The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การทำหนังสือ E Book (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 41432, 2022-07-11 04:07:13

การทำหนังสือ E Book (1)

การทำหนังสือ E Book (1)

การสรา้ ง E-book 1

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

การสรา้ ง E-book 2

สารบญั 3

1. ความสาคญั ของ E-book และหลักการออกแบบ 4
5
- E-Book มอี ะไรดี ? 9
- หลกั การออกแบบสงิ่ พมิ พ์ 15
- สี และการสอ่ื ความหมาย
- เลอื กใชต้ วั อกั ษรสาหรบั การออกแบบ 17

2. Program Microsoft PowerPoint 2013 18
22
- รจู้ ักกับพน้ื ทท่ี างาน PowerPoint 2013
- วิธีการสรา้ ง Slide Master 25

3. เคร่ืองมอื เสรมิ ใหง้ านออกแบบดหู น้าสนใจ 26
28
- Remove.bg ลบพ้นื หลบั อตั โนมตั ผิ า่ นเว็บ
- Application Snapseed สาหรับการรที ชั ภาพดว้ ยมอื ถอื 30

4. PubHTML5 อพั โหลดเอกสารธรรมดาใหเ้ ปน็ E-book ออนไลน์ 31
31
- คณุ สมบตั ิของ PUB HTML5
- วิธกี ารเขา้ ใช้งาน

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝา่ ยพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เว็บไซต์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี

การสรา้ ง E-book 3

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

E-Book มอี ะไรดี ? การสร้าง E-book 4

ยุคดิจิตัล เป็นยุคที่นักเขียน หรือคอลัมนิสต์ต้องปรับตวั เขา้ Social Media เปน็ การตลาดทเี่ ขา้ ถงึ งา่ ย
หาส่ือออนไลน์ และอิเล็กทรอนิกส์มากขึ้น ซ่ึงอาจจะเปล่ียน
จากการทางานส่งสานักพิมพ์ เพื่อตีพิมพ์ลงกระดาษ เน่ืองจากนกั เขียนหนา้ ใหม่ มกั มีปัญหากับการหาสปอนเซอร์
แบบเดิมๆ ตอนน้ีกลายเปน็ การทาสือ่ ทีเ่ รียกวา่ eBook ซ่ึงมี เพื่อสนับสนุนเงินลงทุนซื้อเน้ือที่โฆษณาราคาแพง แต่หาก
หลายช่องทางที่ทาให้นักเขียนหารายได้แบบออนไลน์ไดม้ าก เป็น E-Book การแชร์ผลงานของคุณจะง่ายข้ึน เน่ืองจากใน
ข้ึน โดยที่ไม่ต้องง้อสานักพิมพ์ หรือโรงพิมพ์แบบแต่ก่อน บางแอพพลิเคชั่นที่ให้บริการ E-Book มีการทา Referral
นอกจากประโยชน์ท่ีกล่าวมาข้างต้นแล้วยังมีประโยชน์ในอีก Linkหรือ “ลิ้งช่วยขาย” ให้คุณสามารถนาไปแปะในหน้า
หลายๆ ดา้ น ดงั นี้ เวบ็ ไซตต์ ่างๆ นอกจากนี้ ยงั สามารถแชร์เนอื้ หาบางส่วนจาก
หนังสือก็ยังทาได้ เพราะตัวแอพพลิเคชั่นรองรับ กรณีของ
รบั กาไรจากการขายไป 100% Ookbee เ อ ง จ ะ มี เ ม นู ก ด แ ช ร์ ห น้ า ห นั ง สื อ จ า ก ใ น
แอพพลิเคช่ันอยู่แล้ว ซึ่งจะแชร์ผลงานของคุณไปบน Social
แม้ว่าการตีพิมพ์งานเขียนกับสานักพิมพ์จะไม่ต้องเผชิญ Media ต่างๆ เช่น Facebook หรือ Twitter ท่ีจะช่วยดึงดูด
ความเส่ียงเรื่องการขาดทุน แต่ต้องแลกกับส่วนแบ่งรายได้ คนเขา้ มาดผู ลงานไดม้ ากขน้ึ โดยไมมีค่าใช้จา่ ย
น้อยนิดจากสานักพิมพ์เท่านั้น แต่ E-Book น้ันใช้ต้นทุน
เพียงเล็กน้อยเพียงมีไอเดียเจ๋งๆ ก็มีโอกาสได้รับกาไรท่มี าก E-Book แนบไฟล์วดิ โี อ และไฟลเ์ สียงได้!
ขึ้น หรืออาจจะเรียกได้ว่า 100% จากที่ลงแรงไป ส่ิงที่จะได้
กลบั มา มนั เป็นเงินของคุณคนเดยี ว! การนาส่ือผสมอ่ืนๆ มาใช้ในงานหนังสือของตนเองจะเป็น
การขยายตลาดให้เราได้ทางหน่ึง ด้วยการเพ่ิมลูกเลน่ แก้เซง็
ตน้ ทนุ ในการผลิตทต่ี ่าลง ให้กับคนอ่าน หากเปรียบเทียบกันระหว่างหนังสือท่ีมีแต่
ตัวหนังสือ กับหนังสือท่ีมีท้ังภาพ วิดีโอ หรือเสียง แบบไหน
สมัยก่อนหากต้องการจะทาหนังสือสักเล่ม คุณจะต้องสืบ นา่ สนใจกวา่ กันและในปัจจบุ นั เพยี งแค่คลิกก็ได้ฟังแลว้ โดยไม่
ราคาต้นทุนการพิมพ์หนังสือ และต้องยอมจ่ายต้นทุนการ ต้องเสียเวลาไปหาเคร่อื งเลน่
พิมพ์ รวมถึงค่าจัดส่งหนังสือให้กับลูกค้า หรือกระทั่งยอม
โดนหกั ค่าฝากขายในรา้ นหนังสือ แตเ่ มือ่ ก้าวเขา้ มาสูย่ ุคของ รายได้อ่ืนๆ ทเี่ ขา้ มาเพราะคุณเปน็ นักเขียน!
E-Book คุณไม่ต้องเสียค่าพิมพ์แม้แต่บาทเดียว ลูกค้า
สามารถซ้ือหนังสือคุณท้ังเล่มเพียงแค่กดคลิกเท่านั้น ไม่ บางคร้ังนักเขียนก็เหมือนดารา เม่ือแนวคิดของคุณได้รับ
ตอ้ งมีคา่ จดั สง่ ใดๆ และตอนนใ้ี นแอพพลิเคชนั่ อบี คุ๊ บางแห่งไม่ การยอมรบั ในวงกว้าง มีคนให้ความสนใจมากมาย ส่อื ต่างๆ
ทาการเก็บส่วนแบ่งรายได้แล้วเช่น Ookbee ดังน้ันคุณจะได้ ก็จะว่ิงเข้าหาคุณ เช่น นิตยสาร เว็บข่าว รายการทีวี ฯลฯ
รายได้จากการขายแบบเต็มๆ โดยไมต่ อ้ งลงทุนมาก และการได้รับเชิญไปร่วมงานต่างๆ นั้น คุณสามารถหา
รายได้จากส่งเหล่านี้ด้วย ซึ่งนับว่าเป็นผลพลอยได้จาก
ซื้องา่ ย ขายเรว็ ประหยดั เวลาทงั้ คนเขียน- ชอื่ เสียงท่ีน่าเยา้ ยวนใจ
คนอ่าน

สาหรับ E-Book เพียงคลิกและดาวน์โหลด ไม่นานก็ได้อ่าน
แลว้ ประหยัดเวลา ไม่ต้องรอคอย จงึ ไม่ต้องแปลกใจถ้าตลาด
E-Book ไทยจะขยายตัวรวดเร็ว เพราะสามารถอานวย
ความสะดวกใหก้ ับผู้ซอ้ื ท่ีไม่ชอบการรอนาน

