1
2
บทที่ 1
ข้อมลู พื้นฐานของ กศน.ตำบล
สภาพทวั่ ไปของ กศน.ตำบล กศน.ตำบลบอ่ สวก
กศน.ตำบล : ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งน่าน
เลขที่ 132 หมู่ท่ี 1 ตำบลบ่อสวก อำเภอเมอื งน่าน จงั หวดั น่าน
ทีอ่ ยู่ : รหสั ไปรษณยี ์ 55000
097-9739228
เบอร์โทรศัพท์ : [email protected]
E-mail : http://bosuak-nannfe.blogspot.com
Website : https://www.facebook.com/bosuaknfe
Fan Page : สำนกั งานสง่ เสริมการศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวดั นา่ น
สังกดั : สำนักงานส่งเสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย (สำนักงาน กศน.)
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธกิ าร
ทศิ ทางการดำเนินงานของสถานศกึ ษา
วิสัยทัศน์
กศน.ตำบลบ่อสวก จัด ส่งเสริม สนับสนุน และขยายเครือข่ายการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม
อธั ยาศัย ใหป้ ระชาชนทุกกลุม่ เข้าถึงโอกาสการเรยี นรู้ทหี่ ลากหลาย ทัว่ ถึง เท่าเทยี ม ต่อเนอ่ื งตลอดชวี ติ เกดิ สังคม
แห่งการเรยี นรู้ มีคณุ ภาพ พึง่ พาตนเองได้ ใช้ชวี ติ อยา่ งพอเพยี ง ตามแนวพระราชดำริอย่างยั่งยนื
พันธกิจ
1. วางแผนกลยทุ ธ์และแผนการดำเนนิ งานหรอื แผนปฏิบตั กิ ารประจำปี
2. การจัดการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน
3. การจดั การศกึ ษานอกระบบ
3.1. การศกึ ษาเพื่อพฒั นาอาชีพ (ศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน)
3.2. การศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวิต
3.3. การศึกษาเพอื่ พัฒนาสังคมและชุมชน
3.4. การเรยี นร้ตู ามหลักปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง
4. การจดั การศกึ ษาตามอธั ยาศยั 3
5. นิเทศติดตาม รายงานและสรุปผล
จำนวน (คน)
อตั ลักษณ์ รวมจำนวน
วถิ ชี วี ิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง
จำนวนบคุ ลากร 1
1
ประเภท/ตำแหน่ง 2
พนกั งานราชการ
- ครูอาสาสมคั ร กศน.
- ครู กศน.ตำบล
รวมจำนวน
4
สว่ นท่ี 2
เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง
งานการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
หลักสตู รการศกึ ษานอกระบบ ระดับการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 หมายถึง หลกั สตู รท่ีมุ่งจัด
การศกึ ษาเพือ่ ตอบสนองอดุ มการณก์ ารจัดการศึกษาตลอดชวี ิต และการสรา้ งสังคมไทยใหเ้ ปน็ สงั คมแหง่ การเรียนรู้
ตามปรัชญา “คิดเป็น” เพื่อสร้างคุณภาพชีวิต และสังคม มีการบูรณาการอย่างสมดุลระหว่างปัญญาธรรม ศีลธรรม
และวัฒนธรรม
การจัดกระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ หมายถึง การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียน เป็นสำคัญ
โดยการกำหนดสภาพปัญหาความต้องการของผู้เรียน แสวงหาข้อมูลและจัดการเรียนรู้ ผู้เรียนนำไปปฏิบัติและ
ประยกุ ต์ใช้ และมีการประเมินผลการเรียนรู้ มีการบูรณาการด้านสาระการเรียนรู้ของหลักสูตร ด้านการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยการนำกระบวนการเรียนรู้จากสาระการเรียนรู้ในวิชาเดียวกัน หรือ
สาระการเรียนต่างวิชามาบูรณาการ รว่ มกับสภาพวิถีชีวิต ซง่ึ เปน็ การจัดกิจกรรมการท่ีทำให้ผูเ้ รียนเกิดการเรียนรู้
มกี ารประเมินผลตามสภาพความเป็นจริงและนำไปใชใ้ นชีวิตประจำวัน
กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต หมายถึง กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นกิจกรรมที่จัดขึ้นเพื่อให้ผู้เรียน
พัฒนาตนเอง ครอบครัว ชมุ ชน สงั คม
วธิ ีการจัดการเรยี นรู้ การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐานมีวิธกี ารจัดการเรยี นร้ทู ่หี ลากหลายดังนี้
1) การเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนกำหนดแผนการเรียนรูข้ องตนเองตามรายวิชาท่ี
ลงทะเบียนเรียน โดยมีครูเปน็ ทีป่ รกึ ษาและใหค้ ำแนะนำในการการศกึ ษาหาความร้ดู ว้ ยตนเอง ภมู ิปญั ญา ผู้รู้ และ
สื่อตา่ ง ๆ
2) การเรียนร้แู บบพบกลุ่ม เปน็ วิธีการจัดการเรียนรทู้ ่ีกำหนดให้ผู้เรยี นมาพบกนั โดยมีครูเป็นผู้ดำเนินการให้
เกดิ กระบวนการกลมุ่ เพอื่ ใหม้ ีการอภปิ รายแลกเปลีย่ นเรยี นรู้ และหาข้อสรปุ รว่ มกัน
3) การเรียนรู้แบบทางไกล เปน็ วธิ ีการจัดการเรียนรู้จากสื่อต่าง ๆ โดยท่ผี ู้เรียนและครูจะสื่อสารกันทางสื่อ
อเิ ลก็ ทรอนิกสเ์ ป็นส่วนใหญ่ หรือถ้ามีความจำเป็นอาจพบกนั เปน็ ครงั้ คราว
4) การเรยี นร้แู บบชน้ั เรยี น เปน็ วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ทสี่ ถานศึกษากำหนดรายวิชา เวลาเรียน และสถานท่ี
ทช่ี ัดเจน ซง่ึ วิธีการจดั การเรียนรูเ้ หมาะสำหรับผูเ้ รียนที่มเี วลามาเข้าช้ันเรยี น
5) การเรียนรู้ตามอัธยาศัย เป็นวิธีการจัดการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความต้องการ และ
ความสนใจ จากสื่อเอกสาร สื่ออิเล็กทรอนิกส์ หรือจากการฝึกปฏิบัติตามแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ แล้วนำความรู้และ
ประสบการณม์ าเทยี บโอนเข้าสู่หลักสตู รการศึกษานอกระบบ ระดบั การศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551
