The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2565

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by akina.bj24, 2023-01-30 11:48:04

AnnualReport 2022

รายงานประจำปี 2565

ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1จังหวัดชัยนำท กรมส่งเสริมกำรเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ รำยงำนประจ ำปี 2565


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ค ำน ำ ปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 กรมส่งเสริมกำรเกษตร ได้จัดท ำแผนปฏิบัติรำชกำรประจ ำปี 2565 ของกรม ส่งเสริมกำรเกษตร ให้สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ แผนแม่บทภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ แผนกำรปฏิรูปประเทศ แผนพัฒนำเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชำติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) นโยบำยและแผนระดับชำติว่ำด้วยควำม มั่นคงแห่งชำติ นโยบำยของคณะรัฐมนตรีที่แถลงต่อรัฐสภำ และแผนปฏิบัติรำชกำรประจ ำปี 2565 ของ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยได้ถ่ำยทอดเป้ำหมำยและตัวชี้วัดตำมแผนปฏิบัติรำชกำรของกระทรวงฯ ใน ส่วนที่เกี่ยวข้องมำสู่แผนปฏิบัติรำชกำร ประจ ำปี 2565 เพื่อบรรลุวิสัยทัศน์ “เกษตรกรมีควำมเข้มแข็ง มีคุณภำพ ชีวิตที่ดี ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม และมีรำยได้ที่มั่นคง” โดยมีเป้ำหมำย คือ (1) เกษตรกร องค์กรเกษตรกร วิสำหกิจชุมชน และเครือข่ำยมีควำมเข้มแข็ง (2) กำรผลิตสินค้ำเกษตรมีประสิทธิภำพและมูลค่ำเพิ่มสูงขึ้น (3) เกษตรกรมีรำยได้เพิ่มขึ้น นอกจำกนี้ ยังให้ควำมส ำคัญกับกำรบูรณำกำรกำรท ำงำนกับทุกภำคส่วนและกำรเกษตรที่เป็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมเพื่อให้เกษตรกรได้รับผลประโยชน์สูงสุด จำกแนวทำงกำรด ำเนินงำนของกรมส่งเสริมกำรเกษตร ดังกล่ำว ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตร ที่ 1 จังหวัดชัยนำท ได้น ำแนวคิดดังกล่ำว มำสู่กำรปฏิบัติในระดับพื้นที่ 9 จังหวัดภำคกลำง ในลักษณะ ร่วมคิด ร่วมตัดสินใจ ร่วมท ำ ร่วมแก้ไขปัญหำ และร่วมรับประโยชน์ เพื่อให้กำรส่งเสริมกำรเกษตรมีประสิทธิภำพสูงสุด และเกิดประโยชน์กับพี่น้องเกษตรกรอย่ำงแท้จริง ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำทหวังเป็นอย่ำงยิ่งว่ำ รำยงำนฉบับนี้ จะเป็น ประโยชน์กับเจ้ำหน้ำที่ เกษตร และผู้สนใจในกำรด ำเนินงำนส่งเสริมกำรเกษตรในพื้นที่ภำคกลำง ต่อไป ธันวำคม 2565


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท สำรบัญ ส่วนที่ 1 ข้อมูลภำพรวมของหน่วยงำน ๏ ข้อมูลภาพรวมหน่วยงาน 1 ๏ ข้อมูลทั่วไป 2 ๏ งบประมาณรายจ่าย 3 ๏ โครงสร้างหน่วยงาน 4 ๏ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ภารกิจ 5 ๏ ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 6 ส่วนที่ 2 ผลกำรปฏิบัติรำชกำร ๏ โครงการส่งเสริมการเกษตรประจ าปีงบประมาณ 2565 15 งานตามบทบาทภารกิจ/งานตามนโยบายภาครัฐ และอื่นๆ ๏ การด าเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการ 60 ๏ คณะผู้จัดท า 83 หน้า


ส่วนที่ 1 ข้อมูลภำพรวมของหน่วยงำน


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ข้อมูลภาพรวมหน่วยงาน 1


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ข้อมูลทั่วไป ที่ตั้งและอำณำเขต ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ตั้งอยู่ที่ หมู่ที่ 4 ต ำบลบำงหลวง อ ำเภอสรรพยำ จังหวัดชัยนำท 17150 มีพื้นที่ที่ตั้งส ำนักงำนโดยรวม ประมำณ 30 ไร่ มีจังหวัดในควำมรับผิดชอบในเขตพื้นที่ ภำคกลำง จ ำนวน ๙ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดชัยนำท สิงห์บุรี อ่ำงทอง พระนครศรีอยุธยำ ปทุมธำนี นนทบุรี ลพบุรี สระบุรี และกรุงเทพมหำนคร มีส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอ จ ำนวน 74 อ ำเภอ และส ำนักงำนเกษตรพื้นที่ ในกรุงเทพมหำนคร 4แห่ง มีพื้นที่ทั้งหมด 12.69ล้ำนไร่ พื้นที่กำรเกษตร จ ำนวน 7.625 ล้ำนไร่ โดยมีอำณำเขตติดต่อดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อ จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดนครสวรรค์ และ บำงส่วนของจังหวัดอุทัยธำนี ทิศใต้ ติดต่อ จังหวัดสมุทรปรำกำร ทิศตะวันออก ติดต่อ จังหวัดชัยภูมิ นครรำชสีมำ นครนำยก และจังหวัดฉะเชิงเทรำ ทิศตะวันตก ติดต่อ จังหวัดสมุทรสำคร นครปฐม สุพรรณบุรี และบำงส่วนของจังหวัด อุทัยธำนี 2


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท งบประมาณรายจ่าย งบประมำณ ได้รับ เบิกจ่ำย ร้อยละ คงเหลือ ร้อยละ ภำพรวม 5,636,089.00 5,624,594.20 99.80 11,494.80 0.20 1. งบบุคลำกร 945,720.00 945,720.00 100.00 0.00 0.00 2. งบรำยจ่ำยประจ ำ 4,690,369.00 4,678,874.20 99.75 11,494.80 0.25 - โครงกำรตำมตัวชี้วัด 2,832,216.00 2,831,063.98 99.96 1,152.02 0.04 - งบด ำเนินงำน 1,858,153.00 1,847,810.00 99.44 10,343.00 0.56 ผลกำรใช้จ่ำยเงินงบประมำณรำยจ่ำย ประจ ำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท 3


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงสร้างหน่วยงาน / ผู้บริหาร นำยวีระชัย เข็มวงษ์ ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนส่งเสริมและ พัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท นางสาวกังสดาล ชาตกุล ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนำกำรผลิต นายจรัญ จุลพันธ์ ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มส่งเสริมและ พัฒนำเกษตรกร นายยอดธงไชย รอดแก้ว ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มพัฒนำบุคลำกร นำงสำวกัลลิกำ ตำระกำ ผู้อ ำนวยกำรกลุ่มยุทธศำสตร์และ สำรสนเทศ นำงพนิดำ อุ่นกันทำ หัวหน้ำฝ่ำยบริหำรทั่วไป นำยสุรสิทธิ์ บุญรักชำติ ผู้อ ำนวยกำรศูนย์ส่งเสริมและ พัฒนำอำชีพกำรเกษตร จังหวัดลพบุรี นำงสำววิไลวรรณ สอนพูล ผู้อ ำนวยกำรศูนย์ส่งเสริม เทคโนโลยีกำรเกษตรด้ำนวิศวกรรมเกษตร จังหวัดชัยนำท นำงวนิดำ พุทริ้ว ผู้อ ำนวยกำรศูนย์ส่งเสริม เทคโนโลยีกำรเกษตรด้ำนอำรักขำพืช จังหวัดชัยนำท 4


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท วิสัยทัศน์ / พันธกิจ / ภารกิจ วิสัยทัศน์ เป็นหน่วยงำนที่มีควำมพร้อมในกำรให้บริกำรวิชำกำร มุ่งมั่นพัฒนำเจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมกำรเกษตรสู่ SMART OFFICER และเกษตรกรผู้น ำสู่ SMART FARMER พันธกิจ 1. วำงแผนและขับเคลื่อนยุทธศำสตร์ส่งเสริมกำรเกษตรระดับเขต 2. ศึกษำและพัฒนำงำนส่งเสริมกำรเกษตรและเทคโนโลยีที่เหมำะสม 3. บริกำรวิชำกำร และเป็นศูนย์กลำงข้อมูลสำรสนเทศด้ำนส่งเสริมกำรเกษตรระดับเขต 4. พัฒนำบุคลำกรสู่ Smart Officer และเกษตรกรผู้น ำสู่ Smart Farmer 5. พัฒนำเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และวิสำหกิจชุมชน ซึ่งเป็นเครือข่ำยกำรท ำงำนในพื้นที่ให้มีควำมเข้มแข็ง 6. ประสำนกำรตรวจรำชกำร ติดตำม นิเทศ และประเมินผล งำนส่งเสริมกำรเกษตร 1. ศึกษำ วิเครำะห์ และวิจัยเพื่อพัฒนำงำนส่งเสริมกำรเกษตร เทคโนโลยีและระบบกำรผลิตที่เหมำะสมกับ พื้นที่ 2. ฝึกอบรมและถ่ำยทอดเทคโนโลยีด้ำนกำรเกษตรแก่เจ้ำหน้ำที่และเกษตรกร 3. ส่งเสริม ประสำนและสนับสนุนกำรด ำเนินงำนส่งเสริมกำรเกษตรตำมโครงกำรอันเนื่องมำจำก พระรำชด ำริและในเขตพื้นที่พิเศษ 4. ควบคุม ก ำกับ สนับสนุนกำรด ำเนินงำนของศูนย์ปฏิบัติกำรในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 5. เป็นศูนย์กลำงสนับสนุนทำงวิชำกำรด้ำนกำรผลิตและจัดกำรผลผลิต กำรพัฒนำคุณภำพสินค้ำเกษตร องค์กรเกษตรกรและวิสำหกิจชุมชนแก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัด และประสำนวิชำกำรกับหน่วยงำนวิชำกำร ภำครัฐ เอกชน และสถำบันกำรศึกษำ 6. ศึกษำ วำงแผน และติดตำมประเมินผลกำรด ำเนินงำนส่งเสริมกำรเกษตร และประสำนกำรตรวจรำชกำร ในเขตพื้นที่ 7. ให้ค ำปรึกษำและประสำนงำนแก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดในกำรจัดท ำแผนยุทธศำสตร์ แผนกำร ปฏิบัติงำน และบูรณำกำรแผนด้ำนกำรส่งเสริมกำรเกษตรระดับ จังหวัดและกลุ่มจังหวัด 8. ปฏิบัติงำนร่วมกับหรือสนับสนุนกำรปฏิบัติงำนของหน่วยงำนอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมำย ภำรกิจ 5


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ ฝ่ำยบริหำรทั่วไป มีหน้ำที่ 1) ปฏิบัติงำนด้ำนงำนธุรกำร งำนสำรบรรณ งำนกำรเงินบัญชี และพัสดุงำนพิมพ์และแจกจ่ำยเอกสำร และ กำรติดต่อประสำนงำนกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 2) ด ำเนินกำรเกี่ยวกับงำนบริหำรงำนบุคคล และงำนสวัสดิกำรต่ำง ๆ 3) ด ำเนินกำรเกี่ยวกับกำรประชุมของหน่วยงำน 4) บริหำรจัดกำรงบประมำณประจ ำปีของหน่วยงำน และควบคุมกำรใช้จ่ำยเงินงบประมำณ 5) งำนดูแลอำคำรสถำนที่และยำนพำหนะ 6) ปฏิบัติงำนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องหรือตำมที่ได้รับมอบหมำย กลุ่มพัฒนำบุคลำกร มีหน้ำที่ 1) ศึกษำ วิเครำะห์ วำงแผนและด ำเนินกำรกำรพัฒนำบุคลำกรในด้ำนวิชำกำรและคุณธรรม จริยธรรม ของ บุคลำกรในเขตรับผิดชอบ 2) ศึกษำ วิเครำะห์ พัฒนำเทคนิค พัฒนำหลักสูตร และวิธีกำรจัดท ำหลักสูตรกำรฝึกอบรมให้สอดคล้องกับ บริบทและควำมต้องกำรของบุคคลเป้ำหมำย 3) ด ำเนินกำรจัดอบรมและถ่ำยทอดควำมรู้แก่เจ้ำหน้ำที่ ระดับจังหวัด ระดับอ ำเภอ รวมทั้งเกษตรกรผู้น ำ และสถำบันเกษตรกร 4) ประสำนงำนถ่ำยทอดควำมรู้ให้ค ำปรึกษำแนะน ำ และร่วมแก้ไขปัญหำข้อขัดข้องในกำรปฏิบัติงำนด้ำน กำรพัฒนำบุคลำกร ให้แก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัด ศูนย์ปฏิบัติกำรและหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 5) ติดตำม นิเทศงำน และประเมินผลกำรด ำเนินงำนกำรพัฒนำบุคลำกร 6) ปฏิบัติหน้ำที่อื่น ๆ ตำมที่ได้รับมอบหมำย 6


