The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปความพึงพอใจภาคีเครือข่าย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by กศน. ตําบลบ่อสวก, 2022-05-22 03:15:53

สรุปความพึงพอใจภาคีเครือข่าย

สรุปความพึงพอใจภาคีเครือข่าย

บทสรุปสำหรับผู้บริหาร
ความพงึ พอใจของภาคีเครือข่ายต่อการร่วมจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ กศน.ตำบลบอ่ สวก

กศน.ตำบลบ่อสวก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองน่าน จังหวัดน่าน
ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายต่อการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.ตำบลบ่อสวก เพื่อนํา
ข้อมลู มาปรบั ปรุง พัฒนาคณุ ภาพการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูข้ อง กศน.ตำบลบอ่ สวก ให้มปี ระสิทธิภาพและดียิ่งขน้ึ

กศน.ตำบลบ่อสวก ดำเนินการสอบถามภาคีเครือข่ายที่ร่วมจัดกิจกรรม จำนวน 46 คน มีผู้ร่วมตอบ
แบบสอบถามจำนวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 100 ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญเ่ ป็นเพศหญิง จำนวน 27 คน คิดเป็น
ร้อยละ 58.70 รองลงมาเป็นเพศชาย จำนวน 19 คน คิดเป็นร้อยละ 41.30 ส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 51-60 ปี
จำนวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 37.00 รองลงมา มีอายุระหว่าง 41-50 ปี จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 30.40
หน่วยงานท่ีร่วมตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นวิสาหกิจชุมชน จำนวน 14 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 30.40 รองลงมาเป็น
ผ้นู ำชมุ ชน จำนวน 9 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 19.60 โดยภาพรวมภาคีเครอื ข่ายมีความพงึ พอใจ มีคา่ S.D. เทา่ กับ 0.45
คิดเปน็ รอ้ ยละ 94.71 อยูใ่ นระดับมากทส่ี ุด เมอื่ พจิ ารรณาเป็นรายข้อ พบว่า ภาคีเครือข่ายมีความพงึ พอใจสูงสุดใน
เร่ืองความพงึ พอใจในภาพรวมตอ่ การเขา้ รว่ มจดั การเรยี นรู้ มีคา่ S.D. เทา่ กบั 0.40 คดิ เป็นรอ้ ยละ 96.09 รองลงมา
ได้แก่ การพัฒนาและส่งเสริมแหล่งเรียนรู้/ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการให้บริการ การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยแก่ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานอ่ืน มีคา่ S.D. เทา่ กบั 0.49 คิดเปน็ รอ้ ยละ 94.78

ขอเสนอแนะ ควรมีการประชาสัมพันธ์การทำงานร่วมกันโดยใช้ช่องทางการสือ่ สารท่ีหลากหลาย เพื่อให้
ประชาชนในพื้นที่ตำบลบ่อสวกเห็นความสำคัญของการทำงานเป็นเครือข่ายและเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงาน
และพฒั นาตำบลอยา่ งต่อเน่อื งต่อไป

ส่วนที่ 1
บทนำ

ท่ีมาและความสำคญั
สำนกั งาน กศน. มนี โยบายและขดุ เนน้ ในการดำเนินงาน ด้านการส่งเสรมิ และสนับสนุนให้ทกุ ภาคส่วนเข้ามา

มีส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการจัด ส่งเสริม และสนับสนุนการจัดการศึกษาตลอดชีวิตและการบูรณาการความ
ร่วมมือในการส่งเสรมิ สนบั สนุน และจดั การศึกษาและการเรียนรู้ใหก้ ับประชาชนอย่างมีคุณภาพ

1. รว่ มมอื กบั ภาคเี ครือข่ายทั้งภาครัฐ เอกชน ประชาสงั คมและองคก์ รปกครองส่วนทอ้ งถิน่ รวมทง้ั ส่งเสรมิ
และสนับสนุนการมีสว่ นรว่ มของชมุ ชน อาทิ การส่งเสริมการฝึกอาชพี ท่ีเป็นอตั ลกั ษณ์และบริบทของชุมชน สง่ เสรมิ
การตลาดและขยายช่องทางการจาํ หนา่ ยเพ่อื ยกระดบั ผลติ ภณั ฑ์/สินค้า กศน.

