The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2566

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akina.bj24, 2024-01-03 01:11:01

AnnualReport 2023

รายงานประจำปี 2566

ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ค ำน ำ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 กรมส่งเสริมกำรเกษตร ได้จัดท ำแผนปฏิบัติรำชกำรประจ ำปี 2566 ของกรม ส่งเสริมกำรเกษตร ให้สอดคล้องกับแผนปฏิบัติรำชกำรของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2566 - 2570) ตำมแนวทำงกำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนเพื่อบรรลุเป้ำหมำยยุทธศำสตร์ชำติ โดยเชื่อมโยงกับแผนในแต่ ละระดับ รวมทั้งน ำนโยบำยส ำคัญ และสถำนกำรณ์สภำพแวดล้อมต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง กับบริบทของกระทรวง เกษตรและสหกรณ์ มำก ำหนดเป้ำหมำย ตัวชี้วัด และแนวทำงกำรด ำเนินงำนในกำร ขับเคลื่อนภำรกิจให้ได้ผล ลัพธ์ตำมที่ก ำหนด ตลอดจนพิจำรณำควำมต่อเนื่องในกำรบริหำรรำชกำรแผ่นดิน ควบคู่กับกำรขับเคลื่อน นโยบำยของรัฐบำล เพื่อให้เกิดผลอย่ำงเป็นรูปธรรม นอกจำกนี้ ยังให้ควำมส ำคัญกับกำรบูรณำกำรกำรท ำงำนกับทุกภำคส่วนและกำรเกษตรที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกษตรกรได้รับผลประโยชน์สูงสุด จำกแนวทำงกำรด ำเนินงำนของกรมส่งเสริมกำรเกษตร ดังกล่ำว ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตร ที่ 1 จังหวัดชัยนำท ได้น ำแนวคิดดังกล่ำว มำสู่กำรปฏิบัติในระดับพื้นที่ 9 จังหวัดภำคกลำง ในลักษณะ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมท ำ ร่วมแก้ไขปัญหำ และร่วมรับประโยชน์ เพื่อให้กำรส่งเสริมกำรเกษตรมีประสิทธิภำพสูงสุด และเกิดประโยชน์กับพี่น้องเกษตรกรอย่ำงแท้จริง ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำทหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ รำยงำนฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์กับเจ้ำหน้ำที่ เกษตร และผู้สนใจในกำรด ำเนินงำนส่งเสริมกำรเกษตรในพื้นที่ภำคกลำง ต่อไป ธันวำคม 2566


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท สำรบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลภำพรวมของหน่วยงำน ๏ ข้อมูลภาพรวมหน่วยงาน 1 ๏ ข้อมูลทั่วไป 3 ๏ งบประมาณรายจ่าย 4 ๏ โครงสร้างหน่วยงาน 5 ๏ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ 6 ๏ ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 7 ส่วนที่ 2 ผลกำรปฏิบัติรำชกำร ๏ โครงการส่งเสริมการเกษตรประจ าปีงบประมาณ 2566 13 งานตามบทบาทภารกิจ/งานตามนโยบายภาครัฐ และอื่นๆ ๏ การด าเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการ 62 ๏ กิจกรรมจิตอาสาพระราชทาน 99 ๏ คณะผู้จัดท า 101 หน้า


ส่วนที่ 1 ข้อมูลภาพรวมของหน่วยงาน 1


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ข้อมูลภาพรวมหน่วยงาน 2


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้งและอาณาเขต ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 4 ต ำบลบำงหลวง อ ำเภอสรรพยำ จังหวัดชัยนำท 17150 มีพื้นที่ที่ตั้งส ำนักงำนโดยรวม ประมำณ 30 ไร่ มีจังหวัดในควำมรับผิดชอบในเขตพื้นที่ ภำคกลำง จ ำนวน ๙ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนำท สิงห์บุรี อ่ำงทอง พระนครศรีอยุธยำ ปทุมธำนี นนทบุรี ลพบุรี สระบุรี และกรุงเทพมหำนคร มีส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอ จ ำนวน 74 อ ำเภอ และส ำนักงำนเกษตรพื้นที่ ในกรุงเทพมหำนคร 4แห่ง มีพื้นที่ทั้งหมด 12.69ล้ำนไร่ พื้นที่กำรเกษตร จ ำนวน 7.625 ล้ำนไร่ โดยมีอาณาเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดนครสวรรค์ และ บำงส่วนของจังหวัดอุทัยธำนี ทิศใต้ ติดต่อ จังหวัดสมุทรปรำกำร ทิศตะวันออก ติดต่อ จังหวัดชัยภูมิ นครรำชสีมำ นครนำยก และจังหวัดฉะเชิงเทรำ ทิศตะวันตก ติดต่อ จังหวัดสมุทรสำคร นครปฐม สุพรรณบุรี และบำงส่วนของจังหวัด อุทัยธำนี 3


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท งบประมาณรายจ่าย ผลการใช้จ่ายเงินงบประมาณรายจ่าย ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท งบประมาณ/โครงการ/ กิจกรรม ได้รับ เบิกจ่าย คงเหลือ (บาท) (บาท) ร้อยละ (บาท) ร้อย ละ ภาพรวม 5,834,580.50 5,793,584.41 99.30 40,996.09 0.70 1. งบบุคลากร 970,760.00 970,760.00 100.00 0.00 0.00 1. งบด าเนินงาน (รายจ่ายประจ า) 1,677,623.00 1,664,177.91 99.20 13,445.09 0.80 1. โครงการตามตัวชี้วัด 2,816,497.50 2,788,946.50 99.02 27,551.00 0.98 1. งบลงทุน 369,700.00 369,700.00 100.00 0.00 0.00 4


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงสร้างหน่วยงาน / ผู้บริหาร 5


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / ภารกิจ วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงานที่มีความพร้อมในการให้บริการวิชาการ มุ่งมั่นพัฒนาเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรสู่ SMART OFFICER และเกษตรกรผู้น าสู่ SMART FARMER พันธกิจ 1. วำงแผนและขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ส่งเสริมกำรเกษตรระดับเขต 2. ศึกษำและพัฒนำงำนส่งเสริมกำรเกษตรและเทคโนโลยีที่เหมำะสม 3. บริกำรวิชำกำร และเป็นศูนย์กลำงข้อมูลสำรสนเทศด้ำนส่งเสริมกำรเกษตรระดับเขต 4. พัฒนำบุคลำกรสู่ Smart Officer และเกษตรกรผู้น ำสู่ Smart Farmer 5. พัฒนำเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และวิสำหกิจชุมชน ซึ่งเป็นเครือข่ำยกำรท ำงำนในพื้นที่ให้มีควำมเข้มแข็ง 6. ประสำนกำรตรวจรำชกำร ติดตำม นิเทศ และประเมินผล งำนส่งเสริมกำรเกษตร 1. ศึกษำ วิเครำะห์ และวิจัยเพื่อพัฒนำงำนส่งเสริมกำรเกษตร เทคโนโลยีและระบบกำรผลิตที่เหมำะสมกับ พื้นที่ 2. ฝึกอบรมและถ่ำยทอดเทคโนโลยีด้ำนกำรเกษตรแก่เจ้ำหน้ำที่และเกษตรกร 3. ส่งเสริม ประสำนและสนับสนุนกำรด ำเนินงำนส่งเสริมกำรเกษตรตำมโครงกำรอันเนื่องมำจำก พระรำชด ำริและในเขตพื้นที่พิเศษ 4. ควบคุม ก ำกับ สนับสนุนกำรด ำเนินงำนของศูนย์ปฏิบัติกำรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 5. เป็นศูนย์กลำงสนับสนุนทำงวิชำกำรด้ำนกำรผลิตและจัดกำรผลผลิต กำรพัฒนำคุณภำพสินค้ำเกษตร องค์กรเกษตรกรและวิสำหกิจชุมชนแก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัด และประสำนวิชำกำรกับหน่วยงำนวิชำกำร ภำครัฐ เอกชน และสถำบันกำรศึกษำ 6. ศึกษำ วำงแผน และติดตำมประเมินผลกำรด ำเนินงำนส่งเสริมกำรเกษตร และประสำนกำรตรวจรำชกำร ในเขตพื้นที่ 7. ให้ค ำปรึกษำและประสำนงำนแก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดในกำรจัดท ำแผนยุทธศำสตร์ แผนกำร ปฏิบัติงำน และบูรณำกำรแผนด้ำนกำรส่งเสริมกำรเกษตรระดับ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด 8. ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมำย ภารกิจ 6


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ ฝ่ายบริหารทั่วไป มีหน้ำที่ 1) ปฏิบัติงำนด้ำนงำนธุรกำร งำนสำรบรรณ งำนกำรเงินบัญชี และพัสดุงำนพิมพ์และแจกจ่ำยเอกสำร และ กำรติดต่อประสำนงำนกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 2) ด ำเนินกำรเกี่ยวกับงำนบริหำรงำนบุคคล และงำนสวัสดิกำรต่ำง ๆ 3) ด ำเนินกำรเกี่ยวกับกำรประชุมของหน่วยงำน 4) บริหำรจัดกำรงบประมำณประจ ำปีของหน่วยงำน และควบคุมกำรใช้จ่ำยเงินงบประมำณ 5) งำนดูแลอำคำรสถำนที่และยำนพำหนะ 6) ปฏิบัติงำนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือตำมที่ได้รับมอบหมำย กลุ่มพัฒนาบุคลากร มีหน้ำที่ 1) ศึกษำ วิเครำะห์ วำงแผนและด ำเนินกำรกำรพัฒนำบุคลำกรในด้ำนวิชำกำรและคุณธรรม จริยธรรม ของ บุคลำกรในเขตรับผิดชอบ 2) ศึกษำ วิเครำะห์ พัฒนำเทคนิค พัฒนำหลักสูตร และวิธีกำรจัดท ำหลักสูตรกำรฝึกอบรมให้สอดคล้องกับ บริบทและควำมต้องกำรของบุคคลเป้ำหมำย 3) ด ำเนินกำรจัดอบรมและถ่ำยทอดควำมรู้แก่เจ้ำหน้ำที่ ระดับจังหวัด ระดับอ ำเภอ รวมทั้งเกษตรกรผู้น ำ และสถำบันเกษตรกร 4) ประสำนงำนถ่ำยทอดควำมรู้ให้ค ำปรึกษำแนะน ำ และร่วมแก้ไขปัญหำข้อขัดข้องในกำรปฏิบัติงำนด้ำน กำรพัฒนำบุคลำกร ให้แก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัด ศูนย์ปฏิบัติกำรและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 5) ติดตำม นิเทศงำน และประเมินผลกำรด ำเนินงำนกำรพัฒนำบุคลำกร 6) ปฏิบัติหน้ำที่อื่น ๆ ตำมที่ได้รับมอบหมำย 7