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท กลุ่มยุทธศาสตร์และสารสนเทศ มีหน้าที่ 1) ศึกษา วิเคราะห์การจัดท ายุทธศาสตร์การส่งเสริมการเกษตรระดับเขต ด าเนินการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ของ หน่วยงานทั้งในระดับเขตและกลุ่มจังหวัด 2) ศึกษา วิเคราะห์และจัดท าข้อมูลสารสนเทศ ภูมิสารสนเทศ เพื่อสนับสนุนงานส่งเสริมการเกษตรของ ส านักงานเกษตรจังหวัด และศูนย์ปฏิบัติการ 3) ประสานงานวิจัยและวิชาการกับหน่วยงานวิชาการภาครัฐ เอกชน และสถาบันการศึกษาเพื่อสนับสนุนงาน ส่งเสริมการเกษตรในเขตรับผิดชอบ 4) ประสานการตรวจราชการ การติดตาม นิเทศ และประเมินผล และการด าเนินงานส่งเสริมการเกษตร ในเขตรับผิดชอบ 5) การบริหารแผนปฏิบัติราชการของหน่วยงานและการรายงานผลการปฏิบัติราชการ 6) ส่งเสริมและสนับสนุนการด าเนินงานตามระบบส่งเสริมการเกษตร การศึกษาวิเคราะห์ วิจัย และให้ค าปรึกษา แก่ส านักงานเกษตรจังหวัด ศูนย์ปฏิบัติการ เพื่อจัดท าแผนยุทธศาสตร์ แผนการปฏิบัติงานและการบูรณาการ งานส่งเสริมการเกษตรในระดับจังหวัด และกลุ่มจังหวัด 7) ศึกษา พัฒนา รูปแบบ วิธีการ การประชาสัมพันธ์งานส่งเสริมการเกษตรเพื่อ สนับสนุนหน่วยงานในเขตรับผิดชอบ และด าเนินการประชาสัมพันธ์ การประกวดผลงานส่งเสริมการเกษตร การแสดงนิทรรศการ การเผยแพร่ ประชาสัมพันธ์งานส่งเสริมการเกษตร 8) ปฏิบัติหน้าที่อื่น ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 7


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท 1) ศึกษำ วิเครำะห์ วิจัย และประยุกต์กำรใช้เทคโนโลยีกำรผลิตพืชให้เหมำะสมกับ ศักยภำพของเกษตรกร และสภำพพื้นที่ กำรจัดกำรสินค้ำเกษตร กำรพัฒนำ คุณภำพสินค้ำเกษตร กำรอำรักขำพืช ในลักษณะ บูรณำกำรวิชำกำรด้ำนกำร ผลิตพืช และพื้นที่เกษตรกรรมในแต่ละภูมิภำค 2) ส่งเสริมและให้บริกำรเทคโนโลยี กำรบริหำรจัดกำรสินค้ำเกษตร กำรพัฒนำ คุณภำพสินค้ำเกษตรสู่ มำตรฐำน กำรอำรักขำพืช และสนับสนุนข้อมูลทำงวิชำกำรในด ำเนินงำนส่งเสริมและพัฒนำอำชีพของ เกษตรกรให้แก่ส ำนักงำนกษตรจังหวัด และศูนย์ปฏิบัติกำร 3) ประสำนงำน และร่วมด ำเนินกำร ศึกษำ วิจัยเทคโนโลยีกำรผลิตพืช กำรจัดกำรสินค้ำเกษตร กำรพัฒนำ คุณภำพสินค้ำเกษตรและกำรอำรักขำพืชกับหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง 4) ให้ค ำปรึกษำและสนับสนุนข้อมูลด้ำน Zoning ข้อมูลทำงวิชำกำรด้ำนกำรผลิตกำรจัดกำรผลผลิต และ กำรพัฒนำคุณภำพสินค้ำเกษตรแก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดและศูนย์ปฏิบัติกำร 5) ส่งเสริมและประสำนกำรด ำเนินงำนตำมโครงกำรอันเนื่องมำจำกพระรำชด ำริ และในเขตพื้นที่เฉพำะ ในเขตพื้นที่ลุ่มน้ ำต่ำง ๆ และในเขตพื้นที่พิเศษ 6) ติดตำม นิเทศ และประเมินผลกำรด ำเนินงำนส่งเสริมกำรผลิตพืช กำรจัดกำรสินค้ำเกษตร กำรพัฒนำ คุณภำพสินค้ำเกษตรและกำรอำรักขำพืช 7) ปฏิบัติหน้ำที่อื่น ๆ ตำมที่ได้รับมอบหมำย กลุ่มส่งเสริมและพัฒนำกำรผลิต มีหน้ำที่ ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 8


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท 1) ศึกษำ วิเครำะห์ วิจัยเพื่อพัฒนำงำนส่งเสริมกำรเกษตร กำรพัฒนำผู้น ำเกษตรกรกำรพัฒนำองค์กร สถำบันเกษตรก งำนวิสำหกิจชุมชน งำนส่งเสริมเคหกิจเกษตร และกำรพัฒนำศักยภำพและควำมเข้มแข็งของกลุ่ม 2) ศึกษำ วิเครำะห์และสนับสนุน กำรแปรรูปผลผลิต กำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ ในเขตรับผิดชอบ 3) ประสำนงำนงำนวิจัยด้ำนกำรพัฒนำเกษตรกร องค์กรเกษตรกร และวิสำหกิจชุมชนกับหน่วยงำนวิชำกำร สถำบันกำรศึกษำและเอกชนที่เกี่ยวข้อง 4) ให้ค ำปรึกษำ แนะน ำแก่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดในกำรสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับ เกษตรกร องค์กรเกษตรกร กลุ่มส่งเสริมอำชีพ วิสำหกิจชุมชน งำนเคหกิจเกษตร และกลุ่มเครือข่ำยกำรท ำงำนในพื้นที่ และถ่ำยทอด ควำมรู้ ด้ำนวิชำกำรส่งเสริมกำรเกษตรแก่เจ้ำหน้ำที่ 5) ประสำนงำนและให้กำรสนับสนุนกำรพัฒนำเกษตรกร องค์กรเกษตรก กลุ่มส่งเสริมอำชีพ วิสำหกิจชุมชน และงำนส่งเสริมเคหกิจเกษตร 6) ติดตำม นิเทศ และประเมินผลกำรด ำเนินงำนส่งเสริมและพัฒนำเกษตรกร และองค์กรเกษตรกร 7) ปฏิบัติหน้ำที่อื่น ๆ ตำมที่ได้รับมอบหมำย กลุ่มส่งเสริมและพัฒนาเกษตรกร มีหน้าที่ ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนำอำชีพกำรเกษตรจังหวัดลพบุร มีหน้ำที่ 1) ศึกษำ วิเครำะห์ ทดสอบ ประยุกต์ พัฒนำเทคโนโลยีและองค์ควำมรู้ ภูมิปัญญำท้องถิ่นให้เหมำะสมกับ ศักยภำพ ของพื้นที่ พัฒนำแปลงสำธิตและแปลงเรียนรู้ ให้เป็นแปลงต้นแบบ และพัฒนำผลิตภัณฑ์ จำกผลิตกำรเกษตรเพื่อเพิ่มมูลค่ำ 2) ส่งเสริมและถ่ำยทอดเทคโนโลยีด้ำนกำรผลิตและกำรจัดกำรผลผลิตที่เหมำะสม กับศักยภำพของพื้นที่ 3) เป็นศูนย์กลำงในกำรรวบรวมกำรผลิต กำรขยำย กระจำยพันธุ์พืช และแมลงเศรษฐกิจ เพื่อใช้ในงำนส่งเสริม และพัฒนำอำชีพกำรเกษตร 4) ฝึกอบรมอำชีพกำรเกษตรแก่เจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้อง เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป 5) ให้บริกำรข้อมูล ข่ำวสำรวิชำกำรด้ำนเกษตร และสนับสนุนปัจจัยกำรผลิตที่จ ำเป็น รวมทั้งให้บริกำรทำงกำรเกษตร อื่น ๆ ตำมศักยภำพของศูนย์ 6) ปฏิบัติงำนอื่น ๆ ตำมที่ได้รับมอบหมำย ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 9


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านวิศวกรรมเกษตรจังหวัดชัยนาท มีหน้าที่ 1) ศึกษา ทดสอบ วิจัยประยุกต์ และพัฒนางานด้านวิศวกรรมเกษตรที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาระบบการ ท าการเกษตรของประเทศไทย 2) ส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้เพื่อพัฒนาเกษตรกรให้มีขีดความสามารถในการน าเทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตร และเทคโนโลยีอื่นมาประยุกต์ใช้ส าหรับพัฒนาการผลิตและการจัดการสินค้าเกษตรอย่างมีประสิทธิภาพ 3) เป็นศูนย์ต้นแบบด้านการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนา ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืน 4) บริการวิชาการเพื่อสนับสนุนงานส่งเสริมการเกษตร โดยการเป็นที่ปรึกษาให้ค าแนะน า ค านวณออกแบบ และเป็นวิทยากรด้านการใช้เทคโนโลยีวิศวกรรมเกษตรและเทคโนโลยีอื่นเพื่อพัฒนาการผลิตสินค้าเกษตร 5) บูรณาการการท างาน และเชื่อมโยงข้อมูลทางวิชาการด้านวิศวกรรมเกษตรและ เทคโนโลยีอื่นที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร 6) ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย ศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีการเกษตรด้านอารักขาพืชจังหวัดชัยนาท มีหน้าที่ 1) ศึกษา ทดสอบ การใช้เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืชแบบผสมผสาน ในเขตพื้นที่รับผิดชอบ 2) ส่งเสริมและถ่ายทอดความรู้ด้านการใช้เทคโนโลยีการควบคุมศัตรูพืช การอนุรักษ์ และผลิตขยายชีวินทรีย์ ที่มีประโยชน์ รวมทั้งพืช ที่มีคุณสมบัติควบคุมศัตรูพืช 3) ด าเนินการผลิตขยายชีวินทรีย์ และสารธรรมชาติควบคุมศัตรูพืชเพื่อใช้ในงานส่งเสริมการเกษตร 4) ให้บริการตรวจวิเคราะห์ วินิจฉัยศัตรูพืช พยากรณ์เตือนการระบาดและป้องกันก าจัดศัตรูพืช 5) ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย ภารกิจของกลุ่ม / ฝ่าย / ศูนย์ปฏิบัติการ 10


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท 11


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท 12


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท 13


ส่วนที่ 2 ผลกำรปฏิบัติรำชกำร 14


โครงกำรส่งเสริมกำรเกษตร ประจ ำปีงบประมำณ 2565 งำนตำมบทบำทภำรกิจ งำนตำมนโยบำยภำครัฐ และอื่นๆ 15