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหน้าฝา่ ยพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี

การสร้าง E-book 5

เมือ่ เข้าสยู่ ุคดิจิตอล นกั อา่ นทุกคนคงไม่มีใครไม่รูจ้ กั E-Book หรือ E-Magazine ด้วยการพกพาท่ีสะดวก และสามารถเปิดอ่านได้
ในทุกอุปกรณ์พกพา ทั้ง แท็บเลต็ และ สมาร์ทโฟน

หลกั การออกแบบสิง่ พมิ พ์

ส่งิ พิมพท์ ีพ่ บเหน็ โดยทัว่ ไปประกอบด้วยองค์ประกอบสาคัญ เอกภาพและความกลมกลนื
หลายอยา่ ง ได้แก่ ตัวอกั ษร หรอื ขอ้ ความ ภาพประกอบ เน้อื (Unity & Harmony)
ที่ว่างและส่วนประกอบอื่นๆ การออกแบบส่ิงพิมพ์ต้อง
คานึงถึง การจัดวางองค์ประกอบต่างๆ ดังกล่าวเข้าไป เอกภาพคือความเป็นหนง่ึ เดียวกัน ซึ่งในการจดั ทาเลยเ์ อาท์
ด้วยกัน (Layout) หมายถึงการนาเอาองค์ประกอบท่ีแตกต่างกันมา
วางไว้ในพื้นที่หน้ากระดาษเดียวกันได้อย่างกลมกลืน
ทิศทางและการเคล่ือนไหว ทาหน้าท่ี สอดคล้องและส่งเสริมกันและกันในการส่ือสาร
(Direction & Movement) ความคิดรวบ ยอดและบุคลิกภาพของสื่อสิ่งพิมพ์น้ันๆ การ
สร้างเอกภาพนส้ี ามารถทาได้หลายวิธี เชน่
เมื่อผู้รับสารมองดูสื่อส่ิงพิมพ์ การรับรู้เกิดขึ้นเป็นลาดับ
ตามการมองเห็น กล่าวคือ เกิดขึ้นตามการกวาดสายตา 1. การเลือกใชอ้ งค์ประกอบทีม่ คี วามเท่ากัน
จากองค์ประกอบหนึ่งไปยังอีกองค์ประกอบหนึ่ง จึงมีความ เช่น การเลือกใช้แบบตัวอักษรเดียวกัน การเลือกใช้
จาเป็นอย่างย่ิงท่ีจะต้องมีการดาเนินการวางแผน กาหนด
และชักจูงสายตาของผู้รับสารให้เคลื่อนไหวไปทิศทางท่ี ภาพขาว-ดา ทง้ั หมด เปน็ ตน้
ถู ก ต้ อ ง ต า ม ล า ดั บ ข อ ง อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ ท่ี ต้ อ ง ก า ร ใ ห้ รั บ รู้
ก่อนหลังโดยท่ัวไปหากไม่มีการสร้างจุดเด่นข้ึนมา สายตา การเลือกใชอ้ งคป์ ระกอบทม่ี คี วามเทา่ กัน
ของผู้รับสารจะมองดูหน้ากระดาษที่เป็นสื่อพิมพ์ในทิศทาง www.pinterest.com
ของตัวอักษร “Z” คือการมองที่มุมบนด้านซ้าย ไปด้านขวา
แล้วไล่ระดับลงมาท่ีมุมล่างด้านซ้าย และไปจบที่มุมล่าง 2. การสรา้ งความต่อเนือ่ งกันให้องค์ประกอบ
ด้านขวาตามลาดับการจัดองค์ประกอบท่ีสอดคล้องกับ เช่น การจัดให้พาดหัววางทับลงบนภาพ การใช้
ธรรมชาติของการมองนี้เป็นส่วนช่วยให้เกิดการรับรู้
ตามลาดบั ทต่ี ้องการ ตวั อกั ษรที่เปน็ ข้อความ ล้อตามทรวดทรงของภาพ เป็นตน้

ทศิ ทางและการเคล่อื นไหว (Direction & Movement) การสร้างความตอ่ เนอื่ งกนั ใหอ้ งคป์ ระกอบ

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หน้าฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

การสรา้ ง E-book 6

3. การเว้นพ้นื ทวี่ า่ งรอบองค์ประกอบทง้ั หมด
ซ่ึงจะทาให้พื้นท่ีว่างน้ันทาหน้าที่เหมือนกรอบสีขาวล้อมรอบองค์ประกอบท้ังหมดไว้ภายใน ช่วยให้องค์ประกอบท้ังหมด

ดเู หมือนวา่ อยดู่ ว้ ยกันเปน็ กลมุ่ ก้อน

การเว้นพื้นทว่ี ่างรอบองค์ประกอบทง้ั หมด จาก https://khaodesign.com

ความสมดลุ (Balance)

หลักการเรื่องความสมดุลน้ีเป็นการตอบสนองธรรมชาติ ของผู้รับสารในเรื่องของแรงโน้มถ่วง โดยการจัดวางองค์ ประกอบ
ท้ังหมดในพนื้ ทีห่ น้ากระดาษ จะตอ้ งไมข่ ดั กบั ความรสู้ ึกนี้ คอื จะตอ้ งไม่ดเู อนเอยี งหรือหนักไปดา้ นใด ดา้ นหนึง่ โดยไมม่ อี งค์ประกอบ
มาถ่วงในอกี ด้าน การจดั องค์ประกอบให้เกิดความสมดลุ แบ่งได้ 3 ลักษณะคอื
1. สมดุลแบบสมมาตร (Symmetrical Balance) 2. สมดุลแบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance)
เป็นการจัดวางองค์ประกอบโดยให้องค์ประกอบใน เป็นการจัดวางองค์ประกอบโดยให้องค์ประกอบใน
ด้านซ้ายและด้านขวาของพื้นท่ีหน้ากระดาษมีลักษณะ ด้านซ้ายและด้านขวาของพื้นท่ีหน้ากระดาษมีลักษณะไม่
เหมือนกนั สองขา้ ง ซงึ่ องค์ประกอบท่ีเหมอื นกันทง้ั สองด้านนี้ เหมือนกันทั้ง 2 ข้าง แม้องค์ประกอบจะไม่เหมือนกันในแต่ละ
จะถ่วงนา้ หนกั กนั และกันใหเ้ กิดความรูส้ ึกสมดลุ ด้าน จะถ่วงนา้ หนักกนั ให้เกิดความสมดุล

สมดลุ แบบอสมมาตร (Asymmetrical Balance)

E-book สมดลุ แบบสมมาตร (Symmetrical Balance)
โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช

หัวหนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

3. สมดุลแบบรัศมี (Radial Balance) การสร้าง E-book 7
เป็นการจัดองค์ประกอบโดยให้มีการกระจายหรือ
สดั สว่ น (Proportion)
การรวมตัวอยู่ท่ีจุดกลาง นิยมใช้ออกแบบลวดลายต่าง ๆ
อาทเิ ช่น ลายดาวเพดาน และเครือ่ งหมายการคา้ การกาหนดสัดส่วนน้ีเป็นการกาหนดความสัมพันธ์ในเรื่อง
ของขนาด ซึ่งมีความสาคัญโดยเฉพาะในหน้ากระดาษของ
ส่ิงพิมพ์ที่ต้องการให้มีจุดเด่น เช่น หน้าปกหนังสือเป็นต้น
เพราะองค์ประกอบท้ังหมดในสัดส่วนท่ีใกล้เคียงกันในการ
กาหนดสัดส่วนจึงต้องพิจารณาองค์ประกอบทั้งหมด
ในพ้ืนที่หน้ากระดาษไปพร้อมๆ กันว่าควรจะเพ่ิมหรือลด
องค์ประกอบใด ไมใ่ ชค่ อ่ ยๆ ทาไปทลี ะองค์ประกอบ

