The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเรียนวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Supennapa Khottham, 2023-02-16 23:15:18

ร้อยเรียงหลักภาษาไทย

หนังสือเรียนวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕

หนังสือ รายวิชาพื้นฐาน ร้อยเรียงหลักภาษาไทย กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ตามหลักสูตรเเกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ม.๕


หนังสือ รายวิชาพื้นฐาน ร้อยเรียงหลักภาษาไทย ม.๕ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๕ ตามหลักสูตรเเกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ผู้เรียบเรียง นางสาวสุเพ็ญนภา โคตรธรรม นางสาววรัญญา เเก้วอินทร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ไดกําหนดใหภาษาไทย ซึ่งเปนภาษา ประจําชาติ เปนรายวิชาพื้นฐานที่ผูเรียนทุกคนตองเรียนเพื่อพัฒนาศักยภาพของผูเรียนใหสามารถใชภาษาไทย ไดอยางถูกตองตามหลักภาษาไทยและเกิดความรูความเขาใจในเอกลักษณทางภาษาของชาติ ภาษาไทยเปนเอกลักษณของชาติ เปนสมบัติทางวัฒนธรรมอันทําใหเกิดเอกภาพและเปนเครื่องมือที่ ใชในการติดตอสื่อสารเพื่อสรางความเขาใจและความสัมพันธอันดีของคนในชาติ นอกจากนี้ภาษาไทยยังเปนเครื่อง มือสําคัญที่ชวยในการแสวงหาความรูทั้งจากหนังสือและแหลงขอมูลสารสนเทศ ทั้งนี้ผูเรียนจะตองมีความ รูความเขาใจและ เลือกสรรใชภาษาไทยที่ถูกตองเพื่อธํารงไวซึ่งเอกภาพของชาติไทยและสามารถนําไปใชพัฒนาทักษะอาชีพตาง ๆ เพื่อประโยชนของตนเองและสังคม หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐานภาษาไทย หลักภาษาและการใชภาษานี้มีเนื้อหาเนนใหผูเรียนเขาใจในภาษาไทยกวาง ขึ้น มีทักษะหลักการใชภาษาเพื่อการสื่อสารที่สูงขึ้นรวมทั้งมีความคิดที่แจมชัด และสามารถนําภาษาไปปรับใชใน ชีวิต ประจําวันไดอยางมีประสิทธิภาพ คณะผูเรียบเรียงหวังวา ผูที่ไดศึกษาหนังสือเรียนเลมนี้จะพัฒนาคุณภาพและคุณลักษณะที่พึงประสงค ของผูเรียนไดตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ กลุมสาระ การเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที่ ๔-๖ ทุกประการ คำ นำ ผู้เรียบเรียง


สารบัญ ธรรมชาติของภาษา ๒ พลังของภาษา ๙ เเบบฝึกทักษะ ๑๐ บทที่ 1 ธรรมชาติของภาษา ลักษณะของภาษา ๑๔ เสียงในภาษาไทย ๑๖ ส่วนประกอบของภาษา ๑๙ องค์ประกอบของพยางค์เเละคำ ๒๑ เเบบฝึกทักษะ ๓๑ บทที่ 2 ลักษณะของภาษาไทย คำ ราชาศัพท์ ๓๔ ระดับภาษา ๔๓ เเบบฝึกทักษะ ๔๖ บทที่ 3 ระดับภาษา คำ ราชาศัพท์ กลอน ๕๐ กาพย์ ๕๓ โคลง ๕๖ เเบบฝึกทักษะ ๕๙ บทที่ 4 การเเต่งบทร้อยกรอง อิทธิพลของภาษาต่างประเทศเเละภาษาถิ่น ๖๒ ภาษาถิ่นื๖๙ เเบบฝึกทักษะ ๗๐ บทที่ 5 อิทธิพลของภาษาต่างประเทศเเละภาษาถิ่น หน้า


การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์ ๘๗ การอ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ๙๒ เเบบฝึกทักษะ ๙๓ บทที่ 7 การอ่านสื่อสิ่งพิมพ์เเละสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ภาคผนวก ๙๖ หลักการสร้างคำ ในภาษาไทย ๗๔ เเบบฝึกทักษะ ๘๓ บทที่ 6 หลักการสร้างคำ ในภาษาไทย สารบัญ หน้า


อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลักษณะของภาษา ธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา สาระการเรียนรูแกนกลาง ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ม๔-๖/๑ ภาษา เปนเคร่ืองมือท่ีใชในการสื่อสารของมนุษยเพื่อถายทอดความรู ความเชื่อ ตลอดจนวัฒนธรรมจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง การมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับธรรมชาติของภาษา ความหมายของภาษา หนวยเสียงในภาษา การเปล่ียนแปลงของภาษาและลักษณะท่ัวไปของภาษา ตลอดจนพลังของภาษาจะชวยใหใชภาษาเพื่อสื่อสารไดชัดเจน ถูกตองตามวัตถุประสงคและมีประสิทธิผลมากข้ึน บทที่ ๑ ธรรมชาติและพลังของภาษา


๑. ธรรมชาติและพลังของภาษา ธรรมชาติของภาษา ภาษาเปนเครื่องมือที่มนุษยใชในการติดตอสื่อสารกัน เพื่อแลก เปลี่ยนความคิด ความ เห็น ทฤษฎี อารมณ ความรูสึก หรือเพื่อทําใหเกิดความเขาใจ เกิดความ พึงพอใจ ความเครียดแคน เปนต้น กิจ กรรมที่ใชภาษามีมากมาย เชน การใหขอมูล การชี้แจง การแสดงความคิดเห็น การโฆษณา การอภิปราย การ เลาเรื่อง การโตแยง ตลอดจนการสนทนา ในชีวิตประจําวัน อาจกลาวไดวากิจกรรมเกือบทั้งหมดในชีวิตของคน เราลวนแตอาศัยภาษาทั้งสิ้น ๑.๑ ความหมายของภาษา ๑) ลักษณะและรูปแบบของอวัจนภาษา ๑.๑) การแสดงออกทางใบหนา ยิ้มแยมแจมใส ตกใจ โกรธ ๑.๒) นํ้าเสียง เสียงดังพอไดยิน-แสดงความสุภาพ เสียงดังมาก กระโชกโฮกฮาก-แสดงความไมสุภาพ เสียงคอยเกินไป-แสดงความไมแนใจ ๑.๓) ทาทาง ทาทางสุภาพ ไดแก ทาน่ังหรือยืนอยาง สุภาพ แสดงความนอบนอมทาทางไมสุภาพ ไดแก ทายืนทําตัวตามสบาย เอามือลวง กระเปา ๑.๔ การแตงกาย แตงกายใหเหมาะสมกับโอกาส กาลเทศะและสภาพแวดลอม ๑.๕) การเคลื่อนไหว ในขณะพูดตองเคลื่อนไหวบางพอ เหมาะกับเนื้อหาที่พูด ๑.๖) การใชมือและแขน กํามือ ผายมือ ยกมือทั้งสอง ๑.๗) การใชนัยนตา แปลกใจ สงสัย มั่นใจ ลังเลใจ สมใจ สะใจ ๑.๘) การใชภาษาสัญลักษณตาง ๆ ตัวหนังสือ สัญญาณ มือสัญญาณไฟ ธง ปายจราจร สัญญาณนกหวีด ภาษาในความหมายกวาง หมายถึง ภาษาท่ีใชคําพูด (วัจนภาษา) และภาษาที่ไมไดใชคําพูดหรือภาษาทาทาง (อวัจนภาษา) ภาษาในความหมายแคบ หมายถึง ภาษาที่ใชคําพูดจะเปนคําพูดหรือลายลักษณอักษร ซ่ึงเปนเคร่ืองหมาย ใชแทนคําพูดก็ได้ ๑.๒ ประเภทของภาษาท่ีใชในการส่ือสาร ๒


๒.๒) คําที่เปนภาษาพูด เมื่อนําคําที่เปนภาษาพูดมาเขียนเปนภาษาเขียน จะเขียนไมตรงกับเสียงพูด เชน ภาษาพูด : เคาเอาของชั้นไปแลวไมคืนไดไง ภาษาเขียน : เขาเอาของฉันไปแลวไมคืนไดอยางไร ๒.๓) คําที่เปนภาษาปาก ไมนิยมนํามาเปนภาษาเขียน เชน เยอะแยะ ใบขับขี่ มหาลัย ๒.๔) การใชสํานวน เพื่อใชเปรียบเทียบใหผูฟงเขาใจไดทันที สํานวนเหลานี้จะมีความหมายไมตรงกับคําที่เขียน เช่น ใจยักษ หมายถึง มีจิตใจดุราย โหดเหี้ยม ๒) ลักษณะและรูปแบบของวัจนภาษา ภาษาไทยมีถอยคําที่แสดงความลดหลั่นชั้นเชิงของภาษาอยูมาก ทั้งถอยคํา สํานวน โวหาร การเลือกสรรถอยคำ จึงเปนเรื่องสําคัญที่สุดในการสื่อสาร ขอสังเกตของการใชวัจนภาษา ๒.๑) คําที่มีความหมายเหมือนกัน มีที่ใชตางกัน การใชคําเหลานี้ตองคํานึงถึงโอกาส สถานที่ และสัมพันธภาพระหวางบุคคล เชน คำ ว่ากิน คนธรรมดา ใช้ กิน พระภิกษุ ใช้ ฉัน พระบรมวงศานุวงศ์ ใช้ เสวย ๒.๕) การใชศัพทเฉพาะในแวดวงเดียวกันและการใชคําผวน การใชศัพทเฉพาะในแวดวงเดียวกัน เชน พยาบาลคุยกันวา "วันนี้ ตองขึ้นวอรดหรือเปลา” การพูดคําผวน เชน หมายตา หมายถึง หมาตาย ๒.๖) การใชภาษาถิ่น ภาษาถิ่นเปนภาษาที่ใชกันเฉพาะหมู และนิยมใชเปนภาษาพูด เชน แซบ มวน หรอย ๒.๗) การใชคําคะนองและสแลงเฉพาะสมัย เปนการใชคําสื่อสารกันเพียงชั่วคราว เชน ตุย ขิต ปง ฯลฯ ไมเหมาะที่จะนําไปใชในการสนทนาทั่วไปหรือการเขียน ๓