6) การเรยี นรูจ้ ากการทำโครงงาน เปน็ วิธีการจัดการเรยี นรทู้ ่ีผเู้ รียนกำหนดเร่อื งโดยสมัครใจ ตามความสนใจ
ความต้องการ หรือสภาพปัญหา ที่จะนำไปสู่การศึกษาค้นคว้า ทดลอง ลงมือปฏิบัติจริง และมีการสรุปผลการ
5
ดำเนินการตามโครงการ โดยมีครูเป็นผู้ให้คำปรึกษา แนะนำ อำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ และกระตุ้น
เสรมิ แรงใหเ้ กดิ การเรียนรู้
7) การเรียนรรู้ ูปแบบอ่นื ๆ สถานศึกษาสามารถออกแบบวธิ ีการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบ อน่ื ๆ ไดต้ ามความ
ตอ้ งการของผู้เรยี น
วิธีการจัดการเรียนรู้ดังกล่าวข้างต้น สถานศึกษาและผู้เรียนร่วมกันกำหนดวิธีเรียนโดยเลือกเรียนวิธีใด
วิธีหนึ่ง หรือหลายวิธีก็ได้ขึ้นอยู่กับความยากง่ายของเนื้อหา และสอดคล้องกับวิถีชีวิต และการทำงานของผู้เรียน
โดยขณะเดียวกันสถานศึกษาสามารถจัดให้มีการสอนเสริมได้ทุกวิธีเรียน เพื่อเติมเต็มความรู้ให้บรรลุมาตรฐาน
การเรียนรู้
การจัดกระบวนการเรยี นรู้
การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนสู่ความเป็นคน “คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้ความรู้ และสร้าง
องค์กรความรู้สำหรับตนเอง และชุมชน สังคม ซึ่งกำหนดการจัดกระบวนการเรียนรู้ กศน. หรือ ONIE MODEL
ซง่ึ เป็นกระบวนการเรยี นรทู้ ่จี ดั ขึ้นอย่างเป็นระบบตามปรชั ญา “คิดเป็น” ประกอบดว้ ย 4 ข้นั ตอน ดังน้ี
ขน้ั ที่ 1 กำหนดสภาพ ปญั หา ความต้องการในการเรยี นรู้ (O: Orientation)
ขั้นที่ 2 แสวงหาข้อมลู และจดั การเรยี นรู้ (N: New ways of learning)
ขน้ั ท่ี 3 ปฏิบตั แิ ละนำไปประยุกตใ์ ช้ (I: Implementation)
ข้นั ท่ี 4 ประเมนิ ผลการเรยี นรู้ (E: Evaluation)
สอื่ การเรียนรู้
ในการจัดการเรียนรู้เน้นให้ผู้เรียนแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยการใช้สื่อการเรียนที่หลากหลาย ได้แก่
สื่อสิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อบุคคล ภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในท้องถิ่น ชุมชนและแหล่งเรียนรู้อื่น ๆ
ผู้เรยี น ครู สามารถพัฒนาสื่อการเรียนร้ขู ึ้นเองหรอื นำสอ่ื ตา่ ง ๆ ท่ีมอี ยใู่ กล้ตวั และขอ้ มลู สารสนเทศที่เกีย่ วขอ้ งมาใช้
ในการเรียนรู้ โดยใช้วิจารณญาณในการเลือกใช้สื่อต่าง ๆ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีคุณค่าน่าสนใจ
ชวนคิดชวนติดตาม เข้าใจง่าย เป็นการกระตนุ้ ใหผ้ เู้ รียนรู้จกั วิธีการแสวงหาความรู้ เกิดการเรียนรอู้ ยา่ งกว้างขวาง ลึกซ้ึง
และต่อเน่อื งตลอดเวลา
วงจรคณุ ภาพเดมมง่ิ (PDCA)
วงจรคณุ ภาพของเดมมงิ่ (Deming Cycle - PDCA) เปน็ วงจรท่พี ฒั นามาจากวงจรที่คดิ ค้นโดยวอล์ทเตอร์
ซิวฮาร์ท (Walter Shewhart) ผบู้ ุกเบิกการใชส้ ถิติสำหรบั วงการอุตสาหกรรม และตอ่ มาวงจรน้ีเริม่ รจู้ ักกันมากข้ึน
เม่ือเอดวาร์ด เดมมง่ิ (W.Edwards Deming) ปรมาจารย์ด้านการบริหารคุณภาพ ได้เผยแพร่ให้เปน็ เครอ่ื งมือสำหรับ
การปรับปรุงกระบวนการทำงานของพนกั งานภายในโรงงานใหด้ ียิ่งขึน้ และช่วยค้นหาอุปสรรคในแต่ละขนั้ ตอนการ
ผลิตโดยพนักงานเอง จนวงจรนเ้ี ป็นท่รี ู้จักกันในอีกช่ือว่า “วงจรเดมมิ่ง” ต่อมาพบว่า แนวคดิ ในการใชว้ งจร PDCA น้ัน
6
สามารถนำมาใช้ได้กับทุกกิจกรรม จึงทำให้เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลายมากขึ้นทั่วโลก โดยใช้อักษรนำของศัพท์
ภาษาองั กฤษ มาเป็นตวั ย่อ คอื PDCA ดงั นี้
P : Plan หมายถงึ วางแผน
D : Do หมายถงึ ปฏบิ ตั ติ ามแผน
C : Check หมายถึง ตรวจสอบ/ประเมินผลและนำผลประเมนิ มาวเิ คราะห์
A : Action หมายถึง ปรบั ปรุงแก้ไขดำเนนิ การให้เหมาะสมตามผลการประเมิน
แนวคิด “คิดเป็น” ของ ดร. โกวิท วรพิพฒั น์
ดร.โกวิท วรพพิ ฒั น์ และคณะ ไดป้ ระยกุ ตแ์ นวความคิดในเรอ่ื ง “คดิ เป็น” และนำมาเป็นเป้าหมายสำคัญใน
การใหบ้ ริการการศึกษาผู้ใหญต่ ้ังแต่ปี พ.ศ. 2513 เปน็ ต้นมาดดยมีหลักการท่ีเป็นหัวใจสำคัญดงั น้ี การวิเคราะห์ปัญหา
และแสวงหาคำตอบหรอื ทางเลอื กเพ่อื แก้ปัญหา คิดอย่างรอบคอบโดยอาศัยข้อมูลตนเอง ขอ้ มูลสงั คม สงิ่ แวดล้อม
และข้อมูลทางวิชาการประกอบการตัดสินใจ แก้ปัญหาหรือหาทางเลือก เพื่อนำไปปฏิบัติ รู้จักคิดเพื่อแก้ปัญหา
ด้วยการกระทำการอย่างเหมาะสมและพอดี
จากหลกั การดงั ทกี่ ล่าวมา พอจะสรปู ความหมายของคำว่า คิดเปน็ ดงั นี้
“คิดเป็น” หมายถึง กระบวนการที่คนเรานำมาใช้ในการตัดสินใจ โดยต้องแสวงหาข้อมูลของตนเอง
ข้อมูลของสภาพแวดล้อมในชุมชนและสังคม และข้อมูลทางหลักวิชาการ แล้วนำมาวิเคราะห์หาทางเลือกในการ
ตดั สินใจทีเ่ หมาะสม มคี วามพอดีระหว่างตนเองและสังคม
7
ความเชือ่ พน้ื ฐานของการ “คิดเปน็ ” มาจากธรรมชาติของมนษุ ยท์ ่วี ่า ส่งิ ทเี่ ป็นยอดปรารถนา คือ ความสุข และ
มนษุ ย์เราจะมีความสขุ ที่สุด เมือ่ ตนเอง สงั คม และส่ิงแวดล้อม กลมกลนื กนั อยา่ งราบรนื่ ท้ังด้านวัตถุ กาย และใจ การท่ี
มนุษยเ์ รากระทำได้ยากน้ัน แต่อาจทำใหต้ นเอง และสิง่ แวดลอ้ มประสมกลมกลืนกนั ไดเ้ ท่าท่แี ต่ละคน หรอื กลุ่มคน