2. บูรณาการความร่วมมือกบั หน่วยงานต่าง ๆ ในสงั กดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ท้งั ในส่วนกลาง และภมู ภิ าค
“ภาคีเครือข่าย” ตาม พรบ. ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย พ.ศ. 2551 “ภาคี
เครือข่าย” หมายความว่า บุคคล ครอบครัว ชุมชน องค์กรชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรเอกชน
องค์กรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และองค์กรอื่น รวมทั้งสถานศึกษาอื่น ที่มิได้สังกัดสำนักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยที่มีส่วนร่วม หรือมีวัตถุประสงค์ในการดำเนินงาน
การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัย
ภาคีเครือข่ายของหน่วยงาน กศน. เป็นเครือข่ายทางสังคมที่เกดิ จากความสัมพันธร์ ะหว่างบคุ คล องค์กร
ที่เกี่ยวข้องกันในทุกระดับ มีเป้าหมายในการทำงานร่วมกัน คือ การส่งเสริมการเรียนรู้ พัฒนาคุณภาพชวี ติ ใหก้ บั
ประชาชน ซึ่งในปัจจุบันสังคมไทยมีการเปลี่ยนแปลงไปมาก มีการเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยี การสื่อสาร
การคมนาคม ประชาชนมีวิถีชีวิตที่เป็นเปลี่ยนแปลงไป ประชาชนส่วนใหญ่ยังมีฐานะยากจน ไม่สามารถพึ่งพา
ตนเองได้ มีหนี้สิน ขาดโอกาส พลาดโอกาสทางการศึกษา ขาดทักษะชีวิตในการคิด วิเคราะห์สถานการณ์ต่าง ๆ
อย่างมีเหตผุ ล การแก้ปัญหาเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนจึงมีความซับซ้อน ยากตอ่ การแก้ไขหรือพัฒนา
โดยหนว่ ยงานใดหนว่ ยงานหน่งึ
ในการจัดการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ให้กับประชาชน จึงตอ้ งอาศัยความร่วมมือจาก
หลายฝ่ายร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการทำงาน กศน. ทั้งน้ี เพื่อต้องการให้เกิดการผลักดันกระบวนการเรียนรู้
ร่วมกนั ทางสังคม ปัจจบุ ันหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กศน. จะต้องมกี ารประสานความรว่ มมือกนั จัดการเรียนรู้กับ
ภาคเี ครอื ขา่ ยมาอย่างต่อเนือ่ ง การสร้างภาคีเครือข่ายในทกุ ระดบั ของหน่วยงานและสถานศึกษา กศน. สะท้อนถึง
ความสัมพนั ธ์และความร่วมมือในกระบวนการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั ร่วมกนั การร่วม

คิด รว่ มวางแผน ร่วมปฏิบตั ิ ร่วมประเมินผล ซึง่ ในแต่ละหนว่ ยงานและสถานศกึ ษา กศน. มีเทคนิควิธีหลากหลาย
ในการสรา้ งภาคีเครอื ข่าย สรา้ งความสัมพันธ์กับเครือข่าย และเครือข่ายให้ความรว่ มมือในการส่งเสริมการจัดการ
เรยี นรู้ให้กับประชาชน รวมทัง้ การพัฒนาศักยภาพการทำงานร่วมกบั ภาคีเครือข่ายให้มีประสิทธภิ าพมากยิง่ ขนึ้

วัตถุประสงค์
1. สร้างและขยายภาคีเครอื ข่ายในการมีสว่ นร่วมการจัดกิจกรรมการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตาม

อัธยาศยั ในชมุ ชน
2. ส่งเสรมิ สนบั สนุนการจดั กจิ กรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั ของภาคเี ครือขา่ ย
3. ประสานและเชื่อมโยงการดําเนินงานจัดการศึกษาร่วมกับหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และภาค

ประชาชน

การดำเนินงาน
1. ประสานความรว่ มมือในแนวราบกบั ภาคีเครอื ข่าย
ประสานงาน/วางแผนร่วมกับภาคีเครือข่ายในชุมชน เชน่ คณะกรรมการชุมชน อบต. พัฒนาท่ีดิน สถานี

อนามัย พัฒนากรตําบล สหกรณ์ ปศุสัตว์ ประมง ตํารวจ กาํ นัน ผใู้ หญ่บ้าน อสม. อาสาสมัครสง่ เสริมการอ่าน วัด
มัสยิด โรงเรียนดีประจําตําบล ฯลฯ เพื่อจัดกิจกรรมบริการชุมชน ตลอดจนการรวบรวมและเผยแพร่องค์ความรู้
ของภาคเี ครอื ขา่ ย ในการจัดการเรยี นรู้