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ มีหน้าที่ 1) ศึกษา วิเคราะห์การจัดท ายุทธศาสตร์การส่งเสริมการเกษตรระดับเขต ด าเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของ หน่วยงานทั้งในระดับเขตและกลุ่มจังหวัด 2) ศึกษา วิเคราะห์และจัดท าข้อมูลสารสนเทศ ภูมิสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนงานส่งเสริมการเกษตรของ ส านักงานเกษตรจังหวัด และศูนย์ปฏิบัติการ 3) ประสานงานวิจัยและวิชาการกับหน่วยงานวิชาการภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาเพื่อสนับสนุนงาน ส่งเสริมการเกษตรในเขตรับผิดชอบ 4) ประสานการตรวจราชการ การติดตาม นิเทศ และประเมินผล และการด าเนินงานส่งเสริมการเกษตร ในเขตรับผิดชอบ 5) การบริหารแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานและการรายงานผลการปฏิบัติราชการ 6) ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร การศึกษาวิเคราะห์ วิจัย และให้ค าปรึกษา แก่ส านักงานเกษตรจังหวัด ศูนย์ปฏิบัติการ เพื่อจัดท าแผนยุทธศาสตร์ แผนการปฏิบัติงานและการบูรณาการ งานส่งเสริมการเกษตรในระดับจังหวัด และกลุ่มจังหวัด 7) ศึกษา พัฒนา รูปแบบ วิธีการ การประชาสัมพันธ์งานส่งเสริมการเกษตรเพื่อ สนับสนุนหน่วยงานในเขตรับผิดชอบ และด าเนินการประชาสัมพันธ์ การประกวดผลงานส่งเสริมการเกษตร การแสดงนิทรรศการ การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์งานส่งเสริมการเกษตร 8) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 8


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท 1) ศึกษำ วิเครำะห์ วิจัย และประยุกต์กำรใช้เทคโนโลยีกำรผลิตพืชให้เหมำะสมกับ ศักยภำพของเกษตรกร และสภำพพื้นที่ กำรจัดกำรสินค้ำเกษตร กำรพัฒนำ คุณภำพสินค้ำเกษตร กำรอำรักขำพืช ในลักษณะ บูรณำกำรวิชำกำรด้ำนกำร ผลิตพืช และพื้นที่เกษตรกรรมในแต่ละภูมิภำค 2) ส่งเสริมและให้บริกำรเทคโนโลยี กำรบริหำรจัดกำรสินค้ำเกษตร กำรพัฒนำ คุณภำพสินค้ำเกษตรสู่ มำตรฐำน กำรอำรักขำพืช และสนับสนุนข้อมูลทำงวิชำกำรในด ำเนินงำนส่งเสริมและพัฒนำอำชีพของ เกษตรกรให้แก่ส ำนักงำนกษตรจังหวัด และศูนย์ปฏิบัติกำร 3) ประสำนงำน และร่วมด ำเนินกำร ศึกษำ วิจัยเทคโนโลยีกำรผลิตพืช กำรจัดกำรสินค้ำเกษตร กำรพัฒนำ คุณภำพสินค้ำเกษตรและกำรอำรักขำพืชกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 4) ให้ค ำปรึกษำและสนับสนุนข้อมูลด้ำน Zoning ข้อมูลทำงวิชำกำรด้ำนกำรผลิตกำรจัดกำรผลผลิต และ กำรพัฒนำคุณภำพสินค้ำเกษตรแก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดและศูนย์ปฏิบัติกำร 5) ส่งเสริมและประสำนกำรด ำเนินงำนตำมโครงกำรอันเนื่องมำจำกพระรำชด ำริ และในเขตพื้นที่เฉพำะ ในเขตพื้นที่ลุ่มน้ ำต่ำง ๆ และในเขตพื้นที่พิเศษ 6) ติดตำม นิเทศ และประเมินผลกำรด ำเนินงำนส่งเสริมกำรผลิตพืช กำรจัดกำรสินค้ำเกษตร กำรพัฒนำ คุณภำพสินค้ำเกษตรและกำรอำรักขำพืช 7) ปฏิบัติหน้ำที่อื่น ๆ ตำมที่ได้รับมอบหมำย กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต มีหน้ำที่ ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 9


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท 1) ศึกษำ วิเครำะห์ วิจัยเพื่อพัฒนำงำนส่งเสริมกำรเกษตร กำรพัฒนำผู้น ำเกษตรกรกำรพัฒนำองค์กร สถำบันเกษตรก งำนวิสำหกิจชุมชน งำนส่งเสริมเคหกิจเกษตร และกำรพัฒนำศักยภำพและควำมเข้มแข็งของกลุ่ม 2) ศึกษำ วิเครำะห์และสนับสนุน กำรแปรรูปผลผลิต กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ ในเขตรับผิดชอบ 3) ประสำนงำนงำนวิจัยด้ำนกำรพัฒนำเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และวิสำหกิจชุมชนกับหน่วยงำนวิชำกำร สถำบันกำรศึกษำและเอกชนที่เกี่ยวข้อง 4) ให้ค ำปรึกษำ แนะน ำแก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดในกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับ เกษตรกร องค์กรเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมอำชีพ วิสำหกิจชุมชน งำนเคหกิจเกษตร และกลุ่มเครือข่ำยกำรท ำงำนในพื้นที่ และถ่ำยทอด ควำมรู้ ด้ำนวิชำกำรส่งเสริมกำรเกษตรแก่เจ้ำหน้ำที่ 5) ประสำนงำนและให้กำรสนับสนุนกำรพัฒนำเกษตรกร องค์กรเกษตรก กลุ่มส่งเสริมอำชีพ วิสำหกิจชุมชน และงำนส่งเสริมเคหกิจเกษตร 6) ติดตำม นิเทศ และประเมินผลกำรด ำเนินงำนส่งเสริมและพัฒนำเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร 7) ปฏิบัติหน้ำที่อื่น ๆ ตำมที่ได้รับมอบหมำย กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร มีหน้าที่ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตรจังหวัดลพบุรี มีหน้ำที่ 1) ศึกษำ วิเครำะห์ ทดสอบ ประยุกต์ พัฒนำเทคโนโลยีและองค์ควำมรู้ ภูมิปัญญำท้องถิ่นให้เหมำะสมกับ ศักยภำพ ของพื้นที่ พัฒนำแปลงสำธิตและแปลงเรียนรู้ ให้เป็นแปลงต้นแบบ และพัฒนำผลิตภัณฑ์ จำกผลิตกำรเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่ำ 2) ส่งเสริมและถ่ำยทอดเทคโนโลยีด้ำนกำรผลิตและกำรจัดกำรผลผลิตที่เหมำะสม กับศักยภำพของพื้นที่ 3) เป็นศูนย์กลำงในกำรรวบรวมกำรผลิต กำรขยำย กระจำยพันธุ์พืช และแมลงเศรษฐกิจ เพื่อใช้ในงำนส่งเสริม และพัฒนำอำชีพกำรเกษตร 4) ฝึกอบรมอำชีพกำรเกษตรแก่เจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้อง เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป 5) ให้บริกำรข้อมูล ข่ำวสำรวิชำกำรด้ำนเกษตร และสนับสนุนปัจจัยกำรผลิตที่จ ำเป็น รวมทั้งให้บริกำรทำงกำรเกษตร อื่น ๆ ตำมศักยภำพของศูนย์ 6) ปฏิบัติงำนอื่น ๆ ตำมที่ได้รับมอบหมำย ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 10


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตรจังหวัดชัยนาท มีหน้าที่ 1) ศึกษา ทดสอบ วิจัยประยุกต์ และพัฒนางานด้านวิศวกรรมเกษตรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบการ ท าการเกษตรของประเทศไทย 2) ส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้มีขีดความสามารถในการน าเทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตร และเทคโนโลยีอื่นมาประยุกต์ใช้ส าหรับพัฒนาการผลิตและการจัดการสินค้าเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ 3) เป็นศูนย์ต้นแบบด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนา ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืน 4) บริการวิชาการเพื่อสนับสนุนงานส่งเสริมการเกษตร โดยการเป็นที่ปรึกษาให้ค าแนะน า ค านวณออกแบบ และเป็นวิทยากรด้านการใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอื่นเพื่อพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร 5) บูรณาการการท างาน และเชื่อมโยงข้อมูลทางวิชาการด้านวิศวกรรมเกษตรและ เทคโนโลยีอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร 6) ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดชัยนาท มีหน้าที่ 1) ศึกษา ทดสอบ การใช้เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 2) ส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืช การอนุรักษ์ และผลิตขยายชีวินทรีย์ ที่มีประโยชน์ รวมทั้งพืช ที่มีคุณสมบัติควบคุมศัตรูพืช 3) ด าเนินการผลิตขยายชีวินทรีย์ และสารธรรมชาติควบคุมศัตรูพืชเพื่อใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร 4) ให้บริการตรวจวิเคราะห์ วินิจฉัยศัตรูพืช พยากรณ์เตือนการระบาดและป้องกันก าจัดศัตรูพืช 5) ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 11