สมดลุ แบบรศั มี (Radial Balance) www.freepik.com

เทคนคิ การแบง่ สาม ใชเ้ ทคนคิ แบ่งสาม ซ่งึ กาหนดใหเ้ กิดจุด สร้างจดุ สนใจด้วยการเน้นสดั สว่ น (Proportion)
แห่งความสนใจ 4 จุดในภาพซึ่งสามารถเลือกได้ตามความ www.maxpointhridoy.com
เหมาะสม
ความแตกตา่ ง (Contrast)
กฎ 3 ส่วน และจดุ ตดั 9 ชอ่ ง
เป็นวิธีการที่ง่ายที่สุด โดยการเน้นองค์ประกอบใด
การจัดวางตาแหน่งหลักของภาพถ่าย เป็นองค์ประกอบหนึ่ง องค์ประกอบหน่ีง เด่นข้ึนมาด้วยการเพิ่ม ขนาดให้ใหญ่กว่า
ที่สามารถทาให้เกดิ ผลทางดา้ นแนวความคิด และความรู้สกึ องค์ประกอบอื่นๆ โดยรอบ เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ เป็นต้น
ได้ การวางตาแหน่งที่เหมาะสมของจุดสนใจในภาพ เป็นอีก ซึ่งโดยธรรมชาติแล้วผู้ดูจะเลือกดูองค์ประกอบที่ใหญ่กว่า
ส่ิงหน่งึ ท่สี าคัญ และท่ีนยิ มกนั โดยทัว่ ไปคือ กฎสามส่วน กอ่ น
กฎสามส่วนกลา่ วไว้ว่า ไม่ว่าภาพจะอยู่แนวตั้งหรือแนวนอน
ก็ตาม หากเราแบ่งภาพน้นั ออกเป็นสามส่วน ทั้งตามแนวต้งั 1. ความแตกต่างโดยขนาด
และแนวนอน แล้วลากเส้นแบ่งภาพท้ังสามเส้น จะเกิดจุดตัด สามารถทาไดง้ า่ ยโดยการเน้นใหอ้ งคป์ ระกอบหน่งึ เด่นข้ึนมา
กันทั้งหมด 4 จุด ซึ่งจุดตัดของเส้นทั้งส่ีนี้ เป็นตาแหน่งที่ ด้วยการเพ่ิมขนาดให้ใหญ่กว่าองค์ประกอบอ่ืนๆ โดยรอบ
เหมาะสมสาหรับการจดั วางวัตถทุ ีต่ ้องการเนน้ ให้เปน็ จุดเด่น เช่น พาดหัวขนาดใหญ่ เป็นต้น โดยธรรมชาติแล้วผู้ดูจะ
หลัก ส่วนรายละเอียดอ่ืนๆ น้ัน เป็นส่วนสาคัญที่รองลงมา เลอื กดู องค์ประกอบท่ใี หญ่กวา่ กอ่ น
การจัดวางตาแหน่งจุดเด่นหลักไม่จาเป็นจะต้องจากัดมาก
นกั อาจถือเอาบรเิ วณใกล้เคียงท้งั ส่จี ดุ น้ี

กฎ 3 ส่วน และจดุ ตดั 9 ช่อง

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝา่ ยพัฒนาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี

การสรา้ ง E-book 8

ย่อหน้าท่ีต้องการ เน้น เพียงย่อหน้าเดียวในหน้ากระดาษ
เป็นตน้

ความแตกตา่ งโดยขนาด ความแตกต่างโดยความเขม้
2. ความแตกตา่ งโดยรูปรา่ ง 4. ความแตกต่างโดยทิศทาง
เป็นวิธีที่เน้นใหอ้ งค์ประกอบหน่งึ เด่นข้ึนมาดว้ ยการใช้รปู ร่าง ทิศทางเป็นวิธีทเี่ น้นให้องค์ประกอบหน่ึง เด่นขึ้นมาด้วยการ
ที่แตกต่างออกไปจากองค์ประกอบอื่นในกระดาษ เช่น การ วางองค์ประกอบที่ต้องการจะเน้นนั้นให้อยู่ในทิศทางท่ี
ไดคัต ภาพคนตามรูปร่างของร่างกายแล้วนาไปวางใน แตกต่าง จากองค์ประกอบอนื่ ๆ ที่อยู่ร่วมกันในหน้ากระดาษ
หน้ากระดาษ ท่ีมีภาพแทรกเล็กๆ ที่อยู่ในกรอบส่ีเหลี่ยม เช่น การ วางภาพเอียง 45 องศา ในหน้ากระดาษท่ีเต็มไป
เป็นต้น ด้วยตวั อกั ษร ท่ีเรยี ง เป็นแนวนอน เปน็ ต้น

ความแตกต่างโดยรปู รา่ ง ความแตกต่างโดยทศิ ทาง

3. ความแตกตา่ งโดยความเขม้
เป็นวิธีท่ีเน้นให้องค์ประกอบใดองค์ประกอบหน่ึงเด่นข้ึนมา
ด้ ว ย ก า ร ใ ช้ เ พิ่ ม ห รื อ ล ด ค ว า ม เ ข้ ม ห รื อ น้ า ห นั ก ข อ ง
องค์ประกอบ นั้นให้เข้มหรืออ่อนกว่าองค์ประกอบอื่นท่ีอยู่
ร่วมกันในหน้า กระดาษ เช่น การใช้ตัวอกั ษรท่ีเปน็ ตัวหนาใน

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

การสร้าง E-book 9

จังหวะ ลลี า และการซา้ สี และการส่อื ความหมาย
(Rhythm & Repetition)
สีของงานกราฟิก ถือเป็นหัวใจหลักสาคัญเลยก็ว่าได้ เพราะ
การจัดวางองค์ประกอบหลายๆ ชิ้น โดยกาหนดตาแหน่ง ก า ร เ ลื อ ก ใ ช้ สี จ ะ แ ส ด ง ถึ ง อ า ร ม ณ์ ท่ี ต้ อ ง ก า ร ไ ด้ ชั ด เ จ น
ขององค์ประกอบให้เกิดมีช่องว่างเป็นช่วงๆ ตอนๆ อย่างมี มากกว่าส่วนประกอบอื่น ๆ ท้ังหมด เช่น สีโทนร้อน สาหรับ
การ วางแผนล่วงหน้า จะทาให้เกิดจังหวะและลีลาขึ้น และหา งานที่ต้องการความต่ืนเต้น ท้าทาย หรือสีโทนเย็นสาหรับ
กว่า องค์ประกอบหลายๆ ช้ินน้ันมีลักษณะซ้ากันหรือ งานตอ้ งการใหด้ สู ภุ าพ สบาย ๆ
ใกล้เคียงกัน ก็จะย่ิงเป็นการเน้นให้เกิดจังหวะและลีลา ได้ ทฤษฎีสีเป้นเร่ืองท่ีไม่อาจมองข้ามได้ ถ้าอยากจะถ่ายภาพ
ชัดเจนยิ่งขึ้น ลักษณะตรงกันข้ามกับแบบแรก จังหวะและลลี า ออกมาให้สวย สีมีโครงสร้างเเละลักษณะทางกายภาพท่ี
ลักษณะน้ี จะก่อให้เกิดความรู้สึกที่ต่ืนเต้นดูเคลื่อนไหวและมี เเตกต่างกัน การรู้จักผสมสี มองสี ก็จะกาหนดภาพถ่าย
พลงั ท่ีออกมาได้ ทาใจให้คุ้นชินกับการใช้สี เเล้วผลลัพท์ของภาพ
ท่ีออกมาจะมีการเปลี่ยนเเปลง ไปในทางท่ีดี นอกจากน้ี
จงั หวะ ลีลา และการซ้า (Rhythm & Repetition) อารมณข์ องภาพกจ็ ะเด่นข้ึนมาอกี ด้วย