กลุ่มส่งเสริมและพัฒนำกำรผลิต 16


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรส่งเสริมกำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรใช้น้ ำในระดับไร่นำ กำรด ำเนินกำร :กรกฎำคม -กันยำยน 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร :แปลงเรียนรู้เกษตรกรต้นแบบ 9 จังหวัด 1.จังหวัดชัยนำท ต ำบลเด่นใหญ่ อ ำเภอหันคำ ระบบน้ ำหยดในแปลงมันส ำปะหลัง 2.จังหวัดสิงห์บุรี ต ำบลบ้ำนหม้อ อ ำเภอพรหมบุรี ระบบน้ ำมินิสปริงเกอร์ + ระบบน้ ำหยด แปลงสมุนไพร 3.จังหวัดอ่ำงทอง ต ำบลสำวร้องไห้ อ ำเภอวิเศษชัยชำญ ระบบน้ ำมินิสปริงเกอร์ แปลงมะม่วงน้ ำดอกไม้ 4.จังหวัดลพบุรี ต ำบลช่องสำลิกำ อ ำเภอพัฒนำนิคม ระบบน้ ำมินิสปริงเกอร์ แปลงหม่อนตัดใบ 5.จังหวัดสระบุรี ต ำบลเขำดินพัฒนำ อ ำเภอเฉลิมพระเกียรติ ระบบน้ ำหยด แปลงข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์ 6.จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ต ำบลโรงช้ำง อ ำเภอมหำรำช ระบบน้ ำมินิสปริงเกอร์ แปลงฝรั่ง 7.จังหวัดปทุมธำนี ต ำบลบำงเตย อ ำเภอสำมโคก ระบบน้ ำมินิสปริงเกอร์ แปลงผัก 8.จังหวัดนนทบุรี ต ำบลบำงใหญ่ อ ำเภอบำงใหญ่ ระบบน้ ำมินิสริงเกอร์ แปลงผัก 9.จังหวัดกรุงเทพมหำนคร แขวงแสนแสบ เขตมีนบุรี ระบบน้ ำมินิสริงเกอร์ แปลงเกษตรผสมผสำน ผลกำรด ำเนินกำร เกิดแปลงเรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรใช้น้ ำต้นแบบ 9 แปลง 9 จังหวัดภำคกลำง กำรวำงระบบน้ ำ 2 รูปแบบ ได้แก่มินิสปริงเกอร์ และระบบน้ ำหยด โดยติดตั้งในกลุ่มพืชผัก สมุนไพร ข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์ หม่อนตัด ใบ ไม้ผล และมันส ำปะหลัง ซึ่งจะประโยชน์ที่เกิดขึ้นกับตัวเกษตรกรเป็นกำรสร้ำงควำมตระหนักในกำรใช้น้ ำ อย่ำงประหยัดรู้คุณค่ำ และเป็นกำรให้น้ ำที่มีประสิทธิภำพต่อกำรให้ผลผลิตพืช 17


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร กิจกรรมพัฒนำศักยภำพกำรด ำเนินงำนและกำรให้บริกำรของศูนย์จัดกำรศัตรูพืชชุมชน กำรสัมมนำเครือข่ำยศูนย์จัดกำรศัตรูพืชชุมชน (ศจช.) ระดับเขต ให้แก่เกษตรกรแกนน ำ กำรด ำเนินกำร :ครั้งที่ 1 (1 เมษำยน 2565) ครั้งที่ 2 (5 กรกฎำคม 2565) สถำนที่ด ำเนินกำร : ห้องประประชุมส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท รูปแบบออนไลน์ (Zoom Meeting) ผลกำรด ำเนินกำร เพื่อให้สมำชิก ศจช. และเจ้ำหน้ำที่ ทีเวทีในกำรสัมมนำแลกเปลี่ยน รับฟัง แลกเปลี่ยนข้อมูลกำร ด ำเนินงำนด้ำนอำรักขำพืช เพื่อให้เกิดกำรเชื่อมโยงเครือข่ำยกำรท ำงำนด้ำนอำรักขำพืช 9 จังหวัดภำคกลำง โดยมีบุคคลเป้ำหมำยเป็นเกษตรกรแกนน ำ และสมำชิก ศจช. 9 จังหวัด ๆ ละ 5 คน รวมทั้งสิ้น 45 คน และ เจ้ำหน้ำที่ระดับจังหวัด/อ ำเภอ ที่รับผิดชอบงำนด้ำนอำรักขำพืช รวมทั้งสิ้น 132 ผ่ำนกำรสัมมนำ ฯ รูปแบบ ออนไลน์ (Zoom Meeting) 18


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร กิจกรรมพัฒนำศักยภำพกำรด ำเนินงำนและกำรให้บริกำรของศูนย์จัดกำรศัตรูพืชชุมชน กำรสัมมนำเชิงปฏิบัติกำรพัฒนำศักยภำพกำรผลิตขยำยชีวภัณฑ์แก่เกษตรกรแกนน ำ สู่กำรเป็นศูนย์บริกำร ชีวภัณฑ์ชุมชน กำรด ำเนินกำร :7 กรกฎำคม 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร : ห้องประประชุมส ำนักงำนศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีกำรเกษตรด้ำนอำรักขำพืช จังหวัด ชัยนำท วัตถุประสงค์เพื่อสร้ำงศูนย์บริกำรชีวภัณฑ์ชุมชนต้นแบบ น ำร่องในพื้นที่เขตที่ 1 ประเด็นส ำคัญในกำร สัมมนำ ฯ ได้แก่ กำรบริหำรศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสำน (IPM) กำรผลิตขยำยและฝึกปฏิบัติกำรตรวจสอบ คุณภำพมำตรฐำนกำรผลิตสำรชีวภัณฑ์ และกฎระเบียบข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับสำรชีวภัณฑ์ บุคคลเป้ำหมำย ประกอบด้วย เกษตรกรสมำชิก ศจช.บ้ำนบำงไก่เถื่อน จังหวัดชัยนำท ศจช.ต ำบลล ำตะเคียน จังหวัด พระนครศรีอยุธยำ และเจ้ำหน้ำที่ผู้เกี่ยวข้อง จ ำนวน 30 คน 19


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร กิจกรรมพัฒนำศักยภำพกำรด ำเนินงำนและกำรให้บริกำรของศูนย์จัดกำรศัตรูพืชชุมชน กิจกรรม ประกวดศูนย์จัดกำรศัตรูพืชดีเด่นระดับเขต ประจ ำปี 2565 กำรด ำเนินกำร : สิงหำคม -กันยำยน 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร : ห้องประประชุมส ำนักงำนศูนย์ส่งเสริมเทคโนโลยีกำรเกษตรด้ำนอำรักขำพืช จังหวัด ชัยนำท ผลกำรด ำเนินกำร 1.คณะกรรมกำรพิจำรณำผลกำรด ำเนินงำนของศจช. จำกเอกสำรรูปเล่ม และ CLIP VDO 2.คัดเลือก ศจช.ที่มีผลกำรด ำเนินงำนโดดเด่น 4 ศจช. จำกนั้นลงพื้นที่เพื่อท ำกำรประกวดคัดเลือก และพิสูจน์ทรำบเชิงประจักษ์ในกำรด ำเนินกิจกรรมของ ศูนย์ ฯ 3.ผลกำรคัดเลือก รำงวัลชนะเลิศ ศจช. บ้ำนบำงไก่เถื่อน อ ำเภอสรรพยำ จังหวัดชัยนำท รองชนะเลิศ อันดับ 1 ศจช. ต ำบลล ำตะเคียน อ ำเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ รองชนะเลิศ อันดับ 2 ศจช. ต ำบลท่ำงำม อ ำเภออินทร์บุรี จังหวัดสิงห์บุรี รำงวัลชมเชย ศจช. ต ำบลหนองหมู อ ำเภอวิหำรแดง จังหวัดสระบุรี 20


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร กิจกรรมพัฒนำศักยภำพกำรด ำเนินงำนและกำรให้บริกำรของศูนย์จัดกำรศัตรูพืชชุมชน กิจกรรม กำรถอดบทเรียนศูนย์จัดกำรศัตรูพืชชุมชนดีเด่นระดับเขต ประจ ำปี 2565 กำรด ำเนินกำร :4 กันยำยน 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร :ศูนย์จัดกำรศัตรูพืชชุมชนบ้ำนบำงไก่เถื่อน อ ำเภอสรรพยำ จังหวัดชัยนำท ผลกำรด ำเนินกำร ท ำกำรเวทีถอดบทเรียน ศจช.บ้ำนบำงไก่เถื่อน ที่ชนะเลิศกำรประกวดระดับเขต ประจ ำปี 2565 ซึ่งมี ผลงำนดีเด่น เป็นต้นแบบกำรพัฒนำ ศจช. ที่ประสบควำมส ำเร็จ ที่มีกำรขับเคลื่อนกิจกรรมทำงด้ำนงำน อำรักขำพืชอย่ำงต่อเนื่อง ส่งเสริมกำรผลิตสำรชีวภัณฑ์ที่ได้เกณฑ์มำตรฐำนตำมที่กรมส่งเสริมกำรเกษตร ก ำหนด โดยเฉพำะกำรผลิตเชื้อบิวเวอเรียที่มีปริมำณสปอร์สูงกว่ำเกณฑ์มำตรฐำนของกรมส่งเสริมกำรเกษตร และมีกำรส่งเสริมให้สมำชิกน ำสำรชีวภัณฑ์ไปใช้ป้องกันศัตรูพืชในแปลงนำข้ำว และแปลงพืชผัก 21


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรระบบส่งเสริมกำรเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม กำรประชุมเชื่อมโยงกำรด ำเนินงำนคณะกรรมกำรเครือข่ำยแปลงใหญ่และ ศพก. ระดับเขต ว/ด/ป (ที่ด ำเนินกำร) วันที่ 17 มีนำคม 2564 และ วันที่19 สิงหำคม 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร ห้องประชุม สสก.1 จ.ชัยนำท กลุ่มเป้ำหมำย คณะกรรมกำรเครือข่ำยแปลงใหญ่ระดับเขต คณะกรรมกำรเครือข่ำยศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่ม ประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร (ศพก.) ระดับเขต เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบงำนแปลงใหญ่ระดับจังหวัด เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบงำน ศพก.ระดับจังหวัด และหน่วยงำนภำคีที่เกี่ยวข้อง จ ำนวน 50 คน กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้ำหน้ำที่ หรือ หน่วยงำน ได้รับ จัดประชุมเชื่อมโยงกำรด ำเนินงำน คณะกรรมกำรเครือข่ำยศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิต สินค้ำเกษตร (ศพก.) และแปลงใหญ่ ระดับเขต จ ำนวน 4 ครั้ง โดยใช้ งบประมำณโครงกำรระบบส่งเสริม เกษตรแบบแปลงใหญ่ 2 ครั้ง กำรประชุมฯ ท ำให้เกิดกำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนทั้งสองเครือข่ำย อย่ำงเป็น รูปธรรม เกิดกำรเชื่อมโยงเครือข่ำยด้ำนกำรผลิต ด้ำนกำรตลำด กำรแลกเปลี่ยนองค์ควำมรู้ต่ำงๆ รวมทั้งปัญหำ อุปสรรคในกำรด ำเนินงำน และร่วมกันหำแนวทำงแก้ไข ท ำให้กำรด ำเนินงำนเป็นไปอย่ำงมีประสิทธิภำพ 22


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรระบบส่งเสริมกำรเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม กำรประชำสัมพันธ์โครงกำรฯ ว/ด/ป (ที่ด ำเนินกำร) เดือน ธันวำคม 2564 - มีนำคม 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร แปลงใหญ่ ในพื้นที่รับผิดชอบ 9 จังหวัด เป้ำหมำย แปลงใหญ่ที่มีผลงำนเด่นในด้ำนต่ำงๆ กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้ำหน้ำที่ หรือ หน่วยงำน ได้รับ จัดท ำข่ำวประชำสัมพันธ์ผลส ำเร็จของกำรด ำเนินงำนโครงกำรระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ เผยแพร่ผ่ำนสื่อโทรทัศน์ จ ำนวน 5 เรื่อง สื่อหนังสือพิมพ์ จ ำนวน 3 เรื่อง และสื่อออนไลน์ จ ำนวน 6 เรื่อง ท ำ ให้สำธำรณชนรับรู้ข้อมูลข่ำวสำรที่ถูกต้องเกี่ยวกับนโยบำย แนวทำงกำรด ำเนินงำน และผลส ำเร็จของแปลง ใหญ่ในด้ำนต่ำงๆ ของเขต 1 ซึ่งสร้ำงภำพลักษณ์ที่ดีให้กับภำคกำรเกษตร และสำมำรถน ำไปเป็นตัวอย่ำงหรือ เป็นแนวทำงในกำรพัฒนำอำชีพกำรเกษตรในพื้นที่ได้ 23


