The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บันทึกการเรียนรู้แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-10-22 04:56:20

บันทึกการเรียนรู้แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย

บันทึกการเรียนรู้แนวทางการศึกษาวรรณคดีไทย

LITERATURE

แนวทางการศึกษาวรรณคดี



คน

บนั ทกึ การเรยี นรูเ้ ลม่ เ นส่วนห งของวชิ า แนวทางการศกึ ษา
วรรณคดไี ทย มีจุดประสงคเ์ อบันทกึ ความรแู้ ละสรุปเ อหา เรียนในแตล่ ะ
สัปดาห์ งในบนั ทกึ การเรยี นรู้ กม็ ีเ อหาเ ยวกบั องค์ความรู้แนวทางการ
ศกึ ษาเ ยวกับวรรณคดี ความรู้สึก ญหาและอุปสรรคในการเรียนแตล่ ะ
สปั ดาห์

ภีรดา ทัศนิตย์

่ ่ึึซำนปปทกกพั็นนนนีีืีืีืี่่่่ำ้้้้

สารบัญ ข

คน หนา้
สารบญั
ประวัตสิ ว่ นตัว ก
ปฐมนิเทศ ข
ความหมายและองคป์ ระกอบของวรรณคดไี ทย ค

จจยั มอี ิทธพิ ลต่อการสรา้ งสรรคว์ รรณคดีไทย ๒
ยคุ สมยั ของวรรณคดี ๔
ขนบวรรณคดไี ทย ๑ (บทพรรณนา) ๖
ขนบวรรณคดไี ทย ๒ (ตัวละครแบบฉบบั ในวรรณคดีไทย) ๙
วรรณคดีกับวถิ ีไทย ๑ (รามเกียร ) ๑๑
วรรณคดกี ับวิถีไทย ๒ (แต่ละกลุ่มน เสนอ) ๑๔
บทบาทและคณุ คา่ ของวรรณคดไี ทย ๑๖
การศึกษาวรรณคดีไทย ๑๙
๒๑
น เสนอผลงาน ได้รบั แรงบันดาลใจ
จากวรรณคดไี ทย( ดคอร์ส) ๒๔

์ิ ำ
ตปปททัิำำำีี่่

ประวตั สิ ว่ นตัว ค

อ-นามสกุล : นางสาวภีรดา ทศั นิตย์
รหัสนกั ศกึ ษา : ๖๔๑๑๕๒๔๕๒๑๑
สาขา : วิชาการสอนภาษาไทย

อเลน่ : อ๋อม
อายุ : ๑๙
จบจาก : โรงเรียนสอ่ งดาววทิ ยาคม
เกิดวัน : ๖ มีนาคม ๒๕๔๕

อยู่ตามภมู ิล เนา : บา้ นเลข ๑๐๖ หมู่ ๖
ต บลวฒั นา อ เภอส่องดาว จังหวดั สกลนคร
งานอดเิ รก : ดซู ี ย์,วาดรูป, งเพลง
คติประจ ใจ : ถา้ รู้สึกว่าเห อยแสดงวา่ ยงั สู้อยู่

ช่องทางตดิ ต่อ

๐๙๘๑๑๖๘๒๒๕

a m_ 6345

Pe r a T s it

nasahdae
tpo










ำำฟปทชชทรทีันีีืีืีื่่่่่่่

☁ อาจารย์ไดแ้ นะน ปฐมนิเทศ ๑
รายวชิ า วิธีการเรยี น
อาจารยม์ กี จิ กรรมให้
ท ในการท ความรู้
จักเ อนๆคือ ก หนดขอ้ ปฏบิ ัติ

การสอน วิธวี ดั ผล กิจกรรม รู้จักฉันรจู้ ัก รว่ มกนั ใน น
ความรู้ เธอแนะน ตัวและ เรียนและการท
บอก ๓ อย่าง อถึง กจิ กรรม

ตัวเอง
ความรู้สกึ ญหาอปุ สรรค
รู้สึกสนกุ นเตน้ มากๆเพราะเ น
คบแรก ไดพ้ บปะกบั อาจารยอ์ กี คาบแรก ถือวา่ การ
งอาจารย์ยงั ใหท้ กจิ กรรมรู้จักฉนั เรียนราบ นไม่มี ญหา
รจู้ ักเธอก็ท ให้รจู้ ักเ อนๆมาก น แลอปุ สรรคใดๆ
อกี ด้วย

เ อง อยากรตู้ ่อ การน ไปประยกุ ตใ์ ช้

อยากทราบแรงบันดาล การปฐมนิเทศ ท ใหร้ ู้
ใจ จะท ใหอ้ ยากเรยี น แนวทางและเตรยี มตัวเรยี น
วรรณคดมี าก น ในสปั ดาหต์ ่อไปไดอ้ ย่าง
ราบ น

ประเมินความ งใจ

เต็ม ๔ ให้ ๔ เพราะเ น

คาบแรกเลย นเตน้
และ งใจมาก

้้ึึ ำทำั้ัตัขำำำำชั้ำ้ำ้ข
ตปปปปทททรตตสพรพรทัำำ็็นนำัืืีืืีืืืีีืีี่่่่่่่่่่่่้้



ความหมายและองค์ประกอบของวรรณคดไี ทย



วรรณคดี คอื ? วรรณกรรม คอื ?

วรรณกรรมหรอื งานเขยี น งานเขียนทกุ ชนิด อ
ได้รบั ยกย่องว่าแตง่ ดี และ ความคิดและจินตนาการ
มีมา งแตส่ มัยสุโขทัยถึง

สมัยรชั กาล ๖
ลกั ษณะเฉพาะของ กวีแต่งวรรณคดีเ อ
อะไร?