50 เทคนคิ การออกแบบกราฟฟกิ ความสมั พนั ธ์ของสี

ที่มา khaodesign.com สีมีความสัมพันธ์กันอย่างไรล่ะ เมื่อลองดูในวงจรสี (หรือจะ
เรียกวา่ วงล้อสีก็ได้)

สามารถเข้าไปศึกษาและดูรายละเอียดเพิ่มเติมพร้อม www.photoschoolthailand.com
ตัวอย่างการออกแบบได้จากเว็บไซต์ ประกอบด้วย 4 ตอน
สามารถเขา้ ดูไดจ้ ากลิงกด์ งั น้ี

เว็บไซต์ khaodesign.com สีขั้นท่ี 1 แมส่ ี (PRIMARY COLORS)
PART 1 https://qrgo.page.link/pf5WX คือสีที่เม่อื ผสมกันเเล้ว จะได้สีอ่นื อีก กลุ่มน้ีคือสี แดง เหลือง
นา้ เงนิ
PART 2 https://qrgo.page.link/QF3T4 สขี น้ั ท่ี 2 (SECONDARY COLORS)
PART 3 https://qrgo.page.link/cM92u คือสีท่ีเกิดจากการผสมกันของสีข้ันที่ 1 เช่น สีม่วง สีส้ม
PART 4 https://qrgo.page.link/1XC4t สเี ขียว
สขี ัน้ ท่ี 3 (TERTIARY COLORS)
คือสีท่ีเกิดจากการผสมสขี ั้นท่ี 1 และขั้นที่ 2 เข้าด้วยกัน เช่น
สี เเด งส้ ม ( vermilion) เหลื อ งส้ ม ( amber) แ ด งม่ ว ง
(magenta) นา้ เงินมว่ ง (violet) น้าเงินเขยี ว (teal) เหลอื งเขยี ว
(chartreuse)

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหน้าฝา่ ยพัฒนาและเผยแพร่ขอ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุรี

ความหมายของสี การสร้าง E-book 10

นอกจากแต่ละสีจะสร้างความรู้สึกด้วยตนเองแล้ว เม่ือนา สีที่อยใู่ นวรรณะเย็น (Cool Tone Color)
มาใช้ร่วมกันเรายังสามารถแบ่งสีออกเป็น 2 วรรณะ ได้แก่ สีน้าเงิน สีเขียว สีฟ้า สีกลุ่มนี้เมือ่ ใช้งานจะได้
เพ่ือสร้างอารมณ์ที่แตกต่างกันออกไปเม่ือใช้งานร่วมกันได้
อีกคือ ความรสู้ กึ สดชนื่ เย็นสบาย ผอ่ นคลาย

ใช้โทนสรี อ้ นเพอื่ ใหภ้ าพดอู บอ่นุ

เชน่ กลมุ่ สีโทนส้ม เเดง เหลอื ง และสนี า้ ตาล เเละเม่อื ประกอบ
กับภาพของเเสงอาทติ ย์ สโี ทนรอ้ น กจ็ ะย่งิ กระตุ้น ความรสู้ ึก
อบอุ่น ได้สมจริงมากข้ึน ส่วนมากสีโทนน้ีจะถูกใช้ในการ
เเต่งภาพท่ีเปน็ ช่วง Golden hour
สีที่อยูใ่ นวรรณะร้อน (Warm Tone Color)

ได้แก่ สีแดง สีส้ม ให้ความรู้สึกอบอุ่น ร้อนแรง
สนุกสนาน รวดเร็ว เร่งรบี

สที อี่ ยใู่ นวรรณะเยน็

ใช้โทนสกี ลาง เปน็ ไดท้ งั้ สีร้อนและเยน็

สที อี่ ยู่ในวรรณะกลาง
ไดแ้ ก่ สที ่สี ามารถเปน็ ได้ทง้ั วรรณะร้อนและเยน็ ไดแ้ ก่สเี หลือง
และม่วง เมื่อสีวรรณะกลางอยู่กับสีวรรณะใดจะกลายเป็นสี
วรรณะน้ัน ๆ การใช้สีเพิ่มความโดดเดน่ ให้กับจดุ เด่นในภาพ
และใช้สีตกแต่งส่วนอื่น ๆ ของภาพให้ได้ภาพรวมออกมาใน
อารมณ์

ตวั อย่างงานออกแบบสที อ่ี ยใู่ นวรรณะร้อน

ใช้โทนสีเยน็ เพอื่ ภาพจะดูสบายตา ตวั อยา่ งงานออกแบบสที อี่ ยใู่ นวรรณะกลาง

กล่มุ สโี ทนเยน็ เช่น สเี ขยี ว สฟี ้า นา้ เงิน จะใหค้ วามรูส้ ึก
สบาย ผ่อนคลาย สโี ทนนจี้ ะเกดิ ขน้ึ ก่อนดวงอาทติ ย์ขนึ้ เเละ
หลังดวงอาทติ ย์ตก หรอื ขว่ งท่เี รยี กวา่ Blue hour นน่ั เอง
นอกจากนี้ ภาพสโี ทนเยน็ กบั ภาพทวิ ทศั นท์ เี่ เสดงออกถงึ
ความเยน็ เขา่ ภูเขาทมี่ ีนา้ เเข็งปกคลมุ บางสว่ น จะย่ิงกระตนุ้
ให้คนดู ได้รู้สึก เเละสมั ผัสไดถ้ งึ ความหนาวเยน็ และเงยี บสงบ

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหนา้ ฝา่ ยพัฒนาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี

อ่านอารมณ์เเละใช้สใี ห้เขา้ กับอารมณ์งาน การสร้าง E-book 11

สีเเละอารมณ์ เป็นส่ิงที่เชื่อมโยงกันอย่างตัดไม่ขาด ใช่สีคู่ตรงข้าม จะทาให้ภาพสะดุดอย่างมาก สร้างความรสู้ กึ
ในภาพถ่าย คนท่ีมองภาพ จะมีความรู้สึกร่วมกับภาพ เเละ เปน็ เอกลักษณใ์ นการอย่เู คียงคกู่ ัน
ย่ิงช่างภาพสามาถสร้างความน่าสนใจ เเละมีการลงนา้ หนกั สที ่ีตดั กนั หรือสตี รงกันขา้ ม
ทอี่ ารมณ์ โดยเพิ่มการใช้สเี ข้าไปกระตนุ้ อกี ดว้ ยเเล้ว ภาพน้ัน สีที่ตัดกันหรือสีตรงกันข้าม เป็นสีท่ีอย่ตู รงข้ามกันในวงจรสี
จะเปน็ ภาพที่เรียกไดเ้ ลยวา่ มีอทิ ธิพลกบั จติ ใจของคนดู และสี เช่น สีน้าเงินตรงข้ามกับสีแดงและสีเหลือง หรือสีแดงจะตรง
ก็ยังเป็นการส่ือถึงระยะเวลาด้วย เช่น ภาพที่ถ่ายนน้ั เกิดข้ึน ข้ามกับสีเขียว ควรใช้สีใดสหี นง่ึ จานวน 80% และเลอื กใชส้ ีคู่
ในช่วงเวลาไน ฤดูอะไรที่ต้องการ เทคนิคการเลือกใช้สีแบบ ตรงกันขา้ งเพียง 20% หรือ 70-30 โดยประมาณ บนพื้นท่ี
สตู รสาเร็จจะมีอยหู่ ลายรูปแบบ ของงานโดยรวม จะทาให้ช้ินงานเกิดเป็นจุดเด่น เม่ือนามา
รวมกันจะทาให้สีทงั้ สองนนั้ เด่นชัดมากขน้ึ

