ษาธกิ ารจังหวดั ราชบรุ ี
3.นายชุมพล ค่าเทียน รองผ้อู ่านวยการวิทยาลัยเทคนคิ ราชบุรี
4.นางสาวพยิ ะดา มว่ งอิ่ม นักวชิ การการศกึ ษา สา่ นักงานศกึ ษาธิการจงั หวดั ราชบรุ ี
5.นางสาวสุพิชญ์นนั ทร์ ทมิ พทิ กั ษ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ส่านักงานศึกษาธิการจงั หวัดราชบรุ ี
6.นางสาวอรจริ า สุวรรณมาลี ศึกษานเิ ทศก์ ส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบรุ ี
2. คณะ Supervisor Teams / Coaching Teams มีภาวะผู้นา่ มีความสามารถเฉพาะตัว และ
มีประสบการณท์ ีห่ ลากหลาย
3. คณะกรรมการ Coaching Teams มีกระบวนการ Coaching & Mentoring อย่างเป็นระบบ
สอดคลอ้ งกับบริบทของโรงเรียน
4. สถานศึกษากลุ่มเป้าหมาย ให้ความร่วมมือ ไว้วางใจ เชื่อมั่นการท่างานของ Coaching
Teams ในการยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาให้สงู ขึน้
5. ภาวะผู้น่าทางวชิ าการของผบู้ ริหารสถานศกึ ษา
6. การบรหิ ารจัดการและการจัดการเรียนรู้แบบมีสว่ นรว่ มของผ้มู สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งทุกฝา่ ย
7. ครูผู้สอนรู้จักนักเรียนเป็นรายบุคคล สามารถช่วยส่งเสริม พัฒนา ป้องกัน แก้ไขผู้เรียนให้
พฒั นาได้ตามศักยภาพ
8. การเอาใจใส่ในเร่อื งการเรียนของนักเรียน
9. มีการใช้กระบวนการ PLC สร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ประสบการณ์การบริหารจัดการงาน และการด่าเนินงานการ Coaching & Mentoring เติมเต็มในส่วนที่
ขาด ส่ิงที่ต้องการต่อยอดและการพัฒนา
10. หลังการโค้ชจะมีการสรุปและสะท้อนบทเรียน AAR (After Action Review) ทุกครั้ง เพ่ือ
คน้ พบคณุ ภาพใหม่ในการยกระดบั คุณภาพการศกึ ษา
จะเห็นได้ว่าเครือข่ายความร่วมมือท่ีเข้าร่วมโครงการ Coaching Teams เพ่ือยกระดับคุณภาพ
การศึกษา ระดับจังหวัด ของส่านักงานศึกษาธิการจังหวัดราชบุรี มาจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการจัด
การศึกษามีความร่วมมือร่วมใจในการร่วมพัฒนาคุณภาพการศึกษาของจังหวัด ท่ีมีความหลากหลาย และมี
ประสิทธิภาพ ซ่ึงคณะกรรมการ Coaching Team เพ่ือยกระดับคณุ ภาพการศึกษาแต่ละทีมมีประสบการณ์
มีความรู้ ความช่านาญ ในด้านการนิเทศ ติดตาม ฯ โดยใช้หลักการ ทฤษฎีต่างๆ ท่ีส่าคัญมาใช้ในการสร้าง
แนวทางการนิเทศ ติดตามฯ ท้ังยังมีเทคนิควิธีการท่ีมีความแตกต่าง ตามบริบทพ้ืนท่ี มุ่งไปที่เป้าหมาย
เดยี วกนั คือรว่ มกนั พฒั นาคุณภาพการศกึ ษา

36

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจดั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน
ที่มคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพนื้ ทโ่ี รงเรยี นกลมุ่ เปา้ หมาย : จงั หวัดราชบุรี

ส่วนที่ 3

ปญั หาอปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ และสงิ่ ท่ีจะดาเนินการในระยะตอ่ ไป

ปัญหาอุปสรรค

1. ความคาดเคลื่อนของก่าหนดการในการนิเทศ เน่ืองจาก Coaching Team สังกัดอยู่ใน
หนว่ ยงานท่ีแตกต่างกันท่าใหแ้ ผนการนเิ ทศท่กี ่าหนดไวม้ ีการเปลีย่ นแปลง