วรรณคดี ๑.เ อ อความรู้สกึ
นึกคดิ
๑.แต่งดี มีศลิ ปะในการเสนอ
เ อง ๒.เ อความบนั เทิง
๒.มีอารมณ์ ท ให้เกดิ ความ ๓.เ อใหค้ วามรู้

รสู้ กึ
๓.มีประโยชนต์ ่อผู้อา่ น
๔.ท ใหเ้ กิดความบนั เทงิ

องคป์ ระกอบของวรรณคดี
รปู แบบ เ อหา ภาษา
•ร้อยแกว้ •เ อเ อง
•รอ้ ยกรอง •ตัวละคร •ค ,ประโยค
• นๆ •ฉาก และความ
•แนวคดิ หมาย
•กลวธิ ี,การ
เขยี น






ตั้









อพรพททสพรสทพนนืืืีืีืืืีืืืื่่่่่่่่่่่่้้



เกณฑก์ ารจ แนกวรรณคดี
๑.จ แนกตามลกั ษณะ จ แนกตามจดุ หมายส คัญ
การเขียน ๑.วรรณคดบี ริสทุ
๒.จ แนกตามความม่งุ •มงุ่ ใหค้ วามเพลดิ เพลนิ
หมายส คัญ ๒.วรรณคดปี ระยุกต์
๓.จ แนกตามเ อหา •ม่งุ การน ไปใช้ประโยชน์
๔.จ แนกตามหลัก อย่างใดอย่างห ง
ฐาน

กจิ กรรม : เราเรยี นวรรณคดีไทยเ ออะไร
อดตี จจบุ นั
•เ นเค อง น มีบทบาทในชน นสงู •เพราะเ นศาสตรแ์ ขนงห ง
•เรยี นเพราะเ นแบบเรยี น
•เพราะเ นต ราพันศาสตร์ •เพราะเ นเ อหาในหลกั สูตร

•เ อเข้าใจชีวติ สังคมอดีต

ความรู้สกึ
รสู้ กึ นเตน้ นิดหน่อยเพราะ ญหาอุปสรรค
เ นคาบแรก ได้ท การ
เรียนการสอนและชอบ ง ใช้โปรแกรมZo m ยงั
อาจารย์เล่าเ องตา่ งๆมาก ไม่เ นเท่าไหร่ล บาก
นิดหน่อยเวลาเป ยน
หอ้ ง

เ อง อยากรู้ต่อ การน ไปประยุกตใ์ ช้ ☹ประเมินความ งใจ

วรรณคดปี ระยุกตม์ ี เ นแนวทางในการ เต็ม ๔ ให้ ๒ เ องจาก
ลักษณะเ นอย่างไร ศึกษาวรรณคดตี ่อไป
เรยี นออนไลนอ์ ย่บู ้าน

แลว้ เด็ก บ้านกวน

์ ่่ิึึ ำ
ชั


ำoำ

ำำำ

ำำ

้ัตำธ


นปปปปปปฟปปปปปทตพรชรทลพรท็็ำั็็ำ็็็ั็็นนนัำืีีีีืืืืีืืืื่่่้่่่่่่่่้้



จจัย มีอิทธพิ ลตอ่ การสรา้ งสรรคว์ รรณคดีไทย

สังคมแลวัฒนธรรม อิทธพิ ลวรรณกรรม นบ้าน

•ศาสนาและความเ อ •เ องเล่าปากตอ่ ปากเ น
•ขนบธรรมเนียม วรรณกรรม มีเ องราวเ น
•วัฒนธรรม ต นาน กวไี ทยนิยมน เ อง
•ชน นสงู ในทอ้ ง น เหล่า มาแตง่ เ น

•เศรษฐกจิ และการเมือง วรรณกรรม

อทิ ธพิ ลวรรณกรรมอนิ เดีย

มี มาสองแหล่ง คือ
•วรรณคดีภาษาสันสกฤต
•วรรณคดีภาษาบาลี -มหากาพยร์ ามายณะ
-วรรณคดพี ทุ ธศาสนา -วรรณกรรมประเภทนิติ
-วรรณคดปี ระเภทนิทาน หรือคติธรรมในการ

-มหากาพย์มหาภารตะ ด เนินชีวิตของอนิ เดีย

-สุภาษิตพระร่วง

อทิ ธิพลวรรณกรรมเปอรเ์ ซีย อทิ ธพิ ลวรรณกรรมจนี

•วรรณกรรมไทย ได้เคา้ เ อง วรรณกรรมจีน ส คญั สดุ
จากวรรณกรรมเปอรเ์ ซยี เชน่ และแปลไทย คือ สามก๊ก ใน
เ อง นิทานอิหรา่ นราชธรรม สมัย ร.๑ เ น นิยมอ่านใน
รไุ บยาต ไทยมากเพราะส นวนสละ

สลวย

่ิ










ำชั้ถ





ปปปปชรรทรทรททรทปพท็็ำ็็นทืีีีืืีืืีืัีืี่่่่่่่่่่่ี้่้่

อิทธพิ ลวรรณกรรมชวา ๕
นางขา้ หลวงเ อสายมลายไู ด้
เล่าถวายเจ้า า ๒ พระองค์ใน อิทธพิ ลวรรณกรรมมอญ
สมยั พระเจ้าอย่หู ัวบรมโกศ
แห่งกรงุ ศรีอยธุ ยา คือ เ อง วรรณคดไี ทย ไดเ้ คา้ เ อง
อิเหนา
จากพงศาวดารมอญ คือ

เ อง ราชาธิราช

อทิ ธพิ ลวรรณกรรมตะวนั ตก กวมี ีอทิ ธิพลต่อการสร้างสรรค์
วรรณคดีมาก สุด
คนไทยได้รบั การศึกษาในประเทศ
ตะวนั ตกมาก นเ นผลท ให้มคี น พุทธศาสนาและความเ อมีอทิ ธิพล
รู้จกั วรรณกรรมตะวนั ตกมาก นกวี ท ให้กวไี ทยนิยมสรา้ งสรรค์
วรรณคดเี อเ นพุทธบชู า
และนกั ประพันธจ์ ึงน เ อหามา
ดัดแปลง

