The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แบบนิเทศ ติดตาม 2-2565 นาแกพิทยาคม

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by khwansoy, 2022-12-18 04:12:13

แบบนิเทศ ติดตาม 2-2565 นาแกพิทยาคม

แบบนิเทศ ติดตาม 2-2565 นาแกพิทยาคม

1

แบบนิเทศ ตดิ ตาม การดาเนนิ งานของสถานศึกษาตามโครงการนเิ ทศบูรณาการโดยใช้พ้ืนทเ่ี ป็นฐาน
เพ่ือพฒั นาคณุ ภาพการศึกษา ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2565
สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศึกษามธั ยมศกึ ษานครพนม

โรงเรยี น นาแกพทิ ยาคม สหวิทยาเขต นาแกวังยาง

ส่วนท่ี 1 สภาพท่วั ไป

จานวน นักเรยี น 912 คน จานวนครู 52 คน
มีครูครบชน้ั ตรงตามวชิ าเอก
มคี รคู รบช้นั ตรงวชิ าเอกหรอื ไมอ่ ย่างไร

ส่วนที่ 2 การดาเนนิ การตามนโยบายของสานกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

๑. ด้านความปลอดภัย

๑.๑ สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาสถานศกึ ษาใหเ้ ป็นพ้นื ท่ปี ลอดภัย

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย
- สถานศกึ ษามีระบบเสรมิ สรา้ งความปลอดภัยตามบรบิ ทของสถานศึกษา
- นักเรยี น ครูและบุคลากรทางการศึกษาทกุ คนมคี วามปลอดภยั ทงั้ ร่างกายและจิตใจ
- สถานศกึ ษาสามารถเผชญิ เหตุและแก้ไขสถานการณ์ได้
- นกั เรียน ครูและบุคลากรทางการศกึ ษาท่ปี ระสบเหตไุ ดร้ บั การคุ้มครองดูแลชว่ ยเหลอื เยียวยาทัง้ ดา้ น
รา่ งกายและจิตใจ
2) ปัญหาและอุปสรรค -ไม่มี-
3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร -
4) นวตั กรรม/รปู แบบ/แนวทางการดาเนนิ งาน ของสถานศึกษา ทค่ี ดิ วา่ เปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่าง
ท่ดี ี (Best Practice)
แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา
- มีการสร้างการรับรเู้ กี่ยวกับการตดิ ตั้ง Application MOE Safety Center ใหค้ รูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
นกั เรียน และผปู้ กครอง
- มีการประชาสัมพันธเ์ ก่ียวกับช่องทางการเขา้ ใช้งานของระบบ MOE Safety Center ซง่ึ สามารถแจง้ เหตไุ ด้
4 ชอ่ งทาง มีดังนี้ Application MOE Safety Center , www.MOESafetyCenter.com , LINE @MOESafetyCenter
หรอื ท่ี call center 0-2126-6565 และสถานศกึ ษาได้สรา้ งกลุ่มไลนข์ องสถานศกึ ษา เพ่อื ตดิ ตอ่ ไดร้ วดเรว็ เพิม่ ยง่ิ ขน้ึ
- มกี ารจดั ทาปา้ ยรณรงคส์ ง่ เสรมิ การเรียนรรู้ ะบบ MOE Safety Center หนา้ สถานศกึ ษา
- มกี ารสนบั สนุน ส่งเสริมระบบการดูแลชว่ ยเหลือนกั เรียนในสถานศกึ ษา ให้มคี วามเข้มแข็ง
- มีการประสานความร่วมมือกบั สว่ นราชการอื่นท่ีเกยี่ วข้อง ในการดแู ลรกั ษาความปลอดภัย นกั เรยี นนอก
สถานศึกษา เช่น เจา้ พนกั งานเจา้ หนา้ ทส่ี ่งเสรมิ ความประพฤตนิ ักเรยี นและนักศกึ ษา (พสน.)/ เจา้ หน้าท่ปี กครอง/
กานนั /ผูใ้ หญ่บ้าน เป็นต้น

2

๑.๒ สถานศึกษามกี ารจดั สภาพแวดลอ้ มท่เี อ้อื ตอ่ การมีสขุ ภาวะท่ีดแี ละเปน็ มติ รกบั ส่งิ แวดล้อมอย่างไร

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย
มกี ารดูแล พัฒนาอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอ้ มของโรงเรยี นใหอ้ ยู่ในสภาพทมี่ น่ั คง ปลอดภัย
เหมาะสม พรอ้ มทจ่ี ะใชป้ ระโยชน์ มบี รรยากาศเออื้ อานวยต่อการเรยี นรู้ ห้องเรียนสะอาด มโี ตะ๊ -เกา้ อี้เพียงพอต่อ
จานวนผ้เู รยี น หอ้ งนา้ หอ้ งส้วมสะอาด ปลอดภยั อุปกรณ์เพียงพอ พร้อมใช้งาน ทาใหผ้ ้เู รยี นมีสุขภาวะทดี่ ีและ
สถานศกึ ษาได้เขา้ รว่ มโครงการ Zero Waste ของสานักงานเขตพืน้ ที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนมและผา่ นการสมัคร
เขา้ ร่วมโครงการโรงเรยี นอโี คสคูล (Eco-school) ระดับต้น (รอบการสมคั รปี ๒๕๖๕)
2) ปัญหาและอุปสรรค -ไมม่ ี-
3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร -
4) นวัตกรรม/รปู แบบ/แนวทางการดาเนนิ งาน ของสถานศกึ ษา ทีค่ ดิ วา่ เป็นต้นแบบหรือแบบอย่าง
ทีด่ ี (Best Practice)
แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา
งานอาคารสถานที่
- จัดทาผงั บรเิ วณโรงเรยี น มกี ารดูแลและพฒั นาอาคารสถานท่ี และสภาพแวดล้อมของโรงเรยี นใหอ้ ยู่ใน
สภาพที่ม่ันคง ปลอดภยั เหมาะสม พรอ้ มทีจ่ ะใช้ประโยชน์
- ออกแบบและปรับปรงุ ภูมิทศั น์ ภายในโรงเรยี นใหเ้ หมาะสมกบั สภาพแวดลอ้ ม และการใชป้ ระโยชน์
- แตง่ ตง้ั ครูดแู ลรบั ผิดชอบประจาอาคารต่างๆ รว่ มกบั นกั เรยี นในแตล่ ะห้องเรยี น ดแู ลรับผิดชอบหอ้ งเรยี น
ของตนเอง โดยมีคณุ ครูทปี่ รกึ ษาควบคมุ ดแู ล
- บรหิ ารจดั การแบง่ เขตพนื้ ท่ีรบั ผิดชอบให้นกั เรียน และครชู ว่ ยดูแลพืน้ ท่ี
- ดูแลทางสัญจร เคร่ืองหมายแสดงแนวเขต รว้ั ระบบนา้ ระบบไฟฟา้ สาธารณูปโภค ของโรงเรยี นใหอ้ ยูใ่ น
สภาพทมี่ ่นั คง ปลอดภยั เหมาะสม พรอ้ มท่ีจะใชป้ ระโยชน์
- ดแู ลหอ้ งน้า หอ้ งส้วม ใหส้ ะอาด ให้ปลอดภัย อปุ กรณ์เพียงพอ พร้อมใชง้ าน