ส่วนที่ 2 ผลการปฏิบัติราชการ 12


โครงการส่งเสริมการเกษตร ประจ าปีงบประมาณ 2566 งานตามบทบาทภารกิจ งานตามนโยบายภาครัฐ และอื่นๆ 13


กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต 14


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม การประชุมเชื่อมโยงการด าเนินงานคณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่และ ศพก. ระดับ เขต ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) วันที่ 16 ธันวาคม 2565 สถานที่ด าเนินการ ศูนย์จ าหน่ายสินค้าด้านการเกษตร สินค้ากลุ่มแม่บ้าน สินค้าวิสาหกิจชุมชน สินค้าหนึ่งต าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) จังหวัดนนทบุรี อ าเภอปากเกร็ด จังหวัดนนทบุรี ผู้เข้าร่วมประชุม 60 คน ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) วันที่ 16 มิถุนายน 2566 สถานที่ด าเนินการ องค์การบริหารส่วนต าบลมหาโพธิ อ าเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี จัดประชุมเชื่อมโยงการด าเนินงาน คณะกรรมการเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และแปลงใหญ่ ระดับเขต จ านวน 4 ครั้ง โดยใช้ งบประมาณโครงการ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 2 ครั้ง การประชุมท าให้เกิดการขับเคลื่อนการด าเนินงานทั้ง สองเครือข่ายฯ อย่างเป็นรูปธรรม การเชื่อมโยงเครือข่ายด้านการผลิต ด้านการตลาด การ แลกเปลี่ยนองค์ความรู้ต่างๆรวมทั้งปัญหา อุปสรรคในการด าเนินงาน และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข ท าให้การด าเนินงานเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ 15


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม การประชาสัมพันธ์โครงการฯ ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) เดือน มีนาคม - มิถุนายน 2566 สถานที่ด าเนินการ แปลงใหญ่ ในพื้นที่รับผิดชอบ 9 จังหวัด เป้าหมาย แปลงใหญ่ที่มีผลงานเด่นในด้านต่างๆ กิจกรรม/ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงาน ได้รับ จัดท าข่าวประชาสัมพันธ์ผลส าเร็จของการด าเนินงานโครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบ แปลงใหญ่ เผยแพร่ผ่านสื่อโทรทัศน์ จ านวน 5 เรื่อง สื่อหนังสือพิมพ์ จ านวน 3 เรื่อง และสื่อ ออนไลน์ จ านวน 10 เรื่อง และน าสื่อมวลชนดูงาน 1 ครั้ง ท าให้สาธารณชนรับรู้ข้อมูลข่าวสารที่ ถูกต้องเกี่ยวกับนโยบาย แนวทางการด าเนินงาน และผลส าเร็จของแปลงใหญ่ตามหลักการ 5 ด้าน ได้แก่การลดต้นทุนการผลิต การเพิ่มผลผลิต การพัฒนาคุณภาพ การตลาด และการบริหารจัดการ ซึ่งสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้กับภาคการเกษตร และเกษตรกรสามารถน าไปเป็นตัวอย่างหรือเป็น แนวทางในการพัฒนาอาชีพการเกษตรในพื้นที่ได้ 16


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม การประกวดแปลงใหญ่ระดับเขต ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) เดือน พฤษภาคม - กรกฎาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ แปลงใหญ่ ในพื้นที่รับผิดชอบ 9 จังหวัด เป้าหมาย แปลงใหญ่ที่มีผลงานดีเด่นระดับจังหวัด จ านวน 9 แปลง กิจกรรม/ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงาน ได้รับ คณะกรรมการตัดสินการประกวดแปลงใหญ่ระดับเขต ด าเนินการคัดเลือกแปลงใหญ่ดีเด่น ระดับจังหวัด 9 จังหวัด และลงพื้นที่ตรวจประเมินแปลง พิจารณาตัดสินการประกวด ซึ่งผลการ ประกวดฯ ระดับเขต ประจ าปี 2566 รางวัลชนะเลิศ ได้แก่ แปลงใหญ่ส้มโอขาวแตงกวาสรรคบุรี ต าบลแพรกศรีราชา อ าเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ แปลงใหญ่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ต าบลพุแค อ าเภอเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสระบุรี รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ แปลงใหญ่ข้าวแขวงโคกแฝด เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร รางวัลชมเชย ได้แก่ แปลงใหญ่ ผัก หมู่ 9 ต าบลศิลาทิพย์ อ าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี การจัดประกวดฯ ส่งผลให้เกิดการพัฒนา และขยายผลการด าเนินงานโครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรกรได้รับการ ประกาศเกียรติคุณและเชิดชูเกียรติ ท าให้มีขวัญและก าลังใจในการท าการเกษตร 17


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม ติดตามประเมินผลโครงการ ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) เดือนพฤศจิกายน 2565 - กันยายน 2566 สถานที่ด าเนินการ พื้นที่รับผิดชอบ 9 จังหวัด กลุ่มเป้าหมาย เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด / อ าเภอ และแปลงใหญ่ในพื้นที่รับผิดชอบ กิจกรรม/ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงาน ได้รับ การติดตามประเมินผลโครงการ ด าเนินการใน 2 ลักษณะ ได้แก่การลงพื้นที่ติดตาม ประสานงาน สร้างการรับรู้ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่แก่เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด ระดับอ าเภอ รวมถึง การติดตาม เยี่ยมเยียนกลุ่มแปลงใหญ่ในพื้นที่ 9 จังหวัด และการจัดประชุมชี้แจง และติดตาม ความก้าวหน้าการด าเนินงานโครงการฯ จ านวน 3 ครั้ง ในวันที่ 19 -20 ธันวาคม 2565 วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 และวันที่ 16 -17 สิงหาคม 2566 ท าให้เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด/อ าเภอ เกิดความ เข้าใจในแนวทางการด าเนินงานโครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ตามหลักการ 5 ด้าน รับทราบความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรค ในการด าเนินงาน การให้ข้อเสนอแนะและการปรับปรุง แก้ไขปัญหาร่วมกัน ท าให้การขับเคลื่อนงานบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ 18


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม ประชุมติดตามความก้าวหน้าและรายงานผลการด าเนินงาน โครงการระบบส่งเสริมเกษตร แบบแปลงใหญ่ ปี ๒๕๖๖ กิจกรรมเบิกแทนกรมการข้าว ว/ด/ป ๕ กันยายน ๒๕๖ สถำนที่ด ำเนินกำร สสก.๑ ชัยนาท กลุ่มเป้ำหมำยเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานระดับจังหวัด ๗ จังหวัด (จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ลพบุรี และสระบุรี) /เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมทคโนโลยีการเกษตรด้าน อารักขาพืช จังหวัดชัยนาท/ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องและผู้ด าเนินการ รวมจ ำนวน....๒๒ ...คน กิจกรรมที่ด าเนินการ ๑. น าเสนอความก้าวหน้าและรายงานผลการด าเนินงาน ๒. แลกเปลี่ยนแนวทางการติดตาม ให้ค าแนะน า และการรายงานผล ผลการด าเนินงาน ๑. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานได้รับค าแนะน าและแนวทางการพัฒนาโครงการ ๒. เกิดการแลกเปลี่ยนแนวทางการปฏิบัติงานระหว่างเจ้าหน้าที่ทั้งในระดับจังหวัด เขต ศูนย์ปฏิบัติการ และกรมฯ ๓. เกิดแนวคิดใหม่ๆและน าความรู้ที่ได้ไปปรับปรุงการด าเนินงาน ๔. เกิดเครือข่ายและช่องทางการติดต่อสื่อสารระหว่างกัน เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลการปฏิบัติงาน 19


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม ติดตาม ให้ค าแนะน าโครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 256๖ กิจกรรมเบิก แทนกรมการข้าว ว/ด/ป (ที่ด ำเนินกำร) ๗ กรกฎาคม ๒๕๖๖ และ ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๖๖ สถำนที่ด ำเนินกำร แปลงใหญ่ข้าวต าบลโคกแย้ อ าเภอหนองแค จังหวัดสระบุรี และแปลงใหญ่ข้าว ต าบลสระโบสถ์ อ าเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี กลุ่มเป้ำหมำย กลุ่มนาแปลงใหญ่จ านวน ๑๖ แปลง ในพื้นที่ ๗ จังหวัด (แปลงใหญ่ข้าว ปี 2564 – 2566) ประกอบด้วย จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี ลพบุรี และ สระบุรี กิจกรรมที่ด าเนินการ ติดตาม ให้ค าแนะน าเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน กลุ่มนาแปลงใหญ่ โดยด าเนินการติดตามงานร่วมกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในพื้นที่ เพื่อให้การด าเนินงานโครงการเป็นไปตามวัตถุประสงค์และบรรลุ เป้าหมายที่กรมส่งเสริมการเกษตรก าหนด ผลการด าเนินงาน กลุ่มนาแปลงใหญ่มีความรู้ความสามารถด้านการบริหารจัดการศัตรูข้าว สนับสนุน ส่งเสริมให้ผลิต และใช้ชีวภัณฑ์ควบคุมศัตรูข้าว สามารถลดต้นทุนการผลิต และผลผลิตข้าวมีคุณภาพได้มาตรฐาน วิธีการด าเนินงานโดยการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแนวทางโรงเรียนเกษตรกรด้านการบริหาร จัดการศัตรูข้าว สนับสนุนการด าเนินกิจกรรมการบริหารจัดการศัตรูข้าว ส่งเสริมการใช้เชื้อจุลินทรีย์ ควบคุมศัตรูข้าว และการติดตามให้ค าแนะน า 20


