The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akina.bj24, 2022-03-09 23:04:40

AnnualReport 2564 CDOAE

รายงานประจำปี 2564
สำนักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท

Keywords: cdoae

รำยงำนประจำปี 2564

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชัยนำท
กรมสง่ เสรมิ กำรเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

คำนำ

ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมส่งเสริมการเกษตรได้ดาเนินการตามแนวคิดการดาเนินงานส่งเสริม
การเกษตร ให้พร้อมก้าวสู่เกษตรวิถีใหม่ ควบคู่กับการขับเคล่ือนโครงการฯ สาคัญ การฟื้นฟูเศรษฐกิจ การ
กระตุ้นให้เกิดการปรับตัวขององค์กร และบุคลากร รวมถึงงานส่งเสริมการเกษตร ท่ีต้องก้าวทันต่อการ
เปล่ียนแปลงท่ีเกิดข้ึน เพ่ือบรรลุวิสัยทัศน์ “เกษตรกรมีความเข้มแข็ง มีคุณภาพชีวิตท่ีดีใช้เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม และมีรายได้ท่ีม่ันคง”ผ่าน 3 ยุทธศาสตร์ สาคัญ ได้แก่ 1. การพัฒนาเกษตรกร พัฒนาการผลิต
สินค้าเกษตร และส่งเสริมเศรษฐกิจพอเพียง 2. การขับเคล่ือนการดาเนินงานโดยเครื่องมือส่งเสริม
การเกษตร 3. การเพ่ิมประสิทธิภาพการส่งเสริมการเกษตร นอกจากนี้ ยังให้ความสาคัญกับการบูรณาการ
ทางานกับทุกภาคส่วน และการเกษตรทเี่ ป็นมิตรต่อสิง่ แวดลอ้ มเพอื่ เกษตรกรได้รบั ประโยชน์สูงสดุ

จากแนวทางการดาเนินงานของกรมส่งเสริมการเกษตร ดังกล่าว สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการ

เกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ได้นาแนวคิดดังกล่าว มาสู่การปฏิบัติในระดับพื้นที่ 9 จังหวัดภาคกลาง ใน

ลักษณะ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมทา ร่วมแก้ไขปัญหา และร่วมรับประโยชน์ เพ่ือให้การส่งเสริม

การเกษตรมีประสิทธิภาพสงู สดุ และเกดิ ประโยชน์กบั พ่ีน้องเกษตรกรอยา่ งแท้จรงิ

สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนาทหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานฉบับนี้ จะเป็น
ประโยชนก์ บั เจ้าหน้าที่ เกษตร และผสู้ นใจในการดาเนินงานสง่ เสรมิ การเกษตรในพื้นท่ีภาคกลาง ตอ่ ไป

มกราคม 2565

สำนักงำนส่งเสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวัดชยั นำท

สำรบญั หน้ำ
1
สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ภำพรวมของหนว่ ยงำน 2
• ข้อมูลภาพรวมหนว่ ยงาน 3
• ขอ้ มูลทวั่ ไป 4
• โครงสร้างหน่วยงาน/ผูบ้ รหิ าร 5
• วิสยั ทศั น์ พันธกิจ ภารกจิ 11
• การขบั เคล่อื นแนวคดิ งานสง่ เสริมการเกษตรเชิงรุก (Chai Nat Zone 1 Agromodel)
และยทุ ธศาสตรเ์ ชงิ กลยทุ ธพ์ ัฒนาการเกษตรแบบมเี ป้าหมาย เขตท่ี ๑ จังหวดั ชยั นาท 14
(Chai Nat Zone 1 – STM : Chai Nat Strategy Targeting Management)
16
สว่ นท่ี 2 ผลการปฏบิ ัตริ าชการ
• แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ สริมสร้างพลงั ทางสังคม 17
- โครงการคลนิ ิกเกษตรเคลอ่ื นทใ่ี นพระราชานเุ คราะห์ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธริ าช ฯ 18
สยามมกฎุ ราชกมุ าร
- โครงการเกษตรเพ่อื อาหารกลางวัน 20
- โครงการ 1 ตาบล 1 กลมุ่ เกษตรทฤษฎีใหม่ 21
• แผนงานพน้ื ฐานดา้ นการสร้างความสามารถในการแขง่ ขัน 22
- โครงการอบรมพฒั นาเกษตรกรผนู้ าเครือขา่ ยอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน ปีงบประมาณ 2564 24
- โครงการสมั มนาเครือข่ายแลกเปลย่ี นเรยี นรู้อาสาสมัครเกษตรระดบั เขต 26
- การจัดเวทแี ลกเปล่ยี นตามระบบส่งเสริมการเกษตร 27
- งานสนบั สนนุ และการติดตามงานตามระบบสง่ เสรมิ การเกษตร
- โครงการสรา้ งการรบั รขู้ อ้ มลู ขา่ วสารงานส่งเสริมการเกษตร ปี 2564 ในระดับเขต 29
- โครงการประกวดวีดิทัศนก์ ารประชาสัมพันธง์ านส่งเสริมการเกษตรเชิงรุก 16 + 2 ภารกจิ 32
• แผนงานยทุ ธศาสตรก์ ารเกษตรสร้างมลู ค่า 36
- โครงการยกระดับคณุ ภาพมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร ปี 2564 37
- โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2564
- โครงการส่งเสรมิ การเพิ่มประสิทธภิ าพการใช้นาในระดับไร่นา 38
- โครงการสัมมนาเชิงปฏบิ ัตกิ ารขับเคลื่อนการใช้แผนที่เกษตรเพ่ือการบรหิ ารจัดการเชิงรุก (Agri-Map)
ระดับเขต 40
- โครงการสง่ เสริมอาชีพดา้ นการเกษตรตามอตั ลักษณ์และภมู ิปัญญาท้องถ่ิน
• แผนงานยทุ ธศาสตรจ์ ัดการมลพิษและส่งิ แวดลอ้ ม 42
- โครงการสง่ เสริมการหยดุ การเผาในพืนทกี่ ารเกษตร 43
• แผนงานบรู ณาการสรา้ งรายไดจ้ ากการท่องเทีย่ ว
- โครงการสง่ เสริมการสร้างรายไดจ้ ากการทอ่ งเทยี่ วเชิงเกษตร
- โครงการสมั มนาเชิงปฏบิ ตั ิการพฒั นาบุคลากรดา้ นการสง่ เสริมการท่องเท่ียวเชิงเกษตร

สำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวดั ชัยนำท

สำรบัญ

• แผนงานบูรณาการพัฒนาผปู้ ระกอบการและวิสาหกจิ ขนาดกลางและขนาดย่อมสสู่ ากล 45
- โครงการพฒั นาคุณภาพมาตรฐานสินค้าและบรกิ าร ปี 2564
47
• แผนงานบรู ณาการพฒั นาและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก 49
- โครงการการขับเคลอ่ื นการพัฒนาศูนยจ์ ัดการศัตรพู ชื ชุมชน (ศจช.) ปี 2564 53
- โครงการการขบั เคลือ่ นการพฒั นาศนู ย์จดั การดินปุย๋ ชุมชน (ศดปช.) ปี 2564 54
- โครงการอบรมหลกั สูตรพฒั นา Smart Farmer ผู้ประกอบการตน้ แบบ ระดบั เขต 55
- โครงการอบรมเพ่มิ ศักยภาพ Young Smart Farmer ระดับเขต ปงี บประมาณ 2564
58
- โครงการขยายผลและยกระดบั เศรษฐกิจครวั เรอื นเพื่อเพมิ่ ขดี ความสามารถของหมบู่ ้านความมนั่ คง 57
58
ดา้ นอาหารในชุมชน 59

- การจัดแสดงสนิ คา้ กลมุ่ แมบ่ ้านเกษตรกรและวิสาหกจิ ชุมชนผ่านสอ่ื โทรทัศน์ และสือ่ หนงั สือพิมพ์ออนไลน์ 60
- โครงการสัมมนาเพิ่มศักยภาพผู้นาในการขับเคลื่อนงานกลุ่มแมบ่ า้ นเกษตรกร ระดับเขต 62
- โครงการส่งเสรมิ เคหกิจเกษตรในครวั เรือนเกษตรสูงวัย 63
- โครงการอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการเพ่ิมประสิทธิภาพการดาเนินงานส่งเสรมิ ความม่ันคงดา้ นอาหารระดับ 64
66
ชมุ ชน ระดับเขต ปี 2564 69
- การพฒั นานักวิชาการส่งเสริมการเกษตร 70
- การสนบั สนุนการปฏบิ ตั งิ านของศูนย์ปฏบิ ัตกิ ารในความรับผิดชอบ 95
- โครงการศูนยเ์ รยี นรกู้ ารเพมิ่ ประสิทธิภาพการผลิตสินคา้ เกษตร (ศพก.) 105
• งบประมาณรายจ่าย 118
• กจิ กรรมอ่ืนๆ
สว่ นที่ 3 ผลการดาเนนิ งานของศูนย์ปฏิบตั กิ าร
• ศูนย์สง่ เสรมิ เทคโนโลยีการเกษตรดา้ นอารกั ขาพืช จงั หวัดชยั นาท
• ศูนย์สง่ เสริมเทคโนโลยกี ารเกษตรดา้ นวศิ วกรรมเกษตร จังหวดั ชยั นาท
• ศูนย์ส่งเสรมิ ส่งเสริมและพัฒนาอาชีพทางการเกษตร จังหวัดลพบรุ ี
ส่วนที่ 4 คณะผจู้ ดั ทา รายงานประจาปี พ.ศ. 2564

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนำท

สว่ นท่ี 1

ขอ้ มูลภาพรวมของหนว่ ยงาน

2

ข้อมูลภำพรวมหน่วยงำน

สำนักงำนส่งเสรมิ และพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวัดชัยนำท

3

ข้อมลู ท่วั ไป

ท่ีตง้ั และอาณาเขต

สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ตังอยู่ที่ หมู่ท่ี 4 ตาบลบางหลวง อาเภอสรรพยา
จังหวดั ชัยนาท 17150 มีพืนท่ีที่ตังสานักงานโดยรวม ประมาณ 30 ไร่ มีจังหวัดในความรับผิดชอบในเขตพืนที่ภาค
กลาง จานวน ๙ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี ลพบุรี
สระบุรี และกรุงเทพมหานคร มีสานักงานเกษตรอาเภอ จานวน 74 อาเภอ และสานักงานเกษตรพืนที่
ในกรงุ เทพมหานคร 4 แห่ง มีพนื ท่ีทงั หมด 12.69 ล้านไร่ พืนที่การเกษตร จานวน 7.625 ลา้ นไร่

โดยมีอาณาเขตตดิ ต่อดงั น้ี
ทศิ เหนือ ติดตอ่ จงั หวัดเพชรบรู ณ์ จังหวดั นครสวรรค์ และ บางสว่ นของจงั หวัดอุทัยธานี
ทศิ ใต้ ตดิ ต่อ จงั หวดั สมุทรปราการ
ทศิ ตะวันออก ตดิ ตอ่ จังหวัดชัยภมู ิ นครราชสีมา นครนายก และจงั หวัดฉะเชงิ เทรา
ทศิ ตะวนั ตก ตดิ ต่อ จงั หวัดสมทุ รสาคร นครปฐม สุพรรณบุรี และบางส่วนของจังหวดั อุทยั ธานี

สำนักงำนสง่ เสรมิ และพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวดั ชัยนำท

4

โครงสร้างหน่วยงาน / ผบู้ ริหาร

นายวีระชัย เข็มวงษ์
ผอู้ านวยการสานักงานสง่ เสริมและ
พัฒนาการเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชยั นาท

นายชชู ีพ นาคสาฤทธ์ิ นายยอดธงไชย รอดแกว้ นางสาวกงั สดาล ชาตกลุ
ผูอ้ านวยการกลุ่มสง่ เสริมและ ผ้อู านวยการกล่มุ พฒั นาบคุ ลากร ผอู้ านวยการกลุ่มสง่ เสริมและ

พัฒนาการผลติ พัฒนาเกษตรกร

นางสาวกัลลกิ า ตาระกา นางพนิดา อุ่นกันทา นายสรุ สทิ ธิ์ บญุ รกั ชาติ
ผูอ้ านวยการกลุ่มยุทธศาสตรแ์ ละ หัวหนา้ ฝ่ายบรหิ ารทัว่ ไป ผอู้ านวยการศนู ย์ส่งเสริมและ

สารสนเทศ พัฒนาอาชพี การเกษตร
จังหวดั ลพบุรี

นางสาววไิ ลวรรณ สอนพูล นายสุทธิพงษ์ จ่างทอง

ผอู้ านวยการศนู ยส์ ่งเสรมิ ผู้อานวยการศนู ยส์ ่งเสรมิ

เทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตร เทคโนโลยกี ารเกษตรด้านอารักขาพืช

จงั หวดั ชัยนาท จังหวัดชยั นาท

สำนักงำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จังหวดั ชยั นำท

5

วสิ ยั ทศั น์ / พนั ธกิจ / ภารกิจ

วิสยั ทัศน์

เปน็ หน่วยงานที่มีความพร้อมในการใหบ้ ริการวชิ าการ มุ่งมั่นพัฒนาเจา้ หน้าทีส่ ง่ เสริมการเกษตรสู่
SMART OFFICER และเกษตรกรผนู้ าสู่ SMART FARMER