2. ระยะเวลาในการด่าเนินงานอาจไม่เหมาะสมกับระยะเวลาในการประเมินผลเพื่อให้เป็นไปตาม
วตั ถปุ ระสงค์ท่ีแทจ้ ริง เน่อื งจากโครงการด่าเนนิ งานเสรจ็ สิ้นก่อนวงรอบในการประเมินผล O-NET

3. ความรว่ มมือระดบั หน่วยงานส่านกั งานเขตพ้ืนท่ี
4. ขอ้ จ่ากัดในการใชง้ บประมาณ

ข้อเสนอแนะ

1. ควรมีการวางแผนการด่าเนินงานและด่าเนินการอย่างต่อเนื่อง ควรมีการด่าเนินการอย่าง
ต่อเนื่อง เน่ืองจากการยกระดบั คณุ ภาพการศกึ ษาไมส่ ามารถด่าเนินการไดใ้ นชว่ งเวลาสน้ั ๆ

2. ควรมีการจัดสรรงบประมาณให้กับสถานศึกษาที่เข้าร่วมโครงการ เพื่อกระตุ้นให้เกิดความ
เปลย่ี นแปลงอยา่ งต่อเนือ่ ง

3. ผู้บริหารระดับหน่วยงานควรมีการก่ากับ ติดตามผู้รับผิดชอบการด่าเนินงานตามโครงการฯ
ร่วมกบั หนว่ ยงานอื่น

4. ควรมีการขยายผลแนวทางการนเิ ทศ ติดตามฯ ไปยังสถานศกึ ษาอื่นเพ่ิมขึน้
5. ผู้บริหารควรใชว้ ธิ ีการ Coaching ในการนเิ ทศภายใน

สิง่ ที่จะดาเนนิ การในระยะตอ่ ไป
1. สนบั สนุนให้มีการด่าเนินงานอย่างตอ่ เนื่องกับโรงเรียนกลุม่ เป้าหมาย
2. ในปีงบประมาณต่อไป (2563) ควรสนับสนุนงบประมาณในโรงเรียนกลุ่มเป้าหมายที่มี

ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี นสูงขนึ้
3. เผยแพร่วธิ ีการทด่ี ขี องแต่ละหน่วยงาน
4. เผยแพร่แนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมินผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัด

ราชบุรี ไปยงั หน่วยงานทางการศกึ ษาต่างๆ

37

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจดั การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
ท่มี คี วามสอดคล้องเหมาะสมตามบริบทพื้นทโี่ รงเรียนกลุ่มเปา้ หมาย : จงั หวัดราชบุรี

บรรณานุกรม

สา่ นักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) (2560). แผนพฒั นาเศรษฐกจิ และ
สงั คมแหง่ ชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ.2560-2564. ส่านกั งาน.

สา่ นกั งานเลขาธิการสภาการศึกษา (2560.) แผนการศึกษาแห่งชาตพิ .ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๗๙. พิมพ์ที่ บริษัท
พริกหวานกราฟฟิค จา่ กัด.

38

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน
ท่ีมคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพ้นื ทโี่ รงเรียนกลมุ่ เปา้ หมาย : จังหวดั ราชบรุ ี

ภาคผนวก

 Supervisor Teams/Coaching Teams ส่านกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวดั ราชบุรี
 แนวทางการนิเทศ ตดิ ตามและประเมินผลการบรหิ ารการจัดการศึกษาขนั้

พ้ืนฐานทสี่ อดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทของพน้ื ท่ี จังหวัดราชบุรี ทีพ่ ัฒนาข้นึ
 ค่าส่งั จังหวัดราชบุรี ที่ 513/2562 เรอ่ื ง แตง่ ตั้งคณะกรรมการดา่ เนินงาน

โครงการ Coaching Teams เพ่อื ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษา ระดับจงั หวัด
 ประกาศสา่ นักงานศกึ ษาธิการจังหวดั ราชบรุ ี เรอื่ ง แต่งต้งั คณะกรรมการนเิ ทศ

ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารการจดั การศกึ ษาข้นั พ้ืนฐาน ระดับจงั หวดั
 ภาพกิจกรรม

39

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจดั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน
ทีม่ ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพ้ืนทโี่ รงเรียนกลุ่มเป้าหมาย : จังหวดั ราชบุรี

Supervisor Teams/Coaching Teams สานกั งานศกึ ษาธิการจงั หวัดราชบรุ ี
ดร.วินัย ตะปะสา
ศึกษาธิการจังหวัดราชบรุ ี

ว่าทีร่ อ้ ยตรสี มชาย งามสขุ สวสั ดิ์
รองศึกษาธกิ ารจงั หวดั ราชบุรี

Supervisor Teams ระดับจังหวัด จากหน่วยงานสานักงานศึกษาธกิ ารภาค 3
นางกนิษฐา เตมิ ธนะศกั ดิ์
ผู้อ่านวยการกลุ่มพัฒนาการศึกษา ศธภ.3

นางชวนพศิ เนยี มรกั ษา
นกั วชิ าการศึกษา ชา่ นาญการพิเศษ ศธภ.3

นางสาวพชั ณี เพชรอาวธุ
นักวิชาการศึกษา ชา่ นาญการ ศธภ.3

Coaching Teams บริบทพ้ืนที่สงั กัดสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 8

ดร.วฒั นา ตรงเท่ียง นางสุภร เสาวัง นางสาวพจนพร รุ่งทอง ดร.ศิรวิ รรณ ลก้ี ิจเจรญิ ผล นางจงกลนี หว่ งทอง นางสาวอญั ชลี ภวู พานิช

ศกึ ษานิเทศก์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศึกษานเิ ทศก์ ศึกษานิเทศก์ ศกึ ษานิเทศก์ ครู กศน.ราชบรุ ี

สพม.8 สพม.8 สพม.8 ศธจ.ราชบรุ ี ศธจ.ราชบุรี

40

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน

ทม่ี ีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพื้นทโี่ รงเรยี นกล่มุ เป้าหมาย : จังหวัดราชบรุ ี

Coaching Teams บริบทพื้นท่ีสังกดั สานกั งานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษา ราชบรุ ี เขต 1

นางชอ่ ทพิ ย์ อนิ แสน อาจารย์กาญพิชชา กชกานน นางเชาวนยี ์ สายสดุ ใจ นางอา่ ไพ มาศศริ ิทรัพย์ นางสาวมยุรี สทิ ธกิ าร นายนิรทุ ธ์ิ อทุ าทิพย์
ศกึ ษานเิ ทศก์ ศึกษานเิ ทศก์ ศึกษานิเทศก์
รองคณะบดีคณะครุ ศธจ.ราชบรุ ี ครู กศน.ราชบุรี ศกึ ษานเิ ทศก์ ศธจ.
สพป.ราชบุรี เขต 1 ศาสตร์ สพป.ราชบรุ ี เขต 1
ราชบุรี
มรภ.หมู่บ้านจอมบงึ

Coaching Teams บริบทพ้ืนทีส่ งั กัดสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษา ราชบุรี เขต 2

นายศุภกร มรกต อาจารย์ ดร.เกรียงวธุ นลี ะคปุ ต์ นางสาวกฤตยา จ่าปาจันทร์ นางสาววงศ์จินดา ฤกษเ์ มอื ง นางกลุ จริ า ชวะณชิ ย์ นายคมกฤษณ์ สุขะวิพัฒน์

ศกึ ษานเิ ทศก์ คณะบดคี ณะครศุ าสตร์ ศึกษานิเทศก์ ศกึ ษานเิ ทศก์ ศกึ ษานิเทศก์ ศกึ ษานเิ ทศก์
สพป.ราชบรุ ี เขต 2 มรภ.หมูบ่ ้านจอมบงึ สพป.ราชบรุ ี เขต 2 ศธจ.ราชบรุ ี
ศธจ.ราชบรุ ี ศธจ.ราชบรุ ี