2. เชือ่ มโยงรปู แบบการใหบ้ รกิ ารของหนว่ ยงานภาคีเครือขา่ ย กบั กศน. ตาํ บล
ส่งเสริมและหรือจัดกิจกรรมร่วมกับภาคีเครือข่าย เช่น ศูนย์ซ่อมสร้างเพื่อชุมชน (Fix it center)(สอศ.)
ศูนย์การเรียนรู้ ICT ชุมชน (กระทรวงไอซีที) มุมวิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต(สสวท.) การป้องกันบรรเทาสาธารณภัย
อําเภอเคลื่อนที่ ฯลฯ กิจกรรมนี้จึงเป็นเสมือนที่นัดพบระหว่างประชาชนกับหน่วยงานบริการต่าง ๆ ของรัฐหรอื
องค์กรอื่น ๆ เพื่อสร้างโอกาส การเรียนรู้ของประชาชน ตลอดจนการพัฒนารูปแบบกิจกรรมใหหลากหลายและ
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของกลุ่มเปา้ หมายในชุมชน
3. พัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร
จัดทําเวบ็ ไซด์ กศน.ตาํ บล หรือช่องทางในการติดตอ่ /ประชาสมั พนั ธ์กิจกรรม เพื่อการติดต่อกับผู้เรียน/ผู้
รบบริการ ท่ีอยู่ตา่ งหมบู่ า้ น/ชุมชน รวบรวมและการเผยแพรข่ อ้ มูลทางอนิ เตอร์เน็ต และแหลง่ ขอ้ มูลอื่น ๆ

ส่วนท่ี 2
ผลการดำเนินงาน

กศน.ตำบลบ่อสวก เป็นหน่วยจัดกิจกรรมการเรียนรู้การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

ที่ตงั้ อย่ใู นระดบั ตำบล ยดึ ชมุ ชนเปน็ ฐานในการทำงานและการเรยี นรู้ โดยใชต้ น้ ทุนของชมุ ชน เช่น อาคาร สถานที่

แหล่งวทิ ยาการ ภูมิปญั ญาท้องถิน่ วัฒนธรรมประเพณี มีการประสานเครือขา่ ยในชุมชนรว่ มจัดกิจกรรมการเรียนรู้

โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาคส่วนในชุมชน/สังคม เข้ามามีส่วนร่วมเป็นภาคีเครือข่ายในการดำเนินการจัด

กิจกรรม กศน. ตำบล ทั้งในฐานะผู้ให้บริการ ผู้รับบริการ มีส่วนร่วมเป็นเจ้าของ ร่วมคิด ร่วมทำ ร่วมแก้ปัญหา

บรู ณาการกระบวนการเรยี นรู้ และจัดประสบการณก์ ารเรียนรู้ให้สอดคล้องกับวถิ ีชีวติ ของผเู้ รียนและชุมมชน ผ่าน

กจิ กรรมการเรยี นร้ใู นด้านตา่ ง ๆ ได้แก่

1. กจิ กรรมการศึกษานอกระบบระดบั การศกึ ษาขนั้ พ้ืนฐาน

2. กิจกรรมการศกึ ษาต่อเนอ่ื ง

3. กิจกรรมการศกึ ษาตามอธั ยาศัย

4. กิจกรรมการศกึ ษาตลอดชีวิต

จากผลการดำเนินกิจกรรม กศน.ตำบลบอ่ สวก ไดด้ ำเนินการสอบถามความพึงพอใจของภาคีเครือข่ายต่อ

การร่วมจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ กศน.ตำบลบ่อสวก ดงั น้ี

เกณฑก์ ารประเมิน
แปลผลความพงึ พอใจจากคา่ ร้อยละ โดยใชเ้ กณฑ์ ดังน้ี

คา่ ร้อยละ ความหมาย
รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป มากท่สี ุด

รอ้ ยละ 70 – 79 มาก

รอ้ ยละ 60 – 69 ปานกลาง

รอ้ ยละ 50 – 59 นอ้ ย

ตำ่ กวา่ ร้อยละ 49 น้อยท่สี ุด

ผลการประเมนิ
จากการสอบถามความคิดเห็นของภาคีเครือข่ายต่อการร่วมจัดกิจกรรมการเรียนรู้ กศน.ตำบลบ่อสวก มี