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการพัฒนาประสิทธิภาพโลจิสติกส์เกษตรเพื่อลดการสูญเสีย ปี 2566 . กิจกรรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการสร้างและส่งเสริมเครือข่ายสู่ตลาดศักยภาพ ระดับเขตที่ 1 ปี 2566 ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) วันที่ 21 พฤษภาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ จัดสัมมนา ณ ห้องประชุมห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการ เกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท และศึกษาดูงานการบริหารจัดการด้านการตลาด ณ วิสาหกิจชุมชนริเช่ฟาร์ม อ าเภอมโนรมย์ จังหวัดชัยนาท กลุ่มเป้าหมาย จ านวน 35 คน ประกอบด้วย 1. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานตลาดเกษตรกรระดับจังหวัด 9 จังหวัดๆ ละ 1 คน และเกษตรกรซึ่งเป็นคณะกรรมการบริหารตลาด จาก 9 จังหวัดๆ ละ 2 คน รวม 27 คน 2. วิทยากร เจ้าหน้าที่ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ผู้ด าเนินการจัดสัมมนา และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จ านวน 8 คน กิจกรรม/ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงาน ได้รับ เกิดเครือข่ายสนับสนุนการพัฒนาสินค้าคุณภาพสู่ตลาดเกษตรกร หรือตลาดสินค้าเกษตรที่มี ศักยภาพ และเกิดการเชื่อมโยงเครือข่ายการจ าหน่ายสินค้าในตลาดเกษตรกรหรือตลาด เกษตรกรออนไลน์ และแลกเปลี่ยนข้อมูลของ 9 จังหวัด ในพื้นที่เขตที่ 1 21


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการ การขับเคลื่อนการพัฒนาศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) กิจกรรม การประกวดศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) ดีเด่น ระดับเขต ประจ าปี 2566 ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) ระหว่างวันที่ 20-25 กรกฎาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน ในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสระบุรี ปทุมธานี และลพบุรี กลุ่มเป้าหมาย ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนที่ผ่านการคัดเลือกผลงานเบื้องต้น จ านวน 4 ศูนย์ ผลการด าเนินงาน การประกวดศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) ดีเด่น ระดับเขต ประจ าปี 2566 ได้แก่ รางวัลชนะเลิศ ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนต าบลสวนพริกไทย อ าเภอเมืองปทุมธานี จังหวัดปทุมธานี รองชนะเลิศ อันดับ 1 ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนต าบลดอนหญ้านาง อ าเภอภาชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รองชนะเลิศ อันดับ 2 ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนต าบลบางโขมด อ าเภอบ้านหมอ จังหวัดสระบุรี รางวัลชมเชย ศูนย์จัดการดินปุ๋ยชุมชนต าบลช่องสาลิกา อ าเภอพัฒนานิคม จังหวัดลพบุรี 22


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรตามมาตรฐาน GAP กิจกรรม : โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรม น าร่องและขยายผลงานส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรแบบกลุ่มตามระบบ ควบคุมภายใน GAP'sInternal Control System : ICS ว/ด/ป (ที่ด ำเนินกำร) : ระหว่าง พฤษภาคม - สิงหาคม 2566 สถำนที่ด ำเนินกำร : ณ ที่ท าการกลุ่มแปลงใหญ่มะขามเทศ ต าบลหนองมะค่า อ าเภอโคกเจริญ จังหวัดลพบุรี และแปลงเกษตรกรสมาชิก กลุ่มแปลงใหญ่มะขามเทศ กลุ่มเป้ำหมำย : เกษตรกรสมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่มะขามเทศ จ ำนวน 25 คน กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้ำหน้ำที่ หรือ หน่วยงำน ได้รับ : 1.จัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 3 ครั้ง ประกอบด้วย - ครั้งที่ 1 (26 พฤษภาคม 2566) , ครั้งที่ 2 (23 มิถุนายน 2566 ), ครั้งที่ 3 (29 สิงหาคม 2566) 2. จัดศึกษาดูงาน 1 ครั้ง 2 วัน ระหว่างวันที่ 13–14 กรกฎาคม 2566 ผู้เข้าร่วมศึกษาดูงาน จ านวน 25 คน สถานที่ศึกษา ดูงาน จ านวน 4 แห่ง ดังนี้ 2.1 กลุ่มแปลงใหญ่มะขามเทศ ต าบลโนนไทย อ าเภอโนนไทย จังหวัดนครราชสีมา 2.2 กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกพริกปลอดภัย อ าเภอบ าเหน็จณรงค์ จังหวัดชัยภูมิ 2.3 สวนเสาวรสเทพสถิต ของนายสุชัย พงษ์ไกรกิตติ 2.4 สวนทุเรียนเทพยินดี ของนายกรัณย์ เบียดนอก 3. เนื้อหาหลักสูตร/กิจกรรม ประกอบด้วย 3.1 การอบรมถ่ายทอดให้ความรู้ข้อก าหนดของระบบมาตรฐาน GAP 8 รายการ/ขั้นตอนการจัดท าระบบควบคุมภายในแบบ กลุ่ม /การใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย/การผลิตและขยายชีวภัณฑ์/การป้องกันก าจัดศัตรูพืชด้วยวิธีผสมผสาน ( IPM)/ โครงสร้างการ บริหารจัดการกลุ่ม แบบฟอร์มการบันทึกกิจกรรม (บฟ 01-09) และคู่มือระบบควบคุมภายใน (คม.) ของกลุ่ม 3.2 การแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติตรวจประเมินแปลงเบื้องต้น จ านวน 2 ครั้ง เพื่อสร้างความรู้ ความเข้าใจ ในขั้นตอน กระบวนการตรวจประเมิน แปลงตามข้อก าหนดมาตรฐาน GAP เพื่อให้เกษตรกรมีวิธีการปฏิบัติที่ถูกต้องและพร้อมส าหรับการสมัครขอรับการตรวจรับรอง GAP จาก หน่วยงานกรมวิชาการเกษตร 3.3 การศึกษา ดูงานความส าเร็จด้านการผลิต การควบคุมคุณภาพผลผลิตตลอดจนการเชื่อมโยงตลาด และการจัดท าระบบ ควบคุมภายในแบบกลุ่ม ของกลุ่มแปลงใหญ่และเกษตรกรเจ้าของสวน 4 แห่ง 23


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรตามมาตรฐาน GAP กิจกรรม : โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร กิจกรรม พัฒนาเจ้าหน้าที่เป็นที่ ปรึกษาเกษตรกรและเป็นวิทยากรด้านมาตรฐาน GAP ว/ด/ป (ที่ด ำเนินกำร) : ระหว่าง วันที่ 21 – 23 ธันวาคม 2565 กลุ่มเป้ำหมำย : รวมทั้งสิ้น 30 คน 1) นวส. ระดับจังหวัด/ระดับอ าเภอ จ านวน 20 คน 2) ผู้ด าเนินการ และ ผู้เกี่ยวข้อง จ านวน 10 คน สถำนที่ด ำเนินกำร /ระยะเวลาด าเนินการ : รวม 3 วัน ดังนี้ -ออนไลน์ ผ่านระบบ Zoom 1 วัน ณ ห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท - Onsite 2 วัน ณ โรงแรมแฟนตาซี รีสอร์ท อ าเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท พร้อมฝึก ปฏิบัติประเมิน แปลงเกษตรกรในพื้นที่ อ าเภอมโนรมย์ อ าเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้ำหน้ำที่ หรือ หน่วยงำน ได้รับ : 1. เนื้อหาหลักสูตร ประกอบด้วย บรรยายให้ความรู้การปฏิบัติที่ดีทางการเกษตรตามระบบมาตรฐาน GAP /รายการ ตรวจประเมิน โดยวิทยากร จากส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรที่ 5 จังหวัดชัยนาท แบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติตรวจประเมินแปลงเกษตรกร จ านวน 3 กลุ่ม น าเสนอผลการตรวจแปลงและรับฟังข้อเสนอแนะจากวิทยากร จาก สวพ.5 และให้ ข้อเสนอแนะ การน าเสนอผลการตรวจประเมินแปลงเกษตรกรของแต่ละกลุ่ม 24


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการการบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตรตามแผนที่เกษตรเพื่อการบริหาร จัดการเชิงรุก (Agri-Map) การสัมมนาขับเคลื่อนการใช้แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ระดับเขต ผ่านระบบออนไลน์ วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาเจ้าหน้าที่ให้มีความรู้ความเข้าใจ การใช้แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (AgriMap) และระบบบริการข้อมูลแผนที่ส่งเสริมการเกษตร (SSMAP) บุคคลเป้าหมาย จ านวน 99 คน ดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรที่รับผิดชอบงาน Zoning ระดับจังหวัด จังหวัดละ 1 คน และระดับอ าเภอ อ าเภอละ 1 คน รวม 87 คน 2. เจ้าหน้าที่ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับงาน Zoning และผู้ด าเนินการจัดสัมมนา วิทยากร ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สังเกตการณ์ จ านวน 12 คน ระยะเวลาด าเนินการ วันที่ 7 - 8 ธันวาคม 2565 ผลการสัมมนาฯ ผู้เข้าร่วมสัมมนา รวมทั้งสิ้น 110 คน ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลผลิต (Output) เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจในการใช้แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) และระบบบริการข้อมูลแผนที่ส่งเสริมการเกษตร (SSMAP) ผลลัพธ์ (Outcome) เจ้าหน้าที่สามารถน าความรู้ไปใช้ประโยชน์ในการส่งเสริมให้เกษตรกรมีความเข้าใจการปรับเปลี่ยนการผลิต พืชที่เหมาะสมตามแผนที่ Agri-Map และน าไปใช้วางแผนการท างานส่งเสริมการเกษตรได้ 25