- จัดหอ้ งเรียนใหเ้ พยี งพอ มีการแกป้ ัญหาการขาดแคลนได้อย่างเหมาะสม จัดหอ้ งบรกิ ารและห้องพิเศษใน
อาคารเรียนตามเกณฑม์ าตรฐาน

- ติดตามและตรวจสอบการใช้อาคารเรยี นอาคารประกอบของสถานศกึ ษา เพอ่ื ให้เกดิ ความค้มุ คา่ และเอ้อื
ประโยชนต์ อ่ การเรยี นรู้

- การให้บรกิ ารดา้ นอาคาร วัสดุ ครุภัณฑ์ แก่ชุมชน
งานอนามัย
- จัดหาวสั ดุ ครภุ ณั ฑ์ทจ่ี าเป็น เชน่ เครื่องวัดอุณหภมู ิ เจลแอลกอฮอล์ สบู่เหลวลา้ งมอื หนา้ กากอนามัย ให้
เพยี งพอ เพ่ือป้องกนั การแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ ในสถานศึกษา
- ดาเนนิ โครงการอบรมใหค้ วามรกู้ ารปอ้ งกันโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 เพื่อให้คณะครูและนกั เรียน
ตระหนกั และรจู้ ักวิธปี ้องกนั ตนเองจากการแพรร่ ะบาดของเช้อื ไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙

๒. ด้านโอกาสและการลดความเหลอื่ มล้าทางการศกึ ษา

2.1 สถานศึกษา สง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้นักเรยี นเข้าสู่ระบบการศึกษา ลดอัตราการออกกลางคัน

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย ขอ้ มูลผลการติดตามผู้เรียน
กล่มุ เปา้ หมาย “โครงการพานอ้ งกลบั มาเรียน”ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

3

- ผ้เู รยี นกลมุ่ เป้าหมายทัง้ หมด จานวน ๔ คน

- ผู้เรียนกลมุ่ เปา้ หมายที่ตดิ ตามพบตวั จานวน ๔ คน

โดยผูเ้ รยี นกล่มุ เป้าหมายที่ไดร้ ับการช่วยเหลือกลบั เขา้ มาเรียน สถานศกึ ษาอ่ืนๆ จานวน ๔ คน

2) ปัญหาและอุปสรรค -ไม่มี-

3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร -

4) นวตั กรรม/รูปแบบ/แนวทางการดาเนินงาน ของสถานศึกษา ท่คี ดิ วา่ เปน็ ต้นแบบหรอื แบบอยา่ ง

ท่ดี ี (Best Practice)

แนวทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา

- แตง่ ตง้ั คณะทางาน เพื่อกาหนดแผนและแนวทางการดาเนินงานตดิ ตามคน้ หาผูเ้ รียนทีห่ ลดุ ออกจากระบบ

การศกึ ษาและออกกลางคนั กลบั เข้าสู่ระบบการศกึ ษา โดยบรู ณาการกบั หน่วยงานท่บี นั ทึกข้อตกลงความรว่ มมอื

(MOU) และภาคีเครอื ขา่ ยท่เี ก่ยี วขอ้ งในท้องถนิ่

- วเิ คราะห์ ตรวจสอบขอ้ มูลผเู้ รยี นหลดุ ออกจากระบบการศึกษาและออกกลางคนั จากหนว่ ยงานตน้ สงั กดั

สพม.นพ. พร้อมกาหนดแผนและแนวทางการดาเนินงานติดตามค้นหาผู้เรียนท่ีหลดุ ออกจากระบบการศึกษาและออก

กลางคันกลับเข้าส่รู ะบบการศกึ ษา โดยบรู ณาการกบั หน่วยงานท่ีบนั ทึกขอ้ ตกลงความรว่ มมือ (MOU) และภาคี

เครอื ข่ายทีเ่ กี่ยวขอ้ งในทอ้ งถน่ิ

- ปฏิบัตงิ านรว่ มกับหนว่ ยงานต้นสงั กัด ในการลงพ้ืนทีต่ ิดตามค้นหาผเู้ รยี นท่ีหลดุ ออกจากระบบการศกึ ษา

และออกกลางคันกลบั เขา้ สู่ระบบการศึกษา Mobile Application “พานอ้ งกลบั มาเรยี น” และเวบ็ ไซต์

https://dropout.edudev.in.th เปน็ เครือ่ งมือในการติดตามและรายงานผล พรอ้ มท้ังแก้ปัญหาผ้เู รียนหลดุ ออกจาก

ระบบการศึกษาและออกกลางคนั โดยวเิ คราะหส์ ภาพปัญหาและแก้ปญั หาเปน็ รายบุคคลและดาเนินการให้ผเู้ รยี นกลบั

เข้าส่รู ะบบการศึกษา พรอ้ มจัดทาแผนปอ้ งกนั ผ้เู รียนหลุดออกจากระบบการศึกษา

- ประสานการดาเนนิ งานรว่ มกับหน่วยงานทบี่ ันทกึ ข้อตกลงความรว่ มมือ (MOU) และภาคเี ครือข่ายท่ี

เก่ียวขอ้ งในทอ้ งถ่ิน ในการติดตาม คน้ หาผู้เรยี นท่หี ลดุ ออกจากระบบการศึกษาและออกกลางคัน ตลอดจนการดแู ล

ชว่ ยเหลอื และสง่ ตอ่

- สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งานให้หนว่ ยงานต้นสังกัดรบั ทราบ

๒.๒ สถานศกึ ษาเสริมสรา้ งสมรรถนะนกั เรยี นสาหรับการศกึ ษาต่อ และการประกอบอาชพี ในอนาคตให้สอดคล้องกับ
ของตลาดงานและการพฒั นาประเทศ (อาจกลา่ วถึงการดาเนินการตามนโยบายอาชีวนวตั วถิ ี สพม.นครพนม)

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย ผเู้ รียนทุกคนได้เลอื กเรียน
ชมุ นมุ ตามความถนัดและความสนใจ ทาใหผ้ เู้ รยี นมีความสขุ และสามารถเรยี นรสู้ ูก่ ารเปน็ ผปู้ ระกอบการได้

2) ปัญหาและอุปสรรค -ไม่มี-
3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร -
4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดาเนินงาน ของสถานศึกษา ทค่ี ดิ วา่ เปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่าง
ทด่ี ี (Best Practice)
แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศึกษา
- สถานศึกษาขับเคลื่อนโครงการ “อาชวี นวตั วถิ ”ี สกู่ ารเรียนรู้ ในมิตทิ ี่ 4 การจดั กจิ กรรมชุมนุมเพ่ือการ
เรยี นร้สู ู่การเปน็ ผู้ประกอบการ โดยทาการสารวจชุมนุมและใหน้ กั เรยี นเลือกเรียนตามความถนดั และความสนใจ
- ครูทป่ี รกึ ษากิจกรรมชมุ นมุ และนกั เรียนประชุมรายละเอียดการดาเนนิ งานของกจิ กรรมชุมนุม
- ดาเนินงานตามกิจกรรมชุมนุม