ความรู้สึก ญหาอปุ สรรค
นเต้นกบั กิจกรรมกลุ่ม
อาจารย์มอบหมายให้ท แต่ ไม่ค่อยมสี มาธิเรยี น
ก็เขนิ เ อนนิดหน่อยเพราะ เพราะข้างบ้านตดั
ยังไมค่ ุ้นเคย หญา้ เสยี งดัง
เ อง อยากรู้ต่อ การน ไปประยกุ ตใ์ ช้ ประเมินความ งใจ
เต็ม ๔ ให้ ๒ เพราะมี
ศาสนามีอิทธพิ ลตอ่ ชว่ ยท ให้อา่ นวรรณคดี เสยี งดังรบกวนจาก
การแตง่ วรรณกรรม เค องตัดหญา้ ข้าง
อยา่ งไร เขา้ ใจมาก น บ้าน

้้้ึึึ ำ

ขำำขั้ำข
ตปฟปปชรรพชรตรพททททร้็็ำนำัีืืืืืืืีีืืีืื่่่่่่่่่้่่่่้



ยคุ สมัยของวรรณคดี

สุโขทัย อยธุ ยาตอนต้น

•ศลิ าจารกึ หลัก ๑ •ลลิ ิตโองการแช่ง
•สภุ าษิตพระร่วง
•ไตรภูมพิ ระร่วง •ลลิ ติ ยวนพา่ ย
•ต หรบั ท้าวศรี
จุฬาลกั ษณ์ •ลิลติ พระลอ
•มหาชาตคิ หลวง

•สมุทโฆษค ฉันท์ อยุธยาตอนกลาง
•โคลงพาลีสอนนอ้ ง •โคลงเฉลมิ พระเกียรติพระนารายณ์
•โคลงอกั ษรสามหมู่
•โคลงทศรถสอนพระราม •โคลงทวาทศมาส
•โคลงราชสวัสดิ
•เพลงยาว •ก สรวล
•อนิรทุ ธ์ค ฉันท์
•เสอื โคค ฉนั ท์ •ค ฉนั ทด์ ษุ ฎสี ังเวยกลอ่ มช้าง
•จินดามณี
•กาพย์ห่อโคลง •โคลงนิราศหริภญุ ชัย

•ยคุ ทองของวรรณคดี

อยธุ ยาตอนปลาย

•ปณุ โนวาทค ฉันท์
•โคลงชะลอพระพทุ ธไสยาสน์ •โคลงนิราศ
•พระมาลยั ค หลวง พระพทุ ธบาท
•กาพยเ์ หเ่ รือ •กลบทสิรวิ ิบลุ กิตติ
•นันโทปนนั ทสตู รค หลวง บทละครตา่ งๆ เชน่
•กาพหอ่ โคลงประพาสธารทองแดง •คาวี
•กาพย์หอ่ โคลงนิราศ •พิกลุ ทอง
•เพลงยาว •มโนราห์
•อเิ หนา •มณีพไิ ชย
•สังขท์ อง ฯลฯ



ำำ





























ำำ

นท้ี่

☁ ธนบรุ ี ๗

•บทละครรามเกียร พระราช •นิราศพระยามหานภุ าพไปเมือง
จนี (นิราศกวางตงุ้ )
นิพนธ์ในสมเด็จพระเจา้ ตากสนิ •เพลงยาวพระยามหานภุ าพ ๓ ส นวน
๔ ตอนได้แก่ •โคลงขอพระเกยี รติพระเจ้ากรุงธนบรุ ี
-พระมงกฎุ ประลองศร •ลลิ ติ เพชรมงกุฎ
-หนมุ านเ ยวนางวารนิ •อเิ หนาค ฉนั ท์
-ทา้ วมา วราชวา่ ความ •กฤษณาสอนนอ้ งค ฉนั ท์

-ทศกัณฐ์ งพิธีทรายกรด
รัตนโกสินทร์ ร.๑-๔

•โคบตุ ร •รามเกยี ร
•สิงหไตรภพ •บทละครร เ อง อณุ รุฑ
•ลักษณะวงศ์ •บทละครร เ อง ดาหลงั •สามกก๊
•พระอภัยมณี •บทละครร เ องอเิ หนา •ไซ น
•สุภาษติ สอนหญงิ •กลอนนิราศรบพม่า •ราชาธริ าช
•นิราศภูเขาทอง ทา่ ดินแดง •ไตรภูมิโลก
•เสภาขุนช้าง •บทเหเ่ รือบางบท บทเห่ชม วนิ ิจฉยั
ขุนแผน ตอน เค องคาวหวาน •นิทานอหิ ร่าน
ก เนิดพลายงาม •บทละครเ องรามเกยี ร ราชธรรม
•พระไชยสรุ ยิ า •บทพากยร์ ามเกยี ร ๔ •ร่ายยาวมหา
•กากีกลอนสภุ าพ ตอน เวสสันดรชาดก
•รา่ ยยาวมหา •บทเสภา ขนุ ช้างขุนแผน ๑๑ กัณฑ์
เวสสันดรชาดก
กณั ฑ์กุมารและ •โคลงโลกนิติ
กัณฑ์มัทรี •ลิลิตตะเลงพา่ ย