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรระบบส่งเสริมกำรเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม กำรประกวดแปลงใหญ่ดีเด่น ระดับเขต ว/ด/ป (ที่ด ำเนินกำร) เดือน พฤษภำคม -กรกฎำคม 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร แปลงใหญ่ ในพื้นที่รับผิดชอบ 9 จังหวัด เป้ำหมำย แปลงใหญ่ที่มีผลงำนดีเด่นระดับจังหวัด จ ำนวน 9 แปลง กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้ำหน้ำที่ หรือ หน่วยงำน ได้รับ คณะกรรมกำรตัดสินกำรประกวดแปลงใหญ่ดีเด่นระดับเขต ด ำเนินกำรคัดเลือกแปลงใหญ่ดีเด่นระดับ จังหวัด 9 จังหวัด โดยกำรน ำเสนอผลงำนผ่ำนระบบออนไลน์ ลงพื้นที่ตรวจประเมินแปลง และพิจำรณำตัดสิน กำรประกวด ซึ่งรำงวัลชนะเลิศ แปลงใหญ่ดีเด่นระดับเขต ประจ ำปี 2565 ได้แก่ กลุ่มส่งเสริมกำรเกษตรแบบ แปลงใหญ่ต ำบลหินซ้อน อ ำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี (ข้ำวโพดเลี้ยงสัตว์) รำงวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 ได้แก่ แปลงใหญ่กล้วยหอมเขียวคำเวนดิช ต ำบลโพประจักษ์ อ ำเภอท่ำช้ำงจังหวัดสิงห์บุรี รำงวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 ได้แก่ แปลงใหญ่ปลำกรำยและปลำน้ ำจืดอื่นๆ หมู่ 2 ต ำบลธรรมำมูล อ ำเภอเมืองชัยนำท จังหวัดชัยนำท รำงวัล ชมเชย ได้แก่ แปลงใหญ่แพะเนื้อ ต ำบลร ำมะสักอ ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่ำงทอง กำรจัดประกวดฯ ส่งผลให้เกิดกำร พัฒนำและขยำยผลกำรด ำเนินงำนโครงกำรระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรกรได้รับกำรประกำศ เกียรติคุณและเชิดชูเกียรติ ท ำให้มีขวัญและก ำลังใจในกำรท ำกำรเกษตร 24


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรระบบส่งเสริมกำรเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม กำรอบรมเจ้ำหน้ำที่เพื่อเป็นวิทยำกรหลัก (Master Trainer) ในกำรอบรมพัฒนำเกษตรกรเป็นผู้จัดกำร แปลง ว/ด/ป (ที่ด ำเนินกำร) วันที่ 26 – 27 พฤษภำคม 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท กลุ่มเป้ำหมำย เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบงำนแปลงใหญ่ระดับจังหวัดและระดับเขต หน่วยงำนละ 1 คน กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้ำหน้ำที่ หรือ หน่วยงำน ได้รับ กำรอบรมเจ้ำหน้ำที่เพื่อเป็นวิทยำกรหลัก (Master Trainer) ในกำรอบรมพัฒนำเกษตรกรเป็นผู้จัดกำร แปลง เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบงำนแปลงใหญ่ระดับจังหวัด เขต ผู้สังเกตกำรณ์และผู้เกี่ยวข้อง เข้ำร่วมอบรม จ ำนวน 23 คน วิทยำกรโดย ดร.กฤติพงศ์ เดชส่งจรัส ดร.วิไลวรรณ สอนพูลผอ.ศทว.ชัยนำท และ ผอ.วีระชัย เข็มวงษ์ ผอ.สสก.1 จ.ชัยนำท เป็นกำรบรรยำยและแบ่งกลุ่มฝึกปฏิบัติ แสดงบทบำทสมมุติ เนื้อหำหลักสูตรเน้น ในด้ำนเทคนิคกำรถ่ำยทอดควำมรู้ให้เกษตรกร กำรท ำควำมเข้ำใจในหลักกำรเกษตรแปลงใหญ่ กำรจัดท ำแผน ธุรกิจของแปลงใหญ่แบบครบวงจร กำรวิเครำะห์ควำมเสี่ยง กำรสร้ำงแบรนด์และกำรจัดกำรตลำด เป็นต้น ท ำให้ เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบแปลงใหญ่ มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ สำมำรถเป็นวิทยำกรหลัก (Master Trainer) และน ำควำมรู้ ไปจัดอบรมพัฒนำเกษตรกรเป็นผู้จัดกำรแปลงในพื้นที่ได้ 25


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรระบบส่งเสริมกำรเกษตรแบบแปลงใหญ่ กิจกรรม ติดตำมประเมินผลโครงกำร ว/ด/ป (ที่ด ำเนินกำร) เดือนพฤศจิกำยน 2564 -กันยำยน 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร พื้นที่รับผิดชอบ 9 จังหวัด กลุ่มเป้ำหมำย เจ้ำหน้ำที่ระดับจังหวัด / อ ำเภอ และแปลงใหญ่ในพื้นที่รับผิดชอบ กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือ เจ้ำหน้ำที่ หรือ หน่วยงำน ได้รับ กำรติดตำมประเมินผลโครงกำร ด ำเนินกำรใน 2 ลักษณะ ได้แก่กำรลงพื้นที่ติดตำม ประสำนงำน สร้ำงกำรรับรู้ ระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่แก่เจ้ำหน้ำที่ระดับจังหวัด ระดับอ ำเภอ รวมถึงกำรติดตำม เยี่ยมเยียนกลุ่มแปลงใหญ่ในพื้นที่ 9 จังหวัด และกำรจัดประชุมเพื่อติดตำมควำมก้ำวหน้ำกำรด ำเนินงำน โครงกำรฯ จ ำนวน 2 ครั้ง ในวันที่ 1 มีนำคม 2565 และวันที่ 5 สิงหำคม 2565 ท ำให้เจ้ำหน้ำที่ระดับจังหวัด/ อ ำเภอ เกิดควำมเข้ำใจในแนวทำงกำรด ำเนินงำนโครงกำรระบบส่งเสริมเกษตรแบบแปลงใหญ่ตำมหลักกำร 5 ด้ำน รับทรำบควำมก้ำวหน้ำ ปัญหำอุปสรรค ในกำรด ำเนินงำน กำรให้ข้อเสนอแนะและกำรปรับปรุงแก้ไข ปัญหำร่วมกัน ท ำให้กำรขับเคลื่อนงำนบรรลุวัตถุประสงค์ของโครงกำรอย่ำงมีประสิทธิภำพ 26


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรส่งเสริมกำรหยุดเผำในพื้นที่กำรเกษตร ปี 2565 กิจกรรม กำรจัดงำนรณรงค์ลดกำรเผำในพื้นที่กำรเกษตร วัน/เดือน/ปี(ที่ด ำเนินกำร) วันที่ 27 กุมภำพันธ์ 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร แปลงใหญ่ข้ำว หมู่ที่ 10 ต ำบลแพรกศรีรำชำ อ ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนำท กลุ่มเป้ำหมำยเกษตรกรในพื้นที่อ ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนำท จ ำนวน 100 คน เจ้ำหน้ำที่ผู้เกี่ยวข้องจำก หน่วยงำนภำคีภำครัฐและเอกชน ผู้สังเกตกำรณ์ และเจ้ำหน้ำที่ผู้ด ำเนินกำร จ ำนวน 150 คน ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนำท (สสก. 1 ชัยนำท) จัดงำนรณรงค์ ลดกำรเผำในพื้นที่กำรเกษตร เพื่อสร้ำงกำรรับรู้ให้เกษตรกรตระหนักถึงผลกระทบจำกกำรเผำ น ำเสนอ ทำงเลือกกำรใช้ประโยชน์จำกเศษวัสดุทำงกำรเกษตร และเทคโนโลยีทำงกำรเกษตรทดแทนกำรโดยมี เกษตรกรในพื้นที่อ ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนำท มำร่วมงำน จ ำนวน 100 คน พร้อมทั้งเจ้ำหน้ำที่ผู้เกี่ยวข้องจำก หน่วยงำนภำคีภำครัฐและเอกชน ผู้สังเกตกำรณ์ และเจ้ำหน้ำที่ผู้ด ำเนินกำร รวม 150 คน รวมผู้มำร่วมงำนทั้งสิ้น 250 ปัญหำ อุปสรรค 1. กำรบริหำรจัดกำรงบประมำณมีควำมยุ่งยำกในกำรด ำเนินงำน เนื่องจำกต้องด ำเนินกำร ร่วมกับส ำนักงำนเกษตรจังหวัดและส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอ 2. งบประมำณในกำรจัดกิจกรรม ไม่เพียงพอส ำหรับจัดกิจกรรมถ่ำยทอดควำมรู้และสำธิตซึ่ง ต้องมีกำรจัดหำวัสดุสำธิตให้เกษตรกรฝึกปฏิบัติ ข้อเสนอแนะ 1. ควรโอนจัดสรรงบประมำณในส่วนกำรจัดงำนรณรงค์ลดกำรเผำในท้องถิ่น ให้ส ำนักงำน เกษตรจังหวัด เพื่อควำมสะดวกในกำรบริหำรจัดกำรงบประมำณ และประสิทธิภำพในกำรด ำเนินงำน 2. จัดสรรงบประมำณ ให้ สสก. เพื่อใช้ในกำรร่วมด ำเนินงำน และติดตำมกำรด ำเนินงำนใน พื้นที่ ตำมบทบำทภำรกิจ ๓. ควรจัดสรรงบประมำณเพิ่มเติมเพื่อให้เกษตรกรเกิดกำรเรียนรู้อย่ำงมีประสิทธิภำพ มีวัสดุสำธิตส ำหรับฝึก ปฏิบัติ 27


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรส่งเสริมกำรหยุดเผำในพื้นที่กำรเกษตร ปี 2565 กิจกรรม การติดตามสถานการณ์ จุดสะสมความร้อน (Hotspot) ในพื้นที่การเกษตร การติดตามสถานการณ์ จุดสะสมความร้อน (Hotspot) ในพื้นที่การเกษตร ระหว่างเดือน ๑ มกราคม – 31ฤษภาคม 2565จากฐานข้อมูลส านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (Gistda) ใน พื้นที่ ๙ จังหวัดในเขตพื้นที่ความรับผิดชอบของ สสก.๑ ชัยนนาท พบจุดสะสมความร้อน (Hotspot) เพิ่มสูงขึ้น ในช่วงเริ่มต้นฤดูกาลผลิตในเกือบทุกจังหวัด สาเหตุ/ปัญหา ของการเผาในพื้นที่การเกษตร ๑) การเร่งรอบการผลิตข้าวให้ทันต่อฤดูกาล เกษตรกรต้องการลดระยะเวลาในการก าจัดหรือ สลายฟางข้าว เพื่อสะดวกในการเตรียมดิน เพิ่มรอบของการท านาเพื่อให้คุ้มค่ากับการเช่าที่ดิน ๒) การลดปัญหาข้าวดีดในพื้นที่การเกษตร ๓) การขาดเครื่องจักรกลการเกษตรในการจัดการเศษวัสดุที่เหลือจากการเก็บเกี่ยวผลผลิต ๔) แรงงานภาคการเกษตรขาดแคลนและค่าจ้างแรงงานมีราคาสูง ๕) เกษตรกรยังขาดความรู้ความเข้าใจ และการตระหนักรู้ถึงโทษของการเผา รวมถึงข้อกฎหมาย การเผาในพื้นที่การเกษตร 28


