The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

d2วิจัยผลแก้ปัญหา (pdf.io)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by chadanit, 2019-10-24 04:22:15

d2วิจัยผลแก้ปัญหา (pdf.io)

d2วิจัยผลแก้ปัญหา (pdf.io)

รายงานวิจั ยในชั้นเรียน

เร่ือง ผลการแก้โจทยป์ ั ญหาคณิ ตศาสตร์ด้วยคั มภีร์ของนั กเรียนชั้น
ประถมศึกษาป่ี ที่4

ความเป็ นมาและความสาำ คั ญของปั ญหา
คณิตศาสตร์เป็นวชิ าท่ีมีความสาำ คัญเป็นอยา่ งยิง่ ในการ

เรียน เป็นวชิ าท่ีทาำ ให้นั กเรียนมีเหตุผล เกิดกระบวนการคดิ แตส่ งิ่ ท่ีปรากฏ
พบวา่ นั กเรียนมีคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ตา่ำ ท่ีสะทอ้ นได้
จากคะแนนสอบ O-net โดยเฉพาะอยา่ งยิง่ การแกโ้ จทยป์ ั ญหา
ตคีณโจิตทศยาป์ ัสญตหร์ซาไ่ึงดอ้อาจยมา่ งาถจาูกกตนอ้ ั กงเดรีัยงนนั นไ้ มจส่ึงเาปม็นารเรถ่ือทงาำ ทค่ีนว่าามสเนขใา้ จใใจนในกโารจพทัฒยป์ นั ญา หา
ความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ั ญหา การเขา้ ใจภาษา ตลอดจนกระบวนการ
คดิ ให้กับนั กเรียน ครูจงึ สนใจวา่ หากครูมีแนวทางในการฝึ กนั กเรียนในการ
แก้โจทยป์ ั ญหาเป็นอยา่ งเป็นขัน้ ตอนยอ่ มทาำ ใหน้ ั กเรียนมีความสามารถใน
การแกโ้ จทยป์ ั ญหาไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
วั ตถุประสงคก์ ารวิจั ย

1. เพ่ือศกึ ษาความสามารถในการแก้โจทยป์ ั ญหาคณิตศาสตร์ดว้ ยคัมภีร์
ของนั กเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาปี ท่ี 4

2. เพ่ือพัฒนาความสามารถในการทาำ งานเป็นทีมของนั กเรียนชัน้ ประถม
ศกึ ษาป่ี ท่ี4

วิธีดาำ เนิ นการวิจั ย
กลุ่มเป้ าหมาย
นั กเรียนชัน้ ประถมศกึ ษาป่ี ท่ี4 โรงเรียนความหวังดีจาำ นวน 20 คน
เครื่ องมื อที่ ใช้ ในการทดลอง
คัมภีร์การแกโ้ จทยป์ ั ญหาคณิตศาสตร์ ซ่ึงประกอบด้วย
ขั้นตอนที่ 1 ทาำ ความเขา้ โจทย(์ นั กเรียนทุกคนวาง

ดินสอ)นั กเรียนอา่ นโจทยป์ ั ญหาลว้ เกบ็ ขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ ง
ขั้นตอนที่ 2 นั กเรียนเลือกกลยุทธท์ ่ีเหมาะสมท่ีจะใชใ้ นการแก้

ปั ญหา กลยุทธป์ ระกอบดว้ ย
- วาดภาพ
- คาดเดาและตรวจสอบ
- เขียนแผนภูมิหรือตาราง
- ทาำ รายการอยา่ งเป็นระบบ
- ใชว้ ธิ ีคิดหาเหตุผลอยา่ งเป็นตรรกะ
- ลองทาำ ยอ้ นกลับ

ขั้นตอนที่ 3 นั กเรียนลงมือแกโ้ จทยป์ ั ญหาตามกลยุทธท์ ่ีเลือก

ขั้นตอนที่ 4 นั กเรียนวเิ คราะหค์ าำ ตอบและอธิบายคาำ ตอบของ
ตนเองร่วมกั บเพ่ือนเพ่ือหาคาำ ตอบท่ีถูกตอ้ ง ( คาำ ตอบของฉั นสมเหตุสม
ผล)