ผู้ตอบแบบสอบถามกลบั คืนจำนวน 45 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 100 มผี ลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ดังน้ี

ตารางที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสอบถาม จำนวน (คน) รอ้ ยละ
รายการ
19 41.30
1. เพศ 27 58.70
1.1. ชาย 46 100.00
1.2. หญงิ
2 4.30
รวม 7 15.20
2. อายุ 14 30.40
17 37.00
1.1. 20-30 ปี 6 13.00
1.2. 31-40 ปี 46 100.00
1.3. 41-50 ปี
1.4. 51-60 ปี 6 13.00
1.5. 61 ปีขนึ้ ไป 3 6.50
2 4.30
รวม 4 8.70
3 6.50
3. หนว่ ยงาน 2 4.30
1.1. องค์การบริหารสว่ นตำบล 14 30.40
1.2. โรงเรียน 9 19.60
1.3. วดั 3 6.50
1.4. โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตำบล 46 100.00
1.5. พัฒนาชมุ ชน
1.6. เกษตรตำบล 4 8.70
1.7. วสิ าหกจิ ชุมชน 4 8.70
1.8. ผนู้ ำชมุ ชน
1.9. อนื่ ๆ

รวม
4. ระดบั การศึกษา

1.1. ประถม
1.2. ม.ตน้

รายการ จำนวน (คน) รอ้ ยละ
1.3. ม.ปลาย 13 28.30

1.4. ป.ตรี 20 43.50

1.5. สงู กว่า ป.ตรี 5 10.90

รวม 46 100.00

จากตารางท่ี 1 แสดงวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามสว่ นใหญ่เป็นเพศหญิง คดิ เปน็ ร้อยละ 58.70 รองลงมาเป็น

เพศชาย คิดเป็นร้อยละ 41.30 ส่วนใหญม่ ีอายุระหว่าง 51-60 ปี จำนวน 17 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 37.00 รองลงมา

มีอายรุ ะหวา่ ง 41-50 ปี จำนวน 14 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 30.40 อายุระหวา่ ง 31-40 ปี จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ

15.20 อายุ 61 ปขี ึน้ ไป จำนวน 6 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13.00 อายรุ ะหวา่ ง 20-30 ปี จำนวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ

4.30 หน่วยงานที่ร่วมตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นวิสาหกิจชุมชน จำนวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 30.40

รองลงมาเป็นผนู้ ำชุมชน จำนวน 9 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 19.60 องคก์ ารบริหารสว่ นตำบล จำนวน 6 คน คดิ เป็นร้อยละ

13.00 โรงพยาบาลสง่ เสริมสุขภาพตำบล จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 6.50 โรงเรียน จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ

พัฒนาชมุ ชน จำนวน 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 6.50 อน่ื ๆ จำนวน 3 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.50 วดั จำนวน 2 คน คดิ เป็น

รอ้ ยละ 4.30 เกษตรตำบล จำนวน 2 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 4.30 สว่ นใหญม่ รี ะดับการศกึ ษา ป.ตรี จำนวน 20 คน คดิ

เป็นร้อยละ 43.50 รองลงมา ม.ปลาย จำนวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 28.30 สูงกว่า ป.ตรี จำนวน 5 คน คิดเป็น

ร้อยละ 10.90 ประถม จำนวน 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 8.70 และ ม.ตน้ จำนวน จำนวน 4 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 8.70

ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ รว่ มกิจกรรม

จากการสอบถามความคดิ เหน็ ของภาคีเครอื ขา่ ยเกยี่ วกับความพึงพอใจต่อการเขา้ ร่วมกิจกรรม มีผลการ
ประเมิน ดังนี้

ตารางที่ 2 จำนวนและรอ้ ยละของระดบั ความพึงพอใจการเข้ารว่ มกิจกรรม

ท่ี รายการ จำนวน (ร้อยละ) คา่ แปลผล
มากทีส่ ดุ
มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ุด S.D./
รอ้ ยละ
1 มกี ารประสานความร่วมมอื 33 13 - - -
0.45
และแลกเปลีย่ นเรียนรู้ (71.74) (28.26) - (94.35)

ร่วมกับหน่วยงานอน่ื

2 มกี ารพฒั นา และสง่ เสรมิ แหลง่ 34 12 - - 0.44 มากท่ีสดุ
(26.09) (94.78)
เรียนรู้/ภมู ิปัญญาท้องถนิ่ (73.91)