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรกำรบริหำรจัดกำรกำรผลิตสินค้ำเกษตรตำมแผนที่เกษตรเพื่อกำรบริหำรจัดกำรเชิงรุก (Agri-Map) ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ ๑ จังหวัดชัยนำท (สสก. ๑ ชัยนำท) จัดสัมมนำ ขับเคลื่อนกำรใช้แผนที่เกษตรเพื่อกำรบริหำรจัดกำรเชิงรุก (Agri-Map) ระดับเขตผ่ำนระบบออนไลน์ ปี ๒๕๖๕ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนำเจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมกำรเกษตรให้มีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ กำรใช้แผนที่เกษตรเพื่อ กำรบริหำรจัดกำรเชิงรุก (Agri-Map) และระบบบริหำรข้อมูลแผนที่ส่งเสริมกำรเกษตร (SSMAP) มีกำรบรรยำย วิชำกำร/สำธิต ดังนี้ ๑) แนวคิดยกระดับกำรขับเคลื่อนงำนส่งเสริมกำรเกษตร ๒) กำรใช้ประโยชน์จำกโปรแกรมแผนที่เกษตร (Agri-Map) และแผนกำรใช้ที่ดินระดับต ำบล ๓) แนวทำงกำรบริหำรจัดกำรสินค้ำเกษตรทำงเลือกที่มีอนำคต (Future Crops) ตำมแผนที่ เกษตรเพื่อกำรบริหำรจัดกำรเชิงรุก (Agri-Map) ๔) บรรยำยและสำธิตกำรใช้ระบบ SSMAP กับงำน Zoning ปัญหำอุปสรรค ๑) กำรสัมมนำกำรใช้แผนที่เกษตรเพื่อกำรบริหำรจัดกำรเชิงรุก (Agri-Map) ซึ่งมีกำรฝึกปฏิบัติ เกี่ยวกับเรื่องระบบและโปรแกรมค่อนข้ำงมำก และมีเนื้อหำค่อนข้ำงละเอียด จึงไม่เหมำะส ำหรับกำรอบรม แบบออนไลน์ ๒) กำรอบรมรูปแบบออนไลน์ต้องใช้เครือข่ำย Internet บำงครั้งระบบเครือข่ำยมีปัญหำหรือ เครือข่ำยสัญญำณอินเตอร์เนตช้ำ ท ำให้กำรอบรมขำดช่วงไม่ต่อเนื่อง ผู้เข้ำรับกำรอบรมตำมเนื้อหำวิชำกำร/กำร ฝึกปฏิบัติไม่ทัน ๓) กำรอบรม/สัมมนำรูปแบบออนไลน์ผู้เข้ำรับกำรอบรมบำงส่วนยังต้องปฏิบัติงำนตำมปกติ เช่น บริกำรเกษตรกรที่มำใช้บริกำร ท ำให้กำรอบรมขำดควำมต่อเนื่อง ๔) กำรอบรม/สัมมนำรูปแบบออนไลน์ ผู้เข้ำรับกำรอบรมมีส่วนร่วมในกำรแสดงควำมคิด/ แลกเปลี่ยนควำมคิดเห็นกันค่อนข้ำงน้อยกว่ำกำรอบรมแบบเผชิญหน้ำ ท ำให้กำรแก้ไขปัญหำในกำรปฏิบัติงำน อำจท ำได้น้อยกว่ำกำรอบรมแบบเผชิญหน้ำ 29


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรส่งเสริมกำรผลิตสินค้ำเกษตรตำมมำตรฐำน GAP กิจกรรมสัมมนำเชิงปฏิบัติกำรพัฒนำเจ้ำหน้ำที่เป็นที่ปรึกษำเกษตรกรและเป็นวิทยำกรด้ำนมำตรฐำน GAP วันที่ด ำเนินกำร ระหว่ำงวันที่15 -17 ธันวำคม 2564 สถำนที่ด ำเนินกำร โรงแรมแฟนตำซี รีสอร์ท อ ำเภอเมืองชัยนำท จังหวัดชัยนำท และแปลงเกษตรกรในพื้นที่ อ ำเภอมโนรมย์ อ ำเภอสรรพยำ จังหวัดชัยนำท กลุ่มเป้ำหมำย เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมกำรเกษตรระดับอ ำเภอ ระดับจังหวัดที่รับผิดชอบงำน GAP จ ำนวน 30 คน กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือเจ้ำหน้ำที่ หรือหน่วยงำนได้รับ เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบงำน GAP ระดับจังหวัด ระดับอ ำเภอ น ำควำมรู้ที่ได้ไปพัฒนำเกษตรกรในพื้นที่ ให้มีควำมรู้ และเตรียมควำมพร้อมเข้ำสู่ระบบมำตรฐำน GAP โดยจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ สสก.1 มีเกษตรกรเป้ำหมำยที่ เข้ำร่วมโครงกำร (MOU) ปี 2565 จ ำนวนทั้งสิ้น 620 รำย แบ่ง เป็นเป้ำหมำยแปลงใหญ่ 152 รำย และแปลงทั่วไป 468 รำย ซึ่งผ่ำนกำรอบรม ผ่ำนกำรประเมินแปลงเบื้องต้น และยื่นใบสมัครขอรับรอง GAP (F01) ให้ หน่วยงำนกรมวิชำกำรเกษตร ที่รับผิดชอบจเพื่อตรวจให้กำรรับรองแปลง GAP ซึ่งผลกำรตรวจรับรอง มีแปลง เกษตรกรเป้ำหมำย MOU ที่ผ่ำนกำรรับรอง GAPจ ำนวน 51 รำย 54 แปลง และมีแปลงเป้ำหมำยเชิงรุก ผ่ำนกำร รับรอง 33 รำย 67 แปลง 30


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรส่งเสริมกำรผลิตสินค้ำเกษตรตำมมำตรฐำน GAP กิจกรรมประชุมควำมร่วมมือกำรรับรองแหล่งผลิตสินค้ำเกษตร GAP พืช ระหว่ำงกรมส่งเสริมกำรเกษตรกับ กรมวิชำกำรเกษตร วันที่ด ำเนินกำร 1) เข้ำร่วมประชุม MOU ระดับเขต 2 ครั้ง (ครั้งที่ 1 วันที่ 14 มีนำคม 2565 และ ครั้งที่ 2 วันที่ 2 กันยำยน 2565) 2) เข้ำร่วมประชุม MOU ระดับกรมฯ 1 ครั้ง วันที่ 17 มีนำคม 2565 3) ติดตำม นิเทศงำนจังหวัด อ ำเภอ ระหว่ำงเดือน พฤศจิกำยน 2564 – กันยำยน 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร ณ ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท และในพื้นที่ 9 จังหวัดใน ควำมรับผิดชอบ กลุ่มเป้ำหมำย 1) ประชุม MOU ประกอบด้วย เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมกำรเกษตร เจ้ำหน้ำที่กรมวิชำกำรเกษตร ภำยใต้เขตรับผิดชอบ สวพ.5 รวม 20 จังหวัด ( 9 จังหวัดในเขตรับผิดชอบ สสก.1) จ ำนวน 2 ครั้ง 2) ติดตำม นิเทศงำน เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมกำรเกษตรระดับจังหวัด ระดับอ ำเภอ ในพื้นที่ 9 จังหวัด กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือเจ้ำหน้ำที่ หรือหน่วยงำนได้รับ ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โดยกลุ่มส่งเสริมและพัฒนำกำร ผลิต ได้ติดตำมควำมก้ำหน้ำกำรด ำเนินงำนโครงกำรส่งเสริมกำรผลิตสินค้ำเกษตรตำมมำตรฐำน GAP พร้อมทั้งแลกเปลี่ยนแนวคิดกำรด ำเนินงำนส่งเสริมกำรผลิตพืชปลอดภัยตำมมำตรฐำน GAP ในพื้นที่รับผิดชอบ 9 จังหวัด (จังหวัดชัยนำท สิงห์บุรี ลพบุรี สระบุรี พระนครศรีอยุธยำ อ่ำงทอง ปทุมธำนี นนทบุรี และ กรุงเทพมหำนคร)และได้เข้ำร่วมประชุมควำมร่วมมือกำรรับรองแหล่งผลิตสินค้ำเกษตร GAP พืช ระหว่ำง กรมส่งเสริมกำรเกษตรกับกรมวิชำกำรเกษตรทั้งระดับกรม และระดับเขต เพื่อรับทรำบข้อมูลควำมก้ำวหน้ำ ผลกำรด ำเนินงำนของเจ้ำหน้ำที่ที่เกี่ยวข้องจำกกรมส่งเสริมกำรเกษตรและกรมวิชำกำรเกษตร ในกำรส่งเสริม เกษตรกรเข้ำสู่ระบบมำตรฐำน GAP รวมถึงปัญหำ อุปสรรค และข้อเสนอแนะแนวทำงในกำรท ำงำนร่วมกัน 31


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรส่งเสริมกำรผลิตสินค้ำเกษตรตำมมำตรฐำน GAP กิจกรรม น ำร่องและขยำยผลงำนส่งเสริมกำรผลิตสินค้ำเกษตรแบบกลุ่มจัดตำมระบบควบคุมภำยใน GAP, s Internal Control Systems : ICS ประชุมเชิงปฏิบัติกำรครั้งที่ 1 – 3 วันที่ด ำเนินกำร ครั้งที่ 1 วันที่ 25 พฤษภำคม 2565 ครั้งที่ 2 วันที่ 20 กรกฏำคม 2565 ครั้งที่ 3 วันที่ 23 สิงหำคม 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร กลุ่มผู้ปลูกพืชสมุนไพรบ้ำนดอนอุโลก ต.เด่นใหญ่ อ.หันคำ จ.ชัยนำท กลุ่มเป้ำหมำย สมำชิกกลุ่มผู้ปลูกพืชสมุนไพรบ้ำนดอนอุโลก จ ำนวน 15 รำย กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือเจ้ำหน้ำที่ หรือหน่วยงำนได้รับ ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ได้จัดกิจกรรมน ำร่องและขยำยผลงำนส่งเสริม กำรผลิตสินค้ำ เกษตรแบบกลุ่มตำมระบบควบคุมภำยใน GAP, s Internal Control System : ICSโดยบูรณำกำรท ำงำนร่วมกับ ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดชัยนำท พิจำรณำคัดเลือกกลุ่มผู้ปลูกพืชสมุนไพรบ้ำนดอนอุโลก ต ำบลเด่นใหญ่ อ ำเภอหัน คำ จังหวัดชัยนำท มีสมำชิกเกษตรกรผู้ปลูกสมุนไพร จ ำนวน 15 รำย ที่มีกำรรวมกลุ่มกันผลิต จ ำหน่ำย และมี ควำมต้องกำรขอรับรองมำตรฐำน GAP สสก.1 จ.ชัยนำท และส ำนักงำนเกษตรจังหวัดชัยนำท ส ำนักงำนเกษตร อ ำเภอหันคำ ได้ร่วมกันจัดเวทีเชิงปฏิบัติกำร จ ำนวน 3 ครั้ง เพื่อจัดกิจกรรมต่ำงๆ ประกอบด้วย กำรอบรมถ่ำยทอด ควำมรู้ด้ำนกำรผลิตพืชปลอดภัยตำมระบบมำตรฐำน GAP กำรวินิจฉัยโรคและแมลงศัตรูพืช กำรผลิตและใช้สำรชีว ภัณฑ์ทดแทนสำรเคมี กำรวิเครำะห์ศักยภำพกลุ่มด้วย SWOT Analysis กำรสนับสนุนพันธุ์พืชสมุนไพรตำมควำม ต้องกำรของสมำชิกกลุ่ม เช่น ขมิ้น ไพล ขิง กล้ำพริก เป็นต้น กำรจัดตั้งคณะกรรมกำรตำมโครงสร้ำงบริหำร กลุ่ม กำรจัดท ำเอกสำร แบบฟอร์มและบันทึกต่ำงๆ เพื่อให้กลุ่มสำมำรถบริหำรจัดกำรกำรผลิต กำรจ ำหน่ำยของ สมำชิก และปฏิบัติได้ตำมหลักเกณฑ์/ขั้นตอนของคู่มือระบบควบคุมภำยในแบบกลุ่ม สำมำรถบริหำรจัดกำรกลุ่มให้ เกิดควำมเข้มแข็งและยั่งยืนได้ 32