๒) หนวยในภาษาประกอบกันเปนหนวยที่ใหญขึ้น เสียง พยางคคํา กลุมคํา(วลี) ประโยค เรื่อง ภาษาไทยเรามีทั้งเสียงพยัญชนะและเสียงสระเชนเดียวกับภาษาอื่นอีกหลายภาษาและที่พิเศษ คือ ภาษาไทยมี เสียงรรณยุกต ทําใหสามารถสรางคําขึ้นไดมากมายแตบางคําอาจมีฐานะเปนเพียงพยางคเพราะไมมีความหมาย เชน ใชพยัญชนะ ก ประสมกับเสียงสระ ออ ก็ผันวรรณยุกตไดถึง ๕ เสียง คือ กอ กอ กอ กอ กอ ๑.๓ ลักษณะทั่วไปของภาษา ๑) ภาษาใชเสียงส่ือความหมาย ๑.๑ เสียงที่มีความสัมพันธกับความหมาย มักจะเปนคําจําพวกที่เกิดจากการเลียนเสียง จะเปนการเลียนเสียงธรรมชาติ เชน ครืน ๆ (เลียนเสียงฟารอง) หวิว ๆ (เลียนเสียง ลม) เลียนเสียงสัตวรอง เชน เหมียว (เสียงรองของแมว) โฮง (เสียงเหาของสุนัข) แปรน (เสียงรองของชาง) ๑.๒ เสียงที่ไมสัมพันธกับความหมายในแตละภาษาจะมีมากกวาเสียงที่สัมพันธกับความหมายเพราะเสียงตาง ๆ จะมีความหมายวาอยางไรนั้นขึ้นอยูกับขอตกลงกันของคนที่ใชภาษานั้น ๆ เชน ในภาษาไทยกําหนดความหมายของเสียง กิน วานําของใสปากแลวเคี้ยวกลืนลงคอ ภาษาอังกฤษใชเสียง eat (อี๊ท) ในความหมายเดียวกันกับเสียงกิน ๔


นอกจากนี้ ภาษาไทยยังมีวิธีนําประโยคมาเรียบเรียงใหไดประโยคยาวออกไปโดยจะอยูในรูป ประโยคความ รวมหรือประโยคความซอน เชน ฉันไปเที่ยว ฉันไปเที่ยวกับแม ฉันไปเที่ยวหัวหินกับแม ฉันไปเที่ยวหัวหินกับแมและนอง ๆ ฉันไปเที่ยวหัวหินกับแมและนอง ๆ เมื่อปดเทอมคราวที่แลว การแตงประโยคใหยาวขึ้นสามารถทําไดโดยการเดิมคําที่เปนสวนขยาย ไวหลังคําที่ตองการขยาย ตางจากภาษาอื่น โดยเฉพาะภาษาอังกฤษซึ่งจะนําสวนขยายมาไวขางหนาคําที่ตองการขยาย เราอาจนําประโยคตาง ๆ มาเรียงกันใหไดความหมายหลักอยางใดอยางหนึ่ง หนวยที่เกิดจากการรวมกัน ของประโยคในลักษณะดังกลาว คือยอหนาหรือมหรรถสัญญา และเรามักนําประโยคที่ยาวไมมากมาเรียงกัน เปนยอหนามากกวาจะแตงประโยคใหยาวมาก ๆ เพราะประโยคยิ่งซับซอนก็ยิ่งเขาใจยาก ทําใหวิเคราะหความหมายยากไปดวย ๕


๓) ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ๓.๑) การเปลี่ยนแปลงอันเกิดจากธรรมชาติของการออกเสียง เปนลักษณะทางเสียงทีเกิดเหมือน ๆ กันทุกภาษา เปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในชีวิตประจําวัน ไดแก การกลืนเสียง อยางนั้น เป็น ยังงั้น การกลายเสียง สะพาน เป็น ตะพาน การตัดเสียง อุโบสถ เป็น โบสถ การกรอนเสียง ลูกออน เป็น ละออน การสับเสียง ก เป็น ต ในภาษาถิ่นอีสาน เชน ตะกรุด เป็น กะตุด ทั้งนี้ความหมายอาจคงเดิมหรือความหมายอาจตาง ไปจากเดิมก็ได ๓.๒) การเปลี่ยนแปลงที่เกิดจากอิทธิพลภายนอก ๑. การยืมคํา หรือลักษณะการใชถอยคําแลวมิไดดัดแปลงใหเปนลักษณะของตนโดยสิ้นเซิง จึงมีอิทธิพล ทําใหภาษาของตนเปลี่ยนแปลงไป อาจมีเสียงเพิ่มขึ้นหรือเสียงแปลกขึ้น เชน ภาษาไทยไมมี เสียง /ล/ สะกด มีแต /น/ สะกด เมื่อรับคําวา ฟุตบอล มาใชก็มีผูออกเสียง /ล/ สะกดในคํานี้ ๖


๒. การใชคําและสํานวนตางไปจากเดิม เชน การนําคําภาษาตางประเทศมาใช ดังตอไปนี้ ภาษา คำ ความหมาย ภาษาเขมร เมิล ดู ไข สไบ ทูล เปิด ผ้าห่ม บอก ภาษาเปอร์เซีย ตรา จาระบี บัดกรี กุหลาบ คาราวาน นูน,เกด มีรอยดุน น้ำ มันหล่อ การเชื่อมโลหะ นำ้ ดอกไม้ หมู่คนเดินทาง องุ่นเเห้ง ภาษาอาหรับ ๓.๓) การเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดลอม เชน การเลิกสิ่งเการับสิ่งใหม การ รับความคิดหรือกระบวนการใหม ๆ เชน ขาวของเครื่องใช ก็ทําใหเกิด ความเปลี่ยนแปลงขึ้นในภาษาเพราะตองสรรคํามาใชเรียกสิ่งใหม ๆ เชน ถ้าพูดวาหุงขาวสวยไปหนอยวันนี้ คนรุนใหมที่ไมเคยตองหุงขาวเช็ด นํ้าไมตองระวังวาเมื่อใดควรรินนํ้าขาวและดงขาวใหสุกตอพอดี ๆ ไมและไมสวยอาจจะไมรูจักคําวา สวย ในความหมายนี้ และอาจจะไมรูจัก คําวานํ้าขาว และดงขาว อีกก็เปนได้ กะลาสี ขันที พวกลูกเรือ ผู้ชายที่ถูกตอน ๗


๔) ภาษาตาง ๆ มีลักษณะที่ตางและคลายกัน ๔.๑) ภาษาแตละภาษาใชเสียงสื่อความหมาย โดยเสียงที่ใชสื่อความหมายในทุกภาษามีท้ังเสียงสระ และเสียงพยัญชนะ ๔.๒) ภาษาแตละภาษาสามารถสรางศัพทใหมจากศัพทเดิม โดยอาจจะเปลี่ยนแปลงศัพทเดิมหรือนําศัพทอื่นมา ประสมกับศัพทเดิม เชน ภาษาไทยมีการสรางคําดวยการประสมคํา ซอนคํา ซํ้าคํา สวนภาษาอังกฤษมีการเติม Prefix Suffix เปนตัน ๔.๓) ภาษาแตละภาษามีสํานวนและมีการใชคําในความหมายใหม เชน ในภาษาไทยมีการใชคํา วา "สีหนา" ซึ่งไมไดหมายถึง สีของหนา แตหมายถึง การแสดงออกทางใบหนาหรือภาษาอังกฤษมีคําวา hot air ซ่ึงไมไดหมายความวา อากาศรอน แตหมายถึงเรื่องไมจริง เปนตน ๔.๔) ภาษาแตละภาษามีคําชนิดตาง ๆ คลายกัน เชน คํานาม คําขยายนาม คํากริยา คําขยายกริยา เปนตน ๔.๕) ภาษาแตละภาษามีวิธีขยายประโยคใหยาวออกไปไดเรื่อย ๆ โดยการเติมสวนขยาย ๔.๖) ภาษาแตละภาษามีวิธีแสดงความคิดคลายกันได เชน ทุกภาษาตางก็มีประโยคท่ีใชถาม ปฏิเสธ หรือใชสั่ง ๔.๗) ภาษาแตละภาษาตองมีการเปลี่ยนแปลงตามกาลเวลา ๘


๒. พลังของภาษา ๑) ภาษาเปนเครื่องมือสําคัญในการดํารงชีวิตของมนุษย ๒) ภาษาชวยใหมนุษยรูจักคิด โดยแสดงออกผานทางการพูด การเขียน และการกระทํา ๓) มนุษยยังใชความคิด และถายทอดความคิดเปนภาษา ซึ่งสงผลไปสูการกระทําผลของการกระทําสงผล ไปสูความคิด ความคิดที่ดียอมชวยกันธํารงสังคมใหมนุษยอยูรวมกันในสังคมอยางสงบสุข ๔) ภาษาชวยใหมนุษยเกิดการพัฒนา โดยใชภาษาในการแลกเปลี่ยนความคิดเห็น การอภิปรายโตแยงเพื่อนําไป สูผลสรุปมนุษยใชภาษาในการเรียนรู จดบันทึกความรู แสวงหาความรู และชวยจรรโลงใจดวยการอานบทกลอน รองเพลง ภาษาจึงมีพลังในตนเอง ๕) ภาษาสามารถสรางสรรคและทําลายได ๕) ภาษายอมมีสวนประกอบที่เปนระบบ มีระเบียบแบบแผน ภาษาตองมีระบบที่มีระเบียบแบบแผนจึงสามารถใชสื่อสารกันใหเขาใจได สวนประกอบที่สําคัญ คือ สัญลักษณ คํา ประโยค และความหมาย ทุกสวนประกอบเหลานี้จะรวมกันอยางเปนระบบ ตามระเบียบแบบแผน ทําใหเกิดเปนภาษาที่สมบูรณ์ ๙