ท่ี รายการ จำนวน (รอ้ ยละ) คา่ แปลผล
มากทสี่ ุด
3 กศน.ตำบล มีการจดั มากท่ีสดุ มาก ปานกลาง นอ้ ย น้อยที่สุด S.D./
รอ้ ยละ
33 12 1 - -
(26.09) (2.17) 0.51
กิจกรรมการเรียนร้ทู ี่ (71.74) (93.91)

หลากหลายรปู แบบ

เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับ

ความตอ้ งการของชุมชน

4 การให้บริการการศึกษานอก 35 10 1 - - 0.49 มากทส่ี ดุ
(21.74) (2.17) (94.78)
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (76.09)
- 0.45 มากทส่ี ุด
แกป่ ระชาชน ชมุ ชน และ (94.35)

หนว่ ยงานอืน่ - 0.40 มากทีส่ ุด
(96.09)
5 เครือขา่ ยรว่ มรบั ประโยชน์ 33 13 - -
(28.26) - -
ในการจัดการเรียนรู้ (71.74)
9
ตลอดชีวิต (19.56)

6 ความพึงพอใจในภาพรวม 37

ตอ่ การเข้ารว่ มจัดการเรียนรู้ (80.43)

คา่ เฉลี่ย S.D. 0.45

ร้อยละ 94.71 มากท่ีสดุ

จากตารางที่ 2 ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจของภาคเี ครือข่ายในในแต่ละรายการ มีผลการประเมิน
ความพึงพอใจในภาพรวม มคี ่า S.D. เทา่ กับ 0.45 คิดเปน็ รอ้ ยละ 94.71 อยู่ในระดับคณุ ภาพ มากทส่ี ุด โดยมีแต่ละ
รายการดังนี้

ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเน้ือหา
1) มกี ารประสานความร่วมมือ และแลกเปลี่ยนเรยี นรู้รว่ มกับหน่วยงานอ่นื มีค่า S.D. เท่ากับ 0.45 คิดเป็น

รอ้ ยละ 94.35 อยใู่ นระดับคุณภาพพึงพอใจมากท่ีสดุ
2) มีการพัฒนา และสง่ เสริมแหล่งเรยี นร้/ู ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่ิน มีค่า S.D. เท่ากบั 0.44 คิดเป็นรอ้ ยละ 94.78

อยู่ในระดับคุณภาพพึงพอใจมากท่ีสุด

3) กศน.ตำบล มีการจดั กิจกรรมการเรียนร้ทู ี่หลากหลายรูปแบบ เหมาะสมและสอดคลอ้ งกับความต้องการ
ของชุมชน มีค่า S.D. เท่ากบั 0.51 คดิ เป็นรอ้ ยละ 93.91 อยใู่ นระดับคุณภาพพงึ พอใจมากท่สี ุด

4) การให้บริการ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยแกป่ ระชาชน ชุมชน และหน่วยงานอนื่
มคี า่ S.D. เท่ากับ 0.49 คดิ เป็นร้อยละ 94.78 อยใู่ นระดับคุณภาพพึงพอใจมากทสี่ ุด

5) เครอื ข่ายร่วมรับประโยชนใ์ นการจดั การเรยี นรู้ตลอดชีวติ คิด มีคา่ S.D. เทา่ กับ 0.45 คิดเป็นรอ้ ยละ
94.35 อยู่ในระดับคุณภาพพงึ พอใจมากทส่ี ุด

6) ความพึงพอใจในภาพรวมตอ่ การเขา้ รว่ มจัดการเรยี น รู้ มีค่า S.D. เท่ากับ 0.40 คิดเป็นร้อยละ 96.09
อยูใ่ นระดับคุณภาพพงึ พอใจมากทสี่ ุด
ข้อเสนอแนะ

ควรมีการประชาสัมพันธ์การทำงานร่วมกันโดยใช้ช่องทางการสื่อสารท่ีหลากหลาย เพื่อให้ประชาชนใน
พน้ื ทต่ี ำบลบอ่ สวกเห็นความสำคัญของการทำงานเปน็ เครือข่ายและเข้ามามีส่วนร่วมในการทำงานและพฒั นาตำบล
อยา่ งต่อเนื่องตอ่ ไป

*************************************








Click to View FlipBook Version