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการส่งเสริมการหยุดเผาในพื้นที่การเกษตร กิจกรรม การจัดงานรณรงค์ลดการเผาในพื้นที่การเกษตร ปีงบประมาณ 2566 วัตถุประสงค์ 1. สร้างการรับรู้ให้เกษตรกรตระหนักถึงผลกระทบจากการเผาในพื้นที่การเกษตร 2. น าเสนอทางเลือกการใช้ประโยชน์จากเศษวัสดุทางการเกษตร และเทคโนโลยีทางการ เกษตรทดแทนการเผา เพื่อเกษตรกรสามารถปรับเปลี่ยนวิธีการผลิตไปสู่การท าการเกษตรแบบ ปลอดการเผา เป้าหมาย จ านวน ๒๐0 คน ได้แก่ 3.1 เกษตรกรในพื้นที่อ าเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี จ านวน 100 คน 3.2 เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้องจากหน่วยงานภาคีภาครัฐและเอกชน ผู้สังเกตการณ์ และ เจ้าหน้าที่ผู้ด าเนินการ จ านวน ๑๐0 คน สถานที่ด าเนินการ ลานตากข้าววิสาหกิจชุมชนโรงสีข้าวชุมชนบ้านคลอง หมู่ ๔ ต าบลมหาโพธิ อ าเภอสระ โบสถ์ จังหวัดลพบุรี ระยะเวลาด าเนินการ วันที่ ๗ มีนาคม 256๖ ผลการจัดกิจกรรม ผลผลิต (Output) ๑) หน่วยงานทั้งภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ และเอกชน เข้าร่วมกิจกรรม จ านวน ๑๕๗ ราย รวม ๒๒ หน่วยงาน ๒) เกษตรกรจังหวัดลพบุรี เข้าร่วมกิจกรรม รวมทั้งสิ้น ๒๒๑ ราย ๓) เกษตรกรที่ร่วมงาน จ านวน 100 ราย ได้รับการถ่ายทอดความรู้และมีความเข้าใจการใช้ ประโยชน์จากเศษวัสดุทางการเกษตรและเทคโนโลยีทางการเกษตรทดแทนการเผา ผลลัพธ์ (Outcome) เกษตรกรสามารถน าแนวทางการใช้ประโยชน์จากเศษวัสดุการเกษตร และเทคโนโลยีทดแทนการ เผาไปปฏิบัติในพื้นที่ตนเอง 26


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน กิจกรรม การสนับสนุนการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่โครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน งบประมาณ จ านวน ๓๐,๐๐๐ บาท แบ่งจัดสรรจ านวน ๓ ครั้งๆ ละ ๑๐,๐๐๐ บาท เบิกจ่าย ครบ ๑๐๐ เปอร์เซนต์ พื้นที่เป้าหมาย ๓ จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี และจังหวัด พระนครศรีอยุธยา ผลการด าเนินการ ๑) ร่วมติดตามการด าเนินงานร่วมกับเจ้าหน้าที่โครงการส่วนพระองค์ สมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในพื้นที่โรงเรียนสังกัด กรุงเทพมหานคร จ านวน ๘ โรงเรียน ระหว่างวันที่ ๗-๑๑ สิงหาคม ๒๕๖๖ ๒) ร่วมติดตามงานตามระบบส่งเสริมส่งเสริมการเกษตร ๓) ติดตามเฉพาะกิจโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน ทั้ง ๓ จังหวัด โดยชี้แจงท าความเข้าใจ และให้ข้อเสนอแนะการด าเนินงานร่วมกับเจ้าหน้าที่ระดับจังหวัด/อ าเภอ และผู้อ านวยการ/ครูที่ รับผิดชอบโครงการ 27


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร กิจกรรม ติดตามนิเทศ สรุป ประเมินผล พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่ ๙ จังหวัด ผลการด าเนินการ ติดตาม สนับสนุน ให้ข้อชี้แนะในการด าเนินกิจกรรม/โครงการ ทั้งในเวทีตามระบบส่งเสริม การเกษตรและการติดตามเฉพาะกิจต่างๆเช่น การติดตามงานหยุดเผา วัสดุเหลือใช้ทาง การเกษตร ทั้ง ๙ จังหวัด 28


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม การประกวดศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) ดีเด่น ระดับเขต ประจ าปี 2566 ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) ระหว่างวันที่ 20-25 กรกฎาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ในพื้นที่จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสระบุรี ลพบุรี และกรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมาย ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนที่ผ่านการคัดเลือกจากผลการด าเนินกิจกรรมของศูนย์ ฯ จ านวน 4 ศูนย์ ผลการด าเนินงาน การประกวดศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) ดีเด่น ระดับเขต ประจ าปี 2566 ได้แก่ รางวัลชนะเลิศ ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนแขวงโคกแฝด เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร รองชนะเลิศ อันดับ 1 ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนต าบลเขาดิน-ม่วงหวาน อ าเภอหนองแซง จังหวัดสระบุรี รองชนะเลิศ อันดับ 2 ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนต าบลทุ่งท่าช้าง อ าเภอสระโบสถ์ จังหวัดลพบุรี รางวัลชมเชย ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนต าบลหัวเวียง อ าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผลสัมฤทธิ์ มีศูนย์ต้นแบบการจัดการศัตรูพืชชุมชนที่มีผลการด าเนินกิจกรรมของศูนย์ ฯ อย่าง ต่อเนื่อง จ านวน 1 ศูนย์ 29


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม การถอดบทเรียนประกวดศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) ดีเด่น ระดับเขต ประจ าปี 2566 ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) วันที่ 12 กันายายน 2566 สถานที่ด าเนินการ ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนแขวงโคกแฝด เขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมาย 20 คน รายละเอียดดังนี้ 1.สมาชิกและคณะกรรมการศจช. จ านวน 6 คน 2.เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานด้านอารักขาพืช ระดับอ าเภอ/จังหวัด จ านวน 6 คน 3.ผู้ด าเนินการถอดบทเรียน (สสก.1 และผู้เกี่ยวข้อง) จ านวน 8 คน กิจกรรม/ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงาน ได้รับ : ได้ต้นแบบศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ดีเด่น ระดับเขต ประจ าปี 2566 ที่มีผลการด าเนินงาน ด้านอารักขาพืชอย่างต่อเนื่อง น าไปสู่ปัจจัยของความส าเร็จในการขับเคลื่อนงานด้านอารักขาพืช และการแก้ไขปัญหาของศัตรูพืชในชุมชนได้ ปัจจัยแห่งความส าเร็จของการด าเนินงานศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนแขวงโคกแฝด เขต หนองจอก กรุงเทพมหานคร 30


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม การสัมมนาเครือข่ายศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ระดับเขต ให้แก่เกษตรกรแกนน า ประจ าปี 2566 ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) วันที่ 19 กรกฎาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ ห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ผ่าน การประชุมรูปแบบออนไลน์ (Zoom Meeting) กลุ่มเป้าหมาย 146 คน รายละเอียดดังนี้ 1. ประธาน กรรมการ หรือสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนในพื้นที่รับผิดชอบ จังหวัดละ 5 คน จ านวน 45 คน 2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ผู้รับผิดชอบศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน ระดับจังหวัด จ านวน 9 คน 3. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร ผู้รับผิดชอบศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชนระดับอ าเภอ จ านวน 78 คน 4. เจ้าหน้าที่ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชัยนาท จ านวน 2 คน 5. เจ้าหน้าที่ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ผู้จัดสัมมนาฯ ผู้เกี่ยวข้องและผู้สังเกตการณ์ จ านวน 12 คน 31


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม สัมมนาเชิงปฏิบัติการ พัฒนาศักยภาพการผลิตขยายชีวภัณฑ์แก่ศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) ต้นแบบ เพื่อ ยกระดับเป็นศูนย์บริการชีวภัณฑ์ ประจ าปี 2566 ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) ระหว่างวันที่ 7 – 8 สิงหาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ ณ ห้องประชุมศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชัยนาท กลุ่มเป้าหมาย 30 คน รายละเอียดดังนี้ 1. เกษตรกรสมาชิก (ศจช.) จ านวน 2 จังหวัด ๆ ละ 8 คน ได้แก่ปทุมธานี และกรุงเทพมหานคร รวมทั้งสิ้น 16 คน 2. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอารักขาพืชระดับจังหวัด จ านวน 2จังหวัด ๆ ละ 1 คน รวมทั้งสิ้น 2 คน 3. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอารักขาพืชอ าเภอ จ านวน 2อ าเภอ ๆ ละ 1 คน รวมทั้งสิ้น 2 คน 4. เจ้าหน้าที่ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ผู้ด าเนินการ/ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เจ้าหน้าที่ศูนย์ ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืช จังหวัดชัยนาท และวิทยากร รวมทั้งสิ้น 10 คน กิจกรรม/ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงาน ได้รับ : 1. การบรรยาย 1.1 เรื่อง สารชีวภัณฑ์เพื่อการก าจัดศัตรูพืช 1.2 เรื่อง มาตรฐานการผลิตสารชีวกัณฑ์ 1.3 เรื่อง การป้องกันก าจัดศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (IPM) 1.4 เรื่อง กฎระเบียบข้อบังคับต่างๆเกี่ยวกับสารชีวภัณฑ์ 2. ภาคการฝึกปฏิบัติ 2.1 ฝึกปฏิบัติ การผลิตขยายสารชีวภัณฑ์ 2.2 ฝึกปฏิบัติตรวจสอบคุณภาพมาตรฐานการผลิตสารชีวภัณฑ์ 2.3 การน าเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 3. ผลผลิต ผลลัพธ์ ผลผลิต (Output) 1. เจ้าหน้าที่ และสมาชิกศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน มีความรู้ ความเข้าใจกระบวนการการผลิตขยายชีวภัณฑ์ที่มีคุณภาพและ ได้มาตรฐานตามเกณฑ์ของกรมส่งเสริมการเกษตร ผลลัพธ์ (Outcome) 1. มีศูนย์จัดการศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) จ านวน 2 ศูนย์ ที่มีการผลิตและให้บริการชีวภัณฑ์ภายในชุมชน ได่แก่ ศจช. ต าบลบึง คอไห จ.ปทุมธานี และ ศจช. แขวงโคกแฝด กรุงเทพมหานคร 32