4

- ครูท่ปี รกึ ษากิจกรรมชุมนมุ สรปุ ผลการผา่ น หรือไม่ผ่านกิจกรรมชมุ นมุ ของนักเรียนทกุ คน
และดาเนินการซ่อมเสริมกรณที นี่ กั เรียนไม่ผา่ นกจิ กรรม

- ครูที่ปรกึ ษากจิ กรรมชมุ นมุ รวบรวมผลกจิ กรรมชมุ นุมและส่งใหห้ ัวหน้ากจิ กรรมพฒั นาผู้เรียนและกล่มุ
บริหารงานวชิ าการดาเนินการตอ่ ไป

๒.๓ โรงเรยี นได้จัดการศกึ ษาใหผ้ เู้ รยี นท่ีมคี วามสามารถพิเศษ ได้รบั โอกาสในการพฒั นาเต็มตามศกั ยภาพ

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย มกี ารจดั การศกึ ษาให้ผู้เรยี น
ที่มีความสามารถพเิ ศษ เชน่ แผนการดา้ นทกั ษะอาชพี และความถนัดของผูเ้ รยี น ทาให้ผเู้ รียนไดร้ บั โอกาสใน
การพัฒนาเตม็ ตามศักยภาพ มีผลงานเปน็ ทปี่ ระจักษใ์ นระดบั สหวิทยาเขต ระดบั อาเภอ และระดบั ชาติ

2) ปัญหาและอุปสรรค -ไม่มี-
3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร -
4) นวตั กรรม/รูปแบบ/แนวทางการดาเนนิ งาน ของสถานศึกษา ทค่ี ดิ วา่ เป็นต้นแบบหรอื แบบอย่าง
ท่ดี ี (Best Practice) โปรดระบุ กระบวนการพัฒนานักเรียนและรางวัลทน่ี ักเรยี นไดร้ ับ
แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา
- มีการจดั หลักสตู รที่หลากหลาย ทาให้ผเู้ รียนสามารถเลอื กเรยี นตามความถนัด ความสนใจ และความ
ต้องการของผู้เรียน สามารถพฒั นาตนเองด้วยการจดั กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ่ีหลากหลาย ทเ่ี ปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นได้เรียนรู้
อย่างเตม็ ศกั ยภาพ
- จดั ทาโครงการสง่ เสรมิ ความเป็นเลศิ ทางโครงงานทักษะอาชพี
- ดาเนินงานตามโครงการ
- สง่ เสรมิ สนับสนุนใหน้ าทมี เขา้ ร่วมการแขง่ ขันในระดับตา่ งๆ
- นเิ ทศ กากบั ตดิ ตามการดาเนินงาน
- สรุปและรายงานผลการดาเนนิ งานใหผ้ ู้บงั คับบัญชา/ต้นสังกดั ทราบ

3. ดา้ นคุณภาพ

3.๑ สถานศกึ ษามกี ารพฒั นาหลกั สตู รสถานศึกษา ออกแบบหลกั สูตรท่เี หมาะสมกับความต้องการและบริบท

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย
สถานศึกษามีหลักสูตรท่ีเปิดสอนใน ปีการศึกษา 25๖๕ ในระดับช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น และชั้น
มัธยมศึกษาตอนปลาย จัดการเรียนการสอนโดยการใช้หลักสูตรโรงเรียนนาแกพิทยาคม ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ปรบั ปรงุ พ.ศ.2560) ซง่ึ มหี ลกั สตู รท่เี ปดิ สอน ดังน้ี

หลกั สตู ร ปีการศึกษา 256๕

มัธยมศึกษาตอนตน้ - แผนการเรยี นเตรียมแพทย์
- แผนการเรียนเตรยี มทหาร
- แผนการเรียนทว่ั ไป

5

มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย - แผนการเรียนวทิ ยาศาสตร-์ คณิตศาสตร์
- แผนการเรียนทวั่ ไป
- แผนการเรียนเตรียมแพทย์
- แผนการเรยี นเตรียมทหาร
- แผนการเรียนปญั ญาภิวฒั น์

จากการที่โรงเรยี นนาแกพทิ ยาคม มกี ารจดั หลกั สตู รท่หี ลากหลาย ทาใหผ้ ู้เรียนสามารถ
เลือกเรียนตามความถนัด ความสนใจ และความต้องการของผู้เรียน สามารถพัฒนาตนเองด้วยการจัดกิจกรรมการ
เรียนรทู้ ่หี ลากหลาย ทีเ่ ปิดโอกาสใหน้ ักเรียนได้เรียนรู้อยา่ งเตม็ ศกั ยภาพ

2) ปัญหาและอุปสรรค -ไม่มี-
3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร -
4) นวตั กรรม/รูปแบบ/แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษาท่คี ดิ วา่ เป็นต้นแบบหรอื แบบอย่างทดี่ ี
(Best Practice)
แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศึกษา
- ประชมุ ชแ้ี จงคณะครูเพอื่ วางแผนการดาเนนิ งาน
- แตง่ ต้งั คณะทางาน
- ประชมุ วางแผนและจดั ทาหลกั สตู รกาหนดโครงสรา้ งวชิ าและเวลาเรยี น หน่วยการเรียนรู้ สาระการเรียนรู้
ตรงตามมาตรฐาน
- จัดทาแผนการวดั และประเมินผลและแผนการจัดกจิ กรรมพฒั นาผู้เรียน
- จัดหาเอกสารและหลักฐานตามแบบกระทรวงศกึ ษาธิการกาหนด
- รวบรวมเอกสารการจดั ทาหลกั สูตรโรงเรยี นนาแกพทิ ยาคม รวม 8 กล่มุ สาระฯ
- นาหลกั สูตรสถานศึกษาไปใช้
- ประเมินผลการใช้และปรับปรงุ การใช้
- แก้ไขหลักสตู รและรวบรวมเป็นฉบบั ของโรงเรยี น
- นาหลกั สตู รทแี่ ก้ไขแลว้ มาใช้ในปีการศกึ ษา 2565 ตอ่ ไป

3.2 สถานศึกษามกี ารจัดการเรยี นการสอนท่มี ุ่งเนน้ ให้ผู้เรียนทุกระดับมสี ่วนรว่ มสร้างสรรคก์ ารเรียนรู้ เพ่ือใหเ้ กินสมรรถนะหลกั
และการพฒั นาตนเองตามความถนดั และความสนใจ (Active Learning)