พันธกิจ

1. วางแผนและขับเคลอ่ื นยทุ ธศาสตร์ส่งเสรมิ การเกษตรระดับเขต
2. ศึกษาและพัฒนางานสง่ เสริมการเกษตรและเทคโนโลยที เี่ หมาะสม
3. บรกิ ารวชิ าการ และเป็นศูนย์กลางข้อมูลสารสนเทศดา้ นสง่ เสรมิ การเกษตรระดับเขต
4. พฒั นาบุคลากรสู่ Smart Officer และเกษตรกรผนู้ าสู่ Smart Farmer
5. พฒั นาเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และวิสาหกิจชมุ ชน ซง่ึ เป็นเครอื ข่ายการทางานในพนื ทใ่ี หม้ คี วามเข้มแข็ง
6. ประสานการตรวจราชการ ติดตาม นเิ ทศ และประเมินผล งานสง่ เสรมิ การเกษตร

ภารกิจ

1. ศกึ ษา วเิ คราะห์ และวจิ ยั เพ่อื พัฒนางานสง่ เสรมิ การเกษตร เทคโนโลยแี ละระบบการผลิตทีเ่ หมาะสมกบั
พืนที่
2. ฝึกอบรมและถา่ ยทอดเทคโนโลยีด้านการเกษตรแกเ่ จา้ หนา้ ทแี่ ละเกษตรกร
3. ส่งเสรมิ ประสานและสนบั สนนุ การดาเนนิ งานสง่ เสริมการเกษตรตามโครงการอนั เน่อื งมาจากพระราชดาริ
และในเขตพืนท่พี เิ ศษ
4. ควบคุม กากบั สนบั สนุนการดาเนินงานของศนู ย์ปฏิบตั กิ ารในเขตพืนที่รบั ผิดชอบ
5. เป็นศนู ย์กลางสนับสนุนทางวิชาการด้านการผลติ และจัดการผลผลติ การพฒั นาคณุ ภาพสินค้าเกษตร
องคก์ รเกษตรกรและวสิ าหกจิ ชุมชนแกส่ านักงานเกษตรจงั หวัด และประสานวิชาการกับหนว่ ยงานวชิ าการ
ภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษา
6. ศกึ ษา วางแผน และตดิ ตามประเมนิ ผลการดาเนินงานส่งเสรมิ การเกษตร และประสานการตรวจราชการใน
เขตพนื ท่ี
7. ใหค้ าปรึกษาและประสานงานแกส่ านักงานเกษตรจงั หวดั ในการจดั ทาแผนยทุ ธศาสตร์ แผนการปฏบิ ตั ิงาน
และบูรณาการแผนดา้ นการสง่ เสรมิ การเกษตรระดับ จงั หวัดและกลุ่มจังหวดั
8. ปฏบิ ัตงิ านร่วมกบั หรอื สนับสนุนการปฏิบตั ิงานของหน่วยงานอ่ืนท่ีเกย่ี วข้องหรือท่ีได้รับมอบหมาย

สำนักงำนสง่ เสริมและพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวัดชัยนำท

6

ภารกจิ ของกลุ่ม/ ฝา่ ย / ศนู ย์ปฏบิ ัติการ

ฝา่ ยบรหิ ารทัว่ ไป มหี นา้ ที่

1) ปฏบิ ัตงิ านดา้ นงานธุรการ งานสารบรรณ งานการเงนิ บญั ชี และพสั ดุงานพมิ พ์ และแจกจา่ ยเอกสาร และการ
ติดต่อประสานงานกับหน่วยงานท่ีเก่ยี วข้อง

2) ดาเนนิ การเกย่ี วกบั งานบรหิ ารงานบุคคล และงานสวสั ดิการตา่ ง ๆ
3) ดาเนินการเก่ียวกับการประชมุ ของหน่วยงาน
4) บรหิ ารจดั การงบประมาณประจาปขี องหนว่ ยงาน และควบคมุ การใชจ้ ่ายเงินงบประมาณ
5) งานดแู ลอาคารสถานท่แี ละยานพาหนะ
6) ปฏบิ ตั งิ านอนื่ ๆ ทเี่ กี่ยวข้องหรอื ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

กลุ่มพฒั นาบุคลากร มหี นา้ ท่ี

1) ศกึ ษา วเิ คราะห์ วางแผนและดาเนนิ การการพัฒนาบคุ ลากรในดา้ นวชิ าการและคณุ ธรรม จรยิ ธรรมของ
บคุ ลากรในเขตรับผดิ ชอบ
2) ศึกษา วเิ คราะห์ พฒั นาเทคนคิ พฒั นาหลักสูตร และวธิ กี ารจัดทาหลกั สตู รการฝกึ อบรมใหส้ อดคล้องกบั
บริบทและความตอ้ งการของบคุ คลเปา้ หมาย
3) ดาเนนิ การจัดอบรมและถา่ ยทอดความร้แู ก่เจา้ หนา้ ที่ ระดับจงั หวดั ระดบั อาเภอ รวมทงั เกษตรกรผนู้ า
และสถาบันเกษตรกร
4) ประสานงานถา่ ยทอดความรูใ้ หค้ าปรึกษาแนะนา และร่วมแกไ้ ขปญั หาข้อขดั ข้องในการปฏิบัติงานด้าน
การพัฒนาบุคลากร ให้แกส่ านกั งานเกษตรจงั หวดั ศูนยป์ ฏบิ ัตกิ ารและหนว่ ยงานท่เี กย่ี วขอ้ ง
5) ตดิ ตาม นิเทศงาน และประเมนิ ผลการดาเนินงานการพฒั นาบคุ ลากร
6) ปฏบิ ตั หิ นา้ ท่อี ่ืน ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

สำนักงำนสง่ เสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชยั นำท

7

ภารกจิ ของกลุ่ม/ ฝา่ ย / ศนู ยป์ ฏบิ ตั ิการ

กลมุ่ ยทุ ธศาสตรแ์ ละสารสนเทศ มีหนา้ ที่

1) ศึกษา วเิ คราะหก์ ารจดั ทายทุ ธศาสตรก์ ารสง่ เสริมการเกษตรระดับเขต ดาเนินการขับเคลื่อนยทุ ธศาสตร์ของ
หนว่ ยงานทงั ในระดบั เขตและกลมุ่ จังหวัด

2) ศกึ ษา วเิ คราะห์และจัดทาขอ้ มลู สารสนเทศ ภูมสิ ารสนเทศ เพอ่ื สนบั สนุนงานสง่ เสรมิ การเกษตรของ
สานักงานเกษตรจังหวัด และศูนย์ปฏบิ ัติการ

3) ประสานงานวจิ ัยและวิชาการกบั หน่วยงานวิชาการภาครฐั เอกชน และสถาบนั การศึกษาเพือ่ สนบั สนุนงาน
ส่งเสริมการเกษตรในเขตรบั ผดิ ชอบ

4) ประสานการตรวจราชการ การตดิ ตาม นิเทศ และประเมนิ ผล และการดาเนนิ งานสง่ เสรมิ การเกษตร
ในเขตรับผิดชอบ

5) การบรหิ ารแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานและการรายงานผลการปฏบิ ัตริ าชการ
6) สง่ เสรมิ และสนับสนุนการดาเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร การศึกษา วเิ คราะห์ วิจยั และใหค้ าปรกึ ษา

แก่สานักงานเกษตรจังหวดั ศูนย์ปฏิบตั กิ าร เพื่อจัดทาแผนยทุ ธศาสตร์ แผนการปฏบิ ตั ิงานและการบูรณาการ
งานสง่ เสรมิ การเกษตรในระดับจังหวัด และกลุม่ จงั หวัด
7) ศึกษา พัฒนา รปู แบบ วิธกี าร การประชาสัมพันธง์ านส่งเสรมิ การเกษตรเพ่อื สนบั สนนุ หน่วยงานในเขตรบั ผิดชอบ
และดาเนนิ การประชาสมั พนั ธ์ การประกวดผลงานส่งเสรมิ การเกษตร การแสดงนทิ รรศการ การเผยแพร่
ประชาสัมพันธง์ านส่งเสริมการเกษตร
8) ปฏบิ ัติหนา้ ทอ่ี ื่น ๆ ตามทไ่ี ดร้ บั มอบหมาย

สำนักงำนส่งเสรมิ และพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชยั นำท

8

ภารกจิ ของกลุ่ม/ ฝ่าย / ศูนยป์ ฏิบัติการ

กลุ่มส่งเสริมและพฒั นาการผลิต มีหน้าที่

1) ศึกษา วเิ คราะห์ วจิ ัย และประยุกต์การใช้เทคโนโลยกี ารผลิตพชื ให้เหมาะสมกบั ศักยภาพของเกษตรกร
และสภาพพืนที่ การจดั การสนิ ค้าเกษตร การพฒั นา คณุ ภาพสนิ คา้ เกษตร การอารกั ขาพืช ในลักษณะ
บรู ณาการวิชาการด้านการ ผลิตพืช และพืนทีเ่ กษตรกรรมในแตล่ ะภมู ิภาค

2) สง่ เสริมและให้บรกิ ารเทคโนโลยี การบรหิ ารจัดการสินค้าเกษตร การพฒั นา คณุ ภาพสนิ คา้ เกษตรสู่
มาตรฐาน การอารักขาพชื และสนับสนนุ ขอ้ มลู ทางวิชาการในดาเนินงานสง่ เสริมและพัฒนาอาชพี ของ
เกษตรกรให้แก่สานกั งานกษตรจังหวัด และศนู ยป์ ฏบิ ัติการ

3) ประสานงาน และร่วมดาเนนิ การ ศึกษา วจิ ัยเทคโนโลยกี ารผลิตพชื การจดั การสนิ คา้ เกษตร การพฒั นา
คณุ ภาพสนิ คา้ เกษตรและการอารักขาพืชกบั หนว่ ยงานท่เี กี่ยวขอ้ ง

4) ใหค้ าปรกึ ษาและสนบั สนนุ ขอ้ มูลดา้ น Zoning ข้อมูลทางวชิ าการดา้ นการผลติ การจัดการผลผลติ และ
การพัฒนาคุณภาพสินค้าเกษตรแกส่ านักงานเกษตรจงั หวัดและศนู ยป์ ฏิบัติการ

5) ส่งเสริมและประสานการดาเนนิ งานตามโครงการอันเนือ่ งมาจากพระราชดาริ และในเขตพืนที่เฉพาะ
ในเขตพืนทล่ี มุ่ นาต่าง ๆ และในเขตพืนท่ีพิเศษ

6) ติดตาม นิเทศ และประเมินผลการดาเนนิ งานสง่ เสริมการผลิตพืช การจดั การสินค้าเกษตร การพฒั นา
คุณภาพสนิ ค้าเกษตรและการอารักขาพืช

7) ปฏบิ ตั หิ น้าท่ีอนื่ ๆ ตามท่ีได้รบั มอบหมาย

สำนกั งำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวดั ชัยนำท

9

ภารกิจของกล่มุ / ฝา่ ย / ศูนยป์ ฏิบตั กิ าร

กลุม่ สง่ เสรมิ และพฒั นาเกษตรกร มีหน้าท่ี

1) ศึกษา วิเคราะห์ วิจัยเพ่อื พัฒนางานส่งเสริมการเกษตร การพฒั นาผู้นาเกษตรกรการพัฒนาองคก์ ร สถาบันเกษตรก
งานวสิ าหกิจชุมชน งานสง่ เสรมิ เคหกิจเกษตร และการพฒั นาศักยภาพและความเขม้ แข็งของกลมุ่

2) ศกึ ษา วเิ คราะห์และสนบั สนนุ การแปรรูปผลผลติ การพฒั นาผลติ ภณั ฑ์ และบรรจุภัณฑ์ ในเขตรับผดิ ชอบ
3) ประสานงานงานวิจัยดา้ นการพฒั นาเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และวสิ าหกิจชุมชนกับหนว่ ยงานวชิ าการ

สถาบนั การศึกษาและเอกชนทเ่ี กีย่ วข้อง
4) ใหค้ าปรกึ ษา แนะนาแกส่ านกั งานเกษตรจงั หวดั ในการสรา้ งความเข้มแข็งให้กบั เกษตรกร องค์กรเกษตรกร

กลมุ่ ส่งเสริมอาชีพ วิสาหกจิ ชุมชน งานเคหกจิ เกษตร และกลุ่มเครอื ขา่ ยการทางานในพนื ท่ี และถา่ ยทอดความรู้
ดา้ นวชิ าการสง่ เสรมิ การเกษตรแกเ่ จา้ หนา้ ที่
5) ประสานงานและให้การสนบั สนนุ การพฒั นาเกษตรกร องคก์ รเกษตรก กลุ่มสง่ เสริมอาชีพ วิสาหกิจชุมชน
และงานสง่ เสรมิ เคหกิจเกษตร
6) ติดตาม นเิ ทศ และประเมินผลการดาเนินงานสง่ เสรมิ และพฒั นาเกษตรกร และองคก์ รเกษตรกร
7) ปฏิบัตหิ นา้ ท่อี นื่ ๆ ตามท่ีไดร้ บั มอบหมาย

ศูนย์สง่ เสริมและพฒั นาอาชีพการเกษตรจังหวดั ลพบรุ ี มหี น้าท่ี

1) ศกึ ษา วิเคราะห์ ทดสอบ ประยกุ ต์ พฒั นาเทคโนโลยีและองคค์ วามรู้ ภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ ให้เหมาะสมกับ
ศกั ยภาพ ของพืนที่ พฒั นาแปลงสาธติ และแปลงเรียนรู้ ใหเ้ ปน็ แปลงต้นแบบ และพฒั นาผลิตภณั ฑ์
จากผลิตการเกษตรเพ่อื เพิม่ มลู ค่า