ตอนที่ ๑ คําชี้เเจง ๑. ขอสอบเปนปรนัย ๔ ตัวเลือก จํานวน ๒๐ ขอ ใชเวลาทําขอสอบ ๓๐ นาที ๑. ขอใดไมไดเกิดจากการกรอนเสียง ก. หมากพราว ข. หมากมวง ค. สายดือ ง. สายใจ ๒. การท่ีนักรอง นักแสดงไทยหลายคนที่เกิดและ เติบโตในตางประเทศ และพูดภาษาไทยไดไม ชัดเจนน้ันแส ดงใหเห็นถึงลักษณะและธรรมชาติ ของภาษาตามขอใด ก. ภาษาเปนวัฒนธรรมทางสังคม ข. ภาษายอมแตกตางกันตามเชื้อชาติ ค. ภาษามักจะสะทอนภาพของสังคมน้ัน ๆ ง. ภาษาเปล่ียนแปลงไดตามสภาพแวดลอม ๓. ขอใดมีความหมายแคบ ก. เครื่องครัว ข. เครื่องจักร ค. เครื่องยนต์ ง. เครื่องซักผา ๔. นักเรียนสงขอความทางโทรศัพทถึงเพ่ือนในงานวันเกิด ขอใดเปนสาร ก. นักเรียน ข. ขอความ ค. โทรศัพทง. เพ่ือน ๕. คําวา นํ้า อานวานามแสดงวามีการ เปล่ียนแปลงภาษาในดานใด ก. คํา ข. เสียง ค. ความหมาย ง. สํานวน ๖. ขอใดเรียงลําดับของประโยคจากประธาน ขยายประธาน กริยา กรรม ขยายกรรม ขยาย กริยา ก. รถยนตสีขาว ชนรถกระบะสีดําพังยับเยิน ข. นักเรียนบําเพ็ญประโยชนในวันส่ิงแวดลอม ค. ครูประจําช้ันนํานักเรียนไปทัศนศึกษา ง. ภารโรงชวยดูแลความสะอาดของโรงเรียน ๗. ขอใดเปนวัจนภาษา ก. ตํารวจจราจรโบกมือหามรถ ข. กรรมการเปานกหวีดหมดเวลาการแขงขัน ค. นักเรียนรองเพลงประกวดในวันแมง. คนรักมอบดอกกุหลาบวันวาเลนไทน์ ๘. ขอใดเปนอวัจนภาษา ก. นักเรียนฟงครูอธิบาย ข. ทุกบานมีภาพในหลวงไวบูชา ค. คุณยายอวยพรใหหลาน ๆ มีสุขภาพแข็งแรง ง. คุณพอชอบอานขาวหนังสือพิมพ ๙. ขอใดคือส่ิงที่ทําใหภาษามีลักษณะตางกัน ก. ใชเสียงสื่อความหมาย ข. มีวิธีการสรางศัพทขึ้นใหม ค. มีโครงสรางไวยากรณท่ีตางกัน ง. มีการเปลี่ยนแปลงตามสิ่งแวดลอม ๑๐. ภาษาหมายถึงอะไร ก. เสียงท่ีเปลงออกมาตามธรรมชาติ ข. เสียงหรือคําพูดของมนุษยมีท้ังอวัจนภาษาและวัจนภาษา ค.การกระทําของมนุษยง. การเลียนเสียงของมนุษย แบบทดสอบบทที่ ๑ ๑๐


๑๑.ขอใดเปนภาษาอยางแคบ ก. มาลีเลียนภาษาของเจาดาง ข. ประชาสัมมนากับฝายวิชาการ ค. นกรองเสียงดัง ง. ฉันเห็นปายจราจร ๑๒. ขอใดใหคําจํากัดความคําวา “ภาษา” ไดถูกตอง ก. เครื่องมือท่ีมนุษยใชในการติดตอส่ือสารกัน ข. เสียงแทนเครื่องหมายในการสื่อสาร ระหวางมนุษย ค. การส่ือความหมายโดยใชภาพและการขีดเขียน ง. คําพูดของมนุษยในแตละชนชาติ ซึ่งแตก ตางกันแตเขาใจตรงกัน ๑๓. ขอใดเปนภาษาที่เกิดจากการเลียนเสียงธรรมชาติทุกคํา ก. ออด กริ่ง หวูด ข. ตุกแก กาเหวา นกยูง ค. นกหวีด ไฟฉาย ภูกระดึง ง. รถตุก ๆ รถซาเลง อีกา ๑๔. “คนเมาเดินเฉ เหไปชนอันธพาล เลยถูกเหล วาทําตัวเกเร เดินเปเซไมตรงทาง” คําท่ีขีดเสนใต ใหความรูสึก รวมกันไดในความหมายใด ก. เมา ข. ไมตรง ค. กวน ง. ไมสุภาพ ๑๕. คําใดเกิดจากการกลืนเสียง กลายเสียง และ กรอนเสียง ตามลําดับ ก. ยังง้ัน ตะพาน ละออน ข. ยังงั้น ตะขาบ โบสถ ค. ตะพาน ยังง้ัน ละออน ง. โบสถ ยังงั้น ตะพาน ๑๖. ขอใด ไมใช ลักษณะทั่วไปของภาษา ก. มีเสียงสระ ข. มีหนวยกริยา ค. มีหนวยเชื่อม ง. มีเสียงวรรณยุกต์ ๑๗. ขอใดใหความรูเร่ืองภาษาถูกตอง ก. บางภาษาเทาน้ันท่ีมีการขยายประโยคใหยาว ออกไปเรื่อย ๆ ข. แมภาษาของชาติที่ไมไดติดตอกับชาติอ่ืนก็มีการ เปลี่ยนแปลง ค. พยางคในแตละภาษายอมประกอบดวยเสียง สระ พยัญชนะ และวรรณยุกต ง. บางภาษามีคํานาม คํากริยา แตไมมีคําขยาย นามและคําขยายกริยา ๑๘. ขอใดไมแสดงการเปลี่ยนแปลงของภาษา ก. "เพ็ญ" เปนคําท่ีมาจากภาษาเขมร มีความ หมายวา "เต็ม" ข. "วิสัยทัศน" เปนศัพทบัญญัติของคํา "Vision" ในภาษาอังกฤษ ค. "พอ" เม่ือเปลี่ยนเสียงวรรณยุกตเปน "พอ" จะ มีความหมายตางไป ง. "เพ่ือ" เดิมใชเปนคําบุพบทบอกเหตุ ปจจุบันใช เปนคําบุพบทบอกจุดมุงหมาย ๑๑


แบบทดสอบบทท่ี ๑ ตอนท่ี ๒ คําช้ีแจง ใหทําเครื่องหมาย √ หนาขอความที่ถูกและทําเครื่องหมาย X หนาขอความที่ผิด _____๑. ในปจุบันเปนท่ีเช่ือแนแลววามนุษยเปนผูสรางภาษา _____๒. ภาษาเปนสิ่งท่ีพัฒนาไปพรอมกับมนุษย _____๓. ในรถโดยสารประจําทางมีขอความเขียนไววา “โปรดงดสูบบุหร่ีในรถโดยสารประจําทาง ฝาฝนปรับ ๒๐๐ บาท” ขอความนี้ถือวาเปนการใชภาษาเพ่ือกําหนดอนาคต _____๔. “อาว น่ังอานหนังสืออยูนี่เองไมไดไปลอยกระทงกับเพ่ือนหรือจะ” ขอความน้ีเปนภาษา เพื่อธํารงสังคม _____๕. ลุงแมนไดบอกวิธีตอกิ่งมะมวงใหชาวบานไปลองทําดู ถือวาลุงแมนใชภาษาเพื่อพัฒนา มนุษย _____๖. การใชภาษาใหหมาะสมกับฐานะ บทบาทและความ สันพันธของบุคคล เปนการใชภาษา เพื่อแสดงเอกัตภาพของบุคคล _____๗. “อยาอานหนังสือเลยนะเตย ไปเที่ยวกันเถอะ ถาเธอไมไปพวกเราคงหมดสนุกแน” ขอความน้ีเปนการใชภาษาเพ่ือกําหนดอนาคต _____๘. “ทุกวันนี้อะไรก็ไมจีรังย่ังยืน นับประสาอะไรกับคํามั่นสัญญา เขาใหไดก็ยอมทําลายได" ขอคามน้ีถือวาเปนการ ใชภาษาเพื่อแสดงเอกัตภาพของบุคคล _____๙. “เก่ียวเถิดนะแมเกี่ยว อยามัวชะแงแลเหลียว เด๋ียวเคียวจะเก่ียวกอยเอย....” ขอความน้ี แสดงวาเปนการใชภาษาเพื่อใหชื่นบาน _____๑๐. “ถาเธอตั้งใจฟงคําอธิบาย ก็เชื่อวาเธอจะตองสอบใด”แตถายังไมมั่นใจก็การอานทบทวน อีกคร้ัง” ขอความนี้เปนการใชภาษาเพื่อกําหนดอนาคต ๑๙. ขอใดไมแสดงการเปล่ียนแปลงของภาษา ก. ทางเทา อาจใชทัพศัพทวาฟุตบาท หรือใชศัพท บัญญัติวา บาทวิถี ข. จึ่ง เปนคําท่ีแผลงมาจาก จึง มีความหมาย เหมือนกันมักใชในคําประพันธ ค. ดี ในขอความวา คนดี ทําดี ดีแตก ถือเปนคํา เดียวกัน แตทําหนาที่ตางกัน ง. ถา และ หาก เม่ือนํามาชอนกันเปน ถาหาก จะ ใชเปนคําเช่ือมบอกเงื่อนไข เชนเดียวกับ ถา และ หาก ๒๐. ขอใดแสดงวาภาษาไทยกําลังมีการ เปล่ียนแปลง ก. "มอง" ภาษาเหนือใช "ผอ" ภาษาอิสานใช "เบิ่ง" และภาษาใตใช "แล" ข. "เรือน รัก" ในภาษากรุงเทพฯ ออกเสียงเปน "เฮือน ฮัก" ในภาษาถ่ินเหนือ ค. "สงสินคาออก" ปจจุบันใชคําวา "สงออกสินคา" ง. "ดิฉัน" แตเดิมท้ังผูหญิง และผูชายใชเปน สรรพนามแทนตัว ๑๒


อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษาและลักษณะของภาษา ใชคําและกลุมคําสรางประโยคตรงตามวัตถุประสงค ลักษณะของภาษา เสียงในภาษาไทย สวนประกอบของภาษา องคประกอบของพยางคและคํา การใชคําและกลุมคําสรางประโยค ตัวชี้วัด ท ๔.๑ ม๔-๖/๑,๒ สาระการเรียนรูแกนกลาง ภาษา เปนเครื่องมือท่ีมนุษยใชในการติดตอส่ือสาร การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ทฤษฎี การถายทอดอารมณ ความรูสึก เราอาจใชภาษาเพื่อทําใหเกิดความเขาใจ ความพึงพอใจ และการโตแยง สงผลใหกิจกรรมที่ใชกิจกรรมที่ใชภาษามีมากมาย เชน การใหขอมูล การช้ีแจง การแสดง ความคิดเห็น การโฆษณา การอภิปราย ตลอดจนการสนทนาในชีวิตประจําวัน จึงกลาวไดวา กิจกรรมในชีวิตของคนเราล้วน แตอาศัยภาษาทั้งสิ้น บทที่ ๒ ลักษณะของภาษาไทย


๒) ภาษาไทยสะกดตรงมาตรา มาตราตัวสะกดในภาษาไทยมี ๘ มาตรา เชน แมกก คําท่ีสะกดดวย "ก" มักเปนคําไทยแท เชน มัก ชัก นัก เปนตน อยางไรก็ตามมีคําในภาษาไทยบางคําที่มีตัวสะกดไมตรงตาม แมสะกด เชน ตัวสะกดแมกด เชน ดุจ รสชาติ บทบาท เปนตน ๑. ลักษณะสําคัญของภาษาไทย ภาษาไทยเปนภาษาท่ีอยูในตระกูลภาษาคําโคด มีลักษณะเฉพาะของตนเองซึ่งแตกตางจากภาษาอ่ืน ดังน้ี ๑) คําภาษาไทยเปนคําโดด กลาวคือ คําในภาษาไทยเดิมเปนคําท่ีมีพยางคเดียว มีความหมายชัดเจน เชน ๓) คําภาษาไทยคําเดียวมีหลายความหมายและหลายหนาท่ี เชน คําวา ขัน ๔) ภาษาไทยเปนภาษาเรียงคํา กลาวคือ ภาษาไทยจะประกอบคําเปนหนวยท่ีใหญขึ้นโดยการเรียงคํา และ ไมมีการเปล่ียนแปลงรูปคําไปตามเพศ พจน การก กาล มาลา วาจก เหมือนภาษาในตระกูลอ่ืน แตจะใชวิธีตีดความจากบริบท การเรียงคําในประโยคจึงมีความสําคัญเนื่องจากเมื่อสลับตําแหนงของคํา ในประโยค สงผลใหความหมายของคําเปล่ียนไป ดังเชน คำ ที่ใช้เรียกชื่อ ตัวอย่างคำ โดด เครือญาติ พ่อ เเม่ ปู่ ย่า พี่ น้อง ลุง ป้า น้า อา ร่างกาย หัว หน้า คอ ตา คิ้ว หู ปาก จมูก คาง ลิ้น กิริยาอาการ ไป มา เดิน วิ่ง พูด กิน ยืน เครื่องใช้ เสื้อ ผ้า ช้อน โอ่ง เสียม ถ้วย ประโยคที่ ๑ พี่ตีนองรองไห พี่เปน ประธาน นอง เปน กรรม ประโยคที่ ๒ นองตีพี่รองไห นอง เปน ประธาน พี่ เปน กรรม ประโยคที่ ๑ กันชนรถยนต เปนนามวลี ประโยคที่ ๒ รถยนตชนกันเปน ประโยค ๑๔


๕ ) คําขยายจะวางไวหลังคําที่ถูกขยาย เนื่องจากภาษไทยเปนภาษาเรียงคํา หากมีคําขยายจะวาง อยูหลังคําและอยูติดกับคําที่ถูกขยาย เชน นองรองเพลงเสียงหวานไพเราะ แมวนอนไดโตะทํางานหองพอ ๖) ภาษาไทยมีคําลักษณนาม คําลักษณนามเปนคําที่บอกลักษณะของนามขางหนา มักใชตามหลังคํา วิเศษณบอกจํานวน เชน กระเทียม ๔ กลีบ ตะกรา ๒ ใบ ฯลฯ และใชตามหลังคํานามทั่วไปเพื่อเนน นํ้าหนักและเพื่อบอกใหทราบลักษณะของคํานามนั้น เชน นิยายเรื่องนี้สนุกมากนํ้าตกแหงนั้นสวยงาม ธนูคันนี้ของใคร ฯลฯ ๗) ภาษาไทยมีการสรางคําขึ้นใหม โดยวิธีการประสมคํา การซอนคํา การซํ้าคํา การสมาส และการสนธิ ดังตัวอยางตอไปนี้ ๘) คําภาษาไทยมีการเปลี่ยนระดับเสียงของคํา คําในภาษาไทยมีการใชวรรณยุกตซึ่งการใชวรรณยุกต ที่แตกตา งกันนี้สงผลใหความหมายของคําเปลี่ยนไป ทําใหมีคําในภาษาเพิ่มมากขึ้น เชน คา หมายถึง คางอยู ติดอยู คา หมายถึง ราคา คุณประโยค คา หมายถึง หาของมาขาย ซื้อขายแลกเปลี่ยน การประสมคำ การซ้อนคำ การซ้ำ คำ การสมาส การสนธิ เเม่บ้าน ขายหน้า ยางลบ เเข็งเเกร่ง บ้านเรือน กรงกลัว เล็ก ๆ น้อย ๆ สวย ๆ อุทุกภัย มโนธรรม คณิตศาสตร์ สมาคม มนุษยชาติ ราชูปโภค ๙) ภาษาไทยมีระดับ กลาวคือ ประเทศไทยมีวัฒนธรรมทางภาษา มีการใชคําพูดใหเหมาะสมแกบุคคล ตามกาลเทศะ ระดับฐานะของบุดคล จึงทําใหภาษามีหลายระดับ เชน คําราชาศัพทสําหรับพระมหากษัตริย พระบรมวงศานุวงศ สมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก พระสงฆ คําสุภาพ หรือแมแตภาษากวี เปนตน ๑๕


๒. เสียงในภาษาไทย เสียงในภาษาไทยมี ๓ เสียง คือ เสียงสระ เสียงพยัญชนะ เสียงวรรณยุกต ดังนี้ ๑) เสียงสระและรูปสระ ภาษาไทยมีสระ ๑๒ คูเปนเสียงสระเดี่ยวหรือสระแท ๙ คูสระประสมหรือสระเลื่อน ๓ คูในการเขียนเราใชรูป สระเพียง ๑๗ รูป จากท่ีมีทั้งหมด ๒๑ รูป สระแท้ -ะ-า -ิ -ี -ึ -ื - - ูเ-ะ เ- แ-ะ แ- โ-ะ โ- เ-าะ-อ เ-อะ เ-อ สระประสม เ-ียะ เ-ีย เ-ือะ เ-ือ -ัวะ -ัว เมื่อเติมรูปพยัญชนะ ลงตรงชองวาง (-) จะอานออกเสียงได เชน นะ นา โน เปนตนการรูจักรูปสระชวยใหเราเขา ใจการสะกดคํา เชนคําวา เตา ถาเรารูวา สระเอา ประกอบดวยรูปสระ ๒ รูป คือ เ- (ไมหนา) กับ -า (ลากขาง) เวลาสะกดคําเราจะบอกอยางถูกตองวา ต-สระเอา ออกเสียงวา เตา ไมใช สระเอ-ต-สระอา แลวออกเสียงวา เตา ๒) เสียงพยัญชนะและรูปพยัญชนะ พยัญชนะไทยมี ๔๔ รูป หรือ ๔๔ ตัว แตใชกันหลายตัว จึงเหลือเสียงเมื่อเปนพยัญชนะตนเพียง ๒๑ เสียง และเปนพยัญชนะทาย ๘ เสียง ดังนี้ พยัญชนะต้น ๑๖


๓)เสียงวรรณยุกตและรูปวรรณยุกต ๓.๑) เสียงวรรณยุกต เสียงวรรณยุกตในภาษาไทยมี ๕ เสียง ๑. ภาษาไทยมีวรรณยุกต ๕ เสียง หมายถึง ภาษาไทยกลางหรือภาษาถิ่นภาคกลาง ซึ่งเปนภาษามาตรฐาน เปนภาษาที่ใชในราชการ หากเปนภาษาถิ่นอื่นอาจแตกตางไปบาง เชน ภาษาถิ่นเหนือมีเสียงวรรณยุกต ๖ เสียง ๒. การที่ภาษาไทยมีเสียงวรรณยุกต ทําใหสามารถสรางเสียงตาง ๆ ไดมากมายกลายเปนคําที่มีความหมาย และเปนพยางคที่ไมมีความหมาย เนื่องจากการเปลี่ยนเสียงวรรณยุกตทําใหความหมายเปลี่ยนไป เชน เราสามารถผันวรรณยุกต กอ กอ กอ ก็อ กอ ไดครบ ๕ เสียง แตเพียง ๒ เสียง คือ กอ และ กอ สวนอีกเสียง คือ กอ กอ กอ เปนเพียงพยางคที่ไทย นอกจากน้ีเสียงบางเสียงอาจใชเขียนคําที่มาจากภาษาอื่น เชน เก๊ียะ หรือใชเขียนคําเลียนเสียง เชน เผียะ เปรี๊ยะ เปนตน พยัญชนะท้าย(ตัวสะกด) ๑๗