•สมยั รัชกาล ๒ เ นยคุ วรรณคดรี ุ่งเ อง สดุ

่์์์์ิิิิิต







่ัฮ





ำต


ตตั













ำำ





ปรทททรรรกรรท็ีืีีืืืืืีี่่่่้่่่่่่



•พระราชพธิ สี ิบสอง รัตนโกสินทร์ ร.๕-๖ •กนกนคร
เดือน •โคลนติดล้อ
•ไกลบา้ น •บทละครเ องรามเกยี ร •บทละครมทั
•ลลิ ติ นิทราชาคริต ตอน พระรามเดนิ ดง นพาธา
•หวั ใจนักรบ •บทละคร เ องเงาะ า •กามนิต
•พระรว่ ง •นิราศลอนดอน •สามกรุง
•ปลกุ ใจเสือ า •สธุ นค ฉันท์ •จดหมายจางวางห
•พระนลค หลวง •รุไบยาต •ศกุนตลา
•บทละคร เ อง สาวเคลอื บ •หิโตปเทศ


•นิทานเวตาล

ความร้สู ึก ญหาอปุ สรรค

สนกุ กบั เ อหา อาจารย์ สปั ดาห์ ถือวา่ การเรียน
ราบ นดีไม่มี ญหาใดๆ
สอนและเกม Kah
อาจารย์ใหเ้ ล่น

เ อง อยากรู้ตอ่ การน ไปประยุกตใ์ ช้

วรรณคดี มี อ นต้น ท ให้หาหนงั สอื จะท ให้เรา
ดว้ ยค ว่าลิลิตมีลักษณะ ศึกษายุค ก เนิดวรรณคดี

โดดเด่นอย่างไร แต่ละยุคมาอา่ นไดง้ า่ ย น

ประเมนิ ความ งใจ

เต็ม ๔ ให้ ๓ เพราะไมไ่ ด้กนิ

ขา้ วเ ยงเลยท ใหว้ อกแวก

นิดหน่อยเพราะหิว

้้์ึึิ ำำต



้ำำข











ตoัำ

tำo


ำร่ปปฟปปรรรทรทชททททรท่่้ันนัำืืืีืีีีีีืีื่่่ีื่่่่่่่่่่้้

☁ ๙
ขนบวรรณคดีไทย ๑ (บทพรรณนา)

ขนบวรรณคดีไทยคือ?

•จารตี นิยมทางวรรณคดไี ทย
-จารีตนิยมคือการแสดงออกต่างๆ
เกดิ น ๆกันในการประพนั ธ์
วรรณคดี

บทพรรณนาธรรมชาติ บทอัศจรรย์

กวใี ชบ้ ทพรรณนา เ อสะทอ้ น บรรยายความรู้สึกขณะร่วม
อารมณค์ วามรสู้ กึ ผ่านธรรมชาติ เพศด้วยการเปรียบเทียบเ อ
เชน่ พรรณนาถึงนางอนั เ น รกั ใหผ้ ้อู ่านเขา้ ใจศิลปะดา้ น โดย
เ นกลวิธสี รา้ งอารมณส์ ะเทอื น การใชถ้ ้อยค ไพรเราะน่า ง
ใจ งเ น นิยมจนกลายเ น ไม่หยาบคาย ส่วนเปรียบเทยี บ
ขนบในวรรณคดไี ทย กับอะไรก็แลว้ แตป่ ระสบการณ์
และความคิดของกวี

บทชมโฉม บทพรรณนาขบวนทพั

มขี นบคอื การถา่ ยทอดความงามของ กวีแตล่ ะยุคสมัยมขี นบการ
ตวั ละครให้ผอู้ า่ นรับรไู้ ด้ ดว้ ยใจ แต่งคอื มกี ารจดั ล ดบั
ท ให้รู้สึกได้วา่ “งาม” งความงาม ขบวนทัพเ น นตอน โดย
เ มจาก พลชา้ ง พลมา้ พล
นมิใช่ความงาม สามารถ มองเหน็ รถแลว้ ก็พลทหารเดนิ เทา้
ได้ด้วยตา กวีจงึ ตอ้ งเลือกเ น
ถอ้ ยค และโวหารเปรยี บเทียบให้ผู้
อา่ น เห็นภาพไดช้ ดั เจน

่่่้ึึึิ

ำำ

ขำ้ันขซซำ้ัรซ้ฟปปปปปฟพททททพท็็ั็็้็นนีืีีืีีีี่่่่่่่้้

บทสระสรงทรงเค อง ๑๐

ขนบในการแต่งบทสระทรงเค องแต่ละ
ยุคมเี อกลักษณข์ องตน คอื ท ให้ผู้อา่ น
จินตนาการภาพเค องแตง่ กายของตัว
ละครได้ชดั เจนและเหน็ ความงามของ
ตัวละครมาก น

ความรู้สึก ญหาอุปสรรค
ไอแพด ใชเ้ รียนแบ
อาจารยส์ อนสนกุ ดีแต่ไม่
ค่อยชอบเ อง เทา่ ไหร่ ตจะหมดและเค อง
เพราะไมค่ ่อยเขา้ ใจเ ยว
รอ้ นมาก
กับขนบวรรณคดี
การน ไปประยุกต์ใช้
เ อง อยากรตู้ ่อ
ขนบวรรณคดมี หี ลกั การ เ นความรู้ นฐาน มี
ดูหลักการสงั เกตอย่างไร ประโยชนต์ ่อการวจิ กั ษ์
จึงจะสามารถอธบิ ายไดว้ ่า วจิ ัย วจิ ารย์ วรรณคดี
บทประพันธ์ มีขนบใน
วรรณคดีหรือไม่ และวรรณกรรมไทย

ประเมนิ ความ งใจ

เต็ม ๔ ให้ ๓ เพราะคนื วนั

อังคารนอนดึกเลยท ใหง้ ่วง

ตอนเรียนนิดหน่อย

้ึ ้ำำขตัปปพรรรรททกรทร็นนัำีืีืืืีืืีืีี่่่่่้่่่่่้้

๑๑

ขนบวรรณคดไี ทย ๒

(ตัวละครแบบฉบับในวรรณคดไี ทย)