2) สง่ เสรมิ และถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการผลติ และการจัดการผลผลิตทเี่ หมาะสม กับศักยภาพของพืนท่ี
3) เป็นศนู ย์กลางในการรวบรวมการผลติ การขยาย กระจายพนั ธ์พุ ชื และแมลงเศรษฐกจิ เพอื่ ใช้ในงานส่งเสริม

และพัฒนาอาชพี การเกษตร
4) ฝกึ อบรมอาชีพการเกษตรแกเ่ จ้าหน้าท่ที ี่เกยี่ วข้อง เกษตรกร และผสู้ นใจทั่วไป
5) ให้บริการข้อมูล ข่าวสารวชิ าการดา้ นเกษตร และสนับสนุนปจั จยั การผลิตทจ่ี าเป็น รวมทงั ให้บรกิ ารทางการเกษตร

อน่ื ๆ ตามศักยภาพของศนู ย์
6) ปฏิบัตงิ านอนื่ ๆ ตามทไี่ ดร้ บั มอบหมาย

สำนกั งำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวดั ชัยนำท

10

ภารกจิ ของกลมุ่ / ฝ่าย / ศนู ยป์ ฏบิ ัติการ

ศูนย์ส่งเสรมิ เทคโนโลยกี ารเกษตรด้านวศิ วกรรมเกษตรจงั หวัดชยั นาท มีหนา้ ที่

1) ศึกษา ทดสอบ วจิ ัยประยกุ ต์ และพฒั นางานด้านวิศวกรรมเกษตรท่เี กี่ยวขอ้ งในการพัฒนาระบบการ
ทาการเกษตรของประเทศไทย

2) ส่งเสริมและถ่ายทอดความรูเ้ พอื่ พฒั นาเกษตรกรให้มีขีดความสามารถในการนาเทคโนโลยีวศิ วกรรมเกษตร
และเทคโนโลยีอ่นื มาประยุกตใ์ ชส้ าหรบั พัฒนาการผลิตและการจดั การสินค้าเกษตรอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

3) เป็นศนู ย์ต้นแบบด้านการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยวี ิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยอี นื่ ท่ีเกย่ี วข้องเพ่ือพฒั นา
ระบบการผลิตพืชอย่างยง่ั ยืน

4) บรกิ ารวชิ าการเพ่อื สนับสนุนงานสง่ เสริมการเกษตร โดยการเป็นที่ปรกึ ษาใหค้ าแนะนา คานวณออกแบบ
และเป็นวทิ ยากรดา้ นการใช้เทคโนโลยวี ศิ วกรรมเกษตรและเทคโนโลยอี นื่ เพอื่ พฒั นาการผลิตสินคา้ เกษตร

5) บูรณาการการทางาน และเช่ือมโยงข้อมูลทางวชิ าการดา้ นวศิ วกรรมเกษตรและ
เทคโนโลยีอื่นที่เก่ยี วขอ้ งเพ่อื พัฒนางานสง่ เสรมิ การเกษตร

6) ปฏบิ ัตงิ านอน่ื ท่ไี ด้รบั มอบหมาย

ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารกั ขาพืชจงั หวัดชัยนาท มีหนา้ ท่ี

1) ศึกษา ทดสอบ การใชเ้ ทคโนโลยกี ารจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน ในเขตพนื ทร่ี ับผิดชอบ
2) สง่ เสริมและถ่ายทอดความรูด้ ้านการใชเ้ ทคโนโลยีการควบคมุ ศัตรูพืช การอนรุ ักษ์ และผลิตขยายชีวนิ ทรยี ์

ทีม่ ปี ระโยชน์ รวมทงั พืช ทีม่ คี ณุ สมบัติควบคมุ ศัตรพู ชื
3) ดาเนินการผลิตขยายชวี ินทรยี ์ และสารธรรมชาติควบคมุ ศัตรูพชื เพื่อใช้ในงานสง่ เสรมิ การเกษตร
4) ใหบ้ รกิ ารตรวจวิเคราะห์ วินจิ ฉยั ศตั รพู ชื พยากรณ์เตือนการระบาดและปอ้ งกันกาจดั ศตั รพู ืช
5) ปฏิบัติงานอื่นที่ไดร้ ับมอบหมาย

สำนักงำนสง่ เสริมและพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวดั ชยั นำท

11

การขับเคลอื่ นแนวคดิ งานสง่ เสริมการเกษตรเชงิ รกุ
(Chai Nat Zone 1 Agromodel)

และยุทธศาสตรเ์ ชิงกลยทุ ธพ์ ฒั นาการเกษตร
แบบมีเป้าหมาย เขตที่ ๑ จังหวดั ชัยนาท
(Chai Nat Zone 1 – STM : Chai Nat Strategy

Targeting Management)

12

สำนกั งำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชัยนำท

13

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวดั ชัยนำท

ส่วนท่ี 2

ผลการปฏบิ ตั ริ าชการ

15

แผนงานยทุ ธศาสตรเ์ สรมิ สรา้ งพลงั ทางสงั คม

16

โครงการคลนิ ิกเกษตรเคลอื่ นทใ่ี นพระราชานุเคราะห์ สมเดจ็ พระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกฎุ ราชกมุ าร

โครงการคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ในพระราชานุเคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร
เป็นโครงการทพ่ี ระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว เม่ือครังทรงดารงพระอิสระสมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ
สยามมกุฎราชกุมาร ทรงโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมรับไว้เป็นโครงการในพระราชานุเคราะห์ ตังแต่ปี 2545
จนถงึ ปัจจบุ ัน

ผลการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนาท
ร่วมกบั สานกั งานเกษตรจังหวัดภายใตก้ ารกากับดูแล ดาเนินการจัดงานโครงการคลินิกเกษตรเคล่ือนที่ในพระราชานุ
เคราะห์ สมเด็จพระบรมโอรสาธิราช ฯ สยามมกุฎราชกุมาร เป็นรายไตรมาส จานวน 4 ครัง แต่เนื่องด้วยใน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ 2019 (COVID - 19) ที่ทวีความรุนแรงอย่างต่อเนื่อง
สง่ ผลกระทบตอ่ การดาเนนิ งานโครงการคลนิ ิกเกษตรเคลื่อนท่ีในพระราชานุเคราะห์ฯ สานักงานเกษตรจังหวัดทัง
9 จงั หวดั จึงปรบั เปลี่ยนรปู แบบการดาเนนิ งาน เปน็ การจดั แสดงนิทรรศการเฉลิมพระเกียรติและจัดจุดให้บริการ
โครงการคลินกิ เกษตรเคล่ือนที่ในพระราชานุเคราะห์ฯ เพื่อใหค้ าแนะนา บรกิ ารเอกสารวิชาการ แผ่นพับ พันธุ์พืช
บรกิ ารแกเ่ กษตรกรและประชาชนผสู้ นใจทวั่ ไป ภายใต้มาตรการป้องกันและควบคมุ โรคตดิ เชอื ไวรัสโคโรนา 2019
(COVID - 19) อย่างเข้มงวดด้วยการรักษาระยะห่าง โดยวิธีการจากัดจานวนผู้เข้าร่วมงานไม่เกิน 50 คน
และนาเทคโนโลยีออนไลน์ Zoom meeting มาใช้ในการให้บริการแก่เกษตรกรที่มีปัญหาทางด้านการเกษตร
โดยมีหนว่ ยงานภาคีภายใต้สังกดั กระทรวงเกษตรและสหกรณร์ ว่ มตอบคาถามและใหค้ าแนะนา

สำนกั งำนส่งเสรมิ และพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวดั ชยั นำท

17

โครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวัน

โครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวันเป็นโครงการท่ีสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระราชดาริให้เร่ิมดาเนินการ “โครงการเกษตรเพ่ืออาหารกลางวัน”
ในโรงเรียนสังกัดกองบัญชาการตารวจตระเวนชายแดน ตังแต่ พ.ศ. 2523 และทาการขยายผลไปยังโรงเรียนใน
สังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขันพืนฐาน มีวัตถุประสงค์เพื่อช่วยแก้ปัญหาการขาดแคลนอาหาร
กลางวนั ของเด็กนักเรียน นอกจากจะทาให้มีอาหารกลางวันที่มีคุณค่าทางโภชนาการบริโภคตลอดช่วงการศึกษา
สาหรับนักเรียนแล้ว นักเรียนยังได้รับความรู้ด้านการเกษตรสมัยใหม่ เกิดทัศนคติท่ีดีต่ออาชีพการเกษตร และ
สามารถนาไปใช้ประกอบอาชีพได้ในอนาคต

ผลการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 พบว่าพืนที่การกากับติดตามของสานักงานส่งเสริมและ
พัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนาท ดาเนินงานโครงการเกษตรเพื่ออาหารกลางวัน จานวน 3 จังหวัด ได้แก่
กรุงเทพมหานคร จังหวัดปทุมธานี และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีจานวนโรงเรียนท่ีเข้าร่วมโครงการฯ จานวน
46 โรงเรียน และได้จัดทาเอกสารวิชาการในเร่ือง ความม่ันทางอาหารในโรงเรียน : ผักผลไม้ 5 สี และพืช
สมุนไพรสร้างภมู ิคมุ้ กันต้านเชอื ไวรัส และการปลูกผักสวนครัวเพ่ืออาหารกลางวนั เพื่อให้เด็กนักเรียน ได้มีความรู้
ความเข้าใจในเรื่องวธิ ีการปลกู ผักสวนครวั แบบง่าย ทสี่ ามารถนาไปปฏิบัตไิ ดจ้ ริง เรียนรู้การการสงั เกตเมื่อปลูกผัก
แล้วจะพบโรคแมลงศัตรูผักอะไรบ้าง อีกทังมุ่งเน้นให้ทราบคุณประโยชน์ของสารอาหารท่ีเป็นส่วนประกอบของ
ผักผลไม้ และพชื สมุนไพร 5 สี ทส่ี ามารถนามาปรงุ เมนูอาหารเพ่ือชว่ ยสรา้ งภูมิคุม้ กันให้ร่างกายตา้ นทานเชือไวรสั

สำนกั งำนสง่ เสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวัดชัยนำท

18

โครงการ 1 ตาบล 1 กลมุ่ เกษตรทฤษฎใี หม่

โครงการ 1 ตาบล 1 กลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ เป็นโครงการท่ีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จัดทาขึน
เพ่ือช่วยเหลือเกษตรกรที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 และเป็นการสร้างความ
เข้มแข็งให้ชุมชนในท้องถ่ินให้มีความม่ันคงทางอาหาร สามารถพึ่งพาตนเองได้ โดยน้อมนาหลักเศรษฐกิจ
พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่มาเป็นแนวทางในการดาเนินโครงการฯ มุ่งเน้นให้เกษตรกรมีแหล่งนาสารอง เพ่ือ
ใช้การประกอบการเกษตรตลอดทังปีโดยการขุดสระนา ปลูกไม้ผลบนคันดิน เลียงสัตว์เพ่ือเป็นคลังอาหาร เช่น
ไก่ไข่ ปลานลิ ในสระ เป็นตน้

ผลการดาเนนิ งาน ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กาหนดเปา้ หมายเกษตรกรสมัครเข้า
ร่วมโครงการฯ จานวน 3,2000 ราย พบว่าในพืนที่ความรับผิดชอบและกากับติดตามของสานักงานส่งเสริมและ
พฒั นาการเกษตรท่ี1 จงั หวดั ชยั นาท มีจังหวัดทเ่ี ข้าร่วมโครงการฯทังหมด 7 จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง
ลพบุรี สระบุรี ปทุมธานี และพระนครศรีอยุธยา ยกเว้น พ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร และจังหวัดปทุมธานี มีเกษตรกร
สมคั รเขา้ ร่วมโครงการฯ จานวน 491 ราย คิดเป็น 1.67 % ของเป้าหมายท่ีเกิดขึนจริงทังประเทศ โดยเป็นกลุ่ม
เกษตรกรทั่วไป จานวน 452 ราย กลมุ่ เกษตรกร 5 ประสาน จานวน 39 ราย รวมจานวนสระนาทงั หมด 491 บ่อ
พร้อมทงั มอบปัจจัยการผลิตไมผ้ ล ใหแ้ ก่เกษตรกรทเี่ ข้ารว่ มโครงการฯ

สำนักงำนส่งเสรมิ และพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนำท

19

แผนงานพ้นื ฐานดา้ นการสรา้ งความสามารถ
ในการแข่งขนั

20

โครงการอบรมพฒั นาเกษตรกรผนู้ าเครือข่ายอาสาสมัครเกษตรหมูบ่ า้ น ปงี บประมาณ 2564

โครงการอบรมพัฒนาเกษตรกรผู้นาเครือข่ายอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน ปีงบประมาณ 2564 มีวัตถุประสงค์
เพ่ือให้ความรู้และสร้างความเข้าใจในแนวคิด แนวทางและวิธีการส่งเสริมและพัฒนาเครือข่ายอาสาสมัครเกษตร
หมู่บ้าน พร้อมขยายผลสร้างการรับรู้ให้เกษตรกรผู้นาในพืนท่ีได้เห็นความสาคัญและตระหนักรู้ในบทบาทหน้าที่
ในการทางานเป็นเครือข่ายอาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน ตลอดจนเป็นการยกย่อง เชิดชูเกียติแก่เกษตรกรผู้นาใน
ความเสียสละที่เข้ามาช่วยขับเคลื่อนการทางานตามนโยบายกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งเป็น 1 ใน 16+2
ภารกิจ ในการส่งเสริมการเกษตรเชิงรุก ( Agro Model ) โดยใช้ยุทธศาสตร์เชิงกลยุทธ์พัฒนาการเกษตรแบบมี
เป้าหมาย ที่เรียกว่า “Chai Nat Zone1 : Strategy Targeting Management (Chai Nat Zone 1 : STM.) ”
เพือ่ ขบั เคลอ่ื นนโยบายและงานส่งเสรมิ การเกษตรในพืนท่ีให้สอดคล้องกับภารกิจของกรมส่งเสริมการเกษตรและ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์เพื่อไปสู่เป้าหมายได้อย่างมีประสิทธิภาพ กิจกรรม ประกอบด้วย การมอบ
นโยบาย/บรรยายวิชาการ/ชมวีดีทัศน์/คลิปวีดีโอ และมอบประกาศเกียรติบัตรเพ่ือเชิดชูเกียรติให้แก่เกษตรกร
ผนู้ าในโครงการฯ