๓. วรรณยุกตมี ๕ เสียงนั้น จะสมบูรณจริงเฉพาะการพูดหรือการออกเสียงหมายความวา เราสามารถออกเลียง วรรณยุกตได ๕ เสียงจริงทั้งคําเปนและคําตายจะเขียนไดไมสมบูรณ เชน คําตาย เราออกเสียงสามัญได แตเขียนเสียงสามัญไมได การเขียนจึงเปน ดังนี้ ๓.๒) รูปวรรณยุกต การใชรูปวรรณยุกตในภาษาไทย สังเกตได ดังนี้ ๑. ภาษาไทยมีรูปวรรณยุกต ๔ รูป คือ_ _ _ _ รูปกับเสียง วรรณยุกตในภาษาไทยอาจไมตรง กัน คือ ถาพยัญชนะ ตนเปนอักษรตํ่า เสียงและรูป วรรณยุกตจะไมตรงกัน หรือจะจํางาย ๆ เปนสูตร วาต่ําไมตรงรูปคือถาพยัญชนะ ตนเปนอักษรตํ่า รูปวรรณยุกตเอก จะเปนเสียงโท เชน คา ล่ํา คะ หากเปนรูปวรรณยุกตโทจะเปนเสียงตรี เชน คา แลว ดวยเหตุน้ีอักษรตํ่าจึงไมใชไมตรีเลย ๒. คําที่มีพยัญชนะตนสองตัว ไดแก อักษรควบหรืออักษรนํา เชน กล - คว - ตร- สล - อร - อย ฯลฯ ถามีวรรณยุกตตอง เขียนไวบนพยัญชนะตัวหลัง แตการผันวรรณยุกต๋ ถือพยัญชนะตัวหนาเปนหลัก ๑๘


๓. สวนประกอบของภาษา ๑) องคประกอบของพยางค เสียงพยัญชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยุกต พยางค เสียงพยัญชนะที่อยูหนาเสียง สระในพยางคเรียกวา เสียงพยัญชนะตน สวนเสียงพยัญชนะที่อยูหลังเสียงสระในพยาง ค เรียกวา เสียงพยัญชนะทายหรือเสียงพยัญชนะสะกด ซึ่งเสียงนี้บางพยางคไมมี แตทุกพยางคจะตองมีเสียงพยัญชนะตน เสียงสระ และเสียงวรรณยุกตเสมอ พยางค หมายถึง เสียงท่ีเปลงออกมาคร้ังหนึ่ง ๆ จะมีความหมายหรือไมมีความหมายก็ ได การนําองคประกอบท้ัง ๓ สวน คือ พยัญชนะตน สระ และวรรณยุกต มาประสมกัน เรียกวา วิธีประสมอักษร องค์ประกอบของพยางค์ สระ วรรณยุกต์ พยัญชนะต้น ๑๙


๑.๒) การประสมอักษร ๔ สวน วิธีนี้มี ๒ อยาง คือ ๑. ประสม - สวนปกติ คือ การประสมอักษร ๓ สวน แลวเพิ่มเติมตัวสะกดเปนสวนที่ ๔ เรียกตางกันเปน มาตรา ๘ มาตรา คือ แมกก แมกง แมกด แมกน แมกบ แมกม แมเกย แมเกอว เปนคําตาย ๓ แม คือ แมกก แมกด แมกบ นอกนั้นเปนคําเปน ๒. การประสมอักษร ๔ สวนพิเศษ คือ วิธีประสม ๓ สวน ซึ่งมีตัวการันตเพิ่มเขาเปนสวนที่ ๔ ไดแก แม ก กา มีตัวการันต เชน การตูน สัปดาห อาคเนย เปนตน วิธีประสมอักษรมี ๓ วิธี ดังนี้ ๑.๑) การประสมอักษร 3 สวน มีสระพยัญชนะ และวรรณยุกต ประสมดวยสระจํานวน ๒๔ เสียง ยกเวน ฤ  ฦ  เชน กะ กา กิ สวนพยางคที่มีสระ อํา ใอ ไอ เอา กําหนดตามรูปสระจะเปนการประสมอักษร 3 สวน จัดอยูใน ก กา เชน ดํา ใจ ไป เรา เอา เป็นต้น ๑.๓) การประสมอักษร ๕ สวน ไดแก วิธีประสม ๔ สวนปกติ ซึ่งมีตัวการันตเติมเขาเปน สวนที่ ๕ ไดแก มาตราทั้ง ๘ แม ที่มีตัวการันต เชน อัปลักษณ เหตุการณ แสตมป เปนตน ๒๐


๒) องคประกอบของคํา คํา คือ เสียงที่เปลงออกมาและมีความหมายอยางหนึ่งจะเปนกี่พยางคก็ได พยางคที่ความ หมายอาจประกอบดวยพยางคเดียวหรือหลายพยางคก็ได พยางคเดียวเรียกวา คําพยาง คเดียว เชน เย็น มา เดิน เพลิน สวน พอ ชาย หญิง คําที่ประกอบดวยพยางคหลายพยางค เรียกวา คําหลายพยางค เชน ตุกตา อาหาร พยัคฆ์ คําจึงประกอบดวยเสียงและความหมายซึ่งมีจํานวนพยางคเทาไรก็ได้ การใชคํา ๑. ความหมายของคํา ๑.๑ คําที่มีความหมายเฉพาะ ๑) คําที่มีความหมายตามตัวกับความหมายเชิงอุปมา ความหมายตามตัว = ความหมายเดิม เชน ลูกเสือคลายลูกแมว (ลูกของเสือ) ความหมายเชิงอุปมา = ความหมายเทีเคียง เชน การที่เขาอุปการะลูกของโจรท่ีถูกประหารชีวิต ไวเทากับเลี้ยงลูกเสือไวในบาน (ลูกของโจร) ๒๑


- - ๑.๒ คําท่ีมีความหมายเปรียบเทียบกับคําอ่ืน ๑) คําที่มีความหมายเหมือนกันหรืออยางเดียวกัน คําไวพจน คือ คําพองความหมาย เชน บอก กลาว เลา แจง แถลง ดํารัส ทูล มีพระดํารัส มีพระราชดํารัส มีพระราชกระแส หมายถึง พูด คําไวพจนไมสามารถใชแทนกันไดทุกคําตองคํานึงถึงระดับภาษา ความเปนทางการ โอกาส ความคุนเคย เชน ภาษาสุภาพกับไมสุภาพ ภาษาแบบแผนกับไมแบบแผน ภาษาสําหรับเด็กกับผูใหญ ภาษาสามัญกับภาษาการประพันธ ๒) คําท่ีมีความหมายคลายกันหรือรวมกัน บางคํามีความหมายบางสวนรวมกันแตมีความหมายเฉพาะตางกัน ๒) คําที่มีความหมายนัยตรงกับความหมายนัยประหวัด ความหมายนัยตรง = ความหมายตามตัว หรือความหมายเชิงอุปมาท่ีเขาใจทั่วไป ความหมายในประหวัด = ความหมายเชิงอุปมา ชวนใหหวนคิดไปทางใดทางหน่ึง เชน เจาพอ หมายถึง ผูมีอิทธิพลในถิ่นน้ัน อาจนึกประหวัด วาเปนคนดีมีศีลธรรมหรือคนทุรศีลก็ได้ ความหมายร่วม ทำ ให้ไม่สะดวก ทำ ให้ไม่สะดวก ทำ ให้ไม่สะดวก ศัพท์ ความหมายเฉพาะ ตัวอย่าง ทำ ให้ไม่สะดวกในการใช้งาน ขัดขวาง ขัดขืน ใช้กับพฤติกรรมทั่วไป การไม่ทำ ตาม กีดขวาง วางของกีดขวางทางเดิน เขาขัดขวางการทำ งานของฉัน คนร้ายขัดขืนการทำ งานของตำ รวจ ๒๒


๒.๒ ใชคําใหตรงความนิยม คําที่มีความหมายเหมือนกัน มักใชตางกันตามความนิยม เชน คําที่มีความหมายวา มาก ไดแก ชุก ใชกับ ผลไม ชุม ชุกชุม ใชกับสัตว คนไมดี ความเจ็บไข ดก ใชกับสิ่งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ เปนตน ๒.๓ ใชคําใหเหมาะสมกับกาลเทศะบุคคล ใชคําใหสุภาพและเหมาะสมกับโอกาส สถานท่ี และบุคคล ๒.๔ การใชคําไมซํ้าซาก เลือกใชคําที่มีความหมายใกลเคียงกัน เพื่อใหเกิดความแตกตาง ดึงดูดความสนใจ ๒. การเลือกใชคํา ๒.๑ ใชคําใหตรงความหมาย ไมใชคําที่มีความกํากวม ควรใชบริบทชวยเพื่อระบุความชัดเจนของคําใหมีความหมายตรงตามที่ตองการ ใชคําเชื่อม คําบุพบท ลักษณนาม คําขยายใหเหมาะสมกับเรื่องราว เชน เขารักลูกนองมาก ตองระบุใหชัดเจนวา ลูกของนอง หรือ ลูกนองรวมงาน ลักษณนาม รูป ใชกับภิกษุสามเณร องค ใชกับสิ่งที่เคารพบูชาในศาสนา และใชเปนลักษณะนามของ อวัยวะหรือของบางอยางในพระเจาแผนดิน ลักษณนาม โรง ใชกับสิ่งปลูกสรางซึ่งเรียกวาโรง หลัง ใชกับสิ่งปลูกสรางที่มีลักษณะเปนเรือน ใช จะ จะ จา คะ คะ ขา ใหถูกตอง ๒๓