นางเอกแบบฉบับในวรรณคดไี ทย

•มีรปู รา่ งและใบหนา้ งดงาม อีก ง
ยงั มีกริยามารยาทเรยี บรอ้ ยงดงาม
เฉลียวฉลาด ท งานบา้ นงานเรือน
เก่งและรกั เดยี ว เชน่
-นางรจนา
-นางสดี า
-นางบุษบา
-นางตะเภาทอง

พระเอกแบบฉบับในวรรณคดีไทย

•มยี ศถาบรรศัก เ นกษตั รยิ ร์ าชวงศ์
หรอื สบื เ อสายมาจากเทพ เทวดา เช่น
พระราม อเิ หนา

•มีรปู ร่างหนา้ ตาหล่อเหลา เชน่ ทา้ วแสน
ปม พระสังข์

•มคี วามกลา้ หาญ เก่งกาจวิชา มคี วาม
สามารถในการตอ่ สเู้ ช่น ไกรทอง
ขุนแผน

•เจ้าชู้ หลายเมีย เชน่ ขุนแผน พระอภัย
มณี ไกรทอง อเิ หนา

์ิ

้ั






ปช็ื้

๑๒

ตวั ละคร ายปฏิ กษ์ในวรรณดไี ทย

•ตวั ละคร ายปฏิ กษ์ เ นตัวละครต่อตา้ นตวั
ละครหลกั เ นตัวโกงหรอื ศรตั รูและยงั มาในรปู
แบบภัยคกุ คามหรืออุปสรรคส คญั ของตัวละคร
หลักท ใหเ้ อเ องน่าอ่านมาก น เช่น
-ทศกณั ฐ์ จากเ อง รามเกยี ร
-นางอา้ ย จากเ อง ปลาบทู่ อง

นางเอกนอกขนบ (หญงิ ร้าย) ในวรรณคดไี ทย

•เ นนางเอก สงั คมไมย่ อมรับจดั เ นนางเอก
ประเภทสวยเอก็ ซ์ คือ นอกจากสวยแล้วคงตอ้ งเซก็
มีเสน่หแ์ รงดว้ ย ถงึ มีชายเข้าหาอยู่เสมอ จึงท ให้มแี ต่
เ องฉาวคาวโลกยี ์ และถูกประณามหยามห นมาก

สุด เชน่
-นางวนั ทอง จากเ อง ขุนชา้ งขนุ แผน
-นางกากี จากเ อง กากี

พระเอกนอกขนบในวรรณคดไี ทย

•มนี ิสยั เจ้าเลห่ ์อกี งยงั ไรความสามารถ
ด้านการสู้รบ เชน่ พระ นทอง จากเ อง
แกว้ หนา้ มา้

่ ์่้ิิิึ ้
ปทต
ำมข
ัำ

ำปปปปฝปฝปรซรรทรทรรร็่็ั็็นั่ีืีืืืืืืีื่่่่่่่่่่้

ความรูส้ กึ ๑๓
นเตน้ กบั งานน เสนอของ
กล่มุ ตวั เองและสัปดาห์ กร็ ูส้ ึก ญหาอุปสรรค
เพลียๆนิดหน่อยเพราะใช้เวลา
นเต้นกับการน
นาน เสนอท ให้พดู ผดิ ๆ
ถูก
เ อง อยากรู้ต่อ
การน ไปประยุกต์ใช้
พระเอกนอกขนบมี
เกณฑจ์ แนกอยา่ งไร จ แนกไดว้ า่ ตวั ละครลักษณะ
ใหเชัดเจนกวา่
ใดควรจดั อยแู่ บบฉบับใด

ประเมินความ งใจ

เต็ม ๔ ให้ ๒ เพราะสปั ดาห์

รสู้ ึกวา่ เรียนนานและค่อนขา้ งจะ
เพลยี ๆ

ั้ำำำตปตตทรำำนนนำัืืีืีีี่่่่้้้

⛅ ๑๔

วรรณคดกี ับวิถีไทย ๑ (รามเกียร )

รามเกยี ร ในวิถีไทย (อดตี )

•ภาษาและส นวน เชน่ ลูกทรพมี า มรดกวรรณคดี มชี ีวิต

จากควาย อทรพี ไดฆ้ ่าพอ่ ของตน •เ นวรรณคดี อยูแ่ บบเฉยๆ
•ศลิ ปะแขนงต่างๆ เชน่ จติ รกรรมฝา แต่เ อมีคนร้จู ักกบั เ น น่า
ผนังตามวัดวาอาราม การแกะสลัก สนใจและได้น มาดัดแปลง พลิก
การ นตวั ละครตา่ งๆ แพลงให้เข้ากับยคุ สมัยใหม่ เชน่
•คตชิ นวทิ ยา เช่น เ องด้วยพระราม รามเกียร

ผู้คนเ อว่า คือ พระนารายณอ์ วตาร

อของพระรามจึงถือวา่ เ น อมงคล

และได้น มา งเ น อของกษัตริย์

หลายพระองค์ เชน่ พระรามาธบิ ดี รามเกียร ในวถิ ไี ทย ( จจบุ นั )

พระราเมศวร ฯลฯ

•ภาพยนต/์ ละครตา่ งๆ เชน่ ภาพยนต์

มรดกวรรณคดี เ อง ๙ ศาสตรา ละครเ องแกว้ กุมภัณฑ์
•ประตมิ ากรรม เชน่ ยักษว์ ดั แก้ว ยกั ษว์ ัด

•วรรณคดี ได้รบั การถ่ายทอด โพ จะ อวา่ ยกั ษเ์ น ายอธรรมถงึ แม้
จากรุ่นสู่รนุ่ งแตโ่ บราณจนถงึ จะมอี นาจมากแต่กแ็ พใ้ หก้ ยั ธรรมมะ
•ปรากฏใหเ้ หน็ ในงานออกแบบสนิ ค้า
จจบุ ันและยงั เ น รจู้ กั