เครื่ องมื อเก็ บรวบรวมข้ อมู ล
1. แบบทดสอบการแก้โจทยป์ ั ญหาคณิตศาสตร์ปรนั ยแบบ 4 ตัว

เลือก จาำ นวน 30 ขอ้
2. แบบประเมนิ ความสามารถในการทาำ งานเป็นทีมแบบมาตราสว่ น

ประมาณคา่ (rating scales) 3 ระดั บโดยประเมิน
พฤติกรรมในประเดน็ ดั งน้ี

- การชว่ ยเพ่ือนในการเรียนรู้( to serve)
- การเรียนรู้ในการฟั งกั น ( to communicate)
- การตัง้ คาำ ถาม( to question)
- การเลือกวธิ ีหาคาำ ตอบ(to search)
- การวเิ คราะหส์ รุปคาำ ตอบ(to construct)

การทดลองใช้นวั ตกรรม
ครูดาำ เนินการใชน้ วัตกรรมดังน้ี

1. ครูแบง่ นั กเรียนเป็นกลุม่ กลุม่ ละ 4 คน
2. ครูทาำ การทดสอบความสามารถแก้โจทยป์ ั ญหาคณิตศาสตร์

กอ่ นเรียนดว้ ยแบบทดสอบ
3. ครูแจกกระดาษแนวทางการแกโ้ จทย์ ปั ญหา(คัมภีร์)โดยให้

นั กเรียนติดไวท้ ่ีโตะ๊ และให้นั กเรียนจาำ ขัน้ ตอนการแกโ้ จทย์
ปั ญหา
4. ครูกาำ หนดโจทยป์ ั ญหาคณิตศาสตร์และฝึ กใหน้ ั กเรียนแก้
ปั ญหาดว้ ยกลวธิ ีตา่ งๆโดยเริ่มจากโจทยง์ า่ ยๆกอ่ น
ตัวอยา่ งเชน่ ครูกาำ หนดโจทยป์ ั ญหาและให้นั กเรียนแกโ้ จทย์
โดยครูใชค้ าำ ถามในการฝึ กนั กเรียน (coaching)ใหค้ ิด
ตามขัน้ ตอนในคัมภีร์
ขั้นตอนการฝึ ก
1. ให้นั กเรียนทุกคนวางดินสอ
2. ครูตัง้ คาำ ถามกับนั กเรียน

ครู : อะไรคือขัน้ ตอนแรกในการแก้โจทยป์ ั ญหา
นั กเรียน : ตอบคาำ ถาม วเิ คราะหค์ าำ สาำ คัญของโจทย์
ครู : ขั้นที่ 2 เราจะทาำ อย่างไร
นั กเรียน : เลือกกลยุทธท์ ่ีเหมาะสม
ครู : ขั้นตอนที่ 3 คืออะไร
นั กเรียน : หยบิ ดินสอ แลว้ แก้โจทย์
ครู : ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์

นั กเรียน : นั กเรียนวเิ คราะห์ และแลกเปล่ียนความคิด
เหน็ ชว่ ยเหลือกันในการอธิบายเพ่ือให้ไดค้ าำ ตอบท่ีถูก
ตอ้ ง
5. ครูทาำ การทดสอบความสามารถแก้โจทยป์ ั ญหาคณิตศาสตร์
หลังเรียนของนั กเรียน
6. ครูประเมินความสามารถการทาำ งานเป็นทีมของนั กรียน
ระยะเวลาในการทดลอง มถิ ุนายน 2556 - กรกฎาคม 2556

การวิเคราะห์ข้อมูล
1. วเิ คราะหค์ วามสามารถแก้โจทยป์ ำ ญหาคณิตศาสตร์ โดยการหาคา่
ร้อยละ
2. วเิ คราะหค์ วามสามารถการทาำ งานเป็นทีมโดยการหาคา่ เฉล่ียและ
สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐานแลว้ นำาคา่ เฉล่ียมาแปลความหมายดั งน้ี
ค่าเฉล่ีย การแปลความหมาย