การใช้สคี ู่ตรงขา้ ม ตัวอยา่ งสีคู่ตรงกนั ขา้ ม หาดทรายสีนา้ ตาลเเดงกับน้าทะเสสฟี ้า
(COMPLEMENTARY COLORS)

สีท่ีอยู่ตรงข้ามกันบนวงจรสี เป็นสีที่มีค่าสีตัดกันอย่าง
ชัดเจน โดยสีคู่น้ีจะให้ความรู้สึกรุนแรง จัดจ้าน ฉูดฉาด การ

การใชส้ ีแบบสที ต่ี ัดกันหรอื สีตรงกนั ข้าม เหลอื งสม้ -นา้ เงินมว่ ง

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหนา้ ฝ่ายพัฒนาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

การสรา้ ง E-book 12

การแยกคสู่ ที อี่ ยู่ตดิ กับสคี ู่ตรงกันขา้ ม
(SPLIT COMPLEMENTARY COLORS)

เพอ่ื ไม่ใหห้ ลุดจากความกลลมกลืนตามคอนเซปต์สีเป็นการ
ใช้สีท่ีไปในโทนเดียวกันทั้งหมด เช่น จุดเด่นเป็นสีน้าเงิน สี
ส่วนท่ีเหลือก็จะเป็นสีท่ีใกล้เคียงกับน้าเงิน โดยใช้วิธีลด
น้าหนกั ความเข้มของสีน้าเงนิ ลงไป

การใช้สีที่สองสีที่อยู่ติดกับสีคู่ตรงข้าม ก็เป็นการใช้
ความสัมพันธ์ของสีท่ีน่าสนใจ เช่น ในภาพที่มีสีแดงส้ม สี
เขียว เเละสีน้าเงิน อยู่ด้วยกัน จะสร้างความเเตกต่าง เเละ
ความฉูดฉาดมากข้ึน เเต่ก็ให้ภาพที่ดูน่าสนใจมากกว่าภาพ
ทใ่ี ช่คู่สีตรงขา้ ม

ตวั อย่าง SPLIT COMPLEMENTARY COLORS ภาพการใช้สแี บบโทนเดยี วกนั ใกลเ้ คยี งกนั

การใช้สที ใ่ี กลเ้ คียงกนั
(ANALOG COLORS)

สีทใี่ กลเ้ คยี งกัน คอื สที ีอ่ ยูเ่ รยี งตดิ กันในวงจรสี จะสร้างความ
กลมกลืนขึ้นในภาพ ในการถ่ายภาพทิวทัศน์ ลองจัดภาพ
ให้มีสีใกล้เคียงกัน ลองมองวิว เเล้วเอามาเทียบกับวงจรสี
เ เ ล้ ว จ ะ จิ น ต น า ก า ร ไ ด้ ว่ า ภ า พ จ ะ อ อ ก ม า ใ น ลั ก ษ ณ ะ ไ หน
รวมท้ังการเเตง่ ภาพหลงั จากนั้น จะได้กาหนดทศิ ทางสีได้ว่า
จะต้องเเตง่ ภาพให้ออกมาเปน็ สอี ะไรบา้ ง

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหน้าฝา่ ยพัฒนาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

การสร้าง E-book 13

การเลอื กใชโ้ ครงสีสามเหลย่ี ม (TRIAD COLORS)

คือการใช้สีสามสีท่ีอยูห่ ่างกันโดยจะอยู่ที่มมุ ของสามเหลี่ยมเเต่ละมุม เช่น เม่ือเลือกสีเเดง สีเหลือง เเละสีฟ้า ก็จะถูกจัดว่าเป็นกลมุ่
เดียวกนั ในการถา่ ยภาพทิวทศั น์ กล่มุ สามสกี ก็ ระตนุ้ ความนา่ สนใจของภาพ รวมทงั้ เป็นการสร้างมติ ิให้กับภาพอีกด้วย

ภาพตวั อยา่ งการใชโ้ ครงสีสามเหลีย่ ม (TRIAD COLORS)

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหนา้ ฝา่ ยพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

สกี ับการสอื่ อารมณ์ การสรา้ ง E-book 14

สีนา้ เงิน เป็นสีเเห่งความสงบ โล่ง กว้าง เมื่อมีการใช้สีน้าเงิน สีเขียว เป็นสีท่ีพบเป็นปกติในการถ่ายภาพทิวทัศน์ สีเขียว
ลงในภาพ จะให้รู้สกึ ถงึ พนื้ ท่กี วา้ ง มพี น้ื ท่ีในภาพ ใหค้ วามรู้สึกถึงความมีชีวติ ชวี า สงบร่มเยน็

สีเทา กระตุ้นให้รู้สึกถึง สายฝน น้า ไอหมอก ก้อนเมฆ เเละ สีแดง เก่ียวข้องกบั ความโกรธ ความปรารถนา ความรัก พบ
ท้องฟ้า นอกจากน้ี สีเทาก็ส่ือได้ค่อนข้างหลากหลาย เช่น โทนสีนี้ในธรรมชาติ เช่น ดวงอาทิตย์ตก ดอกไม้ เเละสีของ
สมั ผสั ไดถ้ งึ ความเยอื กเยน็ และความรุนเเรง ฤดูใบไมร้ ว่ ง

สีม่วง ให้ความรู้สึกผ่อนคลาย อาจจะไม่ค่อยพบใน สีสม้ พบบอ่ ยครง้ั เม่อื ถ่ายภาพดวงอาทิตย์ตก เป็นสโี ทนอุน่
ธรรมชาติ สีม่วงกลายเป็นสที เี่ เสดงถึงสญั ลกั ษณเ์ เห่งความ ให้ความรู้สึก สนุกสนาน เบิกบาน ความสุข เเละความ
งาม เเละความแปลกใหม่ หลงไหล

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

สีน้าตาล เป็นสีของพื้นดิน (Earth tone) เป็นสีท่ีใช้เม่ือจะสื่อ การสร้าง E-book 15
ถึงสภาวะของสงิ่ เเวดลอ้ ม
สีเหลอื ง พบมากกับทวิ ทศั นท์ ่ีมีดอกไม้ ทะเลทราย เเละใบไม้
ในฤดูใบไม้รว่ ง ถกู ใช้เพอ่ื กระต้นุ ความสุข พลงั งาน

การใช้ทฤษฎีสี ต้องคานึงอยู่เสมอว่า จะใช้สีน้ีในภาพ “ทาไม” เเละ “อย่างไร” การเข้าใจพื้นฐานของสีทาให้การถ่ายภาพส่ือ
ถงึ อารมณ์ เเละชี้นาเพ่ือให้รูส้ กึ ในส่ิงท่ีเราตอ้ งการจะนาเสนอได้อย่างมีประสิทธิภาพ

เลอื กใช้ตัวอกั ษรสาหรบั การออกแบบ

Text Colors การเลือก Font ไปใช้ในงานออกแบบมีข้อควรคานึงง่าย ๆ
อยู่ 2 ขอ้ คอื
การเลอื กใช้สีท่ีเหมือนใกลเ้ คยี งกันมากจนเกนิ ไปจะทาให้การ
อ่านตัวอักษรได้อยาก ดังน้ันในการเลือกใช้สีตัวอักษรและสี 1. ความหมายต้องเข้ากัน หมายความว่า ความหมาย
ของพ้ืนหลังควรมีสีที่ตัดกันชัดเจนเพื่อให้ผู้อ่านสามารถ ของคาและ Font ท่ีเลือกใช้ควรจะไปด้วยกันได้ เช่น คาว่า
อ่านตัวอักษรไดอ้ ยากสะดวก น่ารักก็ควรจะใช้ Font ท่ีดูน่ารักไปด้วย ไม่ควรใช้ Font ที่ดู
วิธีเลือก Font ไปใชใ้ นงานออกแบบ เป็นทางการดงั ภาพตวั อยา่ ง