และผลิตภณั ฑ์ตา่ งๆ
•ออกแบบชดุ ประกวดนางงาม เชน่ ชุด
ทศพักตรน์ ารศี รสี ยาม Mis

in c in l 2016

้์์์์์ัิิิิิ t
ตตตตตำ



ำser้ัต้oั
atnetnฝปปปปปปปปชชททมสทชทททชชรรทท่็็็็ำั็็ำนัทีืืืีืีีืืืีืืีีีื่่่่่่่่่่่่่่่่ี่่่

☁ ความรู้สึก ๑๕
สปั ดาห์ รูส้ กึ จะชิลลก์ ว่าทกุ
สปั ดาหเ์ พราะไมม่ กี ารน
เสนอกิจกรรมกลุ่มในคาบ
เรียนแตอ่ าจารย์ งงานใหน้ ญหาอุปสรรค
เสนอในสปั ดาห์ถดั ไป
สปั ดาห์ ถือว่าไม่มี
อุปสรรคในการเรยี น

เ อง อยากรตู้ ่อ การน ไปประยุกต์ใช้

การ น วรรณคดี มีชีวิตมา สามารถสังเกตและมองเห็น
ดัดแปลงพลกิ แพลงให้ ไดว้ ่าวรรณคดีไมใ่ ชเ่ องไกล
แปลกไปจากเดมิ มีผลท ให้
วรรณคดีเ อมหายไป ใน ตวั

อนาคตหรือไม่

ประเมินความ งใจ

เต็ม ๔ ให้ ๔ เพราะสัปดาห์ ค่อน

ข้างพร้อมและไมม่ ี ญหารบกวน



ต่ัำสั้ปปรททสรทำัำำนนนำัืีืีืีีีี่่่่่่้้้

๑๖

วรรณคดกี ับวิถไี ทย ๒

(แตล่ ะกลุม่ น เสนอ)

สัตว์ าหมิ พานตใ์ นวิถีไทย ขุนชา้ งขนุ แผนในวถิ ไี ทย

•ภาพยนตร์ : เ องครฑุ มหายุทธ •ส นวนสภุ าษิต : “นางวันทองสองใจ”
งไดน้ มาเปรียบเทยี บกับผูห้ ญิง
หิมพานต์
หลายใจใน จจบุ นั
•ละคร : เ องพิภพหิมพานต์ •รา้ นอาหารบางแห่งน อตัวละครมา
•ประตมิ ากรรมตกแต่งสถาน ศกั สทิ ธ์
เพราะเ อว่าสัตวห์ มิ พานต์เ นสัตว์ ง ออาหาร
วิเศษสามารถปก องจากภยั อันตรายได้ •น ตัวละครมาประยุกตท์ เ นของใช้
•ดดั แปลงให้เ นในรูปแบบของหนงั สือของฝากเ อสรา้ งยอดขาย
•ละคร ภาพยนต์ อนิเม นต่างๆ เช่น
☁เช่น หนงั สอื นิยาย การต์ นู ละครเ องวนั ทอง ภาพยนต์เ อง
ขุนแผน

วรรณคดกี บั เวทกี ารประกวดนางงาม

•ชดุ ประจ ชาติ ปรากฏในเวทปี ระกวดนางและเ ยวขอ้ งกบั
วรรณคดี เชน่
-ชุดอสรุ ี ศรสี มทุ ร งไดแ้ รงบันดาลใจจากนางผเี อสมทุ รจาก
เ องพระอภยั มณี
-ชุดไตรรงคอ์ นงค์นาถสพุ รรณมัจฉา ได้แรงบนั ดาลใจจากนาง
สพุ รรณมจั ฉาเ องรามเกียร
-ชุดล หบั ชมไพร ( The g ir ) ได้แรงบรรดาลใจจากนาง
ล หับเ องเงาะ า

-ชดุ ออกรบ แรงบันดาลใจจากนางสุวรรณมาลเี องพระอภัยมณี
-ชุดรจนารี แรงบันดาลใจจากนางรจนาเ องสงั ข์ทอง
่์์่ึิึิ ัำ
ซ่

ำlgelnujำ

ดตำ




ตั้



ปปปปปปปกรรรรทรทรชรพรสชทชรำำำ็้่็ั็่ำืืีืืืืืืืืืืีีีืื่่่่่่่่่่่้่่่่่่

วรรณคดีไทยใน The วรรณคดี ๑๗

•The วรรณคดีเ นรายการเรียลลิ มิวสคิ โชว์

ฤดกู าลพเิ ศษของ The k ge ตวั อยา่ ง

หนา้ กากในรายการ เช่น

-หนา้ กากมัจฉานุ จากเ อง รามเกยี ร

-หนา้ กากไกรทอง จากเ อง ชาละวนั

-หนา้ กากม้านิลมงั กร จากเ อง พระอภยั มณี

-หนา้ กากเวตาล จากเ องละครเวตาล

-หนา้ กากโสนนอ้ ยเรอื นงามจากเ อง โสนนอ้ ยเรือน

งาม

-หนา้ กากเมขลา ปรากฏในเ อง รามสรู พระมหาชนก

พระอภัยมณีในวิถีไทย

•ภาพยนต์/ละคร เชน่ เ องสดุ สาคร ละครเ องบุร
ปรมั ปรา
•รายการโทรทัศน์ : รายการศลิ สโมสร รายการคณุ
พระช่วย ราการเก่งจรงิ ชิงค่าเทอม
•บทเพลง : เพลงผีเ อสมทุ ร เพลงนางเงอื ก
•ประตมิ ากรรมในแหลง่ ทอ่ งเ ยว : รูป นพระอภยั มณี
นางเงือกและนางผเี อสมทุ ร หาดทรายแกว้
•งานออกแบบสร้างสรรค์ : น ตัวละครนางเงือกมา