2.50- 3.00 มี

พฤตกิ รรมอยูใ่ นระดับมาก
1.50 -2.49 มี

พฤติกรรมอยูใ่ นระดับปานกลาง
1.00 – 1.49 มี

พฤติกรรมอยูใ่ นระดับน้อย

ผลการวิจั ย
1. ผลการฝึ กการแก้โจทยป์ ั ญหาคณิ ตศาสตร์โดยใช้คั มภีร์
เพื่อพั ฒนาความสามารถของนั กเรียน
1.1 ตั วอย่างการแก้โจทยป์ ั ญหาคณิ ตศาสตร์ตามขั้น
ตอนและการใช้คาำ ถาม(โดยวิธีการฝึ ก: coaching)
มาลีทาำ ขนมชัน้ เป็นรูปส่เี หล่ียมผืนผา้ ใหเ้ พ่ือนในวันเกิด เธอ
ปั กเทียนรอบขนมชัน้ หา่ งกั น 2 น้ิว ดา้ นยาวมีเทียน 6 เลม่
ดา้ นกวา้ งมีเทียน 5 เลม่ ขนมชัน้ มีความยาวเทา่ ไร กวา้ ง
เทา่ ไร มีเทียนปั กอยูบ่ นขนมชัน้ ทัง้ หมดก่ีเลม่
ขั้นตอนการฝึ ก
1. ใหน้ ั กเรียนทุกคนวางดินสอ
2. ครูตัง้ คาำ ถามกั บนั กเรียน( การฝึ กนั กเรียนในการทาำ ความ
เขา้ ใจโจทยโ์ ดยใชค้ าำ ถาม)
ครู : อะไรคือขัน้ ตอนแรกในการโจทยป์ ั ญหา
นั กเรียน : เขา้ ใจโจทย์
ครู : เราจะเขา้ ใจได้อยางไร
ฟ้ า : เกบ็ ขอ้ มูลท่ีเก่ียวขอ้ ง
ครู : เก่ียวขอ้ งหมายถึงอะไร

นั กเรียน : สงิ่ ท่ีสาำ คัญ
ครู : อะไรคือขอ้ มูล
มล : สงิ่ ท่ีโจทยบ์ อก
ครู : เวลาอา่ นโจทยจ์ ะมีขอ้ มูลจะเก่ียวขอ้ งทัง้ หมด
หรือไม่
นั กเรียน : ไมท่ ัง้ หมด
ครู : ถูกตอ้ ง ไหนใครลองบอกขอ้ มูลใดเก่ียวขอ้ ง
บา้ ง
น้อย : ขนมชัน้ เป็นส่เี หล่ียมผืนผา้
นิด : มีเทียนปั กอยูบ่ นด้านยาว
ครู : แลว้ มีดา้ นยาวอยูก่ ่ีดา้ น
นั กเรียน : 2 ด้าน
ติว๋ : มีเทียน 5 เลม่ อยูบ่ นดา้ นกวา้ ง
ครู : มีอะไรอีกไหม ปั กเทียนหา่ งกั นเทา่ ไร
ต้อย : 2 น้ิว
ครู : ครูวา่ เราเขา้ ใจโจทยแ์ ลว้ นะ ใครบอกไดบ้ า้ ง
วา่ ขั้นที่ 2 เราจะทาำ อย่างไร
นั กเรียน : เลือกกลยุทธใ์ นการแกป้ ั ญหา
ครู : ขอบใจท่ีนั กเรียนยังจาำ ได้ นั กเรียนคิดวา่ ควร
จะใชก้ ลยุทธใ์ ดจึงจะเหมาะสม
แก้ว : วาดภาพ
ครู : ดีมาก ทาำ ไมตอ้ งใชก้ ารวาดภาพ
น้ อย : เพราะจะทาำ ใหเ้ หน็ ภาพการปั กเทียนท่ี
ชั ดเจน
ครู : เราควรพสิ ูจน์ ขั้นตอนที่ 3 คืออะไร
นั กเรียน : หยิบดินสอ แลว้ แก้โจทยโ์ ดยการวาดภาพ
ครู : แลว้ กเ็ สร็จใชห่ รือไม่
นั กเรียน : ไมใ่ ช่ เราตอ้ งวเิ คราะหด์ ้วย( ขั้นตอนที่ 4
การวิเคราะห์)
ครู : เอาละลงมือทาำ
( นั กเรียนแลกเปล่ียนเรียนรู้คาำ ตอบอธิบายสรุปคาำ ตอบ
เพ่ือหาคาำ ตอบท่ีถูกตอ้ ง)
ตอ้ ย : เราคดิ วา่ คาำ ตอบคือ 22 เลม่ เพราะ ด้านยาว
เทา่ กับ 6* 2 =12 ดา้ นกวา้ งเทา่ กับ 5*2 = 10
รวมแลว้ เทา่ กับ 22
มล : เราวา่ มาลองวาดภาพประกอบในการหาคาำ ตอบดี
กวา่