ผลการดาเนนิ งาน โครงการฯ
1. เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานในระดับจังหวัดและอาเภอ รวม 176 ราย มีความรู้ความเข้าใจในการ

สง่ เสริมและพฒั นาเกษตรกรผูน้ าและอาสาสมคั รเกษตรหม่บู ้าน
2. เกษตรกรผู้นาได้รับความรู้และเกิดความเข้าใจในการในการทางานตามบทบาทภารกิจ และได้รับ

ประกาศเกียรติบตั รเชดิ ชูเกยี รติ จานวน 5,000 ราย
3. ผู้จดั ฝึกอบรมไดร้ บั รู้รบั ทราบประเด็นปญั หาและความต้องการ ตลอดจนข้อคิดเห็นของเกษตรกรผู้นา

ในพืนที่ อันจะนาไปปรบั ปรงุ พัฒนาการดาเนินงานตอ่ ไป
4.จัดทาส่ือประกอบการอบรมฯ เพื่อให้ทีมเจ้าหน้าท่ีและเกษตรกรผู้นาหลักของอาเภอ ไปใช้ขยายผล

สร้างการรับรู้ให้เกษตรกรผ้นู าในพืนท่ตี ามเปา้ หมาย

สำนกั งำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวดั ชยั นำท

21

โครงการสมั มนาเครือขา่ ยแลกเปลย่ี นเรียนรู้อาสาสมคั รเกษตรระดบั เขต

โครงการสัมมนาเครือข่ายแลกเปล่ียนเรียนรู้อาสาสมัครเกษตรระดับเขตผ่านระบบ Video conference
ปีงบประมาณ 2564 มีวัตถุประสงค์เพ่ือเพิ่มศักยภาพให้อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) และเจ้าหน้าท่ีให้มี
ความรู้ความเข้าใจในการขับเคล่ือนงานส่งเสริมการเกษตร สามารถทางานตามบทบาทหน้าท่ีได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ มีส่วนร่วมในการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรในพืนที่ สามารถเช่ือมโยงการทางานกับเครือข่าย
ต่าง ๆ ได้ ตลอดจนเสรมิ สร้างขวญั กาลงั ใจในการปฏบิ ตั งิ านและเชดิ ชูเกียรติให้แก่อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน โดย
มีบุคคลเป้าหมาย จานวน 240 คน ประกอบด้วย ประธานคณะกรรมการอาสาสมัครเกษตรจังหวัด (อกษจ.)
คณะกรรมการอาเภอ (อกษอ.) อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้าน (อกม.) ที่ผ่านเวทีระดับจังหวัด/อาเภอ ผู้ดาเนินการ
เจ้าหน้าท่ผี เู้ กีย่ วขอ้ ง และผู้สังเกตการณ์ ดาเนินการจัดสัมมนาฯ ผ่านระบบ Video conference ณ ห้องประชุม
สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนาท พร้อมด้วยผู้เข้าร่วมสัมมนา เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง
ณ ห้องประชุมสานักงานเกษตรจงั หวดั และสานกั งานเกษตรพนื ที่กรุงเทพมหานคร ได้แก่ จังหวัดชัยนาท นนทบุรี
ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี อ่างทอง และสานักงานเกษตรพืนที่กรุงเทพมหานคร
ระหว่างวันที่ 5 –6 กรกฎาคม 2564 กิจกรรมสัมมนาฯผ่านระบบออนไลน์ (Video conference) ประกอบด้วย
ชมวีดีทัศน์/นิทรรศการสร้างการรับรู้ มอบนโยบาย/บรรยายวิชาการ แบ่งกลุ่มอภิปราย/นาเสนอ และมอบใบ
ประกาศเกยี รติคุณใหแ้ ก่อาสาสมคั รเกษตรหมบู่ ้าน จานวน 198 ราย

ผลการดาเนินงาน ผลการสัมมนาฯ อาสาสมัครเกษตรหมู่บ้านและเจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานอาสาสมัคร
เกษตร มีเครอื ขา่ ยการเรียนรู้และการทางาน สามารถปฏิบัติงานในพืนท่ีได้อย่างมีประสิทธิภาพ พร้อมทังมีความ
ภูมิใจในการปฏิบัติงาน สามารถขับเคลื่อนนโยบายและงานส่งเสริมงานอาสาสมัครเกษตร เพื่อให้บริการด้าน
การเกษตรใหแ้ กเ่ กษตรกรในพืนทีไ่ ด้อย่างมีประสทิ ธิภาพ โดยจากการประเมินผล พบว่า เกษตรกรมีระดับความ
พงึ พอใจตอ่ การสัมมนาฯครงั นี ในระดบั มากถงึ มากที่สุด คดิ เปน็ ร้อยละ 91

สำนักงำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชัยนำท

22

การจัดเวทีแลกเปลีย่ นตามระบบส่งเสริมการเกษตร

❑ ประชุมเกษตรจังหวัดและหัวหน้าสว่ นราชการระดับเขต ปงี บประมาณ พ.ศ. 2564
ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานกั งานสง่ เสรมิ และพฒั นาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ดาเนินการประชุม

เกษตรจังหวัดและหัวหน้าส่วนราชการระดับเขต เป็นเวทีหนึ่งตามระบบส่งเสริมการเกษตร จัดขึนเพ่ือการมีส่วน
ร่วมตามระบบสนับสนุนการปฏิบัติงาน ขับเคล่ือนนโยบายส่งเสริมการเกษตร ประสานการทางานระหว่าง
ส่วนกลาง สสก. 1 ศูนย์ปฏิบัติการ และจังหวัด รวมทังรับทราบปัญหาอุปสรรค และร่วมกันหาแนวทางแก้ไข
ปัญหาการดาเนินงานส่งเสริมการเกษตรในพืนท่ี ได้ดาเนินการจัดประชุมประชุมเกษตรจังหวัดและหัวหน้าส่วน
ราชการระดับเขต ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ผ่านระบบ Video Conference และระบบ Zoom Meeting
เพื่อลดผลกระทบจากเหตุการณ์การระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)และการปรับวิธีการ
ทางานส่คู วามปกติใหม่ (New Normal) จานวน 3 ครงั

ครงั ที่ 1 ในวันองั คารที่ 26 มกราคม 2564 เวลา 09.00 – 16.30 น.
ครงั ท่ี 2 ในวนั ศุกรท์ ี่ 21 พฤษภาคม 2564 เวลา 09.00 – 16.30 น.
ครังท่ี 3 ในวนั พุธท่ี 21 กรกฎาคม 2564 เวลา 09.00 – 16.30 น.
ผลการดาเนินงาน
1. สว่ นราชการสังกดั กรมสง่ เสรมิ การเกษตร ในพืนท่รี บั ผดิ ชอบของสานักงานสง่ เสรมิ และพัฒนาการเกษตรท่ี
1 จังหวัดชัยนาท มีการประสานเช่ือมโยงการปฏิบัติงาน และร่วมกันแก้ไขปัญหา เพ่ือพัฒนางานส่งเสริม
การเกษตรในพืนที่
2. เจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรในพืนที่ความรับผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและพัฒนา การเกษตรที่ 1
จังหวัดชัยนาท มีความพร้อมในการปฏิบัติงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร และสามารถขับเคล่ือนนโยบาย
ส่งเสริมการเกษตรให้บรรลผุ ลสาเรจ็ ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธภิ าพ

สำนักงำนสง่ เสริมและพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชยั นำท

23
❑ เวท่ีแลกเปลี่ยนเรยี นรู้ระดบั เขต (Region Workshop : RW)

สานกั งานส่งเสริมและพฒั นาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาทไดด้ าเนินการจดั เวทแี ลกเปลี่ยนเรียนร้รู ะดับเขต
(Regional Workshop : RW) ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 จานวน 2 ครัง เพื่อเป็นเวทีแลกเปล่ียนเรียนรู้การ
ดาเนินงานโครงการต่างๆ รวมทังเป็นเวทีในการร่วมกันแก้ไขปัญหาที่เป็นประเด็นเร่งด่วน (Hot Issue) ที่เกิดขึน
ในแต่ละพืนที่ สาหรับนักส่งเสริมการเกษตรทังในระดับจังหวัดและเขต ตลอดจนสรุปผลและถอดบทเรียนท่ีได้
จากการดาเนินงานในแต่ละพืนที่ เพื่อให้เกิดแนวทางการปฏิบัติท่ีสามารถนาไปใช้ในการดาเนินงานได้อย่าง
เหมาะสม มีบทเรียนและองค์ความรู้ในการพัฒนาการดาเนินงาน รวมทังได้ทราบถึงปัจจัยท่ีส่งผลถึงความสาเร็จ
และปญั หาอปุ สรรคท่ีเกิดขึน โดยผ่านเวทแี ลกเปลยี่ นเรียนรูร้ ะดับเขต ดงั นี

ครั้งที่ 1 จัดขึนระหว่างวนั ท่ี 16 – 17 ธนั วามคม 2563 ณ โรงแรมแฟนตาซีรีสอร์ท อาเภอเมือง จังหวัด
ชัยนาท โดยมีบุคคลเป้าหมาย ประกอบด้วย หัวหน้ากลุ่มระดับจังหวัด ผู้อานวยการกลุ่ม ผู้อานวยการศูนย์
ปฏิบัติการ เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบงานระบบส่งเสริมการเกษตร เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่สานักงาน
ส่งเสรมิ และพัฒนาการเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชยั นาท วทิ ยากร ผสู้ งั เกตการณ์และผู้เกี่ยวข้อง รวมจานวน 65 คน

ครั้งท่ี 2 จัดขึนระหว่างวันที่ 17 –18 สิงหาคม 2564 ณ ห้องประชุมสานักงานส่งเสริมและพัฒนาการ
เกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท และผ่านระบบออนไลน์ (Zoom) โดยมีบุคคลเป้าหมายประกอบด้วย ผู้อานวยการ
สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ผู้อานวยการกลุ่ม ผู้อานวยการศูนย์ปฏิบัติการ
เจ้าหน้าที่ศูนย์ปฏิบัติการ เจ้าหน้าท่ีสานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนาท และวิทยากร
จานวน 20 คน พรอ้ มทงั ผเู้ กษียณอายุราชการ ปี 2564 เจ้าหน้าที่สานักงานเกษตรจังหวัด และสานักงานเกษตร
อาเภอ ผา่ นระบบออนไลน์ Zoom รวมจานวน 150 คน

สำนักงำนส่งเสรมิ และพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชยั นำท

24

งานสนับสนุน และการตดิ ตามงานตามระบบสง่ เสรมิ การเกษตร

❑ กิจกรรมการนเิ ทศงานตามระบบสง่ เสริมการเกษตร
สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ได้ดาเนินกิจกรรมนิเทศงานตามระบบส่งเสริม

การเกษตร ประมาณ พ.ศ.2564 ในพืนทคี่ วามรบั ผิดชอบ 9 จงั หวดั โดยแบง่ การนเิ ทศออกเปน็ 2 ระดับ ไดแ้ ก่
1) การนิเทศงานระดับเขต โดยมปี ระเดน็ การนิเทศงาน ประกอบดว้ ย แนวทางการดาเนินงานกรมส่งเสริม

การเกษตร ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (10 ประเด็นหลัก) การขับเคลื่อนระบบส่งเสริมการเกษตร และงาน
เร่งด่วนท่ีสาคัญ เพื่อติดตามการดาเนินงานปัญหาอุปสรรคการดาเนินงาน กิจกรรม/โครงการต่างๆ รวมทังร่วม
หารือแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึน แต่เน่ืองด้วยสถานณ์กาแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโค โรนา 2019
(Covid-19) สสก.1 จ.ชัยนาท จึงได้ปรับรูปแบบการทางานให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน ในกรณีที่ไม่
สามารถดาเนนิ การในพืนทไี่ ด้ ปรับเปลีย่ นรปู แบบการดาเนินงานเป็นผ่านระบบออนไลน์ ดังนี

ครั้งท่ี 1 สานกั งานเกษตรปทมุ ธานี และสานกั งานเกษตรจงั หวัดนนทบุรี
ดาเนินการผา่ นระบบออนไลน์ Zoom

ครงั้ ที่ 2 สานกั งานเกษตรจงั หวดั สระบุรี และสานกั งานเกษตรจงั หวัดพระนครศรีอยุธยา
ดาเนินการลงพืนท่ี

ครัง้ ท่ี 3 สานกั งานเกษตรจงั หวดั ลพบรุ ี และสานกั งานเกษตรจังหวดั สิงหบ์ รุ ี
ดาเนินการผา่ นระบบออนไลน์ Zoom