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม จัดการประชุมเชื่อมโยงเครือข่ายผู้รับซื้อผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เขตภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก ครั้งที่ 1/2566 (ฤดูแล้ง) ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ)วันที่ 30 พฤษภาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ ณ ห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท รูปแบบการประชุมแบบ Hybrid Meeting (Onsite และ Online) กลุ่มเป้าหมาย 34 คน รายละเอียดดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ สสก. 1จังหวัดชัยนาท และคณะผู้จัดการประชุม จ านวน 7 คน 2. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สสก. 2 และ สสก. 3 จ านวน 2 คน 3. เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัดที่รับผิดชอบงานข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ จังหวัดชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สระแก้ว ปราจีนบุรี และกาญจนบุรี จ านวน 18 คน 4. เจ้าหน้าที่ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7ชัยนาท จ านวน 3 คน 5. ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมพืชไร่อุตสาหกรรม กรมส่งเสริมการเกษตร จ านวน 1 คน 6. ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย จ านวน 1 คน 7. ผู้แทนบริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ จ ากัด จ านวน 2 คน กิจกรรม/ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงาน ได้รับ : 1. การบรรยาย 1.1 นางดวงสมร พฤฑฒิกุล ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท เป็นประธาน เปิดการ ประชุมและบรรยายสรุปการขับเคลื่อน BCG Model ของหน่วยงานในระดับพื้นที่ (Value Chain ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) ของกรมส่งเสริมการเกษตร 1.2 นางสาวอรุณ แก้วขาว ผู้อ านวยการกลุ่มส่งเสริมพืชไร่อุตสาหกรรม กรมส่งเสริมการเกษตร บรรยายเรื่อง แนว ทางการด าเนินงานโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ปี 2566 ยุทธศาสตร์และทิศทางการพัฒนาข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ประเทศไทย สรุปประเด็นส าคัญดังนี้ 1.3 นางสาวเก้าก้อย ทองรุต ผู้อ านวยการส่วนสารสนเทศการเกษตร ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 บรรยาย เรื่อง ข้อมูล สถานการณ์ แนวโน้มการผลิต การตลาด และราคารับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของประเทศไทย พื้นที่จังหวัดภาคกลาง ภาค ตะวันออก และภาคตะวันตก 1.4 นายอรรถพล ชินภูวดล รองผู้จัดการสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย บรรยายเรื่อง สถานการณ์อาหารสัตว์ และข้าวโพดเลี้ยง สัตว์ ปี 2566 1.5 นายเกียรติพงษ์ใจกุม และนายรณชัย บัวนุ่ม ผู้แทนบริษัท แปซิฟิคเมล็ดพันธุ์ บรรยายเรื่อง การส่งเสริมการปลูกข้าวโพด เลี้ยงสัตว์ในพื้นที่นา และการเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 2. การแลกเปลี่ยน/และสถานการณ์การผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ในพื้นที่ 6 จังหวัด ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตก 33


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร กิจกรรม จัดการประชุมเชื่อมโยงเครือข่ายผู้รับซื้อผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เขตภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก ครั้งที่ 2/2566 (ฤดูฝน) ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) วันที่ 21 สิงหาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ ณ ห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท รูปแบบการประชุมแบบ Hybrid Meeting (Onsite และ Online) กลุ่มเป้าหมาย 44 คน รายละเอียดดังนี้ 1. เจ้าหน้าที่ สสก. 1จังหวัดชัยนาท และคณะผู้จัดการประชุม จ านวน 7 คน 2. เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ สสก. 2 และ สสก. 3 จ านวน 2 คน 3. เจ้าหน้าที่ระดับจังหวัดที่รับผิดชอบงานข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ และเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จังหวัดชัยนาท ลพบุรี สระบุรี สระแก้ว ปราจีนบุรี และกาญจนบุรี จ านวน 24 คน 4. เจ้าหน้าที่ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 จ านวน 1 คน 5. ผู้แทนกลุ่มส่งเสริมพืชไร่อุตสาหกรรม กรมส่งเสริมการเกษตร จ านวน 1 คน 6. ผู้แทนสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย จ านวน 2 คน 7. ผู้แทนบริษัท เจริญโภคภัณฑ์โปรดิ๊วส จ ากัด (ฟาร์มโปรอู่ทอง) จ านวน 3 คน 8. ผู้แทนบริษัท เบทาโกร (มหาชน) จ ากัด จ านวน 4 คน กิจกรรม/ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงาน ได้รับ : 1. การบรรยาย 1.1 นางสาวชลลดา เพราะสีสุข นักวิเคราะห์นโยบายและแผนช านาญการพิเศษ ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตรที่ 7 บรรยายเรื่อง ข้อมูลสถานการณ์ แนวโน้มการผลิต การตลาด และราคารับซื้อข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ของประเทศไทย พื้นที่จังหวัดภาคกลาง ภาคตะวันออกและภาคตะวันตก 1.2 นายรักชอบ ไชยภักดิ์ผู้จัดการศูนย์ฟาร์มโปรอู่ทอง บริษัท เจริญโภคภัณฑ์โปรดิ๊วส จ ากัด บรรยายเรื่อง การส่งเสริมการปลูกข้าวโพดเลี้ยง สัตว์แบบครบวงจร 2.เวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 2.1 นายกิตติศักดิ์ เมฆา ประธานกลุ่มแปลงใหญ่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ต าบลหินซ้อน อ าเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี ร่วมแลกเปลี่ยนในประเด็นการ บริหารจัดการกลุ่มแปลงใหญ่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ต าบลหินซ้อน 2.2 ตัวแทนบริษัท เบทาโกร (มหาชน) จ ากัด ได้ให้ข้อมูลการเชื่อมโยงแหล่งรับซื้อผลผลิตข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ที่ทางบริษัท ฯ ได้ด าเนินการร่วมกับกลุ่ม แปลงใหญ่ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์เขารวก อ าเภอล าสนธิ จังหวัดลพบุรี 2.3 นายอรรถพล ชินภูวดล รองผู้จัดการสมาคมผู้ผลิตอาหารสัตว์ไทย กล่าวว่าแนวโน้มด้านมาตรการกีดกันทางการค้าของสหภาพยุโรป (กลุ่ม EU) ที่มีข้อก าหนดด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อความยั่งยืน ซึ่งในอนาคตเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จ าเป็นต้องค านึงถึงปริมาณคาร์บอนที่ เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตด้วยการวัดค่าคาร์บอนฟุตพริ้นท์ จากวัตถุดิบที่น ามาผลิตเป็นอาหารเลี้ยงไก่ รวมถึงการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดีตาม ระบบมาตรฐาน GAP ที่หลายประเทศมีการน าเข้าวัตถุดิบอาหารสัตว์จากประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นอเมริกา ญี่ปุ่น ที่มุ่งเน้นกระบวนการผลิตที่ดี และปลอดภัยต่อสิ่งแวดล้อม สามารถตรวจสอบย้อนกลับได้ (Traceability) 2.4 การรายงานสถานการณ์ผลกระทบจากสภาวะฝนทิ้งช่วงในพื้นที่ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ 6 จังหวัด 34


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าในระดับไร่นา กิจกรรม การติดตามนิเทศงาน การรายงาน และประเมินผลการด าเนินงานโครงการส่งเสริมการ เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าในระดับไร่นา ปี 2566 ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) ระหว่างเดือน กรกฎาคม - สิงหาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ แปลงเรียนรู้ต้นแบบระบบน้ า 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สระบุรี และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกรต้นแบบ 5 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง สระบุรี และ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา กิจกรรม/ผลการด าเนินงาน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้าหน้าที่ หรือ หน่วยงาน ได้รับ : แปลงต้นแบบระบบน้ าจ านวน 5 แปลง ดังนี้ ระบบน้ าหยด : จังหวัดชัยนาท ชนิดพืชที่ปลูก (อ้อยคั้นน้ า) จังหวัดอ่างทอง ชนิดพืชที่ปลูก (เม ล่อน) จังหวัดสระบุรี ชนิดพืชที่ปลูก (ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์) ระบบน้ ามินิสปริงเกอร์ : จังหวัดสิงห์บุรีชนิดพืชที่ปลูก (ส้มโอทับทิมสยาม) จังหวัด พระนครศรีอยุธยา ชนิดพืชที่ปลูก (ไม้ผล พืชผัก) 35


กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ 36


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต (Region Workshop : RW) เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต (Region Workshop : RW) ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ได้ด าเนินการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต (Regional Workshop : RW) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 จ านวน 2 ครั้ง เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้การด าเนินงานโครงการ ต่างๆรวมทั้งเป็นเวทีในการร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เป็นประเด็นเร่งด่วน (Hot Issue) ที่เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ ส าหรับนัก ส่งเสริมการเกษตรทั้งในระดับจังหวัดและเขต ตลอดจนสรุปผลและถอดบทเรียนที่ได้จากการด าเนินงานในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดแนวทางการปฏิบัติที่สามารถน าไปใช้ในการด าเนินงานได้อย่างเหมาะสม มีบทเรียนและองค์ความรู้ในการ พัฒนาการด าเนินงาน รวมทั้งได้ทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลถึงความส าเร็จ และปัญหาอุปสรรคที่เกิดขึ้น โดยผ่านเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระดับเขต ดังนี้ ครั้งที่ 1 จัดขึ้นระหว่างวันที่ 14 -15 ธันวาคม 2565 ณ ห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัด ชัยนาท ผ่านระบบออนไลน์ Application Zoom โดยมีบุคคลเป้าหมายประกอบด้วย ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริม และพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ผู้อ านวยการกลุ่ม หัวหน้าฝ่ายฯ เจ้าหน้าที่ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการ เกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ผู้ด าเนินการ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง และผู้สังเกตการณ์ รวมจ านวน 20 คน และเจ้าหน้าที่ ส านักงานเกษตรจังหวัด ส านักงานเกษตรอ าเภอ ศูนย์ปฏิบัติการ และวิทยากร ผ่านระบบออนไลน์ Zoom 16 ่ีทนัวงา่วหะรน้ึขดัจ2 ่ีทง้ัรค– 17 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมแฟนตาซี รีสอร์ท จังหวัด ชัยนาท และห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท (ถ่ายทอดผ่านระบบออนไลน์ Application Zoom ) โดยมีบุคคลเป้าหมายประกอบด้วย วันที่ 16 สิงหาคม 2566 ณ โรงแรมแฟนตาซี รีสอร์ท จังหวัดชัยนาท บุคคลเป้าหมายประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ส านักงาน ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท เจ้าหน้าที่ส านักงานเกษตรจังหวัดผู้รับผิดชอบงานระบบส่งเสริม การเกษตร และงาน BCG Model เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการ และผู้สังเกตการณ์ รวมจ านวน 26 คน วันที่ 17 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท บุคคลเป้าหมาย ประกอบด้วยเจ้าหน้าที่ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท เจ้าหน้าที่ส านักงานเกษตรจังหวัด ผู้รับผิดชอบงานระบบส่งเสริมการเกษตร และงาน BCG Model เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการ และผู้สังเกตการณ์ หัวหน้า กลุ่มระดับจังหวัด ผู้อ านวยการศูนย์ปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่ส านักงาน 37


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท นิเทศงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ได้ด าเนินกิจกรรมนิเทศงานตามระบบส่งเสริม การเกษตร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ256 .6 ในพื้นที่ความรับผิดชอบ 9 จังหวัด โดยมีประเด็นการนิเทศงานตามแนวทางการด าเนินงานกรมส่งเสริมการเกษตร ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 (19 ประเด็นหลัก) ประกอบด้วย 1. โครงการส่งเสริมการด าเนินงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชด าริ 2. โครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร 3. โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ 4. โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร 5. โครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าในระดับไร่นา 6. โครงการพัฒนาประสิทธิภาพโลจิสติกส์เกษตรเพื่อลดการสูญเสีย 7. พัฒนารูปแบบการส่งเสริมการเกษตรในเมือง (กทม./ปทุมธานี/นนทบุรี) 8. โครงการสร้างมูลค่าเพิ่มจากวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร 9. การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในงานส่งเสริมการเกษตร 10. โครงการส่งเสริมและพัฒนาสินค้าเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น 11 โครงการ 1 อ าเภอ 1 แปลงเกษตรอัจฉริยะ 12. โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าการเกษตร 13. งานประชาสัมพันธ์ 14. ขยายผลการส่งเสริมการเกษตรเชิงพื้นที่ 15. โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน 16. โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน 17. โครงการพัฒนาเกษตรกรปราดเปรื่อง (Smart Farmer)/เกษตรกรรุ่นใหม่ (Young Smart Farmer) 18. การพัฒนาบุคลากร 19. การบริหารหน่วยงาน 38


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการส่งเสริมอาชีพด้านการเกษตรตามอัตลักษณ์ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ร่วมกับส ำนักงำนเกษตรจังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ด ำเนินกำร โครงกำรส่งเสริมและพัฒนำสินค้ำเกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่น ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2566 เรื่อง เห็ดตับเต่ำงำมที่สำมเรือน เป็น กำรต่อยอดองค์ควำมรู้ภูมิปัญญำท้องถิ่นด้ำนกำรเกษตร ซึ่งเห็ดตับเต่ำนี้ชำวบ้ำนต ำบลสำมเรือน อ ำเภอบำงปะอิน จังหวัด พระนครศรีอยุธยำ ได้ถ่ำยทอดภูมิปัญญำในกำรเพำะเลี้ยงด้วยระบบธรรมชำติบริเวณพื้นที่ริมน้ ำ กำรด ำเนินงำนมีเป้ำหมำย เพื่อส่งเสริมพื้นที่เพำะเห็ดตับเต่ำ พัฒนำด้ำนกำรผลิต กำรแปรรูป และกำรท่องเที่ยว ให้เป็นที่รู้จักในนำม “หมู่บ้ำนเห็ด ตับเต่ำ” ให้เป็นที่รู้จักในวงกว้ำง โดยด ำเนินกำรจัดเวทีชุมชนเพื่อระดมควำมคิดเห็น จ ำนวน 4ครั้ง ซึ่งผลจำกกำรด ำเนินงำน ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันที่ 21 เมษำยน 2566 เป็นกำรด ำเนินกำรระดมควำมคิดเห็นจำกผู้เข้ำร่วมเวทีชุมชน ในกำร แสวงหำประวัติควำมเป็นมำของเห็ดตับเต่ำงำมที่สำมเรือน วิธีกำรเพำะเห็ดตับเต่ำ กำรแปรรูปเห็ดตับเต่ำ วิธีกำรจัดจ ำหน่ำย และจัดท ำปฏิทินกำรเพำะเห็ดตับเต่ำงำมที่สำมเรือน ครั้งที่ 2 วันที่ 10 พฤษภำคม 2566 ด ำเนินกำรระดมควำมคิดเห็นเพื่อวิเครำะห์ชุมชนและร่วมก ำหนด เป้ำหมำยในกำรพัฒนำภูมิปัญญำฯ จำกผู้เข้ำร่วมเวทีชุมชน โดยกำรวิเครำะห์โอกำส จุดแข็ง จุดอ่อน และอุปสรรค โดยเป็น กำรลงรำยละเอียดถึงสถำนกำรณ์กำรปลูกเห็ดตับเต่ำ กำรจ ำหน่ำยผลผลิตในพื้นที่ กำรน ำเห็ดตับเต่ำมำแปรรูป เพื่อกำร วิเครำะห์เป้ำหมำยกำรพัฒนำภูมิปัญญำท้องถิ่น ครั้งที่ 3 วันที่ 8 มิถุนำยน 2566 ด ำเนินกำรระดมควำมคิดเห็นเพื่อก ำหนดแนวทำงกำรพัฒนำอัตลักษณ์พื้นถิ่น จำกภูมิปัญญำของชุมชน และกลไกขับเคลื่อนของชุมชน ด้วย TOWS Matrix ซึ่งผลที่ได้คือ วิสัยทัศน์ : ศูนย์กลำงกำร เพำะเห็ดตับเต่ำ มุ่งสู่เศรษฐกิจมูลค่ำสูง ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม เกษตรอัตลักษณ์พื้นถิ่นอย่ำงยั่งยืน และก ำหนดแนว ทำงกำรพัฒนำเห็ดตับเต่ำงำมที่สำมเรือน ต้นน้ ำ สร้ำงต้นแบบ เกษตรกร SF และแปลงต้นแบบที่ได้มำตรฐำน กลำงน้ ำ พัฒนำผลิตภัณฑ์จำกเห็ดตับเต่ำ และปลำยน้ ำ กำรสร้ำงแบรนด์เห็ดตับเต่ำงำมที่สำมเรือนให้เกิดมูลค่ำทำงเศรษฐกิจ และมีกำรสำธิตเมนูย ำเห็ดตับเต่ำโบรำณ ครั้งที่ 4 วันที่ 10 สิงหำคม 2566 ด ำเนินกำรสรุปบทเรียนและถ่ำยทอดองค์ควำมรู้จำกกำรด ำเนินงำนของ พื้นที่ และเชิญผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีสุวรรณภูมิมำร่วมกันวำงแผนพัฒนำผลิตภัณฑ์ 39