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย
ครผู สู้ อนรอ้ ยละ ๘๐ มีการจดั กจิ กรรการเรียนการสอนแบบ Active Learning และเขา้ รว่ มการอบรม

การขับเคลื่อนนโยบาย Active Learning

2) ปัญหาและอุปสรรค
(1) ด้านครูผู้สอน -
(2) ดา้ นการบริหารจดั การ -
(3) ดา้ นสอ่ื วสั ดอุ ุปกรณ์ -

3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร -

6

4) นวตั กรรม/รปู แบบ/แนวทางการดาเนนิ งานเก่ยี วกับการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
ของสถานศกึ ษา ทคี่ ิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอยา่ งท่ีดี (Best Practice) โปรดระบรุ างวัลที่นกั เรยี นได้รบั ดว้ ย

แนวทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
- สารวจครูผสู้ อนทยี่ ังไม่ผา่ นการอบรมการจัดการเรยี นการสอนแบบ Active Learning
- ส่งเสริมให้ครูผูส้ อนเขา้ รับการอบรมการจดั การเรยี นการสอนแบบ Active Learning
- จดั ทาตารางนิเทศภายใน
- ดาเนินงานตามตารางการนิเทศภายใน
- นิเทศ กากบั ตดิ ตามการดาเนนิ งาน
- สรุปและรายงานผลการดาเนนิ งานให้ผู้บังคบั บัญชา/ต้นสงั กัดทราบ
5.) แหล่งเรียนรใู้ นท้องถ่ินท่ีสถานศกึ ษา ไดศ้ ึกษาวิเคราะห์บูรณาการตัวชว้ี ัดและมาตรฐานการเรยี นรู้ เพอื่ ให้
นกั เรยี นศึกษาตามแนวทางการจดั การเรียนรู้เชิงรกุ หรอื Active Learning (โปรดระบชุ ่อื แหล่งเรยี นรู้ คาอธบิ ายแหล่งการเรยี นรู้
กิจกรรมการเรยี นรู้ วิชา ระดบั ชัน้ และตัวชว้ี ดั ทีบ่ ูรณาการจากแหล่งเรยี นรู้)

แหล่งเรยี นรู้ :
1. แหล่งเรยี นรผู้ า้ พน้ื เมอื ง ตาบลหนองสังข์ อาเภอนาแก จงั หวดั นครพนม
2. โฮมสเตย์ เศรษฐกิจพอเพียง อาเภอนาแก จังหวัดนครพนม
3. อ่างเกบ็ นา้ บา้ นดงนอ้ ย ตาบลพมิ าน อาเภอนาแก จังหวดั นครพนม

3.3 สถานศึกษามีการนเิ ทศภายในเพอ่ื พฒั นาการจัดการเรียนการสอนโดยใชห้ อ้ งเรียนเปน็ ฐาน

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย ครูผู้สอนร้อยละ ๑๐0 มีผล
การนิเทศในระดับดีมากขึน้ ไป

2) ปัญหาและอุปสรรค ภาระงานของผู้บริหารมีมาก บางครั้งไม่สามารถเข้าร่วมการนิเทศตาม
ตารางได้

3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร ปรบั ตารางการนเิ ทศ/ มอบหมายหัวหนา้ งานหรอื หัวหนา้
กลมุ่ สาระฯ เขา้ นิเทศแทน

4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา ที่คดิ วา่ เปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่างทดี่ ี
(Best Practice)

แนวทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
การดา้ เนินงานเพ่อื ให้ส้าเรจ็ ตามเป้าหมายและกลยทุ ธท์ ่ีไดว้ างไว้ โดยใชน้ วตั กรรมการบริหาร C-O-V-I-D

MODEL และใชห้ ลักการของ Deming คอื วงจร P-D-C-A ในการดา้ เนินงาน

การนา้ นวัตกรรมการบรหิ าร คือ C-O-V-I-D MODEL สู่การปฏบิ ตั ิ เพ่ือพฒั นานกั เรียนใหม้ ีคณุ ภาพตาม

มาตรฐาน พัฒนาครใู หม้ คี วามเชย่ี วชาญงานสอนและสามารถจัดการเรยี นการสอนในรปู แบบตา่ ง ๆ ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

กบั สถานการณก์ ารแพรร่ ะบาดของเชือ้ ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID – 19) และสอดคลอ้ งกบั บรบิ ทของโรงเรียน

นิยามศพั ทแ์ ละองคป์ ระกอบ

๑. C = Communication การส่งเสรมิ ใหค้ รูและบุคลากรไดม้ กี ารใชเ้ ทคโนโลยีเพือ่ การสื่อสารใน
องค์กร รวมทง้ั การจดั การเรยี นการสอน โดยวิธกี ารทห่ี ลากหลาย เชน่ การรับส่งเอกสารงานต่าง ๆ ผ่านแอพริเคชัน
LINE , Faceook, ZOOM, Twitter

7

๒. O = Occupation การส่งเสริมพฒั นาทักษะดา้ นอาชพี แก่นกั เรียน รว่ มกบั ชมุ ชนบนพื้นฐาน
แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพอ่ื ใหน้ ักเรียนไดม้ ีพ้นื ฐานในการประกอบอาชีพในอนาคต พฒั นาผู้เรียนใหม้ ี
พื้นฐาน ๔ ดา้ น ตามพระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวง รชั กาลที่ ๑๐

๓. V = Values การสร้างความมนั่ ใจและความประทบั ใจแกผ่ ปู้ กครอง เพอื่ ใหส้ ง่ บตุ รหลานมาเรียนท่ี
โรงเรยี น ใชร้ ะบบการดแู ลช่วยเหลอื นักเรยี นในการส่งเสริมและช่วยเหลือนกั เรยี น โครงการพาน้องกลับมาเรยี น ดูแล
เอาใจใส่นกั เรยี นเสมือนบิดามารดาดแู ลบุตร การตอ้ นรับท่ีเปน็ กันเอง และการจดั สภาพแวดลอ้ มให้สวยงาม

๔. I = Information Technology (IT) การนาเทคโนโลยมี าบรหิ ารจดั การในโรงเรยี น เพ่ือส่งเสรมิ
ประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลในการบรหิ ารงาน เชน่ E-doc ,Online Meeting, DropBox

๕. D = Digital Skill Development การอบรมเพื่อพฒั นาครูและบคุ ลากรด้านทกั ษะและเทคโนโลยี
ดจิ ิทัล ในการใช้แอพรเิ คชันต่าง ๆ ในการจดั การเรียนการสอน อาทิ ZOOM ,Google MEET

กระบวนการสู่เปา้ หมาย
กระบวนการและแนวคดิ ท่ีจะนาโรงเรียน สคู่ วามเปน็ “โรงเรยี นน่าอยู่ ครูดี นกั เรยี นมคี ณุ ภาพและปลอดภยั บวร
ร่วมใจ น้อมไวซ้ ่ึงหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง” โดยใชร้ ปู แบบการบริหารสถานศกึ ษา C-O-V-I-D MODEL ด้วยวคั ซนี ๗
เขม็ ดังตอ่ ไปนี้
เข็มที่ ๑ (เรง่ ด่วน) พฒั นาผเู้ รียนใหม้ พี ้ืนฐาน ๔ ดา้ น ตามพระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาของในหลวง รชั กาลท่ี ๑๐
ไดแ้ ก่