ครัง้ ที่ 4 สานกั งานเกษตรจังหวัดอ่างทอง ดาเนนิ การผา่ นระบบออนไลน์ Zoom
ครง้ั ท่ี 5 สานกั งานเกษตรจงั หวดั ชยั นาท ดาเนนิ การลงพนื ท่ี
ครง้ั ที่ 6 สานกั งานเกษตรพนื ท่ีกรงุ เทพมหานคร ดาเนนิ การผา่ นระบบออนไลน์ Google meet

สำนักงำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชัยนำท

25
2) การนิเทศงานระดับส่วนกลางและสานักงานสง่ เสรมิ และพัฒนาการเกษตร โดยกองแผนงาน ผ่านระบบ
VDO Conference โดยมีประเด็น การนิเทศงาน ประกอบด้วย แนวทางการดาเนินงานกรมส่งเสริมการเกษตร
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564 (10 ประเด็นหลัก) การขับเคล่ือนระบบส่งเสริมการเกษตร และงานเร่งด่วนที่
สาคญั

สำนักงำนส่งเสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวดั ชัยนำท

26

โครงการสร้างการรบั รขู้ ้อมูลข่าวสารงานส่งเสรมิ การเกษตร ปี 2564 ในระดับเขต

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนาท ได้ดาเนินการ
โครงการสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารงานส่งเสริมการเกษตร ปี 2564 ในระดับเขต โดยเน้นการประชาสัมพันธ์ที่
เก่ียวกับนโยบาย ทิศทางการดาเนินงานที่ได้รับมอบหมายจากกรมส่งเสริมการเกษตรและผลการดาเนินงานใน
พืนท่ี 9 จังหวัดภาคกลาง ได้แก่ จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี สระบุรี
ลพบุรี และกรุงเทพมหานคร รวมถึงศูนย์ปฏิบัติการ 3 ศูนย์ การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่เหมาะสมกับพืนที่ การ
ทางานเชิงบูรณาการและสร้างเครือข่าย การเชื่อมโยงการตลาด ตัวอย่างความสาเร็จของเกษตรกรและชุมชน
รวมทังผลการดาเนินงานส่งเสริมการเกษตรในพืนที่ เพื่อให้เกษตรกร เจ้าหน้าท่ีส่งเสริมการเกษตร และ
สาธารณชนได้รบั รขู้ ้อมลู ข่าวสารที่ถกู ตอ้ ง รวดเรว็ และทว่ั ถงึ อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ บทความ โดยผลิตและเผยแพร่
ขา่ ว และสารคดี ผ่านส่ือมวลชนและสื่อออนไลน์ จานวน 60 ชินงาน ได้แก่ สื่อโทรทัศน์ 5 เรื่อง สื่อวิทยุ 5 เรื่อง
ส่ือส่ิงพิมพ์ 10 เร่ือง ส่ือออนไลน์ 10 เรื่อง เรื่องละ 2 ครัง และกิจกรรมนาสื่อมวลชนดูงาน และจัดกิจกรรม
แถลงขา่ ว 1 ครัง เผยแพร่ 20 ครงั

ผลลัพธ์การดาเนนิ งาน ประโยชยจ์ ากโครงการฯ ทเ่ี กษตรกรและเจ้าหนา้ ทสี่ ง่ เสริมการเกษตรได้รับ คือ ได้รับ
ข่าวสารทางการเกษตรจากการดาเนินกิจกรรมส่งเสริมการเกษตรในพืนที่ เป็นประโยชน์ต่อการประกอบอาชีพ
และการปฏิบัติงาน รวมไปถึงเกษตรกรและสาธารณชนสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารท่ีเป็นประโยชน์ เพื่อพัฒนา
อาชพี ทางการเกษตรได้

สำนกั งำนส่งเสรมิ และพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวัดชัยนำท

27

โครงการประกวดวีดทิ ัศน์การประชาสัมพันธง์ านส่งเสรมิ การเกษตรเชงิ รุก 16 + 2 ภารกิจ

สานักงานสง่ เสรมิ และพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ได้จัดทาโครงการเพ่ิมศักยภาพการผลิตส่ือวีดิ
ทัศน์ส่งเสริมการเกษตรเชิงรุก 16+2 ภารกิจ ในระดับเขต ปี 2564 เพ่ือดาเนินการประกวดวิดีทัศน์ ในหัวข้อ
การประชาสัมพันธ์งานส่งเสริมการเกษตรเชิงรุก 16+2 ภารกิจ ซึ่งเป็นยุทธศาสตร์การขับเคล่ือนงานของ
สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนาท เพื่อสร้างการรับรู้ข้อมูลข่าวสารการดาเนินงานของ
หนว่ ยงานในพืนท่ีรับผดิ ชอบของสานกั งานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท 9 จังหวัดภาคกลาง
และศูนย์ปฏิบัติการ 3 ศูนย์ ตามภารกิจงานส่งเสริมการเกษตรเชิงรุก 16+2 ภารกิจ โดยมุ่งเน้นการ
ประชาสัมพันธ์ ท่ีเกี่ยวข้องกับการขับเคลื่อนนโยบายสู่การปฏิบัติในพืนท่ี เพ่ือสร้างภาพลักษณ์ และเผยแพร่การ
ทางานและผลการดาเนินงานของหน่วยงาน ทังนีเพ่ือให้เห็นถึงผลสาเร็จจากการดาเนินงานโครงการฯ อย่างเป็น
รูปธรรม โดยเผยแพร่ผ่านสื่อออนไลน์ ให้เป็นท่ีประจักษ์แก่สาธารณะชน โดยมีการตัดสินการประกวด
ประกอบด้วย 2 รูปแบบ ไดแ้ ก่ 1) การตดั สินโดยคณะกรรมการตดั สนิ และ 2) การตัดสินจากส่ือออนไลน์ หรือ
รางวัลขวัญใจมหาชน (Popular Vote)

ซง่ึ ผลการประกวด ดังนี
รางวลั ชนะเลิศ ได้แก่ สานักงานเกษตรพืนที่กรงุ เทพมหานคร
รางวลั รองชนะเลิศอนั ดบั 1 ไดแ้ ก่ สานกั งานเกษตรจังหวดั สระบรุ ี
รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดับ 2 ไดแ้ ก่ สานักงานเกษตรจงั หวดั ชยั นาท
รางวลั ชมเชย ไดแ้ ก่ สานักงานเกษตรจงั หวดั อ่างทอง
รางวัลขวญั ใจมหาชน (Popular Vote) ไดแ้ ก่ สานกั งานเกษตรจงั หวดั สระบรุ ี

สำนักงำนส่งเสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชยั นำท

28

แผนงานยทุ ธศาสตรก์ ารเกษตรสรา้ งมูลคา่

29

โครงการยกระดบั คณุ ภาพมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร ปี 2564

❑ กิจกรรมสัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาเจ้าหน้าท่ีเป็นที่ปรึกษาเกษตรกรและเป็นวิทยากรด้านมาตรฐาน
GAP ระดบั เขตที่ 1 ปี 2564
การส่งเสริมสินค้าเกษตรให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน เป็นนโยบายสาคัญของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ทาหน้าที่ขับเคล่ือนนโยบายสู่การปฏิบัติโดยการ
พัฒนาเจ้าหน้าท่ีในระดับพืนท่ีให้มีความรู้ ความเข้าใจ ด้านการผลิตตามมาตรฐาน GAP จึงจัดสัมมนาเชิง
ปฏิบัติการพัฒนาเจ้าหน้าที่เป็นท่ีปรึกษาเกษตรกรและเป็นวิทยากรด้านมาตรฐาน GAP ระดับเขตที่ 1 ปี 2564
ขนึ ในระหวา่ งวันท่ี 7 - 9 ธนั วาคม 2563 โดยมีบคุ คลเป้าหมายคือเจา้ หนา้ ทีผ่ รู้ ับผดิ ชอบงาน GAP ระดับจังหวัด
และระดับอาเภอ 9 จังหวัด รวม 30 คน กิจกรรมการสัมมนาฯ ประกอบด้วยการชีแจงโครงการฯ ปี 2564 โดย
นางสาวประพิศพรรณ อนพุ ันธ์ ผู้อานวยการกลุ่มคณุ ภาพและมาตรฐานสินค้าเกษตร จากกรมส่งเสริมการเกษตร
มีการบรรยายให้ความรู้ด้านระบบมาตรฐาน GAP และวิธีการป้องกันกาจัดศัตรูพืชโดยชีววิธี มีกิจกรรม
แลกเปล่ียนเรียนรู้ร่วมกันโดยการแบ่งกลุ่มเพ่ือฝึกปฏิบัติพร้อมนาเสนอผลการประเมินแปลงเบืองต้น ณ แปลง
เกษตรกร ในพืนท่ีอาเภอสรรคบุรี(แปลงผัก 2 กลุ่ม) และอาเภอสรรพยา (แปลงผัก 1 กลุ่ม) โดยวิทยากรจาก
สานักงานวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 5 จ.ชัยนาท ร่วมกับเจ้าหน้าท่ีจากกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต
สสก.1 จ.ชัยนาท

ผลการดาเนินงาน เจ้าหน้าที่ สามารถนาความรู้ท่ีได้ไปพัฒนาเกษตรกรในพืนที่ให้มีความรู้และเตรียม
ความพร้อมเข้าสู่ระบบมาตรฐาน GAP โดยจังหวัดในพืนที่รับผิดชอบ สสก.1 โดยมีเกษตรกรเป้าหมายที่เข้าร่วม
โครงการยกระดับมาตรฐานสินค้าเกษตร (MOU) ปี 2564 ผ่านการอบรม ผ่านการประเมินแปลงเบืองต้น
พร้อมทังส่งใบสมัครขอรับรอง GAP (F01) ให้หน่วยงานกรมวิชาการเกษตรที่รับผิดชอบพืนท่ี เพื่อตรวจและให้
การรบั รองแปลง GAP จานวนทังสนิ 260 ราย 305 แปลง

สำนกั งำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวัดชัยนำท

30

❑ กิจกรรมประชุมความร่วมมือการรับรองแหล่งผลิตสินค้าเกษตร GAP พืช ระหว่างกรมส่งเสริม
การเกษตรกบั กรมวิชาการเกษตร ระดบั เขต ปี 2564
สานักงานสง่ เสรมิ และพฒั นาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ดาเนินงานโครงการยกระดับคุณภาพมาตรฐาน

สินค้าเกษตร โดยการจัดประชุมความร่วมมือการรับรองแหล่งผลิตสินค้าเกษตร GAP พืช ระหว่างกรมส่งเสริม
การเกษตรกับกรมวิชาการเกษตร ระดับเขต เพ่ือเป็นเวทีบูรณาการการทางานร่วมกันและร่วมหาแนวทาง
ขับเคล่ือนการดาเนินงานโครงการฯ มีบุคคลเป้าหมายเข้าร่วมประชุม ประกอบด้วย คณะทางานความร่วมมือ
การรับรองแหล่งผลิตสินค้าเกษตร GAP พืชระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรกับกรมวิชาการเกษตร ระดับเขต
(เจา้ หนา้ ทจ่ี ากสานักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตท่ี 5 จังหวัดชัยนาท เจ้าหน้าท่ีศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตร
จังหวัดนครสวรรค์ อุทัยธานี ปทุมธานี และนครปฐม) เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน GAP ระดับจังหวัด 9 จังหวัด
และเจา้ หน้าทีผ่ มู้ สี ว่ นเก่ยี วขอ้ งจากกรมส่งเสรมิ การเกษตร ไมน่ อ้ ยกว่า 35 คน

ผลการดาเนินงาน ดาเนินการจัดประชุมความร่วมมือการรับรองแหล่งผลิตสินค้าเกษตร GAP พืช
ระหว่างกรมส่งเสริมการเกษตรกับกรมวิชาการเกษตร ระดับเขต 2 ครัง (ครังท่ี 2/2564 เป็นรูปแบบออนไลน์
ผ่านระบบ Zoom) โดยมีคณะทางาน ฯ ผู้แทนคณะทางานฯ ระดับเขต ผู้แทนกรมส่งเสริมการเกษตร
ผ้รู ับผิดชอบงานระดบั จังหวดั เขา้ รว่ มใหข้ ้อมูลความก้าวหน้า ปัญหาและอปุ สรรคการดาเนินงานโครงการยกระดับ
คณุ ภาพมาตรฐานสนิ คา้ เกษตร(MOU) ซ่งึ มเี กษตรกรเปา้ หมาย ปี 2563 จานวน 807 ราย ปี 2564 จานวน 260 ราย
ซ่ึงสานักงานเกษตรจังหวัด สานักงานเกษตรอาเภอ มีหน้าที่จัดอบรม ถ่ายทอดความรู้ด้านการผลิตสินค้าเกษตร
ตามระบบมาตรฐาน GAP เพื่อเตรียมความพร้อมให้เกษตรกร และประเมินแปลงเบืองต้น พร้อมทังส่งใบสมัคร
ขอรับการรับรอง GAP ให้กรมวิชาการเกษตรได้ตามเป้าหมาย (ซ่ึงกรมวิชาการเกษตร ไม่นับเป้าหมาย
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นเป้าหมาย MOU) ปี 2563 มีเกษตรกรที่ผ่านการรับรองแปลง GAP รวมทังสิน
92 ราย 134 แปลง และ ปี 2564 มีเกษตรกรเป้าหมายผ่านการรับรองแปลง GAP รวมทังสิน 101 ราย 129
แปลง และอยู่ระหว่างดาเนินการตรวจพิจารณาให้การรับรอง GAP อีก 159 ราย (ตัดยอดข้อมูล ณ วันท่ี 30
กนั ยายน 2564 )