การเรียงรอยประโยค ๑. การเชื่อม – คลอยตาม = และ ทั้ง ทั้ง...และ อีกทั้ง รวมทั้ง อนึ่ง อีกประการหน่ึง – ขัดแยง = เเต่ เเต่ทว่า เเม้ เเม้เเต่ เเม้ว่า กว่า…ก็ – เลือก = หรือ หรือไม่ก็ มิฉะนั้น มิฉะนั้น…ก็ – เหตุผล = จึง เลย เพราะฉะนั้น…จึง – ลําดับเวลา = แลว แลวจึง แลวก็ และแลว ตอจากน้ัน – เงื่อนไข = ถา แม...ก็ หากวา เม่ือ...ก็ ๒. การซํ้า กลาวซํ้าคําเดิมในประโยคถัดไป อาจมีวิเศษณชี้เฉพาะ นี่ นั่น โนน เชน ผลไมที่รับประทาน มีทั้งสมกลวยหอมและมะละกอสมหมดกอนที่สุดกลวยหอมยังเหลืออยูบางมะละกอไมมีใครแตะตองเลย ๓. การละ ละคําที่ซํ้ากับคําในประโยคแรก เชน ดวงตะวันเริ่มผุดขึ้นตรงขอบฟา เปนรูปกลมแสงสด เริ่มทอแสงจา ขึ้นเรื่อย ๆ ในไมชาก็เปลงรัศมีเรืองสวางไปทั่วโลก (ละคํา ดวงตะวัน ในประโยคหลัง) ๔. การแทน นําคําหรือวลีอื่นที่มีใจความอยางเดียวกันมาแทน เชน ทุกคนไดเห็นลูกชางมีความยินดีจับงวงลูบใบหู สงกลวยใหกินฉันเองก็เชนกัน ๒๔


การใชสํานวน ๑. ลักษณะของสํานวนไทย สํานวนไทยมีลักษณะเปนคําคมท่ีมีความหมายโดยนัยตองอาศัยการตีความอาจแสดงโดย การเปรียบเทียบ สอดแทรกความคิดเห็น หรือคําติชม มีสัมผัสคลองจองเพื่อใหเกิดความไพเราะ ๒. ประเภทของสํานวนไทย ๑) สํานวน มีความหมายในเชิงเปรียบเทียบ อาจมีเสียงสัมผัสคลองจอง เชน ปกกลาขา แข็ง ผักชีโรย หนา ๒) คําพังเพย กลาวลอย ๆ เปนคําติชมหรือแสดงความคิดเห็น เชน เกลือเปนหนอน กบเลือกนาย ๓) สุภาษิต คติสอนใจใหปฏิบัติในส่ิงที่ดีงาม เชน ทําดีไดดี ทําชั่วไดชั่ว ๔) อุปมาอุปไมย เปรียบเทียบระหวางสิ่งหนึ่งกับส่ิงหน่ึงเพื่อใหเกิดภาพพจน เชน กินเหมือนหมู ๓. การใชสํานวนไทย การใชสํานวนไทยควรศึกษาความหมายของสํานวนกอนแลวใชสํานวนใหถูกตองตามคําเดิมตรง ความหมายสอดคลองกับเร่ืองราวท่ีตองการสื่อสารพอเหมาะไมฟุมเฟอยและเหมาะสมกับกาลเทศะเชน – สุนัขเรื้อนตัวนี้ดูนาเกลียดนาชัง ควรใชคําวา นาเกลียด เพราะ นาเกลียดนาชัง ใชกับเด็ก – เขาจะท้ิงไพใบสุดทาย กอนลาจากวงการน้ี ควรใชคําวา ทิ้งทวน หมายถึง ทําเปนครั้งสุดทาย – สํานวนท่ีใชผิดคําเดิม เชน ปรักหักพัง (ไมใช สลักหักพัง) คาหนังคาเขา (ไมใช คาหลังคาเขา) ๔. คุณคาของสํานวนไทย สํานวนไทยนับวาเปนศิลปะทางภาษาที่เปนมรดกสืบทอดตอกันมา มีความไพเราะสละสลวย ชวยสื่อความหมายไดชัดเจนขึ้นใหขอคิดสะทอนความเชื่อและสืบสานวัฒนธรรมมิใหสูญหาย ๒๕


๒) คําท่ีไมประวิสรรชนีย (๑) พยางคท่ีออกเสียง อะ แตไมใชพยางคสุดทาย เชน กตัญูคติ สฤษฏ อคติ (๒) พยางคที่เปนอักษรนํา เชน ขนม ขยะ ฉมวก ฉงน สนาม (๓) ตัวสะกดที่ออกเสียง อะ เชน ปรกติ สัปดน อลหมาน (๔) คําเฉพาะท่ีไดรับการยกเวน เชน ณ (แปลวา ใน ณ ที่น้ี) ธ (แปลวา เธอ ธ ประสงคใด) (๕) คําจากภาษาเขมรที่อานออกเสียงอยางอักษรนําหรือออกเสียง อะ ไมเต็มเสียง (๖) คําสมาส เชน ภารกิจ รัตนตรัย วีรชน สาธารณสุข อิสรภาพ (๗) พยางคตนหรือกลางท่ีออกเสียง อะ ของคําจากภาษาอังกฤษ ยุโรป ประวิสรรชนียหรือไมก็ได้ การสะกดคํา ๑. คําท่ีประวิสรรชนียและไมประวิสรรชนีย์ ๑) คําท่ีประวิสรรชนีย (๑) คําไทยแทที่ออกเสียงสระอะ ไมมีพยัญชนะสะกด เชน กะทัดรัด ขะมักเขมน ปะทะปะทัง (๒) คําจากภาษาอื่นท่ีพยางคทายออกเสียงสระอะ เชน พันธนะ ศิลปะ สวัสติกะ อมตะ (๓) คํากรอนที่กลายเสียงจากภาษาอื่น เชน ฉะน้ัน (กรอนจาก ฉันน้ัน) ตะปู (กรอนจาก ตาปู) (๔) คําจากภาษาอื่น พยางคท่ีออกเสียงสระ อะ เต็มมาตรา เชน กะละมัง บะหมี่ ดะโตะ กํามะถัน (๕) พยางคตนหรือกลางท่ีมีพยัญชนะควบ กร คร ชร ตร ปร พร สร เชน กระจง คระไล ชระงอน (๖) คําอัพภาส หรือคําซํ้าอักษรหนาศัพทออกเสียงสระ อะ เชน คะคร้ืน (ครื้น) ยะย้ิม (ยิ้ม) ๒. การใช -ำ -ัม -รรม ไ- ใ- -ัย ๑) การใช -ํา (๑) ใชกับคําไทยแท เชน กํา จํา นํา ดํา ลํา ทองคํา รํามะนาด (๒) ใชกับคําท่ีแผลงมาจากภาษาอ่ืน เชน กําแหง (แข็ง) ตํารวจ (ตรวจ) รําไพ (รวิ) (๓) คําเขมรที่ลงอาคม คือ ทําคํากริยาใหเปนนาม เชน กําเนิด (เกิด) บําเพ็ญ (เพ็ญ) อํานาจ (อาจ) (๔) คําภาษาอื่นๆ เชน กํามะลอ กํายาน รํามะนา ๒๖


๒) การใช -ัม (๑) คําบาลีสันสกฤตที่มีพยัญชนะวรรค ปะ (บ ป ผ ฝ พ ฟ ภ ม) ตามหลัง เชน คัมภีร สัมมา อัมพร (๒) คําที่เกิดจากคํานฤคหิตสนธิกับพยัญชนะวรรค ปะ เชน สัมปชัญญะ (สํ + ปชญญ) (๓) คําที่มาจากภาษาอังกฤษ เชน กรัม รัมมี่ ปม สกรู ๓) การใช -รรม ใชกับคําสันสกฤตที่มี “รฺม” ประสมอยู เชน กรรม จรรม ธรรม ๔) การใช ไ (ไมมลาย) (๑) ใชกับคําไทยแททุกคํา เชน ไกล ไต ไจ ไป ไฟ ไหล ไส ไว (๒) คําที่มาจากภาษาเขมร เชน ไข ได ไถง ไผท (๓) คําที่มาจากภาษาสันสกฤต เชน ไพบูลย ไอศวรรย ไศล (๔) คําบาลีสันสกฤตที่แผลงมาจาก อิ, อี, เอ เชน ไมตรี (แผลงจาก เมตฺติ) ไพจิตร (แผลงจาก วิจิตร) (๕) คําที่มาจากภาษาอื่น ๆ เชน ไมล อะไหล เจียระไน ไวตะมิน ไหหลํา ไอรแลนด์ ๕) การใช ใ (ไมมวน) คําไทยแท ใกล ใคร ใคร ใจ ใช ใช ใด ใต ใน ใบ ใบ ใฝ ใย สะใภ ใส ใส ให ใหญ ใหม หลงใหล ๖) การใช -ัย ใชกับคําที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤตเทานั้น รูปเดิมของคํามีตัว ย ตาม เชน วินัย (วินย) สมัย (สมย) ๒๗