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรส่งเสริมกำรผลิตสินค้ำเกษตรอินทรีย์ กิจกรรม อบรมเจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมเกษตรอินทรีย์ วันที่ด ำเนินกำร ระหว่ำงวันที่ 25 – 26 พฤศจิกำยน 2564 สถำนที่ด ำเนินกำร ณ ห้องประชุมส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท และแปลงเกษตรกรในพื้นที่อ ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนำท กลุ่มเป้ำหมำย เจ้ำหน้ำที่ส่งเสริมกำรเกษตรของส ำนักงำนเกษตรจังหวัด 9 จังหวัด เจ้ำหน้ำที่อ ำเภอ จ ำนวน 15 คน กิจกรรม/ผลกำรด ำเนินงำน/ประโยชน์ที่เกษตรกร หรือเจ้ำหน้ำที่ หรือหน่วยงำนได้รับ เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบงำนเกษตรอินทรีย์ระดับจังหวัด อ ำเภอที่ผ่ำนกำรอบรมสำมำรถน ำควำมรู้ที่ได้ไป พัฒนำเกษตรกร ให้มีควำมรู้และเตรียมควำมพร้อมเข้ำสู่ระบบมำตรฐำนเกษตรอินทรีย์ โดยจังหวัดในพื้นที่รับผิดชอบ สสก.1 มี เกษตรกรเป้ำหมำย ที่เข้ำร่วมโครงกำรส่งเสริมกำรผลิตสินค้ำเกษตรอินทรีย์ปี 2565 จ ำนวนทั้งสิ้น 316 รำย ผ่ำน กำรอบรม ศึกษำดูงำนและได้รับกำรสนับสนุนปัจจัยกำรผลิตตำมควำมต้องกำรของเกษตรกร โดยมีแปลง เกษตรกรเป้ำหมำยที่ผ่ำนกำรรับรองมำตรฐำนอินทรีย์แล้วสะสม จ ำนวน 84 รำย 86 แปลง (ข้อมูล ณ เดือน กันยำยน 2565) 33


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำร กำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำศูนย์จัดกำรดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) กิจกรรม กำรประกวดศูนย์จัดกำรดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) ดีเด่นระดับเขต ประจ ำปี พ.ศ. 2565 วันที่ด ำเนินงำน พิจำรณำผลกำรด ำเนินงำนในพื้นที่ระหว่ำงวันที่1-3 สิงหำคม 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร จังหวัดชัยนำท อ่ำงทอง พระนครศรีอยุธยำ และสระบุรี ซึ่งผ่ำนกำร คัดเลือกเบื้องต้นจำกกำรพิจำรณำเอกสำรและวิดีทัศน์ ผลกำรประกวดศูนย์จัดกำรดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) ดีเด่นระดับเขต ประจ ำปี 2565 ได้แก่ รำงวัลชนะเลิศ ศูนย์จัดกำรดินปุ๋ยชุมชนต ำบลบำงโขมด อ ำเภอบ้ำนหมอ จังหวัดสระบุรี รองชนะเลิศ อันดับ 1 ศูนย์จัดกำรดินปุ๋ยชุมชนบ้ำนดอนใหญ่ ต ำบลหนองมะโมง อ ำเภอหนองมะโมง จังหวัดชัยนำท รองชนะเลิศ อันดับ 2 ศูนย์จัดกำรดินปุ๋ยชุมชนต ำบลโพธิ์รังนก อ ำเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่ำงทอง รำงวัลชมเชย ศูนย์จัดกำรดินปุ๋ยชุมชนต ำบลดอนหญ้ำนำง อ ำเภอภำชี จังหวัดพระนครศรีอยุธยำ ผลที่เกิดขึ้น 1 มีศูนย์จัดกำรดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) ต้นแบบ จ ำนวน 4 ศูนย์ 2 เผยแพร่ประชำสัมพันธ์ผลงำนกำรด ำเนินงำนส่งเสริมศูนย์จัดกำรดินปุ๋ยชุมชน (ศดปช.) ที่ประสบ ควำมส ำเร็จ ขยำยผลสู่สำธำรณะชน 34


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรพัฒนำระบบตลำดภำยในส ำหรับสินค้ำเกษตร กิจกรรม สัมมนำพัฒนำสินค้ำเกษตรสู่ช่องทำงตลำดศักยภำพในระดับพื้นที่ เขตที่ 1 ปี 2565 วันที่ด ำเนินกำร 4 เมษำยน 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร ณ ห้องประชุมส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท เป้ำหมำย ผู้เข้ำร่วมสัมมนำ จ ำนวน 45 คน ได้แก่ เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบงำนตลำดเกษตรกรระดับจังหวัด 9 จังหวัดๆ ละ 1 คน และเกษตรกรจำก 9 จังหวัดๆ ละ 4 คน กิจกรรม กำรสัมมนำฯ ผ่ำนระบบออนไลน์ กิจกรรมประกอบด้วย 1 บรรยำยให้ควำมรู้ -แนวทำงกำรด ำเนินงำนตลำดเกษตรกร และกำรสร้ำงอัตลักษณ์ตลำดเกษตรกร - ช่องทำงจ ำหน่ำยสินค้ำ “ตลำดเกษตรกรออนไลน์” - ช่องทำงจ ำหน่ำยสินค้ำ และกำรพัฒนำสินค้ำเกษตรสู่ช่องทำงตลำด Modern Trade 2 น ำเสนอผลิตภัณฑ์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กำรพัฒนำสินค้ำสู่ตลำดเกษตรกร 3. แบ่งกลุ่ม จัดท ำแนวทำงกำรพัฒนำงำนตลำดเกษตรกร 9 จังหวัด ผลที่เกิดขึ้น 1. เกษตรกรสำมำรถบริหำรจัดกำรตลำดเกษตรกร ให้เป็นแหล่งจ ำหน่ำยสินค้ำเกษตรที่ส ำคัญ ของพื้นที่ 2. ผู้บริโภคมีควำมมั่นใจ และยอมรับในคุณภำพ และมำตรฐำนของสินค้ำตลำดเกษตรกร 3. เกิดกำรเชื่อมโยงเครือข่ำยและเพิ่มช่องทำงกำรตลำดสินค้ำเกษตรจำกตลำดเกษตรกรสู่ตลำด ออนไลน์ ตลำด Modern Trade 35


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรพัฒนำระบบตลำดภำยในส ำหรับสินค้ำเกษตร กิจกรรม กำรติดตำม ประเมินผลกำรด ำเนินงำนตลำดเกษตรกร 9 จังหวัด วันที่ด ำเนินกำร ระหว่ำง เดือน สิงหำคม – กันยำยน 2565 สถำนที่ด ำเนินกำร ณ บริเวณจัดตลำดเกษตรกรพื้นที่ 9 จังหวัด เป้ำหมำย ตลำดเกษตรกร 9 จังหวัด ได้แก่ ชัยนำท สิงห์บุรี อ่ำงทอง พระนครศรีอยุธยำ ปทุมธำนี นนทบุรี ลพบุรี และสระบุรี ผลที่เกิดขึ้น 1. เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบงำนตลำดเกษตรกร และคณะกรรมกำรตลำดเกษตรกร มีแนวทำงใน กำร แก้ไขปัญหำ และกำรพัฒนำตลำดเกษตรกร 2. มีกำรประชำสัมพันธ์ ผลกำรด ำเนินงำนตลำดเกษตรกร ให้เป็นที่รู้จักแก่สำธำรณชน 3. เกิดกำรสร้ำงทีมงำน เครือข่ำยกำรด ำเนินงำน ระหว่ำง คณะกรรมกำรตลำด เจ้ำหน้ำที่ระดับ อ ำเภอ เจำหน้ำที่ระดับจังหวัด และเจ้ำหน้ำที่ระดับเขต 36


กลุ่มยุทธศำสตร์และสำรสนเทศ 37


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท เวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต (Region Workshop : RW) ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำทได้ด ำเนินกำรจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระดับเขต (Regional Workshop: RW) ในปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 จ ำนวน 2 ครั้ง เพื่อเป็นเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้กำรด ำเนินงำน โครงกำรต่ำงๆ รวมทั้งเป็นเวทีในกำรร่วมกันแก้ไขปัญหำที่เป็นประเด็นเร่งด่วน (Hot Issue) ที่เกิดขึ้นในแต่ละพื้นที่ ส ำหรับ นักส่งเสริมกำรเกษตรทั้งในระดับจังหวัดและเขต ตลอดจนสรุปผลและถอดบทเรียนที่ได้จำกกำรด ำเนินงำนในแต่ละพื้นที่ เพื่อให้เกิดแนวทำงกำรปฏิบัติที่สำมำรถน ำไปใช้ในกำรด ำเนินงำนได้อย่ำงเหมำะสม มีบทเรียนและองค์ควำมรู้ในกำร พัฒนำกำรด ำเนินงำน รวมทั้งได้ทรำบถึงปัจจัยที่ส่งผลถึงควำมส ำเร็จ และปัญหำอุปสรรคที่เกิดขึ้น โดยผ่ำนเวทีแลกเปลี่ยน เรียนรู้ระดับเขต ดังนี้ ครั้งที่ 1จัดขึ้นระหว่ำงวันที่ 8 –9 ธันวำคม 2564 ณห้องประชุมส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัด ชัยนำท โดยจัดในรูปแบบออนไลน์ ผ่ำนโปรแกรม Zoom Meeting มีบุคคลเป้ำหมำยประกอบด้วยผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำน ส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ผู้อ ำนวยกำรกลุ่ม และเจ้ำหน้ำที่ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท รวมจ ำนวน 20 คน และเจ้ำหน้ำที่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัด ส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอ ศูนย์ปฏิบัติกำร และ วิทยำกร รวมทั้งสิ้น 120 คน ครั้งที่ 2 จัดขึ้นระหว่ำงวันที่ 16–17 สิงหำคม 2565โดยวันที่ 16 สิงหำคม 2565 จัดขึ้น ณ โรงแรมแฟนตำซีรีสอร์ท อ ำเภอเมือง จังหวัดชัยนำท มีบุคคลเป้ำหมำยประกอบด้วย ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ผู้อ ำนวยกำรกลุ่ม/ หัวหน้ำฝ่ำยฯ เจ้ำหน้ำที่ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1จังหวัดชัยนำท หัวหน้ำกลุ่ม/ฝ่ำยฯ ระดับจังหวัด ผู้อ ำนวยกำร ศูนย์ปฏิบัติกำร เจ้ำหน้ำที่ส ำนักงำนเกษตรจังหวัด และศูนย์ปฏิบัติกำร รวมจ ำนวน 60 คน เจ้ำหน้ำที่ส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอ และวิทยำกร ผ่ำนระบบออนไลน์ Zoom และ วันที่ 17 สิงหำคม 2565 จัดขึ้น ณ ห้องประชุมส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำร เกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โดยมีบุคคลเป้ำหมำยประกอบด้วย ผู้อ ำนวยกำรส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ผู้อ ำนวยกำรกลุ่ม/หัวหน้ำฝ่ำยฯ เจ้ำหน้ำที่ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1จังหวัดชัยนำท เจ้ำหน้ำที่ ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดผู้รับผิดชอบงำนระบบส่งเสริมกำรเกษตร และงำนภูมิปัญญำท้องถิ่นฯ และเจ้ำหน้ำที่ศูนย์ปฏิบัติกำร รวมจ ำนวน 40 คน หัวหน้ำกลุ่ม/ฝ่ำยฯระดับจังหวัด ผู้อ ำนวยกำรศูนย์ปฏิบัติกำร เจ้ำหน้ำที่ส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอ และวิทยำกร ผ่ำนระบบออนไลน์ Zoom 38