สำนกั งำนส่งเสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชัยนำท

31

❑ กิจกรรมนาร่องและขยายผลงานส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรแบบกลุ่มจัดตามระบบควบคุมภายใน
GAP,s Internal Control Systems : ICS ประชุมเชงิ ปฏบิ ัตกิ ารครัง้ ที่ 1
สานักงานสง่ เสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชยั นาท ไดจ้ ัดกิจกรรมนาร่องและขยายผลงานสง่ เสรมิ

การผลิตสินค้าเกษตรแบบกลุ่มตามระบบควบคุมภายใน GAP,s Internal Control System : ICS เป็นการนา
ร่อง การส่งเสริมเกษตรกรเข้าสู่ระบบการรับรองมาตรฐาน GAP แบบกลุ่ม ซึ่งจะช่วยส่งเสริมและสนับสนุนให้
เกษตรกรรายย่อยเข้าสู่ระบบมาตรฐานได้ง่ายขึน สืบเน่ืองจากในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 สสก.1 ได้พิจารณา
ร่วมกับสานักงานเกษตรจังหวัดสระบุรี เพ่ือคัดเลือกกลุ่มผู้ปลูกผักปลอดภัยหัวปลวก-พระยาทด ตาบลหัวปลวก
อาเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี มีสมาชิกเกษตรกร ผู้ปลูกพืชผัก จานวน 15 ราย ท่ีมีศักยภาพด้านการผลิต มีการ
รวมกลุ่มกันผลิต จาหน่าย และมีความต้องการได้รับรองมาตรฐาน GAP สสก.1 ร่วมกับสานักงานเกษตรจังหวัด
สระบุรี ไดม้ กี ารจัดอบรม ถา่ ยทอดความรูก้ ารผลติ พชื ผักปลอดภยั ตามระบบมาตรฐาน GAP การจัดทาคู่มือระบบ
ความคมุ ภายในแบบกล่มุ และการเตรียมความพรอ้ มของกลมุ่ เพื่อขอการรับรองฯ แบบกลุ่ม เพ่ือผลักดันให้กลุ่มผู้
ปลกู ผักปลอดภยั หัวปลวก-พระยาทด สามารถจัดทาระบบควบคุมภายในแบบกลุ่ม สาเร็จและเป็นต้นแบบระดับ
เขตได้ตามเป้าหมาย ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สสก.1 จึงได้พิจารณาดาเนินกิจกรรมนาร่องและขยายผลงานฯ
ในพืนท่ีและกลุม่ เป้าหมายเดมิ

ผลการดาเนินงาน จัดเวทีประชุมเชิงปฏิบัติการ 1 ครัง ในวันที่ 23 มิถุนายน 2564 ได้มีการทบทวน
ขันตอนการเข้าสู่ระบบควบคุมภายในแบบกลุ่ม รวมถึงการประเมินความพร้อมการจัดทาคู่มือ และบันทึกต่างๆ
การปฏิบัติตามข้อกาหนดของคู่มือ พบวา่ กลุ่มมีการจัดทาคู่มือระบบควบคุมภายในของกลุ่ม ชนิดสินค้าพืชผักที่มี
ความพรอ้ มในการยื่นสมคั รขอรบั การรับรองมี 7 ชนิด (ผกั บงุ้ จีน ถ่วั ฝกั ยาว ผักชี ตังโอ๋ บวบเหล่ียม กวางตุ้ง และ
ผกั สลัด)

ด้วยสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID 19) จานวนผู้ติดเชือรายใหม่และ
ผู้ป่วยท่ีเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลมีแนวโน้มสูงขึนอย่างต่อเน่ือง ส่งผลกระทบต่อการทางานในพืนที่
สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนาท จึงได้ปรับเปลี่ยนรูปแบบการทางานโดยเปล่ียน
กจิ กรรมการประชุมเชิงปฏิบัติการเป็นการจัดทาเอกสารวิชาการเร่ืองศัตรูพืชผักและการป้องกันกาจัด สนับสนุน
แก่เจ้าหน้าที่นักส่งเสริมการเกษตรและเกษตรกรเป้าหมายในจังหวัดสระบุรี เพ่ือใช้ในการพัฒนาความรู้ ความ
เข้าใจด้านการผลิตสินค้าเกษตร(พืชผัก) ให้ปลอดภัยตามมาตรฐาน GAP รวมถึงวิธีการป้องกันกาจัดศัตรูพืชโดย
วธิ ีผสมผสาน การใช้สารเคมีอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภัย เพือ่ ให้เกิดความยง่ั ยืนตอ่ ไป

เอกสารวชิ าการ
สำนกั งำนสง่ เสริมและพัฒนำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวัดชยั นำท

32

โครงการระบบสง่ เสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2564

❑ ประชมุ เช่ือมโยงการดาเนินงานคณะกรรมการเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร
(ศพก.) และแปลงใหญ่ ระดับเขต ปี 2564

สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ดาเนินการประชุมเชื่อมโยงการดาเนินงาน
คณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่และเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพ่ิมประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.)
ระดับเขต คณะกรรมการเครอื ข่ายแปลงใหญร่ ะดบั เขต คณะกรรมการเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ
การผลิตสนิ คา้ เกษตร (ศพก.) ระดบั เขต หนว่ ยงานภาคี และเจา้ หนา้ ทผ่ี เู้ กย่ี วข้อง จานวน 4 ครัง

ครังที่ 1 เม่ือวันท่ี 15 กุมภาพันธ์ 2564 ณ โรงแรมสุวรรณา ริเวอร์ไซด์ รีสอร์ท อาเภอเมือง จังหวัด
ชยั นาท มีผ้รู ่วมประชุม จานวน 62 ราย

ครังที่ 2 เมื่อวันท่ี 9 เมษายน 2564 ณ ศูนย์เรยี นรูก้ ารเพ่มิ ประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอาเภอบาง
ไทร ตาบลช้างใหญ่ อาเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรอี ยธุ ยา ผู้รว่ มประชุม จานวน 50 ราย

ครังที่ 3 เม่ือวันท่ี 17 มิถุนายน 2564 ประชุมผ่านระบบออนไลน์ Zoom Cloud Meeting ณ ห้องประชุม
สานักงานส่งเสรมิ และพัฒนาการเกษตรท่ี ๑ จังหวัดชัยนาท ผรู้ ่วมประชุม จานวน 59 ราย

ครังท่ี 4 เม่ือวันท่ี 19 สิงหาคม 2564 ประชุมผ่านระบบออนไลน์ Zoom Cloud Meeting ณ ห้องประชุม
สานกั งานส่งเสรมิ และพัฒนาการเกษตรที่ ๑ จงั หวดั ชัยนาท ผรู้ ่วมประชุม จานวน 53 ราย

ผลการดาเนินงาน จากการประชุมทาให้เกิดการเช่ือมโยงการดาเนินงานระหว่างคณะกรรมการเครือข่าย
แปลงใหญ่และศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) อย่างเป็นรูปธรรมและมี
ประสิทธิภาพ ของคณะกรรมการเครือข่ายแปลงใหญ่ระดับเขต คณะกรรมการเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพ่ิม
ประสทิ ธภิ าพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ระดับเขต หน่วยงานภาคี และเจ้าหนา้ ท่ีผู้เกยี่ วขอ้ ง

สำนักงำนส่งเสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชยั นำท

33

❑ กิจกรรมประกวดแปลงใหญ่ดเี ดน่ ระดบั เขต
สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ได้ดาเนินการประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับเขต

แต่เน่ืองด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธ์ุใหม่ 2019 (COVID – 19) ท่ีทวีความรุนแรง
อย่างต่อเนอื่ ง จงึ ได้ปรับเปลีย่ นรปู แบบการประกวดเป็นการจัดประชมุ คณะกรรมการตัดสินการประกวดแปลงใหญ่
ดีเด่นระดับเขต ประจาปี 2564 ผ่านระบบออนไลน์ Zoom Meeting โดยพิจารณาผลงานของแปลงใหญ่จาก
เอกสารขอ้ มูล วดี ิทศั น์ผลการดาเนินงาน จานวน 3 ครัง

ครังท่ี 1 วันท่ี 16 กรกฎาคม 2564 เพื่อเตรียมการตัดสนิ การประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดบั เขต
ครังท่ี 2 วันที่ 23 กรกฎาคม 2564 เพื่อพิจารณาคัดเลือกแปลงใหญ่ท่ีมีผลงานเด่นและเตรียมการตรวจ
ประเมนิ แปลง
ครงั ที่ 3 วนั ท่ี 4 - 5 สิงหาคม 2564 เพอื่ พจิ ารณาตดั สนิ การประกวดแปลงใหญ่ดเี ดน่ ระดับเขต
ผลการดาเนนิ งาน กลุ่มแปลงใหญท่ ่ชี นะการประกวดจะได้รางวัลเป็นประกาศเกียตริคุณ โล่รางวัล พร้อมด้วย
เงนิ รางวลั เพือ่ เป็นการยกยอ่ งเชิดชูเกยี รติ และสร้างขวญั กาลงั ใจให้แก่สมาชิกกลุ่มแปลงใหญ่อีกด้วย ซึ่งผลการประกวด
แปลงใหญด่ ีเดน่ ระดับเขต (เขต 1) ประจาปี 2564 ไดแ้ ก่
รางวลั ชนะเลิศ ไดแ้ ก่ แปลงใหญ่ขา้ วโพดเลยี งสตั ว์ หมู่ 2 ตาบลเขารวก อาเภอลาสนธิ จงั หวัดลพบรุ ี
รางวลั รองชนะเลิศอันดบั 1 ได้แก่ แปลงใหญ่พชื ผัก ตาบลสิงหนาท อาเภอลาดบวั หลวง

จงั หวดั พระนครศรอี ยธุ ยา
รางวัลรองชนะเลศิ อนั ดบั 2 ได้แก่ แปลงใหญป่ ลาช่อนตาบลแมล่ า อาเภอบางระจัน จงั หวัดสิงหบ์ รุ ี
รางวัลชมเชย ไดแ้ ก่ แปลงใหญ่หญ้าสนามแขวงแสนแสบ เขตมีนบรุ ี กรงุ เทพมหานคร

สำนกั งำนสง่ เสริมและพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชยั นำท

34

❑ กิจกรรมการประชาสมั พนั ธแ์ ปลงใหญ่
กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต ดาเนินกิจกรรมโครงการประชาสัมพันธ์โครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบ

แปลงใหญ่ ระดับเขต ปี 2564 โดยการผลิตและเผยแพร่ข่าว บทความ และสารคดี ผลการดาเนินงานโครงการ
ระบบสง่ เสรมิ เกษตรแบบแปลงใหญ่ ผ่านสอ่ื ตา่ งๆ ได้แก่ สอ่ื โทรทศั น์สว่ นกลาง ส่ือหนงั สือพมิ พ์ สอ่ื ออนไลน์

ผลการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัด
ชัยนาท ได้ผลิตและเผยแพร่ข่าว บทความ และสารคดี ผลการดาเนินงานโครงการระบบส่งเสริมเกษตรแบบ
แปลงใหญ่ ผา่ นสือ่ ต่างๆ ดังนี

▪ ผลิตและเผยแพร่สารคดีผ่านส่ือโทรทัศน์ส่วนกลาง จานวน 3 เร่ือง ได้แก่ 1) ขับเคล่ือนแปลง
ใหญ่ไม้มงคล จังหวัดอ่างทอง ให้เข้มแข็ง วางแผนการผลิตเช่ือมโยงการตลาด 2) ยกระดับพัฒนา
แปลงใหญผ่ ักนาคู จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ส่งโมเดิร์นเทรด สร้างรายได้ให้ชุมชน 3)เรื่องผลักดัน
นวัตกรรม เทคโนโลยีสู่ฟาร์มอัจฉริยะ แปลงใหญ่ข้าวโพดเลียงสัตว์ จังหวัดสระบุรี ยกระดับ
พฒั นาการเกษตรอยา่ งมีประสิทธภิ าพ

▪ ผลิตและเผยแพร่ข่าวหรือบทความผ่านส่ือหนังสือพิมพ์ จานวน 3 เรื่อง ได้แก่ 1) ตังเป้าผลิต
ข้าวอินทรีย์ตีตลาดคนรักสุขภาพ 2) เดินหน้าพัฒนาหมากเหลืองพืชทางเลือกใหม่ 3) หนุนปลูก
กลว้ ยหอมเขยี วคาเวนดิช

▪ ผลิตและเผยแพร่ข่าวหรือบทความผ่านสื่อออนไลน์ จานวน 3 เรื่อง โดยเผยแพร่ผ่าน
ส่ือออนไลน์ 6 ครัง ได้แก่ 1) ตังเป้ายกระดับส้มโอขาวแตงกวา หวังส่งขายต่างประเทศ 2) หนุน
แปลงใหญ่ผักปลอดภัย หวงั สรา้ งความม่ันใจใหผ้ ้บู รโิ ภค 3) ยกระดับแปลงใหญ่จิงหรีด เสริมแกร่ง
ดว้ ยเกษตรสมัยใหม่ พุ่งเปา้ เจาะตลาดนอก