จะสามารถทำได้ โดยกระทำดังต่อไปนี้
1. ปรบั ปรงุ ตวั เองใหเ้ ข้ากบั สังคมสงิ่ แวดล้อม
2. ปรับสังคมและสิง่ แวดล้อมใหเ้ ขา้ กับตวั เรา
3. ปรบั ปรุงทง้ั ตวั เราและสงั คมสงิ่ แวดลอ้ มทัง้ สองด้านให้ประสมกลมกลนื กัน
4. หลีกสงั คมและสิ่งแวดลอ้ มหน่งึ ไปสสู่ ังคมสิง่ แวดล้อมหนง่ึ ทีเ่ หมาะสมกบั ตน
บุคคลที่จะสามารถดำเนินการข้อใดข้อหนึ่ง หรือหลายข้อ เพื่อตนเองและสังคมสิ่งแวดล้อมประสม
กลมกลนื กนั เพอื่ ตนเองจะได้มคี วามสุขนัน้ บคุ คลผู้น้ันต้อง “คดิ เป็น” เพราะการคดิ เปน็ การทำใหบ้ คุ คลสามารถแก้ไข
ปัญหาได้ บุคคลท่มี แี ตค่ วามจำยอ่ มไม่สามารถดำเนินการตามข้อใดขอ้ หน่ึงใน 4 ข้อได้ คนท่ที ำเชน่ นไ้ี ด้ ตอ้ งเปน็ ผ้ทู ่ี
มีความสามารถคิดแกป้ ญั หา สามารถรู้จักตนเองอยา่ งถอ่ งแท้ และรู้จกั ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอ้ มในสงั คมนน้ั
การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน จะสามารถช่วยพัฒนาการคิดเป็นให้เกิดขึ้นได้โดยครูควรเปิดโอกาส
ให้ผู้เรียนได้คิด ตัดสินใจ และลงมือปฏิบัติจริงในกิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งจะให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และเกิดกระบวนการคิด
โดยการคิดนั้นควรส่งเสริมการใช้เหตุผล หลักคุณธรรมเป็นสำคัญ เพื่อให้รู้ว่าเขาเป็นใคร ทำอะไร จะทำอย่างไร
ทำเพื่ออะไร จะได้ผลอย่างไร ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวครูสามารถนำกระบวนการ “คิดเป็น” ซึ่งเป็นกระบวนการคิด
ทม่ี กี ารรวบรวมขอ้ มลู ด้านตา่ ง ๆ ให้ครบก่อนการตดั สินใจ
8
การตดิ ตามและชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน
การดูแลช่วยเหลือผู้เรียน คือ การส่งเสริมพัฒนา การป้องกัน และการแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนเพื่อให้
ผเู้ รยี นมีคุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์มภี ูมิคุ้มกันทางจิตใจท่ีเขม้ แข็ง มีคณุ ภาพชวี ติ ที่ดมี ีทกั ษะการดาํ เนินชีวิตและรอด
พน้ จากวิกฤตทิ ้งั ปวง
ระบบการดูแลชว่ ยเหลือผู้เรียน เปน็ กระบวนการดําเนนิ งานดูแลช่วยเหลอื ผู้เรยี นอย่างขัน้ ตอนพร้อมด้วย
วิธีการและเครื่องมือการทํางานที่ชัดเจนโดยมีครูที่ปรึกษาเป็นบุคลากรหลักในการดําเนินการดังกล่าวและมกี าร
ประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดกับครูที่เกี่ยวข้องหรือบุคลากรภายนอก รวมทั้งการสนับสนุน ส่งเสริมจาก
สถานศึกษามีมาตรฐานคุณภาพและหลักฐานการทาํ งานทีต่ รวจสอบได้
การเรยี นร้ใู นยคุ ดจิ ิทัล
นวตั กรรมเทคโนโลยีท่สี ่งผลตอ่ การเรียนรู้และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้ทั้งผเู้ รยี นผู้สอน ผู้ประกอบการ
รวมถึงคนท่ัวไปในยุคดิจทิ ัล
1. 5G : รับส่งข้อมูลด้วยอินเทอร์เน็ตความเร็วสูง 5G รับส่งเร็วกว่า 4G ถึง 20 เท่า ใช้เวลาในการ
ตอบสนองเร็วเพียง1 มิลลิวินาทีถูกนำไปใช้ประโยชน์อย่างกว้างขวางเช่น ดาวน์โหลดสื่อมัลติมีเดียอย่างหนัง 1
เรอ่ื งใช้เวลาเพียงแค่ 3 - 4 วินาทกี ารใช้AR และ VR ไดด้ ีขึน้ ผา่ นอนิ เทอร์เน็ตนำไปประยุกต์ใชใ้ นสถาบันการศึกษา
รา้ นค้าต่าง ๆ ได้
2. AI : ปัญญาประดิษฐ์(Artificial Intelligence) คือเครื่องจักร ที่มีฟังก์ชันในการทำความเข้าใจ เรียนรู้
องคค์ วามรู้ตา่ ง ๆ เป็นเทคโนโลยีท่ชี ่วยประยุกต์ใช้ในการแกป้ ญั หาต่างๆ ลดตน้ ทุนการผลิต ลดเวลาสนับสนุนการ
ทำงานของมนุษย์ในดา้ นต่าง ๆ ถูกนำมาใช้ในวงการต่าง ๆ มากมาย สำหรบั AI ท่ชี ่วยส่งเสริมการเรียนรแู้ ละระบบ
การเรียนการสอน มีหลายรูปแบบอาทิระบบผู้ช่วยตอบคำถามในการเรียนการสอนพื้นฐานการจัดระบบบริหาร
จดั การส่งการบา้ น AI
3. BLOCKCHAIN : ระบบเก็บข้อมลู ความปลอดภัยสูง ระบบฐานขอ้ มูลท่ไี ม่มีศนู ยก์ ลางในการเก็บข้อมูล
มีการเข้ารหัสระดับสูงน่าเชื่อถือ และมีความปลอดภัยสูง สามารถเก็บข้อมูลแบบถาวรได้ซึ่งในด้านการศึกษา
Blockchain อาจถูกนำมาใชเ้ กบ็ ขอ้ มลู หลกั ฐานการเรียนรแู้ ละคณุ วฒุ ขิ องผู้เรยี น ทน่ี ่าสนใจคอื การตรวจสอบความ
น่าเชื่อถือของข้อมูลแบบกระจายศูนย์(Decentralisation) หากมีการปลอมแปลงวุฒิเพื่อใช้ในระบบ ข้อมูลวุฒิ
ปลอมจะไม่ตรงกับข้อมลู ท่ีทุกคนในระบบมีวฒุ นิ ้ันจะขาดความน่าเชื่อถอื
4. CODING : ภาษาแห่งอนาคต วิชาที่เป็นศาสตร์ท่ีเหมาะในการพัฒนาในยุคดจิ ิทัล เป็นภาษาที่ 3 วิชา
Coding คือการเขียนโปรแกรมเพ่ือสั่งงานระบบจักรกลต่าง ๆ หรือคอมพิวเตอร์ซึง่ เป็นการเรยี นรู้พฒั นาทักษะใน
เรื่องของกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ รู้จักการวิเคราะห์แก้ไขปัญหา และคิดสร้างสรรค์สามารถบูรณาการ
ประยกุ ตก์ ับศาสตร์อ่นื ได้มากมาย
9
5. APPS : แอปพลิเคชันช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ไม่ว่าจะสำหรับครูนักเรียน ผู้ที่สนใจเรียนรู้เรื่องต่าง ๆ
ทว่ั ไป ตัวอย่างเช่น NASA แอปพลิเคชันสอนวิชาโลกและดาราศาสตรศ์ ึกษา ดูรปู ทเ่ี กย่ี วขอ้ งถึง 16,000 รูป รวมทง้ั
ดูlive NASA TV, 4D Anatomy แอปพลิเคชันสอนวิชาชีววิทยาควบคู่กับหนังสือเพื่อแสดงผลเป็น 4 มิติท้ัง