๑. มที ัศนคตทิ ถี่ กู ต้องตอ่ บา้ นเมือง พฒั นาผู้เรยี นให้มคี วามรคู้ วามเข้าใจตอ่ ชาตบิ ้านเมือง ยึดมัน่ ในศาสนา
มั่นคงในสถาบนั กษตั รยิ ์ และมีความเอ้อื อาทรต่อครอบครัวและ ชมุ ชนของตน

๒. มีพ้นื ฐานชวี ิตทมี่ นั่ คง – มีคุณธรรม พฒั นาผูเ้ รียนใหร้ จู้ กั แยกแยะส่งิ ท่ผี ิด – ชอบ / ช่วั – ดี ปฏบิ ตั แิ ต่ส่งิ ท่ี
ชอบ สิง่ ทีด่ งี าม ปฏิเสธสิ่งทผี่ ดิ ส่ิงทชี่ ่ัว และชว่ ยกันสร้างคนดใี หแ้ ก่บ้านเมือง

๓. มีงานทา – มอี าชีพ พฒั นาผ้เู รียนให้สามารถดแู ลครอบครวั รกั งาน สงู้ าน ทาจนงานสาเรจ็ สามารถทางาน
เปน็ มอี าชพี มงี านทา สามารถเล้ียงตนเอง และครอบครวั ได้อย่างพอเพยี ง

๔. เป็นพลเมอื งท่ดี ี พัฒนาผเู้ รียนให้เป็นพลเมืองดี คือ “เห็นอะไรท่จี ะทาเพื่อบ้านเมืองไดก้ ็ตอ้ งทา” เชน่ งาน
อาสาสมัคร งานบาเพญ็ ประโยชน์ งานสาธารณกุศลให้ทาดว้ ย ความมนี ้าใจ และความเอ้อื อาทร

เข็มที่ ๒ พฒั นาผูเ้ รียนให้มีความเป็นประชาธปิ ไตย และมีความปลอดภัย ด้วยระบบ MOE Safety Platform โดย
ดาเนนิ การส่งเสรมิ พฒั นาผู้เรยี นให้ปฏิบตั ิตนตามหน้าทข่ี องการเป็นพลเมอื งดี ตามกฎหมาย ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดารงชีวิตอยรู่ ว่ มกนั ในสังคมไทยและสงั คมโลกอยา่ งสนั ติสขุ เขา้ ใจระบบการเมอื งการปกครองในสังคมปจั จุบัน ยึดมน่ั ศรทั ธา
และธารงรกั ษาไว้ซึง่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมุข ด้านความปลอดภัย ดาเนินการ
พฒั นาสถานศึกษาให้เป็นพนื้ ทป่ี ลอดภัย เอ้อื ต่อการมสี ุขภาวะท่ดี ี สร้างภูมคิ ุ้มกันสื่อและเทคโนโลยี ในการดาเนินชีวิตวิถใี หม่
(New Normal)

เข็มท่ี ๓ สง่ เสริมโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา “พานอ้ งกลับมาเรียน” จัดการศกึ ษาให้
ผู้เรียนได้เขา้ ถงึ โอกาส ความเสมอภาค มสี มรรถนะในการศกึ ษาตอ่ และการประกอบอาชีพในอนาคตใหส้ อดคล้องกับ
ตลาดแรงงาน นกั เรยี นท่ีมคี วามสามารถพเิ ศษต้องไดร้ ับการพฒั นาสง่ เสริมเต็มตามศักยภาพ และภายใตแ้ นวคิด “จะไม่ท้ิงใครไว้
ขา้ งหลงั ” นักเรยี นตกหลน่ ออกกลางคัน หรอื หลดุ ออกจากระบบ รวมถงึ เด็กท่ขี าดโอกาส ไม่มีความพร้อม “ตอ้ งได้กลบั สู่
ห้องเรียน”

เข็มท่ี ๔ ส่งเสรมิ ใหค้ รไู ดจ้ ัดการเรยี นการสอนทีเ่ นน้ ใหผ้ เู้ รียนมสี ่วนร่วมและมีปฏสิ ัมพนั ธก์ ับกจิ กรรมการเรียนรูผ้ า่ น
การปฏบิ ัติทหี่ ลากหลายรปู แบบ ดว้ ยการจดั การเรยี นรู้เชงิ รกุ (Active Learning) มกี ารวดั ประเมินผลในชนั้ เรียน เพื่อพฒั นาการ
เรียนรแู้ ละสมรรถนะของผเู้ รียน (Assessment For Learning)

8

เขม็ ที่ ๕ สรา้ งบรรยากาศทอี่ บอนุ่ เพอ่ื การศกึ ษา (Creating a climate hospitable to education) จดั
สภาพแวดล้อมโรงเรยี นใหเ้ ป็น “โรงเรยี นน่าอยู่ นา่ ดู และน่าเรยี น” ท่สี ามารถเออ้ื ตอ่ การจดั การเรยี นการสอน และการเรียนรู้
ของผู้เรียน อย่างแทจ้ รงิ โดยใหช้ มุ ชนเข้ามามีส่วนรว่ มในการพฒั นารว่ มกนั สรา้ งความประทับใจแก่ผู้ผปู้ กครองและชมุ ชน

เขม็ ที่ ๖ นาเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลและการจัดการฐานข้อมูล มาเพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการบรหิ าร และการจดั การเรียนการ
สอน เช่น จัดใหม้ ีหอ้ งเรียนอจั ริยะ SMART CLASSROOM เพื่อก้าวสู่ Thailand ๔.๐ อยา่ งเป็นรปู ธรรม เนน้ การเรียนการสอน
ผ่านระบบดจิ ติ อล เทคโนโลยที ท่ี ันสมัย อุปกรณค์ อมพวิ เตอร,์ Software ท่ถี ูกพัฒนามาโดยเฉพาะ ระบบเสียง และ ระบบการ
มองเห็น ที่มปี ระสิทธิภาพ เปลีย่ นครใู ห้เป็น “Coach”

เข็มที่ ๗ ฟ้ืนฟภู าวะถดถอยทางการเรยี นรู้ (Learning Loss Recovery) โดยจดั ใหม้ หี อ้ งคลนิ ิกภาษา ไดแ้ ก่ คลินกิ
ภาษาไทย และคลินกิ ภาษาอังกฤษ ในโรงเรยี น ตามนโยบาย “เด็กไทยวถิ ีใหม่ อ่านออกเขียนไดท้ ุกคน” และนโยบายพฒั นา
ผู้เรียนทุกคนให้มคี ณุ ลักษณะและทักษะการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี ๒๑ (๓Rs๘Cs) มุง่ พฒั นาทกั ษะนกั เรยี นในการใช้ภาษาไทย เพื่อ
การอา่ นออกและเขยี นได้ทุกคน และเพอ่ื ใหน้ ักเรียนได้ใช้ภาษาองั กฤษเพ่อื การสอื่ สารได้