๑. คําที่ประวิสรรชนียและไมประวิสรรชนีย ๓. การใชเครื่องหมายทัณฑฆาต (  ) ๑) ใชกับคําที่มาจากภาษาบาลีสันสกฤต อังกฤษ เชน สังข องค สงฆ จันทร ปอนด ไมล ๒) ตัวการันตอาจเปนพยัญชนะตัวเดียวหรือหลายตัวก็ได เชน รักษ ลักษณ ลักษมณ ยนตร อินทร ๓) ตัวการันตอาจอยูกลางคําก็ได เชน ฟลม เสิรฟ โอหม เทอรโมมิเตอร ฟงกชัน ๔) ตัวการันตอาจมีรูปสระกํากับก็ได เชน โพธิ์ สิทธิ์ กษัตริย พันธุ บาทบงสุ ๕) พยัญชนะสะกดที่ควบกับ ร ใชเปนตัวการันตไมได เชน จักร มิตร สมุทร นริศร ๖) พยัญชนะสะกดที่ควบกับ ร ใชเปนตัวการันตได เพราะไมใชตัวสะกด เชน พักตร ศาสตร์ การเพ่ิมคํา ลักษณะการเพิ่มคําในภาษาไทย มี ๖ ประเภท คือ คํามูล คําประสม คําซอน คําซํ้า คําสมาส คําสนธิ ๑. คํามูล คือ คําที่มีความหมายชัดเจน เปนตนกําเนิดของคําชนิดอื่นๆอาจจะเปนคําไทยแท หรือคําที่มาจากภาษาอื่นโดยแตละพยางคอาจมีความหมายหรือไมมีความหมายก็ได เชน พี่ เชิ้ต ทะมัดทะแมง นาิกา ไม นํ้า ลม ไก งู คํามูลมี ๒ ลักษณะ คือ คํามูลพยางคเดียวและคํามูลที่มี หลาย พยางค์ ๒. คําประสม คือ การนําคํามูลตั้งแต ๒ คําขึ้นปารวมกัน ทําใหเกิดความหมายใหม เชน คนงาน หัวดื้อ ยกเลิก บานพัก ฝนเทียม ดอกเบี้ย รองเทา เปนตน คําประสมมีลักษณะ ดังนี้ ๒.๑ คําประสมที่เกิดจากคําไทยประสมกับคําไทย หรือคําที่มาจากภาษาอื่น แตบางครั้ง อาจจะเปนคํา บาลีสันสกฤตกับคําบาลีสันสกฤตประสมกัน แตเรียงพยางคแบบไทย เชน ฝนหลวง(ไทย+ไทย) ศาลเด็ก(สันสกฤต+ไทย) ราชโองการ(บาลี+เขมร) แพทยสัตว(สันสกฤต+สันสกฤต) ภาพโปสเตอร(บาลี+อังกฤษ) ๒.๒ คําประสมที่ยอจากใจความกวางใหแคบ จะมีคําตอไปนี้ประกอบคําขางหนาคํา เชน ชาววัง ชาวไร ชาวประมง นักรอง นักดนตรี นักเรียน นักเลง ชางเครื่อง ชางไม ชางทอง หมอดู หมอความ ของวาง ของเลน ของหวาน ผูดี ผูการ ที่นอน ที่อยู เครื่องมือ เครื่องหมาย เครื่องนอน ๒.๓ คําประสมที่เกิดจากคําที่มีคําวา การ ความ นําหนา เชน การเงิน การพูด การบาน ความ ๒๘


๓. คำ ซ้อน คือคําที่สรางจากคํามูล โดยอาจมาจากคําในภาษาใด คําชนิดใด และทําหนาที่ใดก็ได ทั้งนี้ ลักษณะสวนใหญคลายคําประสม คําซํ้าแบงออกเปน ๒ ชนิด คือ ๓.๑ คําที่เกิดจากคํามูลที่มีความหมายเหมือนหรือคลายคลึงกันมารวมกัน เชน ติดตอ ซักฟอก สดใส ผูกพัน กักขัง ฝกหัด ลบเลือน ๓.๒ คําซอนเพื่อเสียง คือการนําคํามูลท่ีมีเสียพยัญชนะตนเสียงเดียวกันหรือฐานเดียวกันมาซอนกัน เชน โลเล เตาะแตะ วอแว สูสี จอแจ โบเบ เปนตน ๔. คําซํ้า คือคําที่เกิดจากการซํ้าคําเดียวกันตั้งแต ๒ คําขึ้นไปเพื่อใหเกิดคําใหม เชน ดํา ๆ หวาน ๆ และ คําที่ซํ้าเสียงโดยเปลี่ยนเสียงวรรณยุกต เชน ลวมหลวม เชยเชย เบาเบา เปนตน ๕. คําสมาส คือ การนําคําบาลี สันสกฤตมาตอกับคําบาลีสันสกฤตแลวเกิดความหมายใหม มี ลักษณะ ดังนี้ ๕.๑ พยางคสุดทายของคําหนาประวิสรรชนีย กอนสมาสใหตัดทิ้งแลวอานออกเสียง อะ กึ่ง เสียง เชน ธุระ+กิจ เปน ธุรกิจ ลักษณะ+นาม เปน ลักษณนาม ๕.๒ พยางคสุดทายของคําหนามีตัวการันตกอนสมาสใหตัดทิ้ง แลวอานออกเสียง อะ กึ่ง เสียง เชน มนุษย+ศาสตร เปน มนุษยศาสตร แพทย+ศาสตร เปน แพทยศาสตร ๕.๓ พยางคสุดทายของคําหนาที่สระอื่น ที่ไมใชสระอะ ไมตองตัดทิ้งแลวอานออกเสียงตอ เนื่องกัน เชน ประวัติ+ศาสตร เปน ประวัติศาสตร ๕.๔ คําสมาสสวนมากตองแปลความหมายจากคําหลังมาหาคําหนา เชน ยุทธ+วิธี เปน ยุทธวิธี ๕.๕ มีคําวา พระ แผลงมาจาก วร นําหนา เชน พระกร พระหัตถ พระบาท พระพุทธ พระธรรม พระ พักตร พระทนต พระเนตร เปนตน ๕.๖ คําบางคําเปนคําสมาส แมจะเรียงลําดับแบบคําไทย ใหแปลความเปน และ อานออก เสียงตอเนื่อง กัน เชน บุตรภรรยา ทาสกรรมกร สมณพราหมณ คําประสมที่มีลักษณะคลายคําสมาส ไดแก ผลไม ราชวัง พลเรือน เทพเจา พระเกาอี้ พระศก พระ ขนง ผลบุญ ประธานสภา ภูมิปญญา ประวัติบุคคล ๒๙


๖. คําสนธิ คือ การนําคําบาลีสันสกฤตมาเชื่อมเขากับคําบาลีสันสกฤตใหมีความกลมกลืนเสียงสั้นเขา เกิดเปนคําใหม ลักษณะของการสนธิ มีดังนี้ ๖.๑ สระสนธิ คือ การเชื่อมคําโดยคําตัวหนาเปนสระและคําตัวหลังเปนสระ เชน มหานิสงส อภินันทนาการ ภัตตาหาร มหินทร ราชินูปถัมภ หลักการสนธิของสระสนธิ มีดังนี้ ๖.๑.๑ อะ อา+อะ อา เปนสระ อา เชน ราชะ+อภิเษก เปน ราชาภิเษก ๖.๑.๒ อะ อา+อิ อี เปน อิ อี เอ เชน นร+อินทร เปน นรินทร นเรนทร ๖.๑.๓ อะ อา+อุ อู เปน อุ อู โอ เชน ชล+อุทร เปน ชโลทร ๖.๑.๔ อะ อา+เอ โอ ไอ เอา เปน เอ โอ ไอ เอา เชน ปยะ+โอรส เปน ปโยรส ๖.๑.๕ อิ อี+อิ อี เปน อิ อี เอ เชน ธรณี+อินทร เปน ธรณินทร ๖.๑.๖ อิ อี+สระอื่น เปลี่ยน อิ เปน ย แลวจึงสนธิตามหลักเกณฑ เชน สามัคคี+อาจารย เปน สามัคยาจารย อัคคี+โอภาส เปน อัคโยภาส ๖.๑.๗ อุ อู+สระอื่น เปลี่ยน อุ อู เปน ว แลวจึงสนธิตามหลักเกณฑ ธนู+อาคม เปน ธันวาคม สาธุ+อาจารย เปน สาธวาจารย ๖.๒ พยัญชนะสนธิ คือ การเชื่อมและกลมกลืนเสียงระหวางพยัญชนะของคําหนากับพยัญชนะของคําขึ้นตน ในคําที่มาสนธิกัน หลักการสนธิพยัญชนะมีดังนี้ ๖.๒.๑ อสฺ+พยัญชนะใด ๆเปลี่ยน อสฺ เปน โอ เชน มนส+รถ เปน มโนรถ มนส+มัย เปน มโนมัย เตชส+ชัย เปน เตโชชัย รหส+ฐาน เปน รโหฐาน ๖.๒.๒ อิส+พยัญชนะใดๆเปล่ียน อิส เปน นิร นร เนร เชน นิส+ภัย เปน นิรภัย นิส+เทศ เปน นิรเทศ เนรเทศ ๖.๒.๓ อุส+พยัญชนะใดๆ เปลี่ยน อุส เปน ทุร ทร เชน ทุส+ชน เปน ทุรชน ๖.๓ นิคหิตสนธิ คือ การตอเชื่อมและกลมกลืนเสียงระหวางคําตนลงทายดวยนิคหิตกับคําที่ ข้ึนตนดวยสระหรือพยัญชนะ หลักการสนธินิคหิตมี ดังนี้ ๖.๓.๑ สํ+พยัญชนะวรรคใด ใหเปลี่ยนนิคหิตเปนพยัญชนะตัวสุดทายของวรรคนั้น เชน ๖.๓.๑.๑ วรรค ก ข ค ฆ ง สํ+เกด เปน สังเกต ๖.๓.๑.๒ วรรค จ ฉ ช ฌ ญ สํ+ชาติ เปน สัญชาติ ๖.๓.๑.๓ วรรค ฏ ฐ ฑ ฒ ณ สํ+ฐาน เปน สัณฐาน ๖.๓.๑.๔ วรรค ต ถ ท ธ น สํ+โดษ เปน สันโดษ ๖.๓.๑.๕ วรรค ป ผ พ ภ ม สํ+ภาษณ เปน สัมภาษณ ๖.๓.๒ สํ+เศษวรรคเปลี่ยนนิคหิตเปน ง เชน สํ+โยค เปน สังโยค ๖.๓.๓ สํ+สระ เปลี่ยนนิคหิตเปน ม เชน สํ+อาส เปน สมาส สํ+อาคม เปน สมาคม ๓๐