ออกแบบชดุ ง อผลติ ภัณฑจ์ าก อพระอภัยมณี

้ ์ัิ
Ma้ัตs
kkmassinปr






sa

Mปปรรชรรรตรทสชสรรท์ำ็ืืืืืืืืีืืืีีื่่่่้่้่่่่่่่้

๑๘

ความรูส้ ึก ญหาอปุ สรรค
ฝนตกหนักไม่บางค งกไ็ ม่
ได้ยินเสยี งเ อนน เสนอ และ
บางช่วงสัญญาณอินเตอรเ์ นต็
มี ญหาท ให้ต้องหลดุ ออก
จากซูมบา้ ง

การน ไปประยุกต์ใช้

อาจเ นแรงบนั ดาลใจ ท ให้
รสู้ ึกเพลดิ เพลนิ กับการ
งเ อนในแตล่ ะกลมุ่ น

เสนอ

☁ เ อง อยากรูต้ ่อ
เกิดไอเดียสรา้ งสรรค์
การ จจบุ ันมีการน เ อเ อง เ ยวขอ้ งกับวรรณคดใี น
ของวรรณคดไี ปประยุกต์ อนาคต
ดัดแปลงจะท ใหเ้ อเ องเดมิ

เป ยนไปและสง่ ผลเสียต่อ

วรรณคดหี รือไม่

ประเมนิ ความ งใจ
เตม็ ๔ ให้ ๓ เพราะฝนตกท ให้
หงุดหงดิ บา้ งบางค ง ไม่ไดย้ ิน
เสยี งเ อนน เสนอแต่ก็
เพลิดเพลินกับการน เสนอของ
เ อนด้วย

ร้ำำั้ัรำตำ้ัฟปปปปกพททพททรพพรลทรัำำัำัำำ็นนัำืืีีืืีีีืืีีืืื่่่่่่่่่่่่่่้้

๑๙

บทบาทและคณุ คา่ ของวรรณคดไี ทย

๑.บทบาทของวรรณคดีไทย

เ นเค องบันเทงิ ใจ มีไว้ งสอน ใช้ประกอบการแสดง
-เ องเงาะ า -สภุ าษิตพระรว่ ง •ละครนอก
-เ องนารายรส์ ปิ าง -โคลงโลกนิติ •ละครใน
-บทละคร
มไี วส้ ง่ สาร เ นส่วนห งของพธิ กี รรมตา่ งๆ รามเกียร ,อเิ หนา,อุ
-ราชาธริ าช -ลิลิตโองการแช่ง ณรฑุ ,ดาหลัง
-สามกก๊ -หมาชาตคิ หลวง
-โคลนตดิ ลอ้ -ประชมุ กาพยเ์ หเ่ รือ

๒.คณุ คา่ ของวรรณคดไี ทย

•แสดงให้เหน็ ภาพของสังคมไทยในบางแง่
มมุ

•ช่วยยกระดับจติ ใจของผ้อู า่ น เชน่ เ อเ อง
ความดีความ วและกฏแหง่ กรรม

•แสดงใหเ้ ห็นภมู ิ ญญาทางภาษาและ
วัฒนธรรมไทย

์ ่ิึ




ตั


ำ่ส


นั



ปปปปนชรรรร็่ั็้ืืืืื่่่่่

การใชภ้ าพพจน์ ๒๐

•อปุ มา-เปรียบเทียบ
•อุปลกั ษณ-์ เปรยี บเทยี บ
ธรรมดา
•บุคลวตั -สมมตุ ิ ง ไม่มี
ชวี ิตใหม้ ีชีวติ
•เลยี นเสียงธรรมชาติ

๓.ศลิ ปะการประพันธ์ การเลน่ ค

ในวรรณคดีไทย •การเล่นค พอ้ ง
•การเล่นค
การเลน่ เสียง -น ค เดียวมาใช้ ๆเ อ

•เสียงสมั ผัสพเิ ศษไพเราะ ความหมายใหห้ นกั
กวา่ ปกติ แน่น
-เลน่ เสยี งพยญั ชนะ •การเลน่ ค เชิงถาม
-เล่นเสยี งสระ
-เลน่ เสยี งวรรณยุกต์

ความรสู้ กึ ⛈ญหาอปุ สรรค การน ไปประยุกตใ์ ช้

ฝนตกแรงมาก ใชเ้ นแนวทางการศกึ ษา

ชอบ งอาจารย์ ได้ยนิ เสียงอาจารย์ และท งานเ ยวกับ

บรรยายเพลินดี ไมช่ ดั เ นบางค ง วรรณคดตี ่อไป

เ อง อยากรู้ตอ่

ประเมนิ ความ งใจ

การเรียนเสยี งธรรมชาติ เตม็ ๔ ให้ ๔ เพราะ ง
จัดอยใู่ นบุคคลวตั หรอื อาจารย์บรรยายเ อง
ไม่
แลว้ เพลินท ให้ งใจ

่ิ ้ำ



สัตต




้ัร
ำำำ้ัำำ


ำำซซย้้้ฟปปฟปกรทพรท็ั็ัำนำัืีืีืีี่่่่่่้

๒๑

การศึกษาวรรณคดไี ทย

การอ่านวรรณคดีไทย การวจิ ักษ์วรรณคดี

๑.อา่ นเ อความเพลิดเพลนิ ความเข้าใจและตระหนกั
๒.อ่านเพราะเ นเ อง นชอบ ในคณุ ค่าของวรรณคดไี ด้
และเขา้ กับชวี ติ ของตน อยา่ งลกึ ง เกดิ ความรู้
๓.อา่ นเพราะเ นเ อง แปลกใหม่ ความคดิ มองเหน็ ความ
๔.อ่านเ อหาความรู้ สวยงามไพเราะของศิลปะ
๖.อา่ นเ อหาประสบการณ์ ทางภาษา
๗.อ่านเ อชมความงามของบท
ประพันธ์