๓.4. สถานศึกษาพัฒนา ส่งเสริม ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษาใหม้ ีสมรรถนะตามมาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐาน
วิชาชพี

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย
ครูและบคุ ลากรทางการศึกษาร้อยละ ๑๐๐ มสี มรรถนะตามมาตรฐานตาแหนง่ และมาตรฐานวชิ าชีพ
2) ปัญหาและอุปสรรค -ไม่มี-
3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร -
4) นวตั กรรม/รูปแบบ/แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา ที่คดิ วา่ เปน็ ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งท่ดี ี
(Best Practice) โปรดระบรุ างวลั ทีค่ รูได้รบั ด้วย
แนวทางการดาเนินงานของสถานศกึ ษา
- จดั ทาโครงการพฒั นาบคุ ลากร/ โครงการศึกษาดูงาน
- ดาเนินงานตามโครงการ
- นเิ ทศ กากับ ตดิ ตามการดาเนินงาน
- สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งานใหผ้ บู้ ังคบั บัญชา/ต้นสงั กัดทราบ
- ส่งเสรมิ สนบั สนุนใหบ้ ุคลากรสมคั รเขา้ รบั การอบรมท่อี ืน่ ในหวั ขอ้ ท่ตี นเองสนใจหรอื เขา้ รบั การ
อบรมผา่ นระบบอเิ ล็กทรอนกิ ส์ (e-learning) ในหวั ข้อที่ตนเองสนใจ/ หลักสตู รการพฒั นาขา้ ราชการครูของ
สพฐ. ตามหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารท่ี ก.ค.ศ. กาหนด
- ส่งเสรมิ สนับสนุนใหบ้ ุคลากรศกึ ษาตอ่ และพฒั นาตนเองในวิชาชพี อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง
- ส่งเสริม สนบั สนนุ ใหบ้ ุคลากรจัดทาผลงานทางวิชาการ

๔. ดา้ นประสิทธิภาพ

4.1 สถานศกึ ษานาเทคโนโลยดี จิ ทิ ัลและการจดั การฐานข้อมูล มาใชเ้ พม่ิ ประสทิ ธิภาพในการบริหารจัดการศกึ ษาและ
การเรียนรขู้ องผเู้ รียน

1) สภาพความก้าวหน้า ความสาเร็จของการดาเนินงานตามนโยบาย
สถานศึกษามีการจัดทาฐานข้อมูลคุณภาพ มีระบบจัดเก็บข้อมูลนักเรียนรายบุคคล (Data Management
Center) และผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นของผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคล โดยการใช้ระบบ Secondary Grading System (SGS)
ซึ่งจัดเก็บข้อมูลสารสนเทศพ้ืนฐานของนักเรียน ข้อมูลงานทะเบียน การวัด และประเมินผลทางการศึกษาและผลการ

9

เรียนรายบุคคล เพื่อให้นักเรียน ผู้ปกครองทราบผลการเรียน และ เข้าร่วมประชุมเพ่ือหาแนวทางยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียน ครูนาผลการเรียนมาประกอบการวิเคราะห์ผู้เรียนเพ่ือวางแผนจัดการเรียน การสอน และสามารถ
ดาเนินการจัดส่งข้อมูลผลการเรียน (GPAX) ตามปฏิทินกาหนดในการรับ – ส่ง ผลการเรียนเฉลี่ย 6 ภาคเรียน ใน
ระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 เพ่ือใช้ประกอบในการคัดเลือกบุคคลเข้าศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา รวมถึงการจัดทา
ฐานข้อมลู ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาของนักเรียนรายบุคคลในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เพ่ือใช้ในการศึกษาต่อ
ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย หรือสายอาชีพ และอ่ืน ๆ ตามความประสงค์ของผู้เรียน และการจัดทาข้อมูล
สารสนเทศผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยของผู้เรียนรายบุคคลยังแสดงถึงพัฒนาการ ความก้าวหน้า และความสาเร็จ
ทางการเรยี นของผเู้ รยี น เป็นประโยชน์ต่อการส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการพัฒนาและเรียนรู้เต็มตามศักยภาพ สร้างความ
มน่ั ใจเก่ียวกับคณุ ภาพท่แี สดงพฒั นาการความกา้ วหนา้ และความสาเร็จทางการเรียนของผูเ้ รยี น

2) ปัญหาและอุปสรรค -ไม่มี-
3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขอย่างไร -
4) นวตั กรรม/รูปแบบ/แนวทางการดาเนนิ งานของสถานศกึ ษา ทค่ี ดิ วา่ เปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่างทด่ี ี
(Best Practice)
แนวทางการดาเนินงานของสถานศึกษา
- จัดทาคาส่งั แตง่ ตง้ั ผรู้ ับผิดชอบ
- ดาเนนิ งานตามปฏทิ นิ การปฏบิ ัติงาน
- นิเทศ กากบั ตดิ ตามการดาเนนิ งาน
- สรปุ และรายงานผลการดาเนนิ งานใหผ้ ู้บงั คับบัญชา/ตน้ สังกัดทราบ

ส่วนท่ี 3 สารวจสภาพปัจจบุ ันและปัญหา
1. จดุ เดน่ ของสถานศึกษา
- คุณภาพนกั เรยี น (ด้านวชิ าการ ดา้ นวชิ าชีพ ด้านวิถชี วี ิต)
o ผ่านการประเมนิ ภายนอกจาก สมศ. ภายใต้สถานการณ์ COVID-19
o ผ่านการประเมนิ โรงเรียนมาตรฐานสากล ระดับ Scqa
o เขา้ ร่วมโครงการศนู ย์การเรยี นร้เู ศรษฐกจิ พอเพยี งบรู ณาการกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active
Learning
o พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา ให้สอดคลอ้ งกบั ความตอ้ งการของท้องถิน่ หลักสูตรแกนกลางการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน และโรงเรียนมาตรฐานสากล
o ครูใช้สอ่ื ในการจัดการเรยี นสอนท่ีหลากหลาย สามารถพฒั นาสื่อการเรยี นการสอน โดยใช้ เทคโนโลยี
ดิจทิ ัล ตอบสนองความแตกตา่ งระหว่างบุคคล มกี ารจดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ทส่ี อดคล้องกับ
หลักสตู ร
o มกี ารนิเทศ ติดตามการจดั การเรียนการสอนอย่างตอ่ เนอ่ื ง เพื่อพฒั นาการจดั การ เรียนการสอนใหม้ ี
คุณภาพ
o มกี ารวางแผนอัตรากาลงั และพฒั นาบุคลากรในสถานศึกษาอย่างต่อเนื่อง
o โรงเรียนมกี ารสรา้ งและพัฒนาเครอื ขา่ ยเพอื่ พฒั นาการเรียนร้ขู องผู้เรยี น โดยทา MOU กับหน่วยงาน
ท่เี ก่ยี วขอ้ ง ดงั นี้
- เป็นโรงเรยี นเครอื ข่ายฝึกประสบการณ์วชิ าชีพครู คณะวิทยาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั นครพนม