นิ ด : เราลองวาดภาพแลว้ แตไ่ มร่ ู้วา่ จะวาดอยา่ งไรให้
หา่ งกัน 2 น้ิว
ติว๋ : เราวาดภาพเสร็จ ชว่ ยการดูหน่อยวา่ ถูกตอ้ งหรือ
ไม่
มล : ถูกแลว้ 1,2,3…18 มี 18 เลม่
ต้อย : เรารู้แลว้ การคิดแบบเราไมถ่ ูกตอ้ ง เทียนท่ีอยู่
ตรงมุมของดา้ นกวา้ งและด้านยาวคือเลม่ เดียวกั น
ครู : เย่ียมมากเลย ท่ีนั กเรียนชว่ ยกันหาคาำ ตอบ

ผลงานของนั กเรียน
1). รูปภาพที่นั กเรียนวาดเก่ียวกั บขนมชั้นที่ปั ก
เที ยน
2). คาำ ตอบเท่ากั บ 18 แท่ง
1.2 ผลการเปรียบเทียบคะแนนความสามารถใน
การแก้โจทยป์ ั ญหาของนั กเรียนก่อนและหลั งเรียนด้วยคั มภีร์

ตาราง 1 แสดงการเปรียบเทียบคะแนนความสามารถแก้โจทย์
ปั ญหาคณิ ตศาสตร์ก่อนและหลั งการฝึ กโดยใช้คั มภีร์

นั กเรียน คะแนนก่อน คะแนนหลั ง ผลต่างของ
เรี ยน เรี ยน คะแนน
1 12 14 2
2 13 13 0
3 9 15 6
4 8 12 4
5 10 16 6
6 11 9 -2
7 12 17 5
8 10 15 5
9 9 17 8
10 11 14 3
11 9 9 0
12 10 15 5
13 10 17 7
14 12 18 6
15 10 17 7
16 9 15 8
17 10 15 5
18 12 10 -2
19 10 17 7
20 11 13 2

ตาราง 2 แสดงความถ่ีและร้อยละของนั กเรียนที่มีคะแนนความ
สามารถแก้โจทยป์ ั ญหาคณิ ตศาสตร์ที่เปล่ียนแปลง
การเปล่ียนแปลง จาำ นวน ร้อยละ

ตา่ำ ลง 2 10

เทา่ เดิม 2 10
สูงข้ึน 16 80

รวม 20 100

จากตาราง 1 และตาราง 2 พบวา่ นั กเรียนมีความสามารถแก้โจทย์
ปั ญหาคณิตศาสตร์สูงข้ึน
ร้อยละ 80 มีความสามารถเทา่ เดิมและตา่ำ กวา่ ร้อยละ 10

2.ผลการประเมนิ ความสามารถในการทาำ งานเป็นทีมของนั กเรียนชัน้
ประถมศกึ ษาป่ี ท่ี4

ตาราง 3 แสดงความสามารถในการทาำ งานเป็ นทีมของนั กเรียน
ภายหลั งเรียนด้วยการฝึ กโดยใช้คั มภีร์