จะเขา้ ใจและเข้าถึงวรรณคดไี ด้อยา่ งไร

๑.อ่านอย่าง ๔.พจิ ารณา ๕.พจิ ารณา
ละเอียด ภาพรวม องคป์ ระกอบ
ของเ อหา

๒.ศกึ ษา ๓.พิจารณา ๖.ตีความ
ขอ้ มลู นฐาน เ อหา
๗.พิจารณา
กลวธิ ี

้ึ




ปปพรพทพพรทชพ็็นนืีืืืืีืืืืื่่่่่้่่่่้้

๒๒

ประโยชนข์ องการวจิ กั ษ์วรรณคดี

•แยกแยะวรรณคดีได้

•เกดิ ความร้สู กึ ซาบ ง และเหน็ ความงาม
ของวรรณคดี

•มี นฐานในการประเมินคณุ คา่ หนังสอื

เชงิ ประวตั ิ

•ศึกษาการก เนิดวรรณคดี
•เหตกุ ารณ์ มีอิทธพิ ลกบั วรรณคดี

•ผูแ้ ต่ง

•ศกึ ษาประวตั วิ รรณคดี

แนวทางการศกึ ษาวรรณคดไี ทย

เชิงวเิ คราะหเ์ อหาและ เชิงเปรยี บเทยี บ
วรรณศลิ
•ข้ามชาติ-เปรียบเทียบภาษา
•วิเคราะห์เฉพาะเ อง •ขา้ มศาสตร-์ เปรยี บเทยี บ
•วิเคราะหเ์ ฉพาะบุคคล วรรณคดกี ับความเ อ
•วิเคราะหเ์ ฉพาะประเภท •ข้ามศลิ -เ อมโยง
วรรณกรรมและทัศนศิล

้ึ








ปปปชรพชท์์์นีืืืื้่่่่ื้

ความรสู้ ึก ๒๓
สนกุ กับการเล่นเกม ka
ญหาอปุ สรรค
และล้นุ กบั การสมุ่ เลข น เสนอ
สปั ดาห์ ถือวา่ การเรยี น
บทเพลง ราบ นไมม่ ี ญหา

เ อง อยากรู้ต่อ การน ไปประยุกต์ใช้
การวเิ คราะห์วรรณคดี
ท ให้เกดิ ประโยชนก์ ับ เ นแนวทางในการวจิ กั ษ์
ผู้อา่ นมากนอ้ ยแคไ่ หน วรรณคดตี ่อไป

ประเมินความ งใจ

เตม็ ๔ ให้ ๓ เพราะตอน
เ ยงกินขา้ วนิดหน่อยท ให้
รู้สกึ หวิ

ำตั้ำhtooปปปรททรทั็ำนำัีีืีืี่่่่่้

☀ ๒๔

น เสนอผลงาน ได้รับแรงบนั ดาลใจจากวรรณคดไี ทย

( ดคอรส์ )

กลมุ่ แรก กลุ่ม ๒ กลุม่ ๓
ผลงานคอื การ co
เพลง รกั ตดิ ไซเรน โดยมี ผลงาน คือ การออกแบบ ผลงาน คอื การน
การดดั แปลงเ อรอ้ ง ได้ ตัวละครเกม ro ในรปู พระเอกในวรรณคดมี า
รับแรงบันดาลใจจาก แบบใหม่ ได้รับแรง เปรยี บเทียบนิสยั กบั
วรรณคดีเ อง นางสิบสอง บรรดาลใจมาจากตัวละคร พระเอกซี ย์เกาหลใี นยุค

ในวรรณคดีและสตั ว์ า จจุบัน

หมิ พานต์

กลุ่ม ๔ กลมุ่ สดุ ทา้ ย

ผลงาน คือ แตง่ เพลงและ ผลงาน คอื คลิปการแต่ง
m ได้แรงบรรดาล หนา้ เป ยนลคุ จากนาง
ใจมาจากวรรณคดีเ อง แก้วหนา้ ม้าเ นนางมณี
มัทนพาทา รัตนา ได้แรงบรรดาใจ
จากวรรณคดเี อง แกว้
หนา้ ม้า

ความรู้สึก



ในสปั ดาห์สดุ ทา้ ย สนกุ และ นเตน้ มากๆในการน เสนอผลงาน

☀ต่างๆของเ อนๆแตล่ ะกลมุ่ และ เ นสัปดาห์ รูส้ กึ ดใี จ จะจบเทอมแลว้
แต่ก็รสู้ กึ ใจหาย สุด เ อรู้วา่ จะได้เรยี นกบั อาจารยเ์ นเทอมสุดทา้ ย
เหมือนกัน และก็เสียดายมากๆ ยงั ไมเ่ คยมโี อกาสได้เรียนกับอาจารย์ใน
ห้องเรยี นปกตแิ ต่ถงึ อยา่ งไรกด็ ใี จ มโี อกาสได้รจู้ ักและได้เรยี นกับอาจารย์
ในสัปดาห์ อาจารยไ์ ดใ้ หแ้ นวคดิ แนวปฏบิ ัตหิ ลายอย่าง จะสามารถน ไป
เ นแนวทางในการพฒั นาตนในอนาคต อาจารย์เ นแรงบนั ดาลใจของหนู
ในการพฒั นาตนและการเ นครู ดีและหนูจะน ความรู้ อาจารย์สอนไป
พัฒนาตนและถ่ายทอดให้กับลูกศิษย์ของหนูในอนาคตตอ่ ไปคะ่

e


vvr

v


ปปปปปปปปทททรลทรรรมทตททพททททททททปั่็ำำำำ็็็็็นนนทืีีีืืีีีีีีืีีีีืีืำีิีีื่่่่่่่่่ีี่่่่่่่่่่่่่่ี้้้่


Click to View FlipBook Version