10

- เปน็ โรงเรยี นเครอื ข่ายฝึกประสบการณว์ ิชาชพี ครู คณะครศุ าสตร์ มหาวิทยาลยั ราชภฏั
สกลนคร

- วทิ ยาลัยการอาชพี นาแกเพือ่ พฒั นาดา้ นวชิ าการและดา้ นวชิ าชีพเพ่ือส่งเสรมิ การมงี านทา
- มหาวิทยาลยั มหาจฬุ าลงกรณราชวทิ ยาลัย วทิ ยาลัยสงฆน์ ครพนม เพ่ือพฒั นาดา้ นวชิ าการ

คณุ ธรรม จริยธรรม หรอื โครงการอน่ื ๆ พัฒนาคุณลกั ษณะอันพ่ึงประสงคข์ องผู้เรยี น
- สถาบันการจัดการปัญญาภวิ ฒั น์ เพือ่ พฒั นาและส่งเสริมความรคู้ วามสามารถบุคลากรทาง

การศกึ ษา และใหโ้ อกาสทางการศึกษาแกน่ ักเรียนในสถานศกึ ษา
- สถาบนั พระรมราชชนก เพ่ือพฒั นาและส่งเสรมิ ความรคู้ วามสามารถ และให้โอกาสทางการ

ศึกษาแก่นกั เรียนในสถานศึกษา
- โรงพยาบาลนาแก เพือ่ ใหบ้ ริหารด้านสุขภาพอนามัยและการฉีดวคั ซีน ไฟเซอร์ใหก้ ับนักเรยี น
- สานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษานครพนม ดา้ นระบบดแู ลชว่ ยเหลือผเู้ รยี น

- คณุ ภาพครู
o ครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษารอ้ ยละ ๑๐๐ มีสมรรถนะตามมาตรฐานตาแหน่งและมาตรฐาน
วชิ าชพี
o ครูผู้สอนมกี ารวเิ คราะหผ์ ู้เรียนเปน็ รายบคุ คลและน้าผลมาพัฒนา โดยการจดั ทา้ แผนการจัดการ

เรยี นรู้ เพอื่ นา้ ผลไปพัฒนาผูเ้ รยี น ตลอดจนมกี ารประเมินแผนการจดั การเรยี นร้เู พือ่ นา้ ไปปรับปรุง

พฒั นาให้มีประสิทธภิ าพมากยงิ่ ข้ึน

o ครผู สู้ อนมีการจัดกระบวนการเรียนรู้ โดยจดั เนอื้ หาสาระและกิจกรรมใหส้ อดคล้องกบั ความสนใจ
และความถนัดของผู้เรยี น ค้านงึ ถงึ ความแตกต่างระหวา่ งบุคคล จดั กระบวนการเรยี นร้โู ดยเนน้ การ
ปฏิบตั ิ (active learning) เพอ่ื ใหผ้ เู้ รียนได้เรยี นรู้ผ่านกระบวนการคดิ การจดั การ การเผชิญ
สถานการณ์ การน้าความรไู้ ปประยกุ ตใ์ นป้องกนั และแก้ไขปัญหา

o ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ครูผ้สู อนมีการบรหิ ารจดั การช้นั เรยี นเชงิ บวก โดยเนน้ การมปี ฏิสมั พันธ์ทด่ี ี

ระหวา่ งครแู ละผเู้ รียน ระหว่างผูเ้ รียนดว้ ยกนั สามารถเรียนร้รู ว่ มกนั อย่างมคี วามสขุ มีการจดั สภาพ

ห้องเรียนใหม้ ีบรรยากาศน่าเรยี น สะอาด ปลอดภยั

- ด้านสถานที่ ส่ิงแวดลอ้ ม และชมุ ชน
o มกี ารดูแล พัฒนาอาคารสถานที่ และสภาพแวดลอ้ มของโรงเรียนให้อยใู่ นสภาพที่มน่ั คง ปลอดภยั
เหมาะสม พรอ้ มทจี่ ะใชป้ ระโยชน์ มีบรรยากาศเอือ้ อานวยตอ่ การเรยี นรู้ หอ้ งเรียนสะอาด มโี ตะ๊ -
เกา้ อี้เพยี งพอต่อจานวนผเู้ รียน ห้องนา้ หอ้ งส้วมสะอาด ปลอดภัย อปุ กรณ์เพียงพอ พร้อมใช้งาน
o มหี ้องเรียนทง้ั หมด 34 ห้องเรียน ซึง่ ในห้องเรียนมี Smart TV จานวน 31 หอ้ ง และมสี ญั ญาณ
อนิ เทอรเ์ น็ตทว่ั บรเิ วณโรงเรียน นอกจากนโี้ รงเรยี นยงั มีห้องปฏิบัตกิ ารคอมพวิ เตอร์ จานวน 3
หอ้ งเรียน ห้องปฏิบตั กิ ารทางวทิ ยาศาสตร์ จานวน 3 ห้อง ห้องดนตรี จานวน ๑ หอ้ ง ห้องนาฎศลิ ป์
จานวน 1 ห้อง และห้องจริยธรรม จานวน 1 หอ้ ง
o ชมุ ชนเขม้ แขง็ ให้ความรว่ มมอื เต็มท่ีในการจดั การศึกษา

๒. ความช่วยเหลอื ทส่ี ถานศกึ ษาต้องการจากกระทรวงศึกษาธิการและเขตพื้นที่

11

- คณุ ภาพนกั เรียน (ดา้ นวิชาการ ดา้ นวชิ าชีพ ดา้ นวิถีชวี ติ )
o งบประมาณสนับสนุนในด้านการจดั การเรียนการสอน ด้านกฬี าและดา้ นการพัฒนาเทคโนโลยี

- คณุ ภาพครู
o มีครูครบชน้ั ครบวิชาเอก แตไ่ มเ่ พยี งพอในบางรายวิชา เชน่ รายวชิ านาฎศิลป์ สขุ ศกึ ษาและพล
ศกึ ษา วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เนอื่ งจากมคี าบสอนมาก

- ดา้ นสถานท่ี สิง่ แวดล้อม และชุมชน
o ต้องการงบประมาณในการสรา้ งบา้ นพักครู เนอื่ งจากโรงเรยี นนาแกพทิ ยาคมมีบ้านพักครเู พียงหลัง
เดยี วยังไมเ่ พียงพอต่อความตอ้ งการของครู

โครงการ “พานอ้ งกลบั มาเรยี น”

๑.โรงเรยี นมกี ารดาเนินงาน "โครงการพาน้องกลบั มาเรยี น" อยา่ งไร (ตอบได้มากกวา่ ๑ รายการ)