ภาพเคลื่อนไหวและเสียงประกอบ เป็นตน้
6. EDUCATION MODEL : โมเดลการศึกษาเรียนรู้รูปแบบการเรียนรู้และช่องทางใหม่ ๆ ได้ถูก
พัฒนาข้นึ อย่างมากมาย ไมว่ า่ จะเป็นภาครัฐ หรือภาคเอกชน คนทัว่ ไปสามารถเข้าถงึ องค์ความร้ไู ด้ง่ายข้ึน พัฒนา
ทักษะได้ตรงตามที่ตนเองสนใจทั้งในรูปแบบออนไลน์และออฟไลน์ตัวอย่างเช่น Google มีการให้ใบ
ประกาศนยี บัตรรับรองหรอื ดลี กบั บรษิ ทั เอกชนตา่ ง ๆ เพ่อื รองรับนักศึกษา เปน็ ต้น
7. MOOCs บทเรียนออนไลน์/Digital Learning Platform แพลตฟอร์มการเรียนรู้ออนไลน์ :
MOOCs และแพลตฟอร์มการเรียนรู้ออนไลน์ในวงการต่าง ๆ เป็นที่แพร่หลายมากขึ้น ทั้งภาคเอกชนที่หันมาทำ
หลกั สตู รออนไลน์ของตนเอง เชน่ SEAC Your Next U แพลตฟอรม์ การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตทีม่ กี ารร่วมมือกับสถาบัน
ต่างๆ ในการจัดทำหลักสูตร ทั้งในแบบออนไลน์เข้าคลาส แลกเปลี่ยนประสบการณ์จากผู้เชี่ยวชาญ และคลัง
ความรู้ใหด้ าวน์โหลดข้อมูลได้โดยศูนยพ์ ฒั นาและส่งเสรมิ การเรียนรตู้ ลอดชีวติ แห่งภมู ภิ าคอาเซยี น (SEAC) เป็นต้น
8. SOCIAL MEDIA ONLINE สื่อสังคมออนไลน์ LEARNING MEDIA สื่อเพื่อการเรียนรู้ : ศึกษา
คน้ คว้าตามเนือ้ หาท่ีสนใจไม่ว่าจะเปน็ ความร้รู อบตวั ทักษะเฉพาะด้าน ไลฟส์ ไตลว์ ิชาและทฤษฎคี วามรู้ด้านต่าง ๆ
ในหลายช่องทาง ทั้ง Facebook YouTube Google Instagram Podcast ตัวอย่างเพจเผยแพร่องค์ความรู้เช่น
Krupann.english อินสตาแกรมที่บอกเลา่ สอนภาษาอังกฤษในชวี ิตประจำวนั ในรปู แบบคลิปวิดีโอสั้น ๆ ที่เข้าใจงา่ ย
เป็นตน้
9. VR & AR : VR(VirtualReality)เป็นการจำลองสภาพแวดลอ้ มจรงิ และจากจินตนาการ เช่น วดิ ีโอ ภาพ
เสยี ง ฯลฯ โดยตอ้ งใช้งานผา่ นอปุ กรณ์ต่าง ๆ เช่น แวน่ ตา เมาส์ ถุงมอื ฯลฯ เพือ่ รับรแู้ รงป้อนกลับและตอบสนอง
กบั สิ่งท่จี ำลองได้ ถกู นำมาใชจ้ ัดการเรยี นการสอน เขา้ ถงึ เนอ้ื หายากไดแ้ บบเสมอื นจรงิ AR (Augmented Reality)
เป็นเทคโนโลยีทีผ่ สานโลกแห่งความจริงเขา้ กบั โลกเสมอื นจริงท่ีถกู สรา้ งข้ึนโดยใช้ผ่านอุปกรณ์และเทคโนโลยตี ่าง ๆ
อย่างกลอ้ งมอื ถือ คอมพวิ เตอร์หรือแว่น โดยแสดงผลผ่านแอปพลิเคชันท่ีใช้AR ภาพท่ปี รากฏเป็นภาพเหมือนจริง
แบบ 3 มิติ และ 360 องศา ตัวอย่างเช่น นิทานที่ใช้เทคโนโลยี AR ดูผ่านแอปพลิเคชันมือถือ ความต่างของ VR
และ AR คือ VR จะตัดออกจากสภาพแวดล้อมปัจจุบันเขา้ สู ส่ ภาพแวดล้อมจำลองเต็มรปู แบบ ส่วน AR รวบรวม
และผสานสภาพแวดล้อมจริงเข้ากับวตั ถทุ ่ีจำลองขนึ้ มาใหเ้ ข้ากับสภาพแวดล้อมในขณะนน้ั
การเรียนรู้ยคุ ดิจิทัลเป็นเร่ืองสำคัญสำหรับทุกคน แม้นวตั กรรมและเทคโนโลยีการเรียนร้จู ะมีการ
พฒั นาอยา่ งรวดเร็ว เราก็ตอ้ งไมล่ ะเลยท่ีจะเรยี นร้แู ละเปดิ รบั ความรู้ใหม่ ๆ ผ่านรูปแบบและช่องทางท่ี
หลากหลายอย่เู สมอ เพราะวา่ ตลอดชวี ิตของเราคือการเรียนรู้ไม่รจู้ บ
10
บทที่ 3
แนวทางการนำเสนอแนวปฏบิ ัติท่ีดี (Best Practice)
ความหมายของแนวปฏบิ ัติที่ดี
แนวปฏิบตั ทิ ่ีดี (Best Practice) หมายถงึ วิธีปฏิบัติหรือข้ันตอนการปฏบิ ัติที่ทำให้องคก์ ารประสบความสำเร็จ
หรอื นำไปสูค่ วามเปน็ เลิศตามเป้าหมาย เปน็ ท่ียอมรับในวงวิชาการหรอื วิชาชีพนน้ั ๆ และมีหลักฐานของความสำเร็จ
ปรากฏชดั เจน โดยมกี ารสรุปวิธปี ฏบิ ัติ หรอื ขน้ั ตอนการปฏิบัติ ตลอดจนความรู้และประสบการณ์ ที่ได้บันทึกเป็น
เอกสาร และเผยแพร่ใหห้ นว่ ยงานภายในหรอื ภายนอกสามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้
จุดเริม่ ตน้ ของ Best Practice
Best practice เร่ิมจากการแพทย์ เป็นวิธกี ารปฏิบตั งิ านทีด่ ี ไมว่ ่าจะนำไปปฏิบัติที่ไหน อย่างไร ก็สามารถ
นำไปสู่ผลสำเร็จ หน่วยงานจำเป็นต้องมกี ารแลกเปลี่ยนวิธีการปฏิบตั ิที่ดีกับหน่วยงานย่อย และมีการแลกเปล่ยี น
ระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งภายในและภายนอก ผลสุดท้ายคือ การนำ Best practice ไปใช้จนเป็นมาตรฐาน
ตัวอย่างโปรแกรมที่ไดร้ บั รางวัล คือ โปรแกรมการเชิญชวนผู้ดูแลผู้ป่วยท่ีเป็นมะเร็งมารักษาที่ศูนยก์ ารรักษา โดย
ดำเนินกิจกรรมในลักษณะของการวิจัย ผลของโปรแกรม พบว่า 90% ของผู้ป่วยท่ีได้รับการวินจิ ฉัยส่วนใหญ๋เป็น
มะเรง็ ในระยะแรกเท่านั้น ผู้ปว่ ยมีความพงึ พอใจในการดูแลรกั ษาจากโปรแกรมดังกลา่ วทเ่ี ป็น Best practice
Best practice มีความสำคัญอย่างไร
จากหลกั การท่ีว่า “ถ้าได้นำความร้ไู ปใช้ ความรู้นน้ั ก็ยิ่งเพมิ่ คณุ คา่ เพราะทำให้เกิดการต่อยอดความรู้ให้
แตกแขนงออกไปอยา่ งกว้างขวาง” ดงั นนั้ เปา้ หมายสำคญั ประการหนึ่งของการจัดการความรูใ้ นองคก์ ร คือ เพอ่ื ให้
คนในองค์กร มี Best practice ในการทำงานที่ช่วยเพิ่มผลผลิตทั้งในด้านคุณภาพและปริมาณ ดังคำกล่าวของ
Peter Senge ที่ว่า ความรู้ คือ ความสามารถในการทำอะไรก็ตาม อย่างมีประสิทธิผล (Knowledge is the capacity
for effective actions)
Best practice กับทฤษฏีการเรยี นร้ขู อง Thorndike
Edward Lee Thorndike (พ.ศ. 2417-2492) เป็นนักจิตวิทยาชาวอเมรกิ ันผู้ค้นพบทฤษฎคี วามต่อเน่อื ง