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรคักเลือกเกษตรกร บุคคลทำงกำรเกษตร และสถำบันเกษตรกรดีเด่นระดับเขต ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ด ำเนินกำรคัดเลือกเกษตรกร บุคคลทำงกำรเกษตร และสถำบันเกษตรกรดีเด่นระดับเขตประจ ำปี 2565เพื่อเป็นกำรยกย่องเชิดชูเกียรติแก่เกษตรกร บุคคลทำง กำรเกษตร และสถำบันเกษตรกร ที่มีผลงำนดีเด่นให้เป็นที่ปรำกฏแก่สำธำรณชน ตลอดจนเป็นกำรให้ควำมส ำคัญ และสร้ำงขวัญก ำลังใจให้ผู้ประกอบอำชีพเกษตรกรรมมีพลังใจสร้ำงผลงำนที่เป็นประโยชน์ต่ออำชีพกำรเกษตรให้เกิด กำรพัฒนำอย่ำงต่อเนื่อง โดยพิจำรณำคัดเลือกผลงำนดีเด่นของเกษตรกร บุคคลทำงกำรเกษตร และสถำบันเกษตรกร ดีเด่นระดับเขต จำก 9 จังหวัด ในควำมรับผิดชอบของส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัด ชัยนำท จ ำนวน 3 ประเภท 7 สำขำ ประกอบด้วย ประเภทเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ - สำขำท ำสวน - สำขำท ำไร่ - สำขำไร่นำสวนผสม ประเภทบุคคลทำงกำรเกษตรดีเด่น ได้แก่ - สมำชิกกลุ่มยุวเกษตรกร - ที่ปรึกษำกลุ่มยุวเกษตรกร ประเภทกลุ่มสถำบันเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ - กลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกร -กลุ่มยุวเกษตรกร โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นกำรยกย่องเชิดชูเกียรติเกษตรกร บุคคลทำงกำรเกษตร และสถำบันเกษตรกร ที่มีผลงำนดีเด่นให้เป็นที่ปรำกฏต่อสำธำรณชน เกิดควำมภำคภูมิใจในอำชีพของตนเอง ในกำรคัดเลือกส ำนักงำน ส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ด ำเนินกำรคัดเลือกขั้นต้นผ่ำน zoom meeting และเล่มผลงำน ที่ส่งเข้ำประกวด แล้วจึงลงพื้นที่จริงเพื่อตัดสินชี้ขำดในขั้นสุดท้ำย โดยมีผลกำรคัดเลือก ดังนี้ - เกษตรกรดีเด่นสำขำท ำสวน ได้แก่ นำยนุกุล นำมปรำศรัย จังหวัดปทุมธำนี - เกษตรกรดีเด่นสำขำท ำไร ได้แก่ นำยลือชัย เกิดศรี จังหวัดลพบุรี - เกษตรกรดีเด่นสำขำไร่นำสวนผสม ได้แก่ นำยสมนึก ดวงประทีบ จังหวัดอ่ำงทอง - สมำชิกกลุ่มยุวเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ นำยรัฐนันท์ จันทะขึ้น โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 33 - ที่ปรึกษำยุวเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ นำงสำวกัญญำณัฐ บัวโต โรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 33 - กลุ่มยุวเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ กลุ่มยุวเกษตรกรโรงเรียนรำชประชำนุเครำะห์ 33 จังหวัดลพบุรี กลุ่มเม่บ้ำนเกษตรกรดีเด่น ได้แก่ กลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกรพัฒนำบ้ำนแม่ลำ จังหวัดสิงห์บุรี 39


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรศูนย์เรียนรู้กำรเพิ่มประสิทธิภำพกำรผลิตสินค้ำเกษตร โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ในปีงบประมาณ พ.ศ.2565 ส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1จังหวัดชัยนาท ได้ ด าเนินการ โครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพสินค้าเกษตร ในกิจกรรมต่าง ๆ ดังนี้ 1. กิจกรรม ติดตามการด าเนินงานโครงการศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ด าเนินการ ระหว่างเดือน พฤศจิกายน 2564- กันยายน 2565จ านวน 12 ครั้ง สถานที่ด าเนินการ ติดตามงาน ศพก. และ ศพก. เครือข่าย ในพื้นที่รับผิดชอบ 9จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท สิงห์บุรี อ่างทอง พระนครศรีอยุธยา ปทุมธานี นนทบุรี กรุงเทพมหานคร สระบุรี และ ลพบุรี 2. กิจกรรม การประชุมเชื่อมโยงการด าเนินงานคณะกรรมการเครือข่ายศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) และ แปลงใหญ่ ระดับเขต ด าเนินการ จัดประชุมร่วมกับแปลงใหญ่ จ านวน 4 ครั้ง ครั้งที่ 1วันที่ 16ธันวาคม 2564 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอ าเภอ หันคา จังหวัดชัยนาท ครั้งที่ 2วันที่ 17 มีนาคม 2565 ณ ห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1จังหวัด ชัยนาท ครั้งที่ 3วันที่ 16 มิถุนายน 2565 ณ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรเครือข่าย อ าเภอชัยบาดาล จังหวัดลพบุรี ครั้งที่ 4วันที่ 18 สิงหาคม 2565 ณ ห้องประชุมส านักงานส่งเสริมและพัฒนาการเกษตรที่ 1จังหวัด ชัยนาท 3. กิจกรรม การคัดเลือกศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ดีเด่น ระดับเขต ด าเนินการ ระหว่างวันที่ 6 – 10 มิถุนายน 2565 สถานที่ด าเนินการ ติดตามคัดเลือกผลงานของศพก. ดีเด่นระดับจังหวัด ในพื้นที่รับผิดชอบ 9จังหวัด โดยผลการคัดเลือกศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (ศพก.) ดีเด่น ระดับเขต ได้แก่ ศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตรอ าเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ของนายขวัญชัย แตงทอง (เกษตรกรต้นแบบ) 40


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรส่งเสริมอำชีพด้ำนกำรเกษตรตำมอัตลักษณ์ และภูมิปัญญำท้องถิ่น โครงกำรส่งเสริมอำชีพด้ำนกำรเกษตรตำมอัตลักษณ์และภูมิปัญญำท้องถิ่น ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ร่วมกับส ำนักงำนเกษตรจังหวัดชัยนำท ด ำเนินกำรโครงกำร พัฒนำอัตลักษณ์พื้นถิ่นจำกภูมิปัญญำของชุมชน ในปีงบประมำณ 2565 จุดเดิมเรื่อง กำรแปรรูปน้ ำตำลโตนด ชุมชนบ้ำนบำง ยำยอ้น ต ำบลห้วยกรด อ ำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนำท โดยมีเป้ำหมำยเพื่อส่งเสริมและพัฒนำด้ำนกำรผลิต กำรแปรรูป และ กำรท่องเที่ยว เกี่ยวกับตำลโตนดของจังหวัดชัยนำท ให้คงอยู่ และสืบทอดไปยังรุ่นหลัง และเป็นที่รู้จักในวงกว้ำง โดย ด ำเนินกำรจัดเวทีชุมชนเพื่อระดมควำมคิดเห็น จ ำนวน 1 ครั้ง และจุดใหม่ ภูมิปัญญำกำรปลูกข้ำวล้มตอซัง ต ำบลคูบำงหลวง อ ำเภอลำดหลุมแก้ว จังหวัดปทุมธำนี โดยภูมิปัญญำกำรปลูกข้ำวล้มตอซัง เริ่มมีกำรปฏิบัติในพื้นที่ต ำบลคูบำงหลวงน ำโดย นำยชำลี อยู่ยืน ได้ไป ศึกษำวิธีกำรปลูกข้ำวล้มตอซังที่ต ำบลบ่อเงิน อ ำเภอลำดหลุมแก้ว แล้วทดลองในพื้นที่นำของตน ก่อน กระจำยไปสู่เกษตรกรข้ำงเคียงในพื้นที่ โดยด ำเนินกำรจัดเวทีชุมชนเพื่อระดมควำมคิดเห็น จ ำนวน 4ครั้ง ซึ่งผลจำกกำร ด ำเนินงำน ดังนี้ จุดเดิม ด ำเนินกำรจัดเวทีในวันที่ 18 กุมภำพันธ์ 2565 โดยชี้แจงข้อมูลแผนพัฒนำที่ได้จำกเวทีถอดบทเรียนตำมขั้นตอนกำร จัดกระบวนกำรเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมเมื่อปี 2564 และแนะน ำกำรขับเคลื่อนกำรพัฒนำอัตลักษณ์พื้นถิ่นจำกภูมิปัญญำของ ชุมชน ระดมควำมคิดเพื่อผลิตสื่อเผยแพร่ประชำสัมพันธ์ และสรุปควำมต้องกำรปัจจัยกำรผลิตเพื่อต่อยอดภูมิปัญญำท้องถิ่นนี้ ต่อไป จุดใหม่ ครั้งที่ 1 วันที่ 19 มกรำคม 2565 เป็นกำรด ำเนินกำรระดมควำมคิดเห็นจำกผู้เข้ำร่วมเวทีชุมชนโดยแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม เพื่อ เก็บข้อมูลด้วยวิธีปฏิทินกำรเพำะปลูก (Crop Calendar) ในประเด็น ขั้นตอน/วิธีกำรเพำะปลูก วัสดุอุปกรณ์ ปัจจัยกำร ผลิต ต้นทุนกำรผลิต ในช่วงเวลำต่ำงๆ และถำม/ตอบในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับกำรปลูกข้ำวล้มตอซัง ได้แก่ ที่มำของภูมิ ปัญญำในพื้นที่ สภำวะที่เหมำะสมในกำรล้มตอซังข้ำว ควำมแตกต่ำงระหว่ำงกำรปลูกข้ำวนำปี/นำปรังและข้ำวล้มตอซัง ผลประโยชน์ที่เกิดขึ้นต่อสิ่งแวดล้อมและวิถีชีวิตจำกกำรปลูกข้ำวล้มตอซัง จำกกำรเมื่อเปรียบเทียบด้ำนต้นทุนกำรปลูกข้ำว ล้มตอซังกับกำรปลูกข้ำวนำปรัง ในกรณีนำเช่ำและมีกำรจ้ำงแรงงำนภำยนอก พบว่ำ ต้นทุนกำรปลูกข้ำวล้มตอซังเท่ำกับ 4,637 บำท และต้นทุนข้ำวนำปรังเท่ำกับ 5,604 บำท กำรปลูกข้ำวล้มตอซังมีต้นทุนที่ต่ ำกว่ำ 967 บำท ครั้งที่ 2 วันที่ 1 มิถุนำยน 2565 ด ำเนินกำรระดมควำมคิดเห็นเพื่อวิเครำะห์ชุมชนและร่วมก ำหนดเป้ำหมำยในกำรพัฒนำภูมิ ปัญญำฯจำกผู้เข้ำร่วมเวทีชุมชน โดยวิเครำะห์ SWOT และหำควำมต้องกำรของชุมชน ซึ่งควำมต้องกำรหลักที่พบคือ ต้องกำรเงินทุนหมุนเวียน ควำมรู้เรื่องกำรท ำตลำดเครื่องจักรในกำรเตรียมดินเพื่อท ำข้ำวล้มตอซัง ครั้งที่ 3 วันที่ 8 มิถุนำยน 2565 ด ำเนินกำรระดมควำมคิดเห็นเพื่อก ำหนดแนวทำงกำรพัฒนำอัตลักษณ์พื้นถิ่นจำกภูมิปัญญำ ของชุมชน และกลไกขับเคลื่อนของชุมชน ค้นหำควำมต้องกำรสนับสนุนวัสดุอุปกรณ์ในกำรส่งเสริมภูมิปัญญำท้องถิ่นกำร ปลูกข้ำวล้มตอซัง ครั้งที่ 4 วันที่ 28 มิถุนำยน 2565 ด ำเนินกำรหำผู้แทนกลุ่มเกษตรกรในกำรเสนอควำมต้องกำรและรับมอบวัสดุอุปกรณ์ ร่วมกันหำรือเพื่อหำแนวทำงกำรส่งเสริมภูมิปัญญำของชุมชน สรุปโครงกำรปี 2565และคืนข้อมูลกลับสู่ชุมชน 41