() มแี ผนและแนวทางการบรหิ ารจัดการ กากับ ตดิ ตาม และดแู ลชว่ ยเหลือผู้เรียนท่ีหลดุ ออกจากระบบ

การศกึ ษาและออกกลางคันให้กลับเข้าสูร่ ะบบการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

( ) มีแนวปฏิบัติและเชอ่ื มโยงสารสนเทศของหนว่ ยงานในสังกัดกระทรวงศกึ ษาธิการและหน่วยงานอื่น เพือ่

ดาเนนิ การเชงิ บรู ณาการของสถานศกึ ษา

() มกี ารชแ้ี จง สรา้ งความเขา้ ใจ ประชาสัมพนั ธ์แผนและแนวทางการบรหิ ารจดั การของสถานศกึ ษา เพือ่

ตดิ ตามค้นหาผเู้ รยี นหลดุ ออกจากระบบการศกึ ษาและออกกลางคันให้กลับเข้าสรู่ ะบบการศึกษาของสถานศกึ ษา

() มีการตรวจสอบและปรับปรงุ ข้อมลู เดก็ ตกหล่นและเดก็ ออกกลางคนั ให้เปน็ ปัจจบุ นั สอดคลอ้ งกบั

ข้อเทจ็ จริง

( ) มีการสร้างการรบั รู้ ขยายผลการใช้แอปพลิเคชัน “พานอ้ งกลับมาเรียน” ให้แก่ครูและบุคลากรทางการ

ศึกษาในสถานศึกษา

() มีการลงพื้นทีต่ ิดตามนักเรยี นกลมุ่ เส่ยี งออกกลางคนั และออกกลางคนั เพอ่ื รับทราบปัญหา ร่วมกันแกไ้ ข

ปญั หา หรือส่งตอ่ ขอความชว่ ยเหลอื จากหน่วยงานทเี่ กี่ยวขอ้ ง เพ่ือใหน้ ักเรียนกลบั เขา้ สรู่ ะบบการศึกษาและจบ

การศกึ ษาภาคบังคบั เป็นอย่างตา่ เพอ่ื การประกอบอาชีพในอนาคตตอ่ ไป

() มีระบบดแู ลชว่ ยเหลือนกั เรียนที่เขม้ แขง็ สามารถปอ้ งกนั และแกไ้ ขปัญหานักเรียนออกกลางคนั /เสี่ยงออก

กลางคนั ไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ

๒. ข้อมลู ผลการติดตามผู้เรียนกลุ่มเปา้ หมาย "โครงการพานอ้ งกลับมาเรยี น”

๒.๑ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๕

๑) จานวนผู้เรียนกลุ่มเปา้ หมายแยกเปน็

- ผ้เู รยี นท่ีออกกลางคนั จานวน .......๔...............คน

- ผู้เรียนทเ่ี สี่ยงออกกลางคนั (ขาดเรยี นเกนิ 7 วนั ) จานวน ........-...............คน

๒) จานวนผู้เรียนตดิ ตามแล้วแยกเป็น

- พบตวั กลับเข้าสูร่ ะบบการศกึ ษา แยกเปน็

- สถานศกึ ษาเดิม จานวน .......-............... คน

12

- สถานศกึ ษาอนื่ ๆ จานวน ........๔.............. คน

- พบตวั ไมก่ ลบั เขา้ ส่รู ะบบการศกึ ษา โดยแยกเป็นสาเหตดุ ังนี้

๑) ............................................................... จานวน ........-.......... คน

๒) ............................................................... จานวน .........-......... คน

๓) ............................................................... จานวน .........-......... คน

- ไมพ่ บตวั /ไม่อย่ใู นพ้ืนท่ี จานวน .........-..............คน

๒.2 ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

๑) จานวนผเู้ รยี นกล่มุ เปา้ หมายแยกเปน็

- ผูเ้ รียนท่ีออกกลางคัน จานวน .........2๘...........คน

- ผเู้ รยี นทเ่ี ส่ียงออกกลางคนั (ขาดเรยี นเกนิ 7 วนั ) จานวน .........20...........คน

๒) จานวนผ้เู รยี นตดิ ตามแล้วแยกเป็น

- พบตวั กลับเข้าสรู่ ะบบการศกึ ษา แยกเปน็

- สถานศกึ ษาเดิม จานวน ........8.............. คน

- สถานศึกษาอื่นๆ จานวน .........15........... คน

- พบตวั ไมก่ ลบั เขา้ สูร่ ะบบการศกึ ษา โดยแยกเปน็ สาเหตุดงั น้ี

๑) นกั เรยี นจบ ม.3 ไปทางานกับญาติ และไมป่ ระสงคเ์ รียนต่อ จานวน ...11... คน

๒) นักเรียนศึกษาต่อ กศน จานวน .......8........ คน

๓) ............................................................... จานวน ........-......... คน

- ไมพ่ บตวั /ไม่อยู่ในพื้นที่ จานวน ........5........ คน

๓) จานวนผู้เรียนท่ยี งั ไมต่ ิดตาม จานวน ...........-.........คน

๓. ปัญหา/อุปสรรค/ขอ้ จากดั ในการดาเนินงานตามนโยบาย

........................ไมม่ ี...........................................................................................................................................

๔. ข้อเสนอแนะเพอ่ื การปรับปรงุ นโยบาย

.........................ไมม่ ี..........................................................................................................................................

13

ภาคผนวก

14

ด้านการบรหิ ารวิชาการและความเป็นผนู้ าทางวชิ าการ

ตรวจเยี่ยมกากบั ตดิ ตามการแก้ไข 0, ร, มส, มผ

ส่งเสริมสนบั สนนุ กิจกรรมดา้ นวชิ าการทกุ กลุ่มสาระการเรยี นรู้
(งานวันวิทยาศาสตร์ ประจาปกี ารศกึ ษา 2565)

15

ดา้ นการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา

การดาเนนิ การบริหารจัดการสถานศึกษาส่งผลให้ไดร้ ับการประกันคณุ ภาพภายนอก (พ.ศ. 2564-2568)
และ รางวลั สถานศึกษาปลอดภัย ประจาปีการศึกษา 2564

16

ด้านการบรหิ ารงานตามนโยบาย

ติดตามนักเรยี นในโครงการพาน้องกลับมาเรียน

17

ดา้ นการบริหารชุมชนและเครือข่าย

ร่วมทอดกฐินสามัคคี และตอ้ นรับพลเอกประวิตร วงษ์สวุ รรณ
ณ วัดโฆสมังคลาราม อาเภอปลาปาก จงั หวดั นครพนม

ถวายปัจจยั สมทบทนุ งานบุญขา้ วสากไหลเรอื ไฟและการแข่งขันพายเรอื เล็ก ประจาปี 2565
ณ วัดศรสี ะอาด ตาบลหนองสงั ข์ อาเภอนาแก จงั หวดั นครพนม


Click to View FlipBook Version