(Connectionism) ทฤษฎีนี้มีความเชื่อว่า การเรียนรูเ้ กิดจากการลองผิดลองถูก เช่น เมื่อให้ผู้เรียนทำกิจกรรมอะไร
อย่างหนึ่งซึ่งไมม่ ีความรู้ในเรือ่ งนั้นมาก่อน ผู้เรียนจะทำแบบลองผิดลองถูก เพื่อเลือกที่จริง ทิ้งที่เท็จ จนกระท่งั
จบั ได้วา่ ควรทำอยา่ งไร จึงจะถกู ตอ้ งและรวดเร็ว ก็จะเลือกทำด้วยวธิ นี ั้นในครั้งต่อไป
11
Best practice ในหนว่ ยงาน
การทำให้เกิด Best practice ในหน่วยงาน สามารถทำใหเ้ กิดข้นึ ไดห้ ลายช่องทาง
1. เกิดจากบุคคล อันมาจากการเรยี นรู้หรอื ประสบการณ์ เป้าหมายของหนว่ ยงานที่คาดหวังความสำเร็จ
ผู้ปฏิบัติงานเรียนรู้จากการปฏิบัติ ริเริ่มสร้างสรรค์ แก้ปัญหาการทำงาน เสนอแนะวิธกี ารทำงาน อาจเกิดแนวคดิ
การรับรจู้ ากข้อเสนอแนะของผู้บริหาร เพ่อื นรว่ มงาน หรือหนว่ ยงานอื่น และผ้รู ับบริการ ซึง่ กอ่ ใหเ้ กิดการสร้างสรรค์
วธิ กี ารทดี่ ี
2. เกดิ จากอุปสรรค การทำงานตา่ งๆยอ่ มมีอปุ สรรคต่างๆ ทเ่ี ป็นตัวขดั ขวางไม่ใหง้ านเปน็ ไปตามเป้าหมาย
ที่มงุ่ หวังเอาไว้ เกิดความกดดนั ท่ีมาจากผูบ้ รหิ ารหรือการแข่งขนั จากคแู่ ข่ง สงิ่ ต่างๆเหลา่ นจ้ี ะเปน็ ตวั กระตุ้นให้เรา
เกดิ การแสวงหาแนวทาง กระบวนการในการแก้ปัญหา และผา่ นอุปสรรคไปให้ได้ กอ่ ใหเ้ กดิ Best Practice
3. เกดิ จากแรงบนั ดาลใจท่ีอยากจะพัฒนา หรอื คน้ หาวิธกี ารใหม่ๆ เพอ่ื ความพงึ พอใจของหนว่ ยงาน หรือ
ของตนเอง เพอื่ สรา้ งประสทิ ธิภาพทดี่ ีกวา่ เดมิ
คุณลักษณะงานของ Best practice
การวนิ จิ ฉยั Best Practice เปนพลงั ท่ชี วยกันยกระดับความคิด สามารถมีมมุ มองทแี่ ตกตาง หลากหลาย
ยอมรับมมุ มองที่แตกตางจากมมมองของตนไดดีขนึ้ มปี ระเด็นในการพิจารณาเปนสงั เขป ดงั นี้
1. เปนเร่ืองท่ีเกี่ยวของกับภารกจิ โดยตรงของหนวยงาน
2. สนองตอนโยบายการแกปญหา การพัฒนา ประสิทธิภาพของหน่วยงาน
3. ลดขน้ั ตอน ลดรอบระยะเวลาการทำงาน
4. ลดทรพั ยากร ลดคาใชจาย
5. การนําเทคโนโลยมี าใช้ประกอบการทำงาน
6. วิธกี ารริเริ่มสรางสรรคข้นึ มาใหม หรือประยุกตขน้ึ ใหม
7. สามารถทำแผนผังเชงิ เปรยี บวธิ ีการเก่าและใหมและส่ิงท่ีเปน็ วิธีใหมจะใหประโยชนอะไรทดี่ ีกวาวิธเี กา
8. อาํ นวยความสะดวกในการใช
9. วางระบบในการใหบรกิ ารและมชี องทางทหลากหลายในการให้บริการดงั กล่าว
10. สามารถเทยี บเคียงวิธีการทํางานลักษณะเดียวกนกับหน่วยงานอ่ืนได้
11. ผลผลติ /ความสำเร็จเพ่ิมข้นึ
12. ความพึงพอใจของผูรับบรกิ าร หรือผูมีสวนไดสวนเสยี
13. สามารถนำไปใช้เปนมาตรฐานการทํางานตอไปไดยงั่ ยืนพอสมควร
14. การพฒั นาปรับปรงุ ตอไป
12
การดําเนนิ งาน Best Practice
หนวยงานสามารถจะดําเนินการไดหลายกระบวนการ เชน ตามแนวทางวงจรคณุ ภาพเของดมม่ิง
(Deming Circle : PDCA)
P : การวางแผน
D : การปฏบิ ัติ
C : การตรวจสอบประเมนิ ผล
A : การปรับปรุงพฒั นา กําหนดกจิ กรรมใหมและอาจนาํ เทคนิคตางๆ ทส่ี ามารถเลือกมาใชใหเหมาะสมกับ
บรบิ ทงานของหนวยงาน เชน CQI (Continuous Quality Improvement) RCA (Root Cause Analysis) FMEA
(Failure Mode Evaluation Analysis) อื่น ๆ มาชวยในการดําเนินงานจนเกิด Best Practice สามารถสรุป เปนลําดับ
ขน้ั ดังนี้
1. การคนหา Best Practice
การคนหา Best Practice (BP) เพ่ือดสู ิ่งที่เราคิดวา เจอแลว ใชแลว และคดิ วาเปน Best Practice (BP)
ของเราจรงิ ๆ แลว ใช หรอื ไม มีสิง่ ที่ชวยในการคนหางาย ๆ ดังนี้
➢ การวิเคราะหบริบท ความคาดหวงของหนวยงาน/สงั คม/ผูมสี วนไดเสยี
➢ พจิ ารณาวา PDCA ไดครบวงจรหรอื ยัง
➢ ขนั้ ตอนนนเปน “นวัตกรรม” หรอื ไม
➢ ตง้ั คําถามวานวัตกรรมนน้ั
➢ คืออะไร What
➢ ทําอยางไร How
➢ ทาํ เพื่ออะไร Why
➢ วเิ คราะหปจจยั ทส่ี ําเรจ็ และบทเรียนที่ไดเรียนรู้
2. เกณฑพิจารณา Best Practice
การพิจารณาวาสงิ่ ท่ีผเู ขยี น คิดวาเปน Best Practice (BP) น้ัน ผูอานมเี กณฑงาย ๆ ในการพิจารณาวาเปน
Best Practice (BP) หรือไม ดังน้ี
1. สอดคลองกับ “ความคาดหวงั ” ของหนวยงาน/โรงเรยี น/ชมุ ชน/ผูปกครอง/ผเู กีย่ วของ
2. มี PDCA จนเห็นแนวโนมของตัวชีว้ ดั
3. ผูเขยี นบอกเลาไดวา “ทาํ อะไร What” “ทําอยางไร How” “ทาํ ไมจึงทำ “Why”
13
4. ผลลัพธเปนไป/สอดคลอง/สะทอนตามมาตรฐานหรือขอกาํ หนด
5. เปนส่ิงที่ “ปฏบิ ตั ไิ ดจริงและเห็นผลแลว” ไมใชแนวคดิ หรอื ทฤษฎี
3. การเขียน Best Practice
การเขยี น Best Practice (BP) อาจเขียนในรูปแบบ/องคประกอบ ดงั นี้
1. ขอมลู ทวั่ ไป
2. ผลงาน/ระบบงานทเ่ี ปน Best Practice (BP) (ดีอยางไร How) ซึง่ อาจเขยี นโดยการแยกเปน 2 สวน คือ
2.1 ขน้ั ตอนการดําเนินงาน หรือ Flow (แผนภมู ิ) ของระบบงานท่ีทํา
2.2 วิธกี ารและนวตั กรรมท่ีเปน Best Practice (BP) หรอื อาจเขียนบอกเลาขนั้ ตอนการ
ดําเนินงานจนสำเร็จเปนผลงานที่ดีเลิศเปนความเรียงก็ได
3. ปจจยั เก้ือหนุน (ดีเพราะอะไร What) หรือปจจัยแหงความสำเร็จ/ความภาคภูมิใจและบทเรยี นท่ีไดรับ
4. ผลการดาํ เนินงาน (ดแี คไหน Why) ซ่ึงอาจจะเอาไวในหัวขอท่ี 2 กไ็ ดทง้ั น้ีควรเนนตัวช้ีวัดสําคญั ตาง ๆ
ท่แี สดงใหเห็นแนวโนมการเปลยี่ นแปลงซึง่ อาจใชแผนภูมิหรอื กราฟ แสดงใหเหน็ ถึงการเปลย่ี นแปลงการดาํ เนินงาน