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำร ภำยใต้แนวคิดงำนส่งเสริมกำรเกษตรเชิงรุก16+2 ภำรกิจ โครงกำร ภำยใต้แนวคิดงำนส่งเสริมกำรเกษตรเชิงรุก16+2 ภำรกิจ ด ำเนินกำรระหว่ำงเดือน กรกฎำคม - สิงหำคม 2565 ด ำเนินกำรในพื้นที่ 9 จังหวัด ได้แก่ กรุงเทพมหำนคร ชัยนำท นนทบุรี ปทุมธำนี พระนครศรีอยุธยำ สิงห์บุรี สระบุรี ลพบุรี อ่ำงทอง และส ำนักงำนส่งเสริมกำรเกษตรอ ำเภอ กลุ่มเป้ำหมำยส ำนักงำนเกษตรจังหวัด ทั้ง 9 จังหวัด และ ส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอที่สนใจ ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ได้ด ำเนินงำนขับเคลื่อนแนวคิดงำนส่งเสริมกำรเกษตร เชิงรุก (Chai Nat Zone 1 Agro Model) และยุทธศำสตร์เชิงกลยุทธ์พัฒนำกำรเกษตรแบบมีเป้ำหมำย เขตที่ ๑ จังหวัดชัยนำท (Chai Nat (Zone 1)–STM : Chai Nat Strategy Targeting Management) ซึ่งได้ด ำเนินงำนส่งเสริมกำรเกษตรเชิงรุก (16+2 ภำรกิจ) ตั้งแต่ปี2564 และด ำเนินงำนต่อเนื่องมำตลอด โดยปี 2565ได้มุ่งเน้นกำรขับเคลื่อนงำนในเชิงคุณภำพ โดยมอบหมำยให้ ส ำนักงำนเกษตรจังหวัด 8 จังหวัด และ ส ำนักงำนเกษตรพื้นที่กรุงเทพมหำนคร ภำยใต้ควำมรับผิดชอบของส ำนักงำน ส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำทก ำหนดเป้ำหมำยกำรพัฒนำเชิงกลยุทธ์ใน 6 ภำรกิจต่อยอด ได้แก่ 1) 1 นวส. จัดตั้ง/ พัฒนำกลุ่มยุวเกษตรกรเข้มแข็ง 1 กลุ่ม 2) 1 นวส. 1 กลุ่มวิสำหกิจชุมชน/กลุ่มแม่บ้ำนเข้มแข็ง 3) 1 นวส. 1 แปลงเกษตรทฤษฎีใหม่/ เกษตรผสมผสำนต้นแบบ 4) 1 นวส. 1 แปลงใหญ่ต้นแบบ 5) 1 นวส. 1 ศจช. และ ศดปช.เข้มแข็ง และ6) 1 นวส. 1 ศพก.เข้มแข็ง พร้อมทั้งจัดท ำวีดิทัศน์ในหัวข้อดังกล่ำว เพื่อเป็นกำรเผยแพร่กำรด ำเนินงำนของหน่วยงำนดังกล่ำวให้สำธำรณชน ได้รับทรำบ โดยมีกำรตัดสินกำรประกวดประกอบด้วย 2 รูปแบบ ได้แก่ 1) กำรตัดสินโดยคณะกรรมกำรตัดสิน และ 2) กำรตัดสินจำกสื่อ ออนไลน์ หรือรำงวัลขวัญใจมหำชน (Popular Vote) ซึ่งผลกำรประกวด ดังนี้ ประเภทส ำนักงำนเกษตรจังหวัด ดังนี้ อันดับที่ 1 ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดชัยนำท อันดับที่ 2 ส ำนักงำนเกษตรจังหวัดอ่ำงทอง อันดับที่ 3 ส ำนักงำนเกษตรพื้นที่กรุงเทพมหำนคร ประเภทส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอ ดังนี้ อันดับที่ 1 ส ำนักงำนเกษตรพื้นที่ 1 อันดับที่ 2 ส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอชัยบำดำล อันดับที่ 3 ส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอแสวงหำ รำงวัลขวัญใจมหำชน (Popular Vote) ส ำนักงำนเกษตรอ ำเภอแสวงหำ 42


กลุ่มส่งเสริมและพัฒนำเกษตรกร 43


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรสัมมนำเพิ่มศักยภำพผู้น ำในกำรขับเคลื่อนงำน กลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกร ระดับเขต กิจกรรมที่ด ำเนินกำร จัดกิจกรรมสัมมนำเพิ่มศักยภำพผู้น ำในกำรขับเคลื่อนงำนกลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกร ระดับเขต โดยมุ่งเน้นกำรขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนส่งเสริม และสนับสนุนกำรพัฒนำกลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกร เพื่อให้แม่บ้ำน เกษตรกรเป็นผู้มีควำมรู้ ควำมช ำนำญ และทักษะในด้ำนที่เกี่ยวข้อง เช่น กำรจัดกำรและวิทยำกำร หลัง กำรเก็บเกี่ยว (Postharvest management) กำรคัดคุณภำพ (Grading) และกำรพัฒนำบรรจุภัณฑ์ (Packaging) กำรเพิ่มมูลค่ำผลผลิตเกษตร กำรเกษตรผสมผสำนที่เน้นกำรสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนอำหำร กำรพัฒนำภำวะผู้น ำ เกษตรกร กำรจัดกำรด้ำนกำรตลำด รวมถึงกำรสร้ำงเครือข่ำย และกำรประชุมคณะกรรมกำรกลุ่มแม่บ้ำน เกษตรกรระดับเขต เพื่อเป็นแกนน ำในกำรประสำนงำน กำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบกำรณ์ด้ำนบทบำทสตรี จัดท ำ แผนกำรพัฒนำและขับเคลื่อนกำรด ำเนินงำนกลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกรในกำรท ำงำนส่งเสริมกำรเกษตรเคหกิจ เกษตร และกำรขยำยผลกำรด ำเนินกิจกรรมสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนอำหำรในครัวเรือนและชุมชน และได้จัดให้มี กำรเลือกตั้งคณะกรรมกำรกลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกรระดับเขตชุดใหม่ เพื่อด ำรงต ำแหน่งแทนคณะกรรมกำรฯ ชุด เก่ำที่ครบวำระในปี พ.ศ. 2565 จำกกำรด ำเนินกำรดังกล่ำว ท ำให้ผู้น ำกลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกรระดับเขต ได้รับกำรพัฒนำ ศักยภำพในกำรขับเคลื่อนงำนกลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกร ท ำให้แม่บ้ำนเกษตรกรน ำควำมรู้ ควำมช ำนำญ และทักษะ ด้ำนที่เกี่ยวข้องกับกำรพัฒนำผลิตภัณฑ์ และเพิ่มมูลค่ำผลผลิตทำงกำรเกษตร สำมำรถขับเคลื่อนงำนกลุ่ม แม่บ้ำนเกษตรกรได้อย่ำงมีศักยภำพ เกิดเครือข่ำยกลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกรระดับเขต มีแผนกำรพัฒนำและขับเคลื่อน กำรด ำเนินงำนกลุ่มแม่บ้ำนเกษตรกรในกำรท ำงำนส่งเสริมกำรเกษตรเคหกิจเกษตร และกำรขยำยผลกำรด ำเนิน กิจกรรมสร้ำงควำมมั่นคงด้ำนอำหำรในครัวเรือนและชุมชน ระดับเขต 44


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรสัมมนำเชิงปฏิบัติกำรเครือข่ำยผู้น ำกำรพัฒนำ คุณภำพชีวิตและกำรสร้ำงรำยได้ กิจกรรมที่ด ำเนินกำร จัดสัมมนำเชิงปฏิบัติกำรเครือข่ำยผู้น ำกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตและกำรสร้ำงรำยได้เสริมจำก กำรประกอบอำชีพของกลุ่มเกษตรสูงวัยระดับเขต โดยมุ้งเน้นกำรแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้ำนกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต เกษตรสูงวัยให้มีควำมเข้มแข็ง สร้ำงรำยได้เสริมจำกกำรประกอบอำชีพ และเกิดเครือข่ำยกำรพัฒนำคุณภำพ ชีวิตของกลุ่มเกษตรสูงวัย มีกำรสร้ำงเครือข่ำยเกษตรสูงวัย เพื่อเป็นแกนน ำในกำรประสำนงำนกำรแลกเปลี่ยน เรียนรู้ประสบกำรณ์ด้ำนกำรพัฒนำคุณภำพชีวิต และกำรสร้ำงรำยได้เสริมจำกกำรประกอบอำชีพของกลุ่ม เกษตรสูงวัย จำกกำรสัมมนำเกิดเครือข่ำยผู้น ำกำรพัฒนำคุณภำพชีวิตและมีรำยได้เสริมจำกกำร ประกอบอำชีพ ของกลุ่มเกษตรสูงวัยระดับเขต เกษตรสูงวัยได้รับควำมรู้ด้ำนกำรพัฒนำคุณภำพ ชีวิต และเตรียมควำมพร้อมสู่สังคมเกษตรสูงวัย เช่น เรื่องสวัสดิกำรและกำรคุ้มครองพิทักษ์สิทธิผู้สูงอำยุ กำร ดูแลสุขภำพกำย และสุขภำพจิต รวมถึงได้พัฒนำทักษะในกำรประกอบอำชีพเพื่อสร้ำงรำยได้เสริม เช่น กำรแปรรูปผลผลิตทำงกำรเกษตรและกำรแปรรูปสมุนไพรพื้นบ้ำน เพื่อสร้ำงรำยได้เสริมให้ครอบครัว และชุมชน 45


ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท โครงกำรสัมมนำเครือข่ำยแลกเปลี่ยนเรียนรู้อำสำสมัครเกษตร ระดับเขต ส ำนักงำนส่งเสริมและพัฒนำกำรเกษตรที่ 1 จังหวัดชัยนำท ได้ด ำเนินงำนจัดสัมมนำเครือข่ำย แลกเปลี่ยนเรียนรู้อำสำสมัครเกษตรระดับเขต ระหว่ำงวันที่ 9 – 10 มิถุนำยน 2565 บุคคลเป้ำหมำย จ ำนวน 197 คน ประกอบด้วย อำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน (อกม.) มีผลงำนดีเด่นระดับอ ำเภอ/จังหวัด เจ้ำหน้ำที่ผู้รับผิดชอบ งำนระดับจังหวัด ในพื้นที่ 9 จังหวัด สรุปผลกิจกรรมกำรสัมมนำดังนี้ 1 มอบนโยบำยและบรรยำยพิเศษ เรื่องกำรขับเคลื่อนงำนส่งเสริมกำรเกษตรเชิงรุก (AgroModel) และยุทธศำสตร์เชิงกลยุทธ์พัฒนำกำรเกษตรแบบมีเป้ำหมำย“Chai Nat Zone1: Strategy Targeting Management (Chai Nat Zone 1 : STM.) ” 2 บรรยำยเรื่องแนวทำงกำรส่งเสริมและพัฒนำอำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน 3 แบ่งกลุ่มกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อำสำสมัครเกษตรระดับเขตและกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ 4 สรุปผลกำรด ำเนินกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้อำสำสมัครเกษตร 9 จังหวัด และจัดท ำ แผนปฏิบัติงำนอำสำสมัครเกษตร ปี 2566 5 กำรสร้ำงกำรรับรู้เครือข่ำยข่ำวภำคประชำชน 6 พิธีมอบใบประกำศเกียรติคุณแก่อำสำสมัครเกษตร 9จังหวัด 7 กำรประเมินทัศนะคติของอำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำนต่อกำรปฏิบัติงำนและกำรสัมมนำฯ พบว่ำ อำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำนส่วนมำกมีควำมเข้ำใจในแนวทำงกำรพัฒนำอำสำสมัครของกรมส่งเสริมกำรเกษตร อยู่ในระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 54.81 รองลงมำในระดับมำกที่สุด 37.78 มีเพียงร้อยละ 7.41 อยู่ในระดับปำน กลำง ด้ำนควำมพึงพอใจในกระบวนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ พบว่ำ ส่วนมำกอำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน มีควำมพึงพอใจในกระบวนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อยู่ในระดับมำก คิดเป็นร้อยละ 51.85 รองลงมำในระดับมำก ที่สุด 42.96 มีเพียงร้อยละ 5.19 ในระดับปำนกลำง ด้ำนกำรสร้ำงขวัญก ำลังใจให้กับอำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำน พบว่ำ ส่วนมำกอำสำสมัครเกษตรหมู่บ้ำนมีควำมพึงพอใจในกระบวนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ อยู่ในระดับมำกที่สุด คิดเป็นร้อยละ 52.59 รองลงมำในระดับมำกร้อยละ 42.22 มีเพียงร้อยละ 5.19 ในระดับปำนกลำง 46


Click to View FlipBook Version