พฤตกิ รรมการ x SD ระดั บ
ทาำ งาน พฤติกรรม
การวเิ คราะหส์ รุป 2.32 .56 ปานกลาง
คาำ ตอบ
การตัง้ คาำ ถาม 2.15 .67 ปานกลาง
การเรียนรู้ในการ 2.62 .45 มาก
ฟั งกั น
การชว่ ยเพ่ือนใน 2.50 .73 มาก
การเรียนรู้

จากตาราง 3 พบวา่ พฤติกรรมในการเรียนรู้ในการฟั งกั น การชว่ ย
เพ่ือนในการเรียนรู้มีพฤตกิ รรมอยูใ่ นระดั บมาก สว่ นพฤตกิ รรมการแสดง
ความคดิ เหน็ และการตัง้ คาำ ถามมีพฤติกรรมอยูใ่ นระดับปานกลาง
สรุปผลการวิจั ย
1. นั กเรียนท่ีไดร้ ั บการฝึ กตามแนวทางการโจทยป์ ั ญหา

คณิตศาสตร์(คัมภีร์)พบวา่ นั กเรียนร้อยละ 80 มีคะแนนความสามารถ
แก้โจทยป์ ั ญหาคณิตศาสตร์เพิ่มข้ึน
2. นั กเรียนมีพฤตกิ รรมการทาำ งานการเรียนรู้ในการฟั งกันและการชว่ ย
เพ่ือนในการเรียนรู้อยูใ่ นระดับมาก สว่ นพฤติกรรมการแสดงความคิด
เหน็ และการตัง้ คาำ ถามอยูใ่ นระดับปานกลาง

การสะท้อนผลการวิจั ย

การท่ีนั กเรียนมีความสามารถในการแกโ้ จทยป์ ั ญหาโดยมีคะแนน
เพมิ่ ข้ึนเป็นผลจากครูมีขัน้ ตอนท่ีชัดเจนในการฝึ กนั กเรียน มีการฝึ ก
นั กเรียนโดยใชค้ าำ ถามเพ่ือให้นั กเรียนไดค้ ิด วเิ คราะหท์ าำ ความเขา้ ใจใน
โจทยป์ ำ ญหาใน ขั้นตอนที่ 1 ( นั กเรียนทุกคนวางดินสอ)เกบ็ ขอ้ มูลท่ี
เก่ียวขอ้ ง เลือกกลยุทธท์ ่ีเหมาะสมในการแก้ปั ญหาขั้นตอนที่ 2 ลงมือแก้
ปั ญหาในขั้นตอนที่ 3 และวเิ คราะหค์ าำ ตอบในขั้นตอนที่ 4

จากการสังเกตพฤตกิ รรมในการทาำ งานเป็นกลุม่ พบวา่ นอกจากจะ
ไดค้ าำ ตอบแลว้ สงิ่ ท่ีไดม้ ากกวา่ นั น้ คือนั กเรียนไดม้ ีการแลกเปล่ียนความคิด
เหน็ เกิดความสัมพันธภาพท่ีดีตอ่ กั น เรียนรู้ท่ีจะฟั งกั นและกัน นั กเรียน
เรียนรู้ท่ีจะคดิ ตา่ งโดยไมต่ อ้ งบาดหมางกัน เม่ือนั กเรียนได้คาำ ตอบตา่ งกัน ก็
ไมท่ ะเลาะกัน นั กเรียนจะไดร้ ั บโอกาสอธิบายวธิ ีคิดของตัวเองภายในกลุม่
การไดเ้ หน็ นั กเรียนจาำ นวนมากพบความผดิ พลาดของตนเองจากการฟั งคาำ
อธิบายท่ีไมถ่ ูกตอ้ งของตัวเองเป็นเร่ืองท่ีน่ายินดี

ดั งนั้ นจากการทดลองครั้งนี้ ทาำ ให้เห็นว่าครูเพียง
เปล่ียนแปลงวิธีการจั ดการเรียนรู้โดยทาำ หน้ าที่ในการฝึ กและเป็ นผู้
ช้ีแนะนั กเรียนก็สามารถที่จะเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ


Click to View FlipBook Version