จนเกิดผลสาํ เร็จและอาจมแี ผนงานในอนาคตดวยก็ได
14
บทท่ี 4
รายงานผลการปฎิบตั ิงานท่ีดี (Best Practice)
กศน.ตำบลบอ่ สวก ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองน่าน
สำนักงาน กศน.จังหวดั นา่ น
1. ชอ่ื ผลงาน ระบบช่วยเหลือผู้เรยี นออนไลน์ NFE@bosuak
2. หน่วยงาน/สถานศึกษา กศน.ตำบลบอ่ สวก
ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองน่าน
สำนักงานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยจงั หวดั นา่ น
3. คณะทำงาน นางสาวศริ ิตา ขัตสิริ ครู กศน.ตำบล
4. ความสอดคลอ้ ง
สอดคล้องกับนโยบายและจุดเน้นการดำเนนิ งาน ของสำนักงาน กศน. ประจำปีงบประมาณ 2564 ข้อ 3 พัฒนา
หลักสูตร สื่อ เทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศึกษา แหลงเรียนรู และรูปแบบการจัดการศึกษาและการเรียนรู
ในทกุ ระดบั ทุกประเภท เพ่อื ประโยชนตอการจัดการศกึ ษาท่ีเหมาะสมกับทุกกลุมเปาหมาย มคี วามทนั สมยั สอดคลอง และ
พรอมรองรับกับบริบทสภาวะสังคมปจจุบัน ความตองการของผูเรียน และสภาวะการเรียนรูในสถานการณตาง ๆ ที่จะ
เกดิ ขน้ึ ในอนาคต
5. ท่ีมาและความสำคัญของผลงาน
ในปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลมีบทบาทสำคัญต่อการติดต่อสื่อสารผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ในการติดต่อ
เชื่อมโยงข้อมูลถึงกนั ได้ท่ัวโลก ไมว่ ่าจะอยใู่ นรูปของอนิ เทอร์เน็ต หรือด้านการติดต่อสื่อสารโทรคมนาคมในระยะไกลต่าง ๆ
ซึ่งสามารถส่งสารสนเทศทั้งที่เป็นข้อมูลประเภท เสียง และวิดีโอ ไปพร้อม ๆ กัน ทำให้มีความสะดวก รวดเร็ว และส่ง
ขอ้ มลู ไดเ้ ปน็ จำนวนมาก ลดความผดิ พลาดในการส่ง-รบั ข้อมูล
การพัฒนาของประเทศที่เข้าสู่ยุคศตวรรษที่ 21 ซึ่งเป็นยุคแห่งการดำเนินชีวิตในแบบดิจิทัล เทคโนโลยี
สารสนเทศและการสื่อสารทำใหว้ ิถีการดำรงชวี ิตเปล่ียนแปลงไป เกดิ การแขง่ ขนั ทางปญั ญา โดยการใชส้ ารสนเทศและ
ความรู้ใหม่ ๆ ด้วยวิธีการที่ทันสมัยมากขึ้น การศึกษาขั้นพื้นฐานจึงจำเป็นต้องมีการปรับประยุกต์เครื่องมือในการ
จัดการสารสนเทศและความรู้ในรูปแบบต่าง ๆ โดยมีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นเคร่ืองมือสำคัญที่ช่วย
เสรมิ ประสทิ ธิภาพในการเข้าถงึ ความรู้ การร้เู ท่าทนั จนกระท่งั การประยกุ ต์ใช้ให้เกิดประโยชนอ์ ย่างสร้างสรรค์อย่างมี
คณุ ธรรมและจริยธรรม สอดคลอ้ งกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
15
ศูนยก์ ารศกึ ษษนอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมอื งน่าน จังหวัดนา่ น ไดด้ ำเนนิ การจดั การศึกษา
ขั้นพื้นฐาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 พบว่า ผู้เรียนมีส่วนใหญ่
มีปัญหาในการเข้าถงึ ข้อมูล สื่อการเรียนรู้ที่หลากหลาย ดังนั้น ครู ผู้สอนจึงได้สร้างนวัตกรรมระบบช่วยเหลือผู้เรียน
ออนไลน์ NFE@bosuak ขน้ึ โดยใชส้ ือ่ Social Media และ Application Line เปน็ ตัวจัดการระบบ
6. วัตถปุ ระสงค์
เพื่อจัดทำระบบการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนให้สามารถนำไปใช้ในงานการศึกษาขั้นพื้นฐานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
สอดคลอ้ งกับความตอ้ งการของผู้เรียน
7. วธิ ดี ำเนนิ งาน
7.1 กลุม่ เป้าหมาย นักศกึ ษา กศน.ตำบลบ่อสวก
7.2 การดำเนินการจดั กจิ กรรม
ขนั้ ตอนการทำระบบช่วยเหลอื ผเู้ รียนออนไลน์ NFE@bosuak
ศึกษาเอกสารและ ตรวจสอบระบบ นำไปใช้
ชว่ ยเหลอื ผู้เรยี น
Application
NFE@bosuak
ออกแบบกจิ กรรม ปรับปรงุ
การเรยี นรู้
16
8. ตัวชีว้ ัดความสำเร็จ
ผเู้ รียนร้อยละ 80 มคี วามพงึ พอใจตอ่ การใช้ระบบชว่ ยเหลือผูเ้ รยี นออนไลน์ NFE@bosuak ระดบั ดีข้นึ ไป
9. การประเมนิ ผลและเครือ่ งมือประเมนิ ผล
ประเมนิ ผลโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจตอ่ การใช้ระบบช่วยชว่ ยเหลือผู้เรียนออนไลน์ NFE@bosuak
10. ผลการดำเนินงาน
ผลท่เี กดิ กบั ครู กศน.ตำบล
ครู มีระบบช่วยเหลอื ผเู้ รียน ทสี่ ามารถตอบคำถามใหก้ ับผเู้ รยี นได้อยา่ งรวดเรว็
ผลทเ่ี กิดกบั ผเู้ รยี น
ผูเ้ รยี นสามารถใชง้ านระบบชว่ ยเหลอื ผ้เู รยี นได้ทกุ ที ทกุ เวลา และไดร้ บั ข้อมูลสารสนเทศและเขา้ ถึงข้อมูล
ส่ือการเรยี นรู้ได้อยา่ งรวดเร็วทันตอ่ ความตอ้ งการของผเู้ รียน
17
โครงการ : ระบบช่วยเหลือผู้เรยี นออนไลน์ NFE@bosuak
จุดเดน่
ระบบช่วยเหลือผู้เรียน เป็นกระบวนการดำเนินการดูแลช่วยเหลือผู้เรียนอย่างเป็นระบบ สอดคล้องกับ
บริบทความต้องการของผู้เรียน ซึ่งในยุคปัจจุบันเทคโนโลยีดิจิทัลมีบทบาทสำคัญต่อการจัดกระบวนการเรียนรู้
ให้กับผู้เรียนและเขา้ มามสี ่วนร่วมในการบริหารงานของสถานศึกษา จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช้เพอ่ื การบริหารและการจัดการความรู้ เพอื่ การจดั การอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ
กศน.ตำบลบ่อสวก ได้รับการสนับสนุนสื่อ และครุภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ทันสมัยและพร้อมให้บริการแก่ผู้เรียน/
ผู้รับบริการ จึงนำสื่อออนไลน์แอปพลิเคชั่น Line มาใช้เป็นเครื่องมือเพื่อจัดทำระบบช่วยเหลือผู้เรียนออนไลน์