2. อารมณ์ของฟอนต์ และอารมณ์ของงานต้องไปใน
ทิศทางเดียวกัน เช่น งานที่ต้องการความน่าเชื่อถือก็จะ
เลือกใช้ Font แบบ Serif ท่ีดูหนักแน่น น่าเช่ือถือ ส่วนงานที่
ต้องการความฉูดฉาดอย่างโปสเตอร์ลดราคาก็ควรจะ
เลอื กใช้ Font ทเี่ ปน็ กนั เองไมเ่ ป็นทางการมากนักอย่าง Font
ในกล่มุ Script เปน็ ต้น

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝา่ ยพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

นอกจากการเลือก Font มาใช้งานแล้ว การวางตาแหน่ง การสร้าง E-book 16
ตัวอักษรก็เป็นอีกเร่ืองหน่ึงที่มีความสาคัญกับการทางาน
สาหรับการวางตาแหน่งตัวอักษร มีข้อควรคานึงถึงไว้ให้อยู่ 2. จุดเด่นควรจะมีเพียงจุดเดียว หรือพูดง่าย ๆ ก็คือ
3 ข้อคือ มีตัวอักษรตัวใหญ่ๆ อยู่เพียงชุดเดียว จึงจะเป็นจุดเด่นที่
มองเหน็ ได้ง่าย ไมส่ บั สน ส่วนจุดอืน่ ๆ ขนาดควรจะเล็กลงมา
1. ธรรมชาติการอ่านของคนไทยจะอ่านจากซ้ายไปขวา ตามลาดบั ความสาคัญ
และบนลงลา่ ง โดยมีรศั มกี ารกวาดสายตาตามลาดับ ดังนน้ั
ถ้าอยากใหอ้ ่านงา่ ย ควรจะวางเรียงลาดบั ให้ดดี ว้ ย ไมเ่ ชน่ น้นั 3. ไม่ควรใช้ Font หลากหลายรูปแบบเกินไป จะทาให้
จะเป็นการอ่านข้ามไปข้ามมาทาให้เสียความหมายของ กลายเป็นงานที่อ่านยากและชวนปวดศรีษะมากกว่าชวน
ขอ้ ความไป อา่ น ถา้ จาเปน็ จริง ๆ แนะนาให้ใช้ Font เดิมแต่ไม่ตกแต่งพวก
ขนาด, ความหนาหรือกาหนดให้เอียงบ้าง เพ่ือเพิ่มความ
น่าสนใจไม่ใหง้ านดูนา่ เบอื่ แบบนี้จะดีกว่า

ตวั อย่างการใช้ Font ในงานออกแบบ

ไมม่ หี วั มหี วั

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

การสร้าง E-book 17

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหนา้ ฝา่ ยพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

การสร้าง E-book 18

รู้จักกับพน้ื ท่ีทางาน PowerPoint 2013

เม่ือเปิดโปรแกรม PowerPoint 2013 ครง้ั แรก โปรแกรมจะใหเ้ ลือกวา่ ตอ้ งการสร้างงานนาเสนอแบบไหน ซง่ี จะมใี หเ้ ลอื กแบบ
ว่างเปลา่ แบบสไลด์เอาไวแ้ ละพรเี ซนตแ์ บบธีม (Theme) ทอ่ี อกแบบโครงสรา้ งฐานของสไลด์ไว้ เชน่ ภาพกราฟฟกิ พนื้ หลัง ชุดสขี อง
องคป์ ระกอบ รูปแบบขอ้ ความ และการจดั วางเนอื้ หา ซึ่งสามารถนาเนอ้ื หาใสไ่ ด้เลย

หนา้ ตา่ งโปรแกรม PowerPoint 2013

1. เร่ิมต้นการใช้งานโปรแกรม โดยคลิกปุ่ม Start คลิก All Programs เลือก Microsoft Office 2013 > Microsoft
PowerPoint 2013 จะเข้าสู่หน้าจอหลักการทางานโปรแกรม Microsoft PowerPoint 2013 หรือคลิกปุ่ม Start > Windows
จากนั้นพิมพ์ข้อความ ในช่องค้นหาในช่อง Search program and file พิมพ์ Pow ก็จะปรากฏรายการโปรแกรม PowerPoint ให้
คลกิ เลือกโปรแกรมดงั กลา่ ว เมอ่ื เปิดโปรแกรมไดแ้ ลว้ จะพบกับหน้าต่างการสรา้ งสไลดใ์ หม่ดังน้ี

คลกิ เลอื กโปรแกรม
“PowerPoint 2013”

3 2 พมิ พช์ ่อื โปรแกรม “Power”

1

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

การสรา้ ง E-book 19

2. เบอ้ื งตน้ ให้ท่านสรา้ งสไลด์เรมิ่ ตน้ แบบวา่ งเปลา่

เลือกการสรา้ งสไลด์ใหมแ่ บบ Blank Presention

4

สร้างสไลด์เรม่ิ ตน้ แบบว่างเปล่า
3. จะปรากฏหนา้ ตา่ งสไลด์ เปล่า 1 สไลด์

5

ปรากฏสไลดเ์ ปลา่

รม

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หน้าฝ่ายพัฒนาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุรี

การสร้าง E-book 20

Slide Master สร้างธมี และเทม็ เพลต

เป็นการกาหนดหรือใส่ส่วนประกอบต่างๆ ข้างใน เพื่อให้ทุกๆ สไลด์มีรูปแบบเดียวกัน เช่น ต้องการให้สไลด์ทุกสไลด์มีชื่อ
บรษิ ัทหรือโลโก้ ปรากฏอยดู่ ้านล่างของสไลดท์ กุ ๆ สไลดโ์ ดยใส่เพยี งแคค่ รั้งเดียวสามารถเพิม่ ใน Slide Master ไดเ้ ลยครับ ข้นั ตอน
ต่างใน PowerPoint 2010, 2013 และ 2016 กจ็ ะเหมือนๆกนั

เชน่ การออกแบบหนงั สือตา่ ง ๆ รปู แบบสว่ นหัว ส่วนทา้ ยของเริ่มในแต่ละหน้าจะเหมอื นๆ กนั จะต่างกันตรงส่วนของหนา้ ขั้น
ขึ้นบทใหม่น้ันเอง ในการสร้างงานนาเสนอ หากต้องการต้ังค่า Theme หรือ Template ได้เองเหมือนที่เลือกใช้แบบสาเร็จรูป ก็
จะต้องเขา้ มากาหนดคา่ ต่าง ๆ ที่ Slide Master นั้นเอง

กาหนดขนาด Slide ใหเ้ ปน็ ขนาดหนงั สอื

1. เมอื่ สรา้ ง Slide เปลา่ เรียบรอ้ ยแลว้
2. เลอื กต้ังเมนู > Design > จากนน้ั คลิก Ribbon > Slide Slize > ตามดว้ ยคาสั่ง > Custom Slide Size

1 คลิกเลอื กเมนู “Design” 2คลิกเลือก Ribbon “Slide Size”

3คลิกเลือกเมนู "Custom Slide Size”

3. ต้ังค่าสไลดต์ ามขนาดที่ต้องการ เมื่อตั้งคา่ ขนาดทตี่ ้องการเรียบรอ้ ยแลว้ ใหค้ ลิกปุ่ม OK

ตวั อยา่ งการตง้ั คา่ ขนาด E-book

ความกว้าง 17 เซนติเมตร
ความสูง 23 เซนตเิ มตร

4กาหนดขนาดทตี่ อ้ งการ

5คลกิ ปมุ่ OK

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝา่ ยพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

การสร้าง E-book 21

4. หลังจากกดปมุ่ OK จะปรากฏหนา้ ตา่ งให้กาหนดการต้ังค่า เพิ่มเติมโดยให้เลอื ก Maximize หรอื Ensure Fit