Coaching Teams บรบิ ทพื้นที่สงั กัดองคก์ รปกครองส่วนท้องถ่นิ จงั หวัดราชบรุ ี

นายประเทือง ทรัพยเ์ กดิ นายสุกรรณ ทองแบบ นางทองเจอื เอ่ียมธนานรุ กั ษ์ นางสาวศศกิ านต์ แสวงลาภ นางสาวกนกพรรณ งามขา่ นายชัยวฒั น์ พูลสวสั ดิ์
ศึกษานิเทศก์
ผู้แทน กศจ.ราชบรุ ี นกั วชิ าการศึกษา ศึกษานเิ ทศก์ นกั วชิ าการศึกษา ครู วทิ ยาลัยเทคนคิ
เทศบาลเมืองราชบุรี ศธจ.ราชบรุ ี ศธจ.ราชบรุ ี เทศบาลเมอื งบา้ นโป่ง ราชบุรี

Coaching Teams บรบิ ทพื้นทส่ี งั กัดการสง่ เสริมการศกึ ษาเอกชน จงั หวัดราชบรุ ี

บาทหลวงจ่าเนียร จิตเสรวี งศ์ นางสาวพยิ ะดา มว่ งอม่ิ นายชุมพล ค่าเทียน นางพันธป์ ระภา พนู สิน นางสาวอรจิรา สุวรรณมาลี นางสาวสุพชิ ญ์นันท์ ทมิ พทิ กั ษ์
ผอ.กลมุ่ ส่งเสริม รอง ผอ.วทิ ยาลัย ศกึ ษานิเทศก์
ประธาน ปส.กช. ราชบรุ ี การศกึ ษาเอกชน ศธจ.ราชบรุ ี ศกึ ษานิเทศก์ ศึกษานิเทศก์ ศธจ.ราชบรุ ี
ศธจ.ราชบรุ ี เทคนคิ ราชบุรี
ศธจ.ราชบรุ ี

41

รายงานผลการพฒั นาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน

ทมี่ คี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบริบทพื้นทโี่ รงเรียนกล่มุ เปา้ หมาย : จังหวดั ราชบรุ ี

แนวทางการนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมินผลการบรหิ ารการจัดการศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
ระดบั จังหวดั ท่ีพฒั นาข้นึ

แนวทางการดา่ เนินงานนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาขัน้ พื้นฐาน เพ่ือ
ยกระดบั คณุ ภาพการศึกษา ท่ีมคี วามสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทของพ้นื ที่ จงั หวดั ราชบุรี โดยใช้รปู แบบ

IPCCR 5-Step Model เป็นแนวทางการนิเทศฯ แบบมสี ่วนร่วม เพื่อใหห้ น่วยงานต้นสังกดั และสถานศึกษา

สามารถนา่ ไปปรบั ใช้ให้สอดคล้อง เหมาะสมกบั บรบิ ทของพืน้ ท่ี ซ่ึงประกอบดว้ ย 5 ขน้ั ตอน ดงั ภาพ

42

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนิเทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบรหิ ารจดั การศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
ที่มีความสอดคลอ้ งเหมาะสมตามบรบิ ทพ้ืนทโี่ รงเรียนกลุ่มเป้าหมาย : จังหวดั ราชบรุ ี

แนวทางการดา่ เนนิ การนเิ ทศ ตดิ ตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน ทม่ี คี วาม
เหมาะสมตามบรบิ ทของพ้ืนท่ี จงั หวัดราชบรุ ี ตามลา่ ดบั วงจร PDCA ซ่งึ จะผา่ นกระบวนการ Coaching

and Mentoring ตามองค์ประกอบของ Coaching Team ในแตล่ ะล่าดับข้ันระหว่างองค์ประกอบ
Coaching Team และ โรงเรียน (School)

Coaching Teams SCHOOL

P

D

C
A

43

รายงานผลการพัฒนาแนวทางการนเิ ทศ ติดตามและประเมนิ ผลการบริหารจัดการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน

ท่มี ีความสอดคล้องเหมาะสมตามบรบิ ทพน้ื ทโี่ รงเรียนกลมุ่ เป้าหมาย : จงั หวดั ราชบรุ ี


Click to View FlipBook Version