NFE@bosuak ในงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน เช่น การตรวจสอบผลการเรียน รายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน หนังสือเรียน
ออนไลน์ ข้อมลู รายบคุ คล ตารางสอบ เป็นตน้ ซึ่ง Line เป็นแอปพลเิ คชัน่ พ้นื ฐานทม่ี ีในสมาร์ทโฟนอย่แู ลว้ จงึ ทำให้ผู้เรียน
สามารถใช้งานได้ง่าย สะดวก และเข้าถึงระบบได้ทุกคน ก่อให้เกิดความร่วมมือกันระหว่างผู้เรียนกับครผู ู้สอน โดยไม่มี
ข้อจำกัดเรื่องเวลา และสถานที่ ก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบไม่มีที่สิ้นสุด ตลอดจน ครู กศน.ตำบล มีการพัฒนา ปรับปรงุ
ระบบช่วยเหลือผู้เรียนออนไลน์อยา่ งตอ่ เนื่อง้เพื่อให้สอดคล้องกบั บริบทของผูเ้ รียนและให้กา้ วทนั กับยุคไทยแลนด์ 4.0
ส่งผลใหผ้ ู้เรียนสามารถเข้าถึงข้อมูลของตนเองได้อย่างรวดเร็ว และ กศน.ตำบลบ่อสวก มผี เู้ รียนเข้าสอบปลายภาคเรียน
เพิม่ สงู ข้ึน
วิธีดำเนนิ การ ยดึ หลักกระบวนการทำงาน PDCA และปรัชญา “คิดเป็น”
1. ศึกษาวัตถุประสงค์ของโครงการ/กิจกรรม มกี ารวางแผนการดำเนินงาน กำหนดสภาพปัญหา
ศึกษาขอ้ มลู ทเ่ี กยี่ วข้อง โดยประสานงานกบั ผู้เรยี น และเครือข่ายที่เก่ยี วข้อง ในการจัดทำระบบช่วยเหลอื ผู้เรยี น
ออนไลน์ NFE@bosuak
2. วางแผนการดำเนินงาน กำหนดสภาพปัญหา ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยศึกษาเรียนรู้จากสื่อการ
เรยี นรใู้ นรปู แบบออนไลนแ์ ละออฟไลน์ เพื่อนำขอ้ มูลตา่ ง ๆ มาปรบั ใช้ในการจดั ทำระบบชว่ ยเหลือผูเ้ รียนออนไลน์
NFE@bosuak ตลอดจนการสอบถามจากผู้ร้แู ละผูม้ ปี ระสบการณ์ในการจัดทำระบบออนไลน์ โดยพิจารณา ดงั นี้
➢เป็นแอฟพเิ คชนั่ ทต่ี รงกับความต้องการและความจำเปน็ ของผูเ้ รียน
➢เป็นแอฟพลิเคชน่ั ที่ผู้เรียนเข้าถงึ ได้ง่าย ใช้งานจรงิ สะดวกตอ่ การใชง้ าน
➢เปน็ ระบบทจ่ี ะสามารถแก้ปญั หา และช่วยเหลือผ้เู รียนไดจ้ ริง
➢มผี ลการพสิ ูจนเ์ ชงิ ประจักษ์วา่ ได้ใช้ในสถานการณ์จรงิ แล้วสามารถแก้ปัญหาหรอื พัฒนาคุณภาพ
การจัดการเรยี นรู้ได้
3. จัดทำระบบชว่ ยเหลอื ผู้เรียน จดั ทำระบบช่วยเหลือผู้เรยี นออนไลน์ทส่ี อดคลอ้ งกบั บริบทความต้องการ
ของกลุ่มเป้าหมาย เพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงาน/กิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
โดยเน้นการสร้างกระบวนการเรียนรู้ให้กับนักศึกษา โดยนำแอปพลิเคชั่น Line มาปรับใช้เพื่อช่วยเหลือผู้เรียน
18
ในด้านต่าง ๆ เช่น การตรวจสอบผลการเรียน รายวิชาที่ลงทะเบยี นเรยี น หนังสือเรียนออนไลน์ ข้อมูลรายบุคคล
ตารางสอบ เป็นต้น ซึ่งเปน็ การนำเครื่องมือออนไลนท์ ่ีมีอยู่บนระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ตมาใชใ้ นการจัดการเรยี นรู้
ให้เกิดเป็นเครือข่ายและเกิดความรว่ มมือกันระหว่างผู้เรียนกับครูผู้สอน โดยไม่มีข้อจำกัดเร่ืองเวลา และสถานท่ี
ก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบไม่มีที่สิ้นสุด โดยครูผู้สอนศึกษารายละเอยี ดของแอปพลิเคชั่น Line ที่จะใช้สร้างระบบ
ชว่ ยเหลอื ผู้เรยี นออนไลน์ และดำเนนิ การตามข้นั ตอน ดังนี้
➢ วิเคราะห์จุดประสงค์การจัดทำระบบชว่ ยเหลือผ้เู รียนออนไลน์
➢ กำหนดและออกแบบระบบชว่ ยเหลือผู้เรียนออนไลน์
➢ ลงมอื จัดทำระบบช่วยเหลือผ้เู รียนออนไลน์
➢ ตรวจสอบการใช้งานของระบบช่วยเหลอื ผู้เรยี นออนไลน์
➢ ทดลองใชร้ ะยะส้ันเพ่ือปรบั ปรุงระบบช่วยเหลือผู้เรียนออนไลน์
➢ นำไปใชเ้ พ่ือแกป้ ญั หาหรอื การพัฒนาการเรียนรู้
4. ถอดบทเรียนจากกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน เพอ่ื สะทอ้ นความคดิ เห็นของกลุ่มเป้าหมายและคณะครู
เปน็ การหาแนวทาง การดำเนนิ งานรว่ มกัน เกดิ การเรียนร้รู ว่ มกันของผู้เข้าร่วมกระบวนการ อันนำมาซงึ่ การปรับวิธีคิด
และเปล่ียนแปลงวิธกี ารทำงานทีส่ รา้ งสรรค์และมคี ุณภาพย่งิ ขึ้น
5. ประเมนิ ติดตามผลการดำเนนิ งาน มีการประเมินผลการดำเนนิ งาน โดยใชแ้ บบสอบถามความพึงพอใจต่อ
การใช้ระบบช่วยเหลือผเู้ รยี นออนไลน์ NFE@bosuak เพอื่ นำผลการประเมนิ มาปรบั ปรุง พัฒนาการดำเนินงาน
6. ปรบั ปรงุ พัฒนาระบบ นำความคิดเหน็ หรอื ขอ้ เสนอแนะจากการประเมนิ ติดตามผลการดำเนินงานมา
ปรบั ปรุง พัฒนาระบบให้มีคณุ ภาพ และครอบคลุมมากยงิ่ ข้นึ
19
20
ปัจจัยป้อน ที่สง่ ผลใหก้ ารดำเนินโครงการสำเร็จได้ โดยยึดหลักการ 4 M ประกอบดว้ ย
1. ด้านบคุ ลากร (Man) ประกอบดว้ ย ผูบ้ ริหาร ครู และบุคลากร ของ กศน.อำเภอเมืองน่าน มีองค์ความรู้
มีประสบการณ์ มีทักษะ และมีความเข้าใจในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ให้สอดคล้อง
ตามนโยบายและจุดเน้นการดำเนินงานของสำนักงาน กศน. มีการทำงานเป็นทีม แบ่งหน้าที่การทำงานและความ
รับผิดชอบอย่างชัดเจน ตลอดจนมีการสง่ เสริม สนับสนุน สร้างขวัญและกำลังใจให้กบั บุคลากรในการทำงานอย่าง
ต่อเน่อื ง
2. ดา้ นงบประมาณ (Money) ได้รับการจัดสรรงบประมาณจาก สำนักงาน กศน. ในการจัดกจิ กรรมการศึกษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยในระดบั พ้ืนที่ และการพฒั นา กศน.ตำบลใหเ้ ป็นแหลง่ เรยี นรู้ตลอดชีวติ