สำนักงำนสง่ เสรมิ และพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท

35
❑ กิจกรรมติดตามและประเมินผลโครงการระบบส่งเสรมิ เกษตรแบบแปลงใหญ่

สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัดชัยนาท โดยกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต วางแผน
ติดตาม นิเทศ และประเมินผลงานโครงการฯ ในพืนท่ีรับผิดชอบ 9 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหานคร ชัยนาท
นนทบุรี ปทุมธานี พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สระบุรี สิงห์บุรี และอ่างทอง แต่นื่องจากสถานการณ์การระบาด
ของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 ที่มีการระบาดในพืนท่ีต่าง ๆ อย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะจังหวัดในพืนท่ี
รบั ผิดชอบของสานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท จึงได้ปรับเปล่ียนแนวทางการติดตาม
นิเทศ และประเมินผลงานโครงการ โดยใช้ระบบออนไลน์ผ่านโปรแกรม Zoom การรายงานด้วยเอกสาร
และ ใช้ line application นอกจากนี ยังมีการออกตดิ ตาม นเิ ทศ แบบกลุ่มยอ่ ย ในพืนท่ีทีม่ ีความเส่ียงต่า

ผลการดาเนินงาน ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ดาเนินการติดตามและประเมินผลโครงการระบบส่งเสริม
เกษตรแบบแปลงใหญ่ จานวน 4 ครงั ดังนี

ครังท่ี 1 เดือนธนั วาคม 2563 – มกราคม 2564
ครังท่ี 2 เดือนมีนาคม – เมษายน 2564
ครังที่ 3 เดือนมิถุนายน - กรกฎาคม 2564
ครังที่ 4 เดือนสิงหาคม – กันยายน 2564
ซ่ึงกลุ่มส่งเสริมและพัฒนาการผลิต ได้รวบรวมข้อมูลจัดทาเป็นเอกสาร แปลงใหญ่ต้นแบบ เขต 1
ชัยนาท ปี 2564 จานวน 830 เล่ม เพื่อเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์ ให้เจ้าหน้าที่ กลุ่มแปลงใหญ่ และผู้สนใจทั่วไป
นาไปใชป้ ระโยชน์ เป็นแนวทางในการพฒั นาแปลงใหญต่ ่อไป

สำนกั งำนสง่ เสริมและพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวัดชัยนำท

36

โครงการส่งเสรมิ การเพิม่ ประสทิ ธภิ าพการใช้นา้ ในระดับไร่นา

กรมส่งเสริมการเกษตร ได้ดาเนินโครงการส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้นาในระดับไร่นาเพ่ือให้
เกษตรกรมีความตระหนักการใช้นาอย่างรู้คุณค่า และมีความรู้ในการใช้นาอย่างมีประสิทธิภาพด้วยระบบการให้
นาแกพ่ ืชทถี่ กู ตอ้ ง รวมทงั เจา้ หนา้ ทผ่ี ูข้ บั เคล่ือนโครงการจาเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจในเร่ืองการให้นาแก่พืชที่
ถูกต้อง สามารถแนะนาถ่ายทอดความรู้แก่เกษตรกร โดยได้อนุมัติงบประมาณให้สานักงานส่งเสริมและพัฒนา
เกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ดาเนินการติดตามนิเทศงานและการประเมินผลการดาเนินงานโครงการฯ
ปงี บประมาณ 2564 ในพนื ทร่ี ับผดิ ชอบ 7 จังหวดั ภาคกลาง จานวน 14 แปลง ประกอบด้วย

1. จังหวัดท่ีเข้าร่วมโครงการฯ ปี 2563 จานวน 2 จังหวัด 4 แปลง ได้แก่ 1)จังหวัดสระบุรี ลงพืนท่ีติดตาม
จานวน 2 แปลง 2)จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ประสานให้เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบระดับจังหวัดติดตาม (เนื่องจาก
ปฏิบตั ิตามมาตรการป้องกันการแพรร่ ะบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) จานวน 2 แปลง

2. จงั หวัดทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการฯ ปี 2564 จานวน 5 จังหวัด 10 แปลง ได้แก่ 1) จังหวัดชัยนาท ลงพืนท่ีติดตาม
จานวน 2 แปลง 2) จงั หวดั ปทุมธานี ลงพนื ทตี่ ิดตาม จานวน 2 แปลง 3) จงั หวัดลพบุรี ลงพนื ที่ติดตาม จานวน 2
แปลง และประสานให้เจา้ หนา้ ท่ผี ู้รับผดิ ชอบระดับจังหวัดติดตาม (เนื่องจากปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่
ระบาดของโรคติดเชือไวรสั โคโรนา 2019 (โควิด-19) จานวน 1 แปลง 4) จังหวัดสิงห์บุรี ลงพืนท่ีติดตาม จานวน
1 แปลง และ 5) จังหวัดอ่างทอง ลงพืนที่ติดตาม จานวน 1 แปลง และประสานให้เจ้าหน้าท่ีผู้รับผิดชอบระดับ
จังหวัดติดตาม (เน่ืองจากปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19)
จานวน 1 แปลง

สำนกั งำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวดั ชยั นำท

37

โครงการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ตั ิการขับเคลือ่ นการใช้แผนที่เกษตรเพือ่ การบรหิ ารจัดการเชิงรกุ (Agri-Map) ระดบั เขต

การจัดสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการขับเคลือ่ นการใช้แผนทเี่ กษตรเพ่ือการบรหิ ารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) ระดับเขต
เป็นกระบวนการสัมมนาที่ต้องการท่ีจะให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับวิชาความรู้ในแง่ทฤษฎีรวมทังฝึกปฏิบัติการใช้
แผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุก (Agri-Map) สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรท่ี 1 จังหวัด
ชัยนาท พิจารณาดาเนินการในพืนท่ีจังหวัดลพบุรี และจังหวัดชัยนาท ซึ่งมีพืนที่ท่ีสามารถปรับเปล่ียนพืชโดยใช้
Agri-Map เป็นพืนท่ีท่ีคัดเลือกเป็นพืนท่ีต้นแบบการบริหารจัดการพืนที่เกษตรกรรม ปี 2564 และสามารถ
ดาเนินการได้ตามประกาศของจังหวัดภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019
(โควิด-19)

ผลการดาเนนิ งาน ดาเนนิ การจัดสมั นา จานวน 2 รุ่นๆ ละ 25 คน รวม 50 คน
รุ่นที่ 1 จานวน 25 คน ณ โรงแรมเบญจธารา บูติคเพลส รีสอร์ท อาเภอเมือง จังหวัดลพบุรี ระหว่าง

วันที่ 28 –29 มิถุนายน 2564 ซ่ึงผลการประเมินระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมสัมมนาฯ พบว่าในภาพรวม
ผตู้ อบแบบประเมนิ มีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุด โดยมคี า่ เฉลยี่ เทา่ กบั 4.13 (คิดเป็นร้อยละ 82.6)

รุ่นที่ 2 จานวน 25 คน ณ โรงแรมแฟนตาซี รีสอร์ท อาเภอเมือง จังหวัดชัยนาท ระหว่างวันท่ี 30
มถิ ุนายน ถึง 1 กรกฎาคม 2564 ซึง่ ผลการประเมินระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมสัมมนาฯ พบว่าในภาพรวม
ผ้ตู อบแบบประเมนิ มคี วามพึงพอใจในระดบั มากท่ีสุด โดยมีค่าเฉลย่ี เท่ากับ 4.10 (คดิ เปน็ ร้อยละ 82.6)

สำนักงำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จังหวดั ชัยนำท

38

โครงการสง่ เสรมิ อาชีพดา้ นการเกษตรตามอตั ลกั ษณ์และภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่

สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ร่วมกับสานักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท
ดาเนินการโครงการพัฒนาอัตลักษณ์พืนถิ่นจากภูมิปัญญาของชุมชน ในปีงบประมาณ 2564 เรื่อง การแปรรูป
นาตาลโตนด ชุมชนบ้านบางยายอน้ ตาบลห้วยกรด อาเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท โดยมีเป้าหมายเพ่ือส่งเสริมและ
พัฒนาด้านการผลิต การแปรรูป และการท่องเท่ียว เก่ียวกับตาลโตนดของจังหวัดชัยนาท ให้คงอยู่ และสืบทอดไป
ยังรุ่นหลัง และเป็นท่ีรู้จักในวงกว้าง โดยดาเนินการจัดเวทีชุมชนเพื่อระดมความคิดเห็น จานวน 4 ครัง ซึ่งผลจาก
การดาเนนิ งาน ดงั นี

คร้ังที่ 1 วันท่ี 24 มิถุนายน 2564 เป็นการดาเนินการระดมความคิดเห็นจากผู้เข้าร่วมเวทีชุมชนโดยแบ่ง
ออกเป็น 3 กล่มุ คอื ตน้ นา (ความเป็นมาและขอ้ มูล พืนฐานตาลโตนดในตาบลหัวยกรด) กลางนา (การใช้ประโยชน์
จากตาลโตนดและการแปรรปู ) และปลายนา (ชอ่ งทางการตลาด โดยได้รับข้อมลู เก่ียวกับความเป็นมาของภูมิปัญญา
ทอ้ งถิ่น ข้อมูลพนื ฐานเกย่ี วกบั ตาลโตนด การใชป้ ระโยชน์จากตาลโตนด การแปรรูป และชอ่ งทางการจาหนา่ ยทีผ่ า่ นมา

คร้ังที่ 2 วันท่ี 8 กรกฎาคม 2564 ดาเนินการระดมความคิดเห็นเพื่อวิเคราะห์ชุมชนและร่วมกาหนด
เปา้ หมายในการพฒั นาภมู ิปัญญาฯจากผเู้ ขา้ ร่วมเวทีชุมชนโดยแบ่งออกเปน็ 2 กลุม่ ซ่งึ เป็นการลงลกึ ถึงการได้มาของ
นาตาลโตนดและการแปรรูปนาตาลโตนดเป็นนาตาลสดไซรัป และนาตาลปีก เพ่ือวิเคราะห์หาเป้าหมายในการ
พัฒนาภมู ปิ ญั ญาการแปรรูปนาตาลโตนด พรอ้ มมกี ารสาธิตวิธกี ารขนึ ตาล การเฉาะตาล

คร้ังที่ 3 วนั ท่ี 15 กรกฎาคม 2564 ดาเนนิ การระดมความคิดเห็นเพื่อกาหนดแนวทางการพัฒนาอัตลักษณ์
พืนถ่ินจากภูมิปัญญาของชุมชน และกลไกขับเคลื่อนของชุมชน โดยการรวมกลุ่มวิเคราะห์ SWOT ของภูมิปัญญา
การแปรรูปนาตาลโตนด กาหนดแนวทาง กลยุทธ์ กิจกรรม และโครงการ ซึ่งผลที่ได้คือได้โครงการ ส่งเสริมและ
พัฒนาการผลิต การแปรรูป และท่องเที่ยวตาลโตนดจังหวัดชัยนาท มี 3 กลยุทธ์ คือ ส่งเสริมการผลิตตาลโตนด
ส่งเสริมการแปรรูปตาลโตนด และส่งเสริมการท่องเท่ียว มี 9 กิจกรรม คือ โรงเรียนตาลโตนด ขึนทะเบียน GI
สง่ เสรมิ การปลูกตาลโตนดในพนื ทข่ี องตนเอง วจิ ัยและพัฒนาตาลโตนด พัฒนาผลิตภัณฑ์ พัฒนาบรรจุภัณฑ์ จัดงาน
วันตาลโตนดประจาปี สง่ เสริมการท่องเที่ยว วถิ ชี ุมชน และอบรมให้ความรชู้ อ่ งทางการประชาสัมพันธ์

คร้ังท่ี 4 วันที่ 13 สิงหาคม 2564 ดาเนินการคืนข้อมูลโดยเอกสาร และเชิญผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย
เกษตรกรในพืนที่ หน่วยงานที่เกีย่ วขอ้ ง จานวน 5 ราย มารว่ มกันวางแผนเช่อื มโยงแผนพฒั นากบั เครอื ข่ายตา่ งๆ

สำนกั งำนสง่ เสริมและพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวัดชัยนำท

39

แผนงานยทุ ธศาสตรจ์ ดั การมลพิษและสิ่งแวดล้อม

40

โครงการสง่ เสริมการหยุดการเผาในพ้นื ทก่ี ารเกษตร

กิจกรรมจัดทาส่ือถ่ายทอดความรู้พร้อมเผยแพร่และประชาสัมพันธ์การรณรงค์การลดการเผาในท้องถ่ิน
เพื่อสนับสนุนหน่วยงาน และเกษตรกร ในพืนที่รับผิดชอบภาคกลาง 9 จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนาท สิงห์บุรี
ลพบรุ ี สระบรุ ี อ่างทอง พระนครศรอี ยุธยา ปทมุ ธานี นนทบุรี และกรงุ เทพมหานคร ไดร้ ับขอ้ มูลข่าวสารท่ีถูกต้อง
รวดเร็ว และท่ัวถึงอย่างมีประสิทธิภาพให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน (การระบาดโรคติดเชือโควิด-2019)
และเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจให้ตระหนักถึงผลกระทบที่จะเกิดขึนพร้อมเสนอทางเลือกในการใช้เทคโนโลยี
ทางการเกษตรทดแทนการเผา สรา้ งการมีส่วนรว่ มของเกษตรกรในการป้องกนั และแกป้ ญั หาการเผา รวมทังสร้าง
ต้นแบบการทาการเกษตรแบบปลอดการเผาเพื่อสนับสนุนการหยุดเผาในพืนที่การเกษตร ระยะเวลาการ
ดาเนินงาน ระหวา่ งเดือน กุมภาพันธ์ - พฤษภาคม 2564 โดยวิธีการ ดงั นี