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการคักเลือกเกษตรกร บุคคลทางการเกษตร และสถาบันเกษตรกรดีเด่นระดับเขต โครงการคัดเลือกเกษตรกร บุคคลทางการเกษตร และสถาบันเกษตรกรดีเด่นระดับเขต ปี 2566 ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) ระหว่างเดือนกุมภาพันธ์ 2566 - พฤษภาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพฯ กลุ่มเป้าหมาย เกษตรกร บุคคลทางการเกษตร และสถาบันเกษตรกร ที่ชนะเลิศระดับจังหวัด ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ด าเนินการคัดเลือกเกษตรกร บุคคลทาง การเกษตร และสถาบันเกษตรกรดีเด่นระดับเขต ปี 2566 เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติแก่เกษตรกร บุคคล ทางการเกษตร และสถาบันเกษตรกร ที่มีผลงานดีเด่นให้เป็นที่ปรากฏแก่สาธารณชน ตลอดจนเป็นการให้ ความส าคัญ และสร้างขวัญก าลังใจให้ผู้ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีพลังใจสร้างผลงานที่เป็นประโยชน์ต่อ อาชีพการเกษตรให้เกิดการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง โดยพิจารณาคัดเลือกผลงานดีเด่นของเกษตรกร บุคคลทาง การเกษตร และสถาบันเกษตรกรดีเด่นระดับเขต จาก 9 จังหวัด ในความรับผิดชอบของส านักงานส่งเสริมและ พัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท จ านวน 3 ประเภท 7 สาขา ประกอบด้วย ประเภทเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ 1)สาขาท าสวน 2)สาขาท าไร่ และ 3)สาขาไร่นาสวนผสม ประเภทบุคคลทางการเกษตรดีเด่น ได้แก่ 1)สมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกร และ 2)ที่ปรึกษากลุ่มยุวเกษตรกร ประเภทกลุ่มสถาบันเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ 1)กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร และ 2)กลุ่มยุวเกษตรกร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการยกย่องเชิดชูเกียรติเกษตรกร บุคคลทางการเกษตร และสถาบันเกษตรกรที่มี ผลงานดีเด่นให้เป็นที่ปรากฏต่อสาธารณชน เกิดความภาคภูมิใจในอาชีพของตนเอง ในการคัดเลือกส านักงาน ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ด าเนินการพิจารณาคัดเลือกจากเล่มผลงานที่ส่งเข้า ประกวด เหลือ 4 จังหวัด และลงพื้นที่จริงเพื่อตัดสินชี้ขาดในขั้นสุดท้าย โดยมีผลการคัดเลือก ดังนี้ เกษตรกรดีเด่นสาขาท าสวน ได้แก่ นายไพวัลย์ แจ่มแจ้ง จังหวัดลพบุรี เกษตรกรดีเด่นสาขาท าไร ได้แก่ นายสุริยา ห่วงถวิล จังหวัดลพบุรี เกษตรกรดีเด่นสาขาไร่นาสวนผสม ได้แก่ นายขวัญชัย แตงทอง จังหวัดชัยนาท สมาชิกกลุ่มยุวเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ เด็กชายศุภรัตน์ สุขทรัพย์ โรงเรียนบ้านโป่งเกตุ ที่ปรึกษายุวเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ นางวนิดา โขสันเทียะ โรงเรียนบ้านโป่งเกตุ กลุ่มยุวเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนบ้านโป่งเกตุ กลุ่มเม่บ้านเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ กลุ่มแม่บ้านพิกุลทองสามัคคี จังหวัดสิงห์บุรี 40


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการ 1 อ าเภอ 1 แปลงเกษตรอัจฉริยะ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาต้นแบบเกษตรอัจฉริยะ ว/ด/ป (ที่ด าเนินการ) ระหว่างเดือน ธันวาคม 2565 - สิงหาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ พื้นที่ 9 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สิงห์บุรี สระบุรี ลพบุรีอ่างทอง เป้าหมาย สามารถขยายการใช้งาน “ระบบบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense)” ไปสู่เกษตรกรรุ่นใหม่ ในพื้นที่ 9 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา สิงห์บุรี สระบุรี ลพบุรีอ่างทอง ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ได้ด าเนินการติดตามโครงการ 1 อ าเภอ 1 แปลงเกษตรอัจฉริยะ กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาต้นแบบเกษตรอัจฉริยะ และกิจกรรม ส่งเสริมนวัตกรรมและเทคโนโลยีใหม่ “ระบบบริหารจัดการแปลงเกษตรด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ (HandySense)” จ านวน 3 แห่ง ประกอบด้วย 1. ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตร จังหวัดชัยนาท 2. ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร จังหวัดลพบุรี 3. ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ศูนย์เครือข่ายอ าเภอชัยบาดาล (ศพก. พืชผัก) 41


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ประชุมเกษตรจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต กิจกรรม การประชุมเกษตรจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต กลุ่มเป้าหมาย ผอ.สสก.1 ผอ.กลุ่ม ฝ่าย เกษตรจังหวัด ผอ.ศูนย์ และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง.จ านวน. 20..คน การประชุมเกษตรจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต เป็นเวทีหนึ่งตามระบบส่งเสริมการเกษตร จัดขึ้นเพื่อการมีส่วนร่วมตามระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน ขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมการเกษตร ประสาน การท างานระหว่างส่วนกลาง สสก. 1 ศูนย์ปฏิบัติการ และจังหวัด รวมทั้งรับทราบปัญหาอุปสรรค และร่วมกัน หาแนวทางแก้ไขปัญหาการด าเนินงานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ ในปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ได้ก าหนด จัดการประชุมทั้งหมด 4 ครั้ง ดังนี้ ครั้งที่ 1 วันพุธที่ 23 พฤศจิกายน 2565 ผ่านระบบประชุมทางไกล (Application Zoom) ครั้งที่ 2 วันอังคารที่ 21 กุมภาพันธ์ 2566 ผ่านระบบประชุมทางไกล (Application Zoom) ครั้งที่ 3 วันอังคารที่ 23 พฤษภาคม 2566 ณ ห้องประชุมส านักงานเกษตรจังหวัดสิงห์บุรี ครั้งที่ 4 ระหว่างวันที่ 16 – 17 สิงหาคม 2566 ณ ห้องประชุมโรงแรมแฟนตาซี รีสอร์ท และ ห้อง ประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 โดยมีบุคคลเป้าหมายประกอบด้วย ผู้อ านวยการส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัด ชัยนาท เกษตรจังหวัด 8 จังหวัด เกษตรกรุงเทพมหานคร ผู้อ านวยการศูนย์ปฏิบัติการ ผู้อ านวยการกลุ่ม/ หัวหน้าฝ่าย ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท และเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง จ านวน 20 คน ผลลัพธ์จากการประชุม ส่วนราชการสังกัดกรมส่งเสริมการเกษตร ในพื้นที่รับผิดชอบของส านักงาน ส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท มีการประสานเชื่อมโยงการปฏิบัติงาน และร่วมกันแก้ไข ปัญหาเพื่อพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ และเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในพื้นที่ความรับผิดชอบ ของส านักงานส่งเสริมและพัฒนา การเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท มีความพร้อมในการปฏิบัติงานตามระบบ ส่งเสริมการเกษตร และสามารถขับเคลื่อนนโยบายส่งเสริมการเกษตรให้บรรลุผลส าเร็จ ได้อย่างมี ประสิทธิภาพ 42


กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร 43


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การจัดอบรมพัฒนาทักษะการปฏิบัติงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน เวที ข (เขต) ด าเนินการ : เมื่อวันที่ 9 – 10 กุมภาพันธ์ 2566 สถานที่ด าเนินการ : โรงแรมแฟนตาซีรีสอร์ท ต าบลบ้านกล้วย อ าเภอสรรพยา จังหวัด ชัยนาทกลุ่มเป้าหมาย : เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนระดับอ าเภอและระดับ จังหวัด ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง และกรุงเทพมหานคร จ านวน 50 คน ผลที่ได้รับจาการด าเนินงาน : นักวิชาการส่งเสริมการเกษตรผู้รับผิดชอบงานส่งเสริม วิสาหกิจชุมชน ทราบถึงความส าคัญของงานวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ และมีความรู้การน า ผลิตภัณฑ์ของวิสาหกิจชุมชนเข้าสู่ตลาดออนไลน์ น าความรู้ที่ได้รับไปขับเคลื่อนการด าเนินงาน วิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ 9 จังหวัดภาคกลาง ขยายผลน าความรู้ที่ได้รับการถ่ายทอดสู่การปฏิบัติ จริงในวิสาหกิจชุมชน เจ้าหน้าที่ได้น าความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดและส่งเสริมให้วิสาหกิจชุมชน ด าเนินการจ าหน่ายในรูปออนไลน์จ านวน 57 แห่ง 44


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การประกวดวิสาหกิจชุมชนดีเด่น ระดับเขต ด าเนินการ : เมื่อวันที่ 23 -25 พฤษภาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ : ที่ท าการวิสาหกิจชุมชนดีเด่นระดับจังหวัด ปี 2566 ในพื้นที่ 8 จังหวัดภาคกลาง และกรุงเทพมหานคร กลุ่มเป้าหมาย : คณะท างานประกวดวิสาหกิจชุมชนดีเด่น ระดับเขต จ านวน 8 คน ผลที่ได้รับจาการด าเนินงาน : รางวัลชนะเลิศวิสาหกิจชุมชนดีเด่น ระดับเขต ได้แก่ วิสาหกิจชุมชน แปลงใหญ่ข้าวโพดเขารวกพัฒนาก้าวไกล อ าเภอล าสนธิ จังหวัดลพบุรี 45


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการส่งเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชน การประชุมคณะกรรมการประสานงานวิสาหกิจชุมชน ด าเนินการ : เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2565 และ 27 กรกฎาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ : ห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัด ชัยนาท กลุ่มเป้าหมาย : คณะกรรมการประสานงานวิสาหกิจชุมชน จ านวน 18 คน ผลที่ได้รับจาการด าเนินงาน : การแลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นในการยกเลิก เพิกถอน ทะเบียนวิสาหกิจชุมชน ที่มีหนี้สินผูกพันกับหน่วยงานอื่น ติดตาม วางแผนการด าเนินงานการ ส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนในพื้นที่ ภาคกลาง พร้อมทั้งก าหนดเป้าหมายในการขับเคลื่อน วิสาหกิจชุมชนตาม BCG Model 46


ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชน กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยววิถีเกษตร การประเมินความพร้อมและเชื่อมโยงเส้นทาง (route trip) การท่องเที่ยวเชิง เกษตร ด าเนินการ : เมื่อวันที่ 12 – 13, 20 -21 กรกฎาคม 2566 และ 3 – 4, 10-11 สิงหาคม 2566 สถานที่ด าเนินการ : จังหวัดสระบุรี และจังหวัดสิงห์บุรี กลุ่มเป้าหมาย : แหล่งท่องเที่ยว อ าเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี และ แหล่งท่องเที่ยว จังหวัดสิงห์บุรี ผลที่ได้รับจาการด าเนินงาน : เส้นทาง (Route trip) การท่องเที่ยวเชิงเกษตร จ านวน 2 เส้นทาง ได้แก่ 1) เที่ยวชะอม ชมสวนทุเรียน @ แก่งคอย สระบุรี 2) ท่องเที่ยวเชิงเกษตร สิงห์บุรี เมืองน่าอยู่ 47


Click to View FlipBook Version