3. ด้านวัสดุ อุปกรณ์ (Materials) ได้รับการสนับสนุนวัสดุ อุปกรณ์และสื่อสำหรับใช้ในการจัด
กระบวนการเรียนรู้ จากสำนักงาน กศน. และหน่วยงานเครือข่ายต่าง ๆ เช่น กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและ
สังคม องค์การบรหิ ารส่วนตำบล ชุมชน เป็นต้น ตลอดจนครู กศน.ตำบล ได้รับการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่อง
จึงทำให้มีความรู้และทักษะในการนำเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ เพื่อตอบสนองความ
ต้องการของผู้เรียน/ผู้รับบรกิ ารได้อยา่ งรวดเร็วและท่ัวถงึ มากยิ่งขนึ้
4. ด้านบรหิ ารจัดการ (Management) มีการออกแบบและจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ีสอดคล้องกับสภาพ
ปัญหาของกลุ่มเป้าหมายและชุมชนอย่างครอบคลุมและเป็นระบบ โดยคำนึงถึง ต้นน้ำ (Upstream) กลางน้ำ
(Midstream) ปลายนำ้ (Downstream) มหี ลักในการดำเนินงานด้วยยึดผูเ้ รียนเป็นสำคญั หรือความตองการของ
ผู้เรียนเปนฐาน (Problem or Need-based) ในการกําหนดกิจกรรมการเรียนรู้และการจัดทำแผนการจัดการ
เรียนรู้ มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดกระบวนการเรียนรู้ เกิดทักษะกระบวนการตัดสินใจตามหลักปรัชญา “คิดเป็น”
ในการดำเนินงานและการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ต้นทุนของชุมชน เช่น อาคาร สถานที่ วิทยากร ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น
วัฒนธรรมประเพณี มีการประสานเครือข่ายในชุมชนร่วมจดั กิจกรรมการเรียนรู้ โดยส่งเสริม สนับสนุนให้ทุกภาค
ส่วนในชมุ ชน/สงั คม เข้ามามีสว่ นรว่ มเป็นภาคเี ครือข่ายในการดำเนินกจิ กรรมทัง้ ในฐานะผู้ใหบ้ รกิ าร ผรู้ บั บริการ มี
สว่ นร่วมเปน็ เจา้ ของ ร่วมคิด ร่วมทำ รว่ มแกป้ ญั หา บูรณาการกระบวนการเรียนรู้และจัดประสบการณ์การเรียนรู้
ให้สอดคล้องกับวิถีชีวิตของชุมชน ผ่านการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบแบบวงจรเดมมิ่ง ( PDCA) การจัด
กระบวนการเรียนรู้แบบ ONIE MODEL การจัดการเรียนรู้ในรูปแบบโครงงาน STEM ศึกษา ปรัชญาคิดเป็น และ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ในการดำเนินงานกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย เพื่อ
ส่งเสริมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน/ผู้รับบริการ และพัฒนา กศน.ตำบล ให้เป็นแหล่งเรียนรู้ตลอดชีวิตของชุมชนได้
อยา่ งทั่วถึง และครอบคลุมกลมุ่ เปา้ หมายในพื้นท่ี
21
เงือ่ นไข/ปัจจยั ท่ีส่งผลต่อความสำเรจ็
การนำระบบเทคโนโลยีที่กลุ่มเป้าหมายสามารถเข้าถึงได้ง่าย ใช้งานจริง สะดวกต่อการใชง้ าน มาปรับใช้เพือ่
ช่วยเหลือผู้เรียนในด้านต่าง ๆ เช่น การตรวจสอบผลการเรียน รายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน สื่อการเรียนการสอน
แบบทดสอบออนไลน์ หนังสือเรียนออนไลน์ เป็นต้น ซึ่งเป็นการนำเครื่องมือออนไลน์ที่มีอยู่บนระบบเครือข่าย
อนิ เทอร์เนต็ มาใช้ในการจัดการเรียนรู้ ใหเ้ กดิ เป็นเครือขา่ ยและเกิดความร่วมมอื กันระหวา่ งผู้เรยี นกบั ครูผู้สอน โดย
ไม่มีข้อจำกัดเรื่องเวลา และสถานที่ ก่อให้เกิดการเรียนรู้แบบไม่มีที่สิ้นสุด ตลอดจน ครู กศน.ตำบล มีการพัฒนา
ปรับปรุง เปล่ียนแปลงระบบชว่ ยเหลอื ผูเ้ รยี นออนไลน์อย่างตอ่ เนอ่ื งใหส้ อดคลอ้ งกับบริบทของผเู้ รยี น/ผูร้ ับบรกิ ารและ
ใหก้ ้าวทันกับยุคไทยแลนด์ 4.0
ปัญหา อุปสรรค หรือข้อจำกัดทเ่ี กิดข้ึนในการปฏบิ ตั ิงาน และแนวทางแกไ้ ขใหป้ ระสบความสำเร็จ
องค์ความรู้ของครูผู้สอน ยังไม่ครอบคลุมและชำนาญในการเขียนโค้ด รหัสคอมพิวเตอร์ เพื่อนำข้อมูลใน
ระบบ ITW 51 มาเชื่อมโยงกับ ระบบช่วยเหลือผู้เรียนออนไลน์ NFE@bosuak ส่งผลให้ข้อมูลที่ผู้เรียนได้รับ
มีข้อจำกัดในการคน้ หา โดยมแี นวทางในการดำเนินงาน คือ ส่งเสริม สนบั สนนุ พัฒนาองค์ความรใู้ ห้กับครูผู้สอนใน
การเขียนโค้ด รหสั คอมพิวเตอร์ จากหนว่ ยงานภาคีเครอื ขา่ ย
ขอ้ เสนอแนะวธิ ปี ฏิบตั ทิ ่ีจะทำใหด้ ีย่งิ ขึ้น
ครู กศน.ตำบล ต้องใฝ่เรียนใฝร่ ู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เทา่ ทันเทคโนโลยี ทนั ต่อการพัฒนา
ทางวิทยาการ เศรษฐกิจสังคมและการเมืองอยู่เสมอ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้เทคนิควิธีการเรียนการสอน การจัด
กระบวนการเรียนรู้ในรูปแบบใหม่ ๆ ทม่ี ีประสิทธิภาพมายง่ิ ขึน้ อย่างต่อเนอื่ ง สามารถตอ่ ยอดองค์ความรู้เดิม เพื่อ
นำความรมู้ าพฒั นาระบบช่วยเหลือผเู้ รยี นออนไลน์ NFE@bosuak ให้ดีและครอบคลุมมากยิง่ ข้นึ
22
นวัตกรรม “ระบบช่วยเหลอื ผู้เรยี น NFE@bosuak (V.1)”
23
นวัตกรรม “ระบบช่วยเหลอื ผู้เรยี น NFE@bosuak (V.2)”
24
การเผยแพรอ่ งค์ความรู้
25
ที่ปรึกษา คณะผจู้ ดั ทำ
นายกิตติพงศ์ กาลงั
นางวชั ญาณ์ ยอดหล้า ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองนา่ น
นางกรรณกิ าร์ ฆะปญั ญา ครู
ครู
ผ้รู วบรวมข้อมลู /รปู เล่ม
นางสาวศิริตา ขัตสริ ิ ครู กศน.ตำบล
ออกแบบปก ครู กศน.ตำบล
นางสาวศริ ติ า ขัตสริ ิ