6 เลอื กวา่ ตอ้ งการงานแบบไหน

5. หลงั จากเลือกเรียบร้อยแลว้ จะปรากฏหนา้ สไลดต์ ามทต่ี ง้ั ค่าใหมด่ งั ภาพ

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หน้าฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่ขอ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

การสรา้ ง E-book 22

วธิ ีการสรา้ ง Slide Master

1. คลิกทแ่ี ถบเมนู > View ตามดว้ ยคาสัง่ > Slide Master 1 เลอื กเมนู View
2. เลือก Ribbon “Slide Master”

2 เลอื ก Ribbon “Slide Master”

3. จากนั้นจะปรากฏหน้าต่างการตั้งค่า Slide Master โดยจะสามารถตั้งค่า Slide Master จานวนทั้งหมด 12 หน้า
ดังภาพ จากน้ันเราก็สามารถต้งั ค่ารปู แบบธีมทตี่ อ้ งการได้

3 Slide Master จานวนทงั้ หมด

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหน้าฝา่ ยพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี

การสร้าง E-book 23

4. ออกแบบหน้า Master ตามที่ต้องการ เช่น กาหนดพ้ืนหลัง กาหนดตัวอักษรที่ต้องการใช้งาน บริเวณเฟรมของสไลด์
ตามที่ตอ้ งการด้วยการวาดรูปทรงตา่ ง ๆ หรือเซฟภาพมาเป็นพน้ื หลงั มากไ็ ด้เชน่ กัน
จาก สไลด์เลย์เอาต์ 12 แบบ หากต้องการแกไ้ ข เลยเ์ อาต์ไหนใหค้ ลกิ เลอื กที่เลยเ์ อาตน์ ั้นกอ่ นไมจ่ าเปน็ ตอ้ งแก้ไขทงั้ 12 ให้เลอื กแกไ้ ข
ตามความตอ้ งการทจ่ี ะใชง้ านก็เพยี งพอ

5. เมือ่ ตง้ั ค่าเรยี บร้อยแล้วต้องการกลบั ไปทโ่ี หมดการทางานปกติใหค้ ลกิ เลอื กทค่ี าสง่ั Close Master View
เลอื ก Ribbon “Slide Master”

5

4

ตง้ั คา Slide Master

6. หากต้องการแก้ไขใหมก่ ็ใหค้ ลกิ ที่คาส่ังเดมิ เหมือนตอนเข้ามาต้งั คา่ คร้งั แรก

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหน้าฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี

การสร้าง E-book 24

วธิ ีการเลือก Layout Slide มาใช้งาน

1. คลกิ เลอื กเมนู Home
2. คลิกเลือก Ribbon > Layout จากนัน้ เลือก Layout ท่ตี ้องการ เชน่ Title Slide เปน็ ตน้
3.

1 เลอื กเมนู Home

2 เลอื ก Ribbon “Layout” ทตี่ อ้ งการ

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝา่ ยพัฒนาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

การสร้าง E-book 25

ต็

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหน้าฝา่ ยพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

การสร้าง E-book 26

Remove.bg ลบพ้ืนหลบั อัตโนมตั ผิ ่านเวบ็

1. เปดิ เว็บไซต์ www.remove.bg วธิ กี ารใช้งานคลิกเลือกปุม่ Upload Image > อพั โหลดภาพทต่ี อ้ งการลบพื้นหลังออก
จากเคร่ืองเวบ็ จะทาการประมวลผลและปรากฎภาพทไี่ ด้ลบพนื้ หลักงออกจากนน้ั ใหค้ ลิกเลอื กปุ่ม

คลกิ เลือกปุม่ Upload Image

1

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

การสรา้ ง E-book 27

2. คลกิ ปุ่ม Download จะมใี หเ้ ลือก 2 แบบคอื
2.1 Preview Image 612 × 408 แบบฟรคี ณุ ภาพภาพทีไ่ ด้จะมขี นาด 612 × 408 pixcel
2.2 Full Image 2048 × 1365 แบบเสยี เงนิ คณุ ภาพภาพที่ไดจ้ ะมขี นาด 2048 × 1365 pixcel

เมื่อคลิกปุ่มดาวน์โหลดเรียบร้อยแล้วเครื่องจะดาวน์โหลดไฟล์ไว้ท่ีเครื่องดังน้ี ท่านสามารถนารูปท่ีได้ทาการลบพื้นหลัง
ออกอตั โนมตั ไิ ปใช้กบั งานออกแบบได้

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

การสรา้ ง E-book 28

Application Snapseed สาหรับการรีทัชภาพดว้ ยมือถอื

คุณสมบตั ิหลกั ของ Application 3. เลือกภาพทตี่ ้องการปรับแต่ง
Snapseed เครอ่ื งมอื

Application Snapseed เป็นแอพสาหรับใช้ในการ
แก้ไขรูปภาพระดับมืออาชีพที่มีฟังก์ชัน ด้วยฟีเจอร์ที่
หลากหลาย เช่นการทาให้ภาพดูโดดเด่น, หมุนภาพ, ลบ
รอยสิว, ลบจุดด่างดา รวม มากไปกว่าน้ันแอพน้ียังมี
คุณสมบัติ คล้ายๆ โปรแกรมอย่าง Photoshop โดยมี
เครื่องมอื และฟิลเตอร์ให้ใช้งานถงึ 25 รายการ

การใชง้ าน Application Snapseed

1. เปิดแอพเขา้ มาจะเจอหนา้ หลักของแอพ

1

4. คลกิ เลอื กท่เี มนู “เครอ่ื งมอื ”

Application Snapseed
2. จะปรากฏหนา้ จอของ Application Snapseed ซง่ึ มเี มนู
เดียวคอื “+ แตะทใี่ ดกไ็ ดเ้ พอื่ เปดิ รปู ภาพ” ใหเ้ ลอื กรปู ภาพท่ี
ต้องการจะแต่งเพื่อนาไปใชต้ ่อไป

2

แตะทใ่ี ดกไ็ ดเ้ พอื่ เปดิ รปู ภาพ

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝา่ ยพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

5. ตวั อย่างการใช้คาส่งั “ปรบั แตง่ ภาพ” การสร้าง E-book 29
โดยกาหนดคา่ 3 สว่ นคอื
7. บนั ทกึ ไฟล์เพอื่ นาไปใชง้ าน บนส่ือออนไลนห์ รือเซฟลงใน
5.1 ความสวา่ ง เครอ่ื ง
5.2 ความอิ่มตัว
3. บรรยากาศ

8. รูปทีไ่ ด้

6. ภาพท่ีได้หลงั จากการปรบั คา่ แลว้

ภาพกอ่ นปรบั

E-book ภาพหลงั ปรบั
โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช

หัวหนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

การสร้าง E-book 30

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหนา้ ฝา่ ยพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบรุ ี

การสรา้ ง E-book 31

คุณสมบตั ขิ อง PUB HTML5

PUB HTML5 คือ เครื่องมือสาหรับการสร้างหนังสืออีเล็กทรอนิกส์ หรือฟลิปบุ๊ค (Flipbook) ในรูปแบบสามมิติ เช่น
แมกกาซีนออนไลน์, อีโบรชัวร์, อีแคตตล็อค เป็นตัน มีระบบการทางานทุกอยา่ งอยู่บนเว็บไซต์ ที่สามารถสร้างและผยแกรข้อมลู ใน
รูปแบบอีบุ๊คออนไลน์ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สามารถสร้างได้ด้วยตัวเองผ่นทางเว็บไซต์ pubhtml5.com โดยการอัพ
โหลดไฟล์ pdf และกาหนดค่ารายละเอยี ดขอ้ มลู ของเอกสารเท่าน้นั

How to Use PUB HTML5?
Creating Eye-Catching Flipping Book has Never Been that Easy