1. จดั ทาปา้ ยไวนิลประชาสัมพนั ธ์ การรณรงค์ลดการเผาในทอ้ งถนิ่ เรอ่ื งการหยุดการเผาในพืนท่ี
การเกษตร สนบั สนนุ ในพืนทรี่ ับผดิ ชอบภาคกลาง 9 จังหวัด

2. จ้างเหมาผลิตสปอตวิทยุ เรื่องการหยุดการเผาในพืนที่การเกษตร พร้อมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทาง
สถานีวทิ ยุ และจัดทาแผ่น CD สนบั สนนุ ในพนื ที่รับผดิ ชอบภาคกลาง 9 จังหวัด

ผลการดาเนินงาน ป้ายไวนิลประชาสัมพันธ์ การรณรงค์ลดการเผาในท้องถิ่น เร่ืองการหยุดการเผาในพืนท่ี
การเกษตร สนับสนนุ ในพืนทรี่ บั ผดิ ชอบภาคกลาง 9 จังหวัด จานวน 80 ป้าย และจ้างเหมาผลิตสปอตวิทยุ เรื่อง
การหยดุ การเผาในพนื ทก่ี ารเกษตร พรอ้ มเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ทางสถานีวิทยุ และจัดทาแผ่น CD สนับสนุนใน
พนื ท่ีรับผิดชอบภาคกลาง 9 จังหวดั จานวน 160 แผ่น

จ.ชัยนาท 226จดุ แผนท่แี สดงจุดความร้อนสะสม ( )
ขา้ ว 2 233 ไร่
ขา้ วโพด 1 ไร่ ข้าว ไร่ เดือนมกราคม - พฤษภาคม 2564 พ้นื ทภี่ าคกลาง 9 จังหวดั จานวน 1 452 จุด
ออ้ ย 1 63 ไร่ ขา้ วโพด ไร่
อ่นื ๆ 34 อ้อย ไร่ ขา้ ว 2 199 ไร่ พื้นที่การเกษตร .26 ล้านไร่
รวม ไร่ ขา้ วโพด 452 ไร่ ข้าวนาปี จานวน.3 6 ไร่
ข้าว 1 2 ไร่ อ้อย 66 ไร่ ขา้ วโพด จานวน 44 41 ไร่
ขา้ วโพด ไร่ รวม 1 3 4 ไร่ อ้อย จานวน 1 1 534 ไร่
ออ้ ย 41 ไร่
ขา้ ว 2 ไร่ 1 452 จดุ
ขา้ ว 2 6 2 ไร่ ขา้ วโพด 22 ไร่ รวม 1 41 ไร่
ข้าวโพด 353 ไร่ อ้อย ไร่
อ้อย ไร่ รวม 4 ไร่ ข้าว 633 ไร่ ร้อยละ .2
รวม 2 955 ไร่ ข้าวโพด 92 ไร่ ร้อยละ .21
ขา้ ว 4 ไร่ ออ้ ย 9 43 ไร่ ร้อยละ .942
ข้าว 2 ไร่ ขา้ วโพด ไร่ อืน่ ๆ 34 ไร่
ข้าวโพด ไร่ อ้อย ไร่
อ้อย ไร่ ขา้ ว 323ไร่ อ่ืนๆ ริมทาง
รวม 2 ไร่ ขา้ วโพด ไร่ รวม 2 ไร่
อ้อย ไร่
รวม 323 ไร่

สำนกั งำนส่งเสริมและพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชยั นำท

41

แผนงานบรู ณาการสร้างรายไดจ้ ากการท่องเที่ยว

42

โครงการสง่ เสริมการสร้างรายไดจ้ ากการท่องเทย่ี วเชงิ เกษตร

❑ กจิ กรรมประเมินความพร้อมและเช่ือมโยงเสน้ ทาง (Route trip) การทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร
กิจกรรมประเมินความพร้อมและเชื่อมโยงเส้นทาง (Route trip) การท่องเท่ียวเชิงเกษตร มีวัตถุประสงค์

เพ่ือจัดทาข้อมูลเช่ือมโยงเส้นทางแหล่งท่องเที่ยววิถีเกษตร และพัฒนาแหล่งท่องเท่ียววิถีเกษตรให้มีศักยภาพใน
การบริการและต้อนรับนักท่องเท่ียวตามมาตรฐานแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร นาไปสู่การพัฒนาสินค้าในแหล่ง
ท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างสร้างสรรค์ การประชาสัมพันธ์ และการพัฒนาระบบฐานข้อมูล เพ่ือให้วิสาหกิจชุมชน
กลุ่มเกษตรกรและภาคการท่องเท่ียวเช่ือมต่อกันได้อย่างลงตัว เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มให้สินค้าเกษตร สินค้า
ชมุ ชนและการบริการทอ่ งเที่ยว สรา้ งงานสร้างรายได้ กระจายรายได้สู่ชุมชน นาไปสู่การพ่ึงพาตนเองและต่อยอด
ไปสู่ระดับธุรกิจการท่องเท่ียวต่อไป ซึ่งจากการดาเนินงาน ที่ผ่านมาพบว่า แหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตรท่ีเข้าร่วม
โครงการได้รับการสง่ เสริมและพัฒนากิจกรรมด้านการท่องเที่ยว มกี ารเชอื่ มโยงเส้นทางการท่องเที่ยวในพืนท่ีและ
มีการสร้างเครือข่ายกับชุมชน รวมถึงการส่งเสริมด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง ได้รับความ
สนใจจากนักท่องเที่ยวและมีอัตราการสร้างงานสร้างรายได้ให้กับชุมชนเป็นอย่างมาก บุคคลเป้าหมาย
ประกอบดว้ ย เจา้ หนา้ ท่ผี ้รู ับผดิ ชอบงานทอ่ งเทยี่ ววิถีเกษตร ระดบั จงั หวัด/อาเภอ/กรมฯ เกษตรกรผู้ประกอบการ
แหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร ผู้ดาเนินการ เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง รวมทังสิน 12 คน ณ สวนลัดดาวัลย์ อาเภอบางกรวย
จังหวดั นนทบรุ ี

ผลการดาเนินงาน จากการประเมินความพร้อมและเช่ือมโยงเส้นทาง (Route trip) การท่องเท่ียวเชิงเกษตร คือ
เกษตรกรผู้ประกอบการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร ได้รับการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยว
มีการจัดทาขอ้ มลู เสน้ ทางเชื่อมโยงแหลง่ ท่องเที่ยววถิ เี กษตรที่มีศักยภาพพร้อมให้บริการและต้อนรับนักท่องเท่ียว
จานวน 1 เส้นทาง เกิดการประชาสัมพันธ์แหล่งท่องเท่ียววิถีเกษตรและเส้นทางเชื่อมโยงการท่องเท่ียวที่มี
ศักยภาพในการต้อนรับนักท่องเท่ียว (Route trip) ให้เป็นที่รู้จักแก่นักท่องเท่ียวมากขึน ตลอดจนสร้างรายได้ท่ี
เกดิ จากการท่องเทยี่ วแกส่ มาชิกกลมุ่ ฯ เกษตรกรและชุมชนใกล้เคียง

สำนกั งำนสง่ เสริมและพฒั นำกำรเกษตรท่ี 1 จงั หวัดชยั นำท

43

โครงการสัมมนาเชงิ ปฏบิ ัติการพัฒนาบุคลากรดา้ นการส่งเสรมิ การทอ่ งเทย่ี วเชงิ เกษตร

โครงการสัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรด้านการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร วัตถุประสงค์เพื่อ
เสริมสรา้ งความรู้ และแนวทางการพัฒนาแหลง่ ท่องเท่ียววิถีเกษตรของวิสาหกจิ ชุมชนกลุ่มเกษตรกร เพื่อให้มีการ
พัฒนาอย่างต่อเน่ือง ครบวงจร ด้วยการเพ่ิมศักยภาพการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร การยกระดับให้ได้
มาตรฐาน สนับสนุนการพัฒนากิจกรรมและบริการรูปแบบใหม่ๆ รวมถึง การพัฒนาสินค้าในแหล่งท่องเที่ยวเชิง
เกษตรอย่างสรา้ งสรรค์ การจัดกิจกรรมเพอื่ สง่ เสรมิ การตลาด การประชาสัมพนั ธ์ และการพัฒนาระบบฐานข้อมูล
เพ่ือให้วิสาหกิจชุมชน กลุ่มเกษตรกรและภาคการท่องเท่ียวเช่ือมต่อกันได้อย่างลงตัว เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มให้
สินค้าเกษตร สินค้าชุมชน และการบริการท่องเท่ียว สร้างงานสร้างรายได้ กระจายรายได้สู่ชุมชน ซ่ึงเป็นการ
กระตุ้นเศรษฐกิจระดับฐานราก นาไปสู่การพึ่งพาตนเองและต่อยอดไปสู่ระดับธุรกิจการท่องเท่ียว โดยเน้นการมี
สว่ นร่วมของวิสาหกิจชมุ ชนและกล่มุ เกษตรกรในพืนท่ี รวมถึงการส่งเสริมด้านการตลาดและประชาสัมพันธ์อย่าง
ต่อเนื่อง ซึ่งได้รับความสนใจจากนักท่องเที่ยวและมีอัตราการสร้างงานสร้างรายได้ให้กับชุมชนเป็นอย่างมาก
บุคคลเป้าหมาย ประกอบด้วย เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานท่องเท่ียวเชิงเกษตรระดับจังหวัดและส่วนกลาง
เจ้าหน้าท่ผี ูด้ าเนนิ การ เจ้าหนา้ ท่ผี ้เู กย่ี วข้อง รวมทงั สนิ 14 คน

ผลการดาเนินงาน จากการสัมมนาเชิงปฏิบัติการพัฒนาบุคลากรด้านการส่งเสริมการท่องเท่ียวเชิงเกษตร
คือ เจ้าหน้าที่มีความรู้ความเข้าใจด้านการบริหารจัดการ และมาตรฐานแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตร เกิดการ
แลกเปล่ียนเรียนรู้และเชื่อมโยงเครือข่ายการทางาน สามารถนาองค์ความรู้ที่ได้รับไปถ่ายทอดสู่ชุมชนในการ
สง่ เสรมิ และพฒั นาการทอ่ งเท่ยี วเชิงเกษตรได้ เกดิ แนวคดิ ใหม่ๆและนาความรู้ที่ได้รับไปปรับปรุงเป็นแนวทางการ
พัฒนางานส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร เกิดแหล่งท่องเท่ียวเชิงเกษตรท่ีมีความพร้อมและมีศักยภาพรองรับ
นักท่องเทยี่ วเพ่มิ มากขนึ

สำนกั งำนสง่ เสริมและพฒั นำกำรเกษตรที่ 1 จงั หวดั ชยั นำท

44

แผนงานบูรณาการพฒั นาผู้ประกอบการและวสิ าหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมสูส่ ากล

45

โครงการพัฒนาคณุ ภาพมาตรฐานสนิ ค้าและบรกิ าร ปี 2564

การส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนตามพระราชบัญญัติส่งเสริมวิสาหกิจชุมชน พ.ศ.2548 มุ่งเน้นให้วิสาหกิจชุมชน
สามารถนาวัตถุดิบ ทรัพยากร หรือภูมิปัญญาของชุมชนมาใช้ให้เหมาะสมกับกิจการวิสาหกิจชุมชนและสภาพ
ท้องถิ่น นัน ๆ โดยกรมส่งเสริมการเกษตรมีหน้าที่ส่งเสริมกิจการวิสาหกิจชุมชนและสนับสนุนความรู้เกี่ยวกับ
กระบวนการผลิต การพัฒนาผลิตภัณฑ์ด้วยเทคโนโลยีและนวัตกรรม คุณภาพมาตรฐานการผลิตและผลิตภัณฑ์
การบริหารจัดการธุรกิจ และการแข่งขันทางการตลาด เพ่ือให้กิจการวิสาหกิจชุมชนมีความเข้มแข็งและพ่ึงพา
ตนเองได้ ผลิตภัณฑ์ท่ีเกิดจาก การดาเนินงานของวิสาหกิจชุมชนเป็นการสร้างรายได้ และเป็นการเพ่ิมมูลค่า
ให้กับผลผลิตทางการเกษตรในพืนท่ีซ่ึงผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนที่ดีต้องเป็น Smart Product ซ่ึงมีคุณภาพ
มาตรฐานท่ีปลอดภยั ตอ่ ผู้บริโภคและสงิ่ แวดล้อม ตอบสนองต่อความต้องการของผ้บู ริโภค และมีศักยภาพในการ
แขง่ ขันทางการตลาดทังในประเทศและต่างประเทศ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 สานักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนาท ส่งเสริมและพัฒนา
เกษตรกร ดาเนินการโครงการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานสินค้าและบริการ ปี 2564 เพ่ือพัฒนาทักษะและความรู้
แก่เจ้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบงานวิสาหกิจชุมชนด้านการส่งเสริมและพัฒนาผลิตภัณฑ์แปรรูปวิสาหกิจชุมชน พัฒนา
ศักยภาพวสิ าหกิจชุมชนแปรรูปสินค้าเกษตร ด้านผลติ ภณั ฑ์ หรือบรรจุภัณฑ์ หรือคุณภาพมาตรฐานสินค้าเกษตร
ณ มหาวทิ ยาลยั นเรศวร และวสิ าหกจิ ชมุ ชนในพืนที่จังหวดั เพชรบูรณ์ และพษิ ณุโลก

46

แผนงานบูรณาการพัฒนาและสง่ เสริมเศรษฐกจิ ฐานราก


Click to View FlipBook Version