1. มใี หเ้ ลือกทั้งแบบตดิ ตง้ั โปรแกรม และไมต่ อ้ งตดิ ตง้ั โปรแกรม สามารถใชง้ านได้ผา่ นระบบออนไลนไ์ ดเ้ ลย
2. สรา้ งและเผยแพร่ เอกสารในรูปแบบอบี คุ๊ ผ่านระบบออนไลน์
3. สร้างหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (E-book) หรอื ฟลปิ บคุ๊ (Flipbook) ไดโ้ ดยผา่ นเว็บไซตเ์ พียงแคอ่ พั โหลดไฟลใ์ นรปู แบบ Pdf
ทม่ี ีขนาดไฟลไ์ มเ่ กนิ 150 MB.
4. สามารถแชร์หนงั สอื อิเล็กทรอนิกส์หรือฟลปิ บคุ๊ ไดด้ ้วยช่องทางสื่อออนไลน์ Facebook Google e-Mail หรอื การ
คดั ลอกลิงก์ไปแชร์สง่ ผา่ นไลนห์ รอื อน่ื ๆ ไดโ้ ดยง่าย
5. สามารถนาหนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส์ หรอื ฟลปิ บุค๊ ฝงั โค๊ตเพอื่ เผยแพรบ่ นเว็บไซตไ์ ดด้ ว้ ยวธิ กี าร “Embed Code HTML”

วธิ ีการเข้าใชง้ าน 1 พมิ พ์ Url เวบ็ ไซต์ pubhtml5.com

2

คลกิ ปมุ่ “Sign in”

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หน้าฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

การสรา้ ง E-book 32

1. เปดิ เบราวเ์ ซอร์พมิ พ์ URL เว็บไซต์ pubhtml5.com
2. คลกิ เลอื กปมุ่ “Sign in”
3. กรณีท่ียังไม่มีบัญชี ให้เลือกสร้างบัญชีใหม่ “Create New Account” ซ่ึงสามารถ Sign in ได้ 3 วิธี คือ 1) Facebook
2) Google+ หรอื 3) อีเมล โดยเลอื กใช้อย่างใดอยา่ งหนง่ึ
4. เม่ือ “Sign in” เรียบร้อยแล้ว ช่ือผู้ใช้จะปรากฏบนแถบเมนูด้านบน ให้คลิกเลือกปุ่ม “Quick Upload” หรือ “Create Your
Publication”
ชอ่ื ผใู้ ช้

4 คลกิ เลอื กปมุ่ “Quick Upload”
หรือ “Create Your

5. ปรากฏหนา้ ตา่ งให้อพั โหลดไฟล์ คลกิ เลือกคาสัง่ “Upload Online”

5

คลกิ

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หน้าฝา่ ยพัฒนาและเผยแพร่ขอ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี

การสร้าง E-book 33

6. เลือกโฟล์เดอรท์ ีต่ อ้ งการอัพโหลดเอกสาร เบอื้ งตน้ กรณีที่สร้างครั้งแรกจะมีเพียงโฟล์เดอร์ “Default” จากนน้ั คลิกทีค่ าส่งั
“Next”

เลอื กโฟลเดอร์
คลกิ

6

7. คลกิ คาส่งั "Browse" เพือ่ อพั โหลดไฟลห์ นงั สอื ในรูปแบบ PDF (ขนาดไฟลไ์ มเ่ กิน 150 MB) ดังรปู

7

คลกิ Browse

8. ในขณะทีก่ าลังอพั โหลดไฟล์ ให้ใสร่ ายละเอยี ดที่ "Book Info" ไดแ้ ก่ ช่ือเรื่อง (Title) คาอธิบาย (Description) คยี ์เวริ ์ด
(keywords) ประเภทหนังสอื (Category) และอ่นื ๆ ทตี่ อ้ งการ เชน่ อนุญาตให้ผ้อู า่ นดาวน์ไฟล์ PDF ได้ เปน็ ตนั

9. คลิกเลอื กคาสั่ง Next

8 ใสร่ ายละเอยี ด

E-book คลกิ คาสง่ั Next

9

โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝ่ายพัฒนาและเผยแพร่ขอ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

การสร้าง E-book 34

10. จะปรากฏหนา้ ต่างใหเ้ ลอื ก “Template” พนื้ หลงั ของ E-book คลกิ เลอื กแบบทต่ี อ้ งการจากนั้นคลกิ เลือกคาสง่ั “Next”

เลอื ก Template

10 คลกิ คาสง่ั Next

11. เลอื ก “Theme” ทต่ี ้องการจากนน้ั คลกิ คาสั่ง “Next”
เลอื ก Theme

E-book 11
คลกิ คาสง่ั Next
โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝา่ ยพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธญั บรุ ี

การสรา้ ง E-book 35

12. กาหนดค่า “Advance” ตามท่ตี อ้ งการ จากน้ันคลกิ เลือกคาสั่ง “Create”

E-book คลกิ คาสง่ั Create

12

โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลยั เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

การสร้าง E-book 36

13. รอระบบทาการประมวลผลจนสมบูรณจ์ ะปรากฏหน้าต่างดงั นี้

เมอื่ คลกิ ทรี่ ปู เลม่ หนงั สอื จะมี 2 ลงิ กใ์ ห้เลอื กดงั น้ี
1. PubHTML5 Link
2. Online Line

1. PubHTML5 Link จะพบกบั รปู เลม่ ของหนังสอื ทส่ี ามารถกาหนดการพลิกหนา้ หนังสอื อตั โนมตั ิได้ ดังภาพตวั อยา่ ง

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หน้าฝ่ายพัฒนาและเผยแพรข่ อ้ มลู เว็บไซต์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรี าชมงคลธัญบรุ ี

การสร้าง E-book 37

ความหมายของปมุ่ (Icon) Like
UPload แสดงความคดิ เห็นเมื่อถกู ใจผลงาน
อพั โหลดเอกสารเพื่อสรา้ ง E-book ใหม่ Share
เม่ือตอ้ งการแชร์ผลงานตอ่ ในสอื่ ออนไลนต์ ่าง ๆ
Embed
นา Code ดังกลา่ วไปใส่ลงในเว็บไซต์เพ่ือใส่
หนังสอื ไว้ในเวบ็ ทต่ี อ้ งการเผยแพร่

2. Online Line จะเป็นการแสดงหนังสอื อิเล็กทรอนิกสแ์ บบลงิ ก์และมขี นาดเตม็ หนา้ จอ ดงั ภาพ

การแกไ้ ขหนงั สอื อเิ ล็กทรอนิกส์ (e-Book)

กรณีที่ตอ้ งการปรับปรงุ หรือแกไ้ ขเอกสารท่ีเผยแพร่ไป ใหเ้ ข้าไปที่
1. คลกิ เลอื กท่ชี อ่ื ของ User
2. เลือกเอกสารทตี่ อ้ งการแกไ้ ข 1 คลกิ เลอื ก My Pubs

E-book 2 เลอื ก General Setting

โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หวั หนา้ ฝ่ายพฒั นาและเผยแพรข่ อ้ มลู เวบ็ ไซต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี

การสรา้ ง E-book 38

3. จะปรากฏหนา้ จอการตงั้ ค่า เหมอื กบั ตอนทอี่ พั โหลดเอกสารใหม่ เริ่มจากการตัง้ ค่า Title เมอ่ื ตัง้ คา่ การแก้ไขครบทุกส่วน
ตามที่ตอ้ งการแลว้ ใหก้ ดคาสง่ั “Save And Close”

3คลกิ เลอื ก Save And Close

E-book โดย.นางสาวเบญสริ ย์ า ปานปญุ ญเดช
หัวหน้าฝา่ ยพฒั นาและเผยแพร่ขอ้ มลู เว็บไซต์ มหาวทิ ยาลยั เทคโนโลยีราชมงคลธญั บรุ ี


Click to View FlipBook Version