๑. ขอใด ไมใช ลักษณะของภาษาไทย ก. เปนภาษาตระกูลคําโดด ข. มักเปนคําพยางคเดียว ค. เปนคําควบกล้ํา ง. มีความหมายสมบูรณในแตละคํา ๒. ขอใดเปนอวัจนภาษา ก. นกนอยรองเพลง ข. ดํารงอานปายจราจร ค. ณรงคสงย้ิมใหเพ่ือนสาว ง. ปราณีกําลังประชุม ๓. ขอใดเลือกใชถอยคําท่ีส่ือความหมายเดียว ก. นํ้ารอนหมดแลว ข. วันน้ีเปนวันเสาร ค. ใครชอบขาวเย็น ง. คนเก็บจานไปแลว ๔. ขอใดใชคําใหถูกตองตรงตามความหมาย ก. อยาจอดรถขัดขวางการจราจร ข. ตํารวจสืบสวนคนรายท่ีจับได ค. ตํารวจตั้งดานตรวจเข็มงวดมาก ง. เธอไมควรผัดวันประกันพรุง ๕. ขอใดเลือกใชถอยคําท่ีสื่อความหมายเดียว ก. น้ํารอนหมดแลว ข. วันนี้เปนวันเสาร ค. ใครชอบขาวเย็น ง. คนเก็บจานไปแลว ๖. “นองกําลังปนจักรยาน สวนนองปนกําลังปน ดิน” ขอความน้ีแสดงลักษณะใดของภาษาไทย ก. มีระบบเสียงสูงตํ่า ข. มีการใชคําสุภาพตามฐานะของบุคคล ค. คําเดียวกันใชไดหลายหน้าที่ ง. มีลักษณะนามกับคําขยายบอกจํานวนนับ ๗. ภาษาไทยและตัวอักษรไทยสะทอนใหเห็นส่ิง ใดมากท่ีสุด ก. ประเพณีของชาติไทย ข. วัฒนธรรมทางภาษาของชาติไทย ค. พัฒนาการทางภาษาของชาติไทย ง. ศิลปะและวัฒนธรรมของชาติไทย ๘. คําในขอใดแสดงลักษณะของภาษาไทยที่อาจ จะไมตรงกับลักษณะของภาษาคําโดด ก. คลอง ข. ปู ค. หนาว ง. ยืน ๙. ขอใดไมใชลักษณะท่ีเหมือนกันของภาษา ก. ใชเสียงสื่อความหมาย ข. มีวิธีสรางศัพทหรือคําใหม ค. ภาษามีการเปลี่ยนแปลง ง. โครงสรางทางไวยากรณ์ คําชี้แจง ๑. ขอสอบเปนปรนัย ๔ ตัวเลือก จํานวน ๒๐ ขอ ใชเวลาทําขอสอบ ๓๐ นาที แบบทดสอบบทที่ ๒ ๓๑


๑๐. ปา ปา ปา ปา ปา ขอใดสรุปถูกตองที่สุด จากการผันวรรณยุกตขางตน ก. อักษรกลาง คําเปนและคําตายผันไดครบ ๕ เสียงเสมอ ข. วรรณยุกตไทยมี ๕ รูป ๕ เสียง ค. วรรณยุกตในภาษาไทยมีความสําคัญเพราะเม่ือ วรรณยุกตเปล่ียน ความหมายก็เปลี่ยนแปลง ง. คํา ๑ คําตองประกอบดวย สระและพยัญชนะ เสมอ ๑๑. ขอใดมีคําประสมทุกคํา ก. ในตูโชวมีเส้ือลายสีสวย ข. เขาขึ้นรถเมลไปซ้ือน้ําแข็ง ค. เขาอยูกินกับภรรยามหลายปง. มีคนอยูบานพักอยางหนาแนน ๑๒. ประโยคใดเปนคําประสม ก. นํ้าแข็งแลว ข. นํ้า/แข็ง/แลว ค. นํ้า/แข็งหมดแลว ง. น้ําแข็ง/หมดแลว ๑๓. ขอใดใชตรวจสอบลักษณะของภาษาไทยได ก. กิน นอน นั่ง ยืน ข. เสวย นิทรา สถิต ค. กินเจ นอนเลน ง. กินนอกกินใน นอนหลับทับสิทธ์ิ ๑๔. สระเดี่ยวปรากฏในขอใด ก.วัว ข.โค ค.ควาย ง.หมวย ๑๕. สระผสมไมปรากฏในขอใด ก. เฉา ข. เฉียด ค. ฉับ ง. ฉาย ๑๖. ขอใดใชสระเด่ียวเสียงสั้น ก.ใจ ข.จด ค.จ๋ิว ง.จอง ๑๗. คําใดสะกดดวยสระ อื+อา+อี ก. มวย ข. ไม ค. แมว ง. เมื่อย ๑๘. คําวา “เท่ียว” มีเสียงสระใด ก. อี+อา+อู ข. อู+อา+อี ค. อี+อา+อู ง. อื+อา+อี ๑๙. ขอใดกระจายคําวา “สรรค” ไมถูกตอง ก. พยัญชนะตน = สระ ข. สระ = สระอะ ค. ตัวสะกด = แมกน ง. วรรณยุกต = เสียงจัตวา ไมมีรูปวรรณยุกต ๒๐. พยัญชนะตนขอใดเปนเสียงเสียดแทรก ก. เควงควาง ข. เกงกาง ค. ฟุมเฟอย ง. ขวยขาย ๓๒


การใชคําราชาศัพททั้งกับพระมหากษัตริย พระภิกษุสงฆ และการใชคํา สุภาพกับบุคคลสามัญชน ทั่วไป เปนการแสดงวัฒนธรรมทางภาษาอันดีงามของภาษา ไทย ทั้งยังสะทอนถึงความเคารพยกย่อง ในสถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย ผูที่ใชคําราชาศัพทไดถูกตองเหมาะสมกับบุคคล และสถานการณ นอกจากจะไดรับคํา ยกยองวาเปนผูรูจักการใชภาษาไดดีแลวยังแสดงใหเห็นวาบุคคล ผูนั้นมีมารยาทและ วัฒนธรรมอันดีงามในการใชภาษา ใชภาษาเหมาะสมแกโอกาส กาลเทศะ และบุคคล รวมทั้งคําราชาศัพทอยางเหมาะสม ตัวชี้วัด (ท ๔.๑ ม.๔-๖/๓) คําราชาศัพท ระดับภาษา สาระการเรียนรูแกนกลาง บทที่ ๓ คําราชาศัพท ระดับภาษา


๑. ความหมายของคําราชาศัพท์ คําราชาศัพท คือ คําสุภาพที่ใชใหเหมาะสมกับฐานะของบุดคลตางๆ คําราชาศัพทเปนการ กําหนดคําและภาษา ที่สะทอนใหเห็นวัฒนธรรมอันดีงามของไทย แมคําราชาศัพทจะมีโอกาสใชใน ชีวิตนอย แตเปนสิ่งที่แสดงถึง ความละเอียดออนและเปนลักษณะพิเศษของภาษาไทยโดยเฉพาะการ ใชกับบุคคลกลุมตาง ๆ ดังตอไปนี้ ๑. พระมหากษัตริย ๒. พระบรมวงศานุวงศ ๓. พระภิกษุสงฆ สามเณร ๔. ขุนนาง ขาราชการ ๕. สุภาพชน วิธีการใชราชาศัพทน้ันตองคํานึงถึงผูฟงเปนสําคัญ กลาวคือ จะตองใชดําใหเหมาะสมกับฐานะของผูฟงไมวาผูพูด จะเปนใครก็ตามเวนแตพระภิกษุสงฆเทาน้ันที่ตองใชคําสุภาพสําหรับตนเองดวย ในบทน้ีจะนําเสนอการใชคําราชาศัพทสําหรับพระมหากษัตริย พระภิกษุสงฆ และสุภาพชน ดังตอไปนี้ คําราชาศัพท สําหรับพระมหากษัตริยเปนคําที่ขาราชบริพารใชเมื่อกราบบังคมทูลหรือใชเมื่อกลาวถึงพระมหา กษัตริย หรือพระบรมวงศานุวงศ คําราชาศัพทสําหรับพระมหากษัตริยที่ควรศึกษาในระดับนี้ มีดังนี้ ๒.๑ คํานามราชาศัพท เมื่อจะใชคํานามเปนดําราชาศัพทตองเติมคําวา "พระ" และ "พระราช" หนาคํานั้นๆ เชน พระชนมายุ พระราชดําริ พระราชทรัพย พระราชวัง ฯลฯ นอกจากนี้ มีคําบางคําใชกับพระมหากษัตริยพระองคเดียวเทานั้น คือ "พระบรม" และ "พระบรมราช" โดยใชดังกลาว เชน พระบรมราชชนก พระบรมราชชนนี พระบรม ราชโองการ พระบรมเดชานุภาพม (อํานาจอันยิ่งใหญ) พระบรมราชจักรีวงศ เปนตน ๒. คําราชาศัพทสําหรับพระมหากษัตริย์ ๓๔


คําอื่นๆ นอกจากนี้ที่นําดวย "พระราช" มี ดังนี้ พระราชหฤทัย (ใจ) พระราชกุศล (บุญกุศล) พระราชดําริ (ความคิด) พระราชประสงค (ความประสงค) พระราชนิพนธ (งานประพันธ) พระราชกรณียกิจ (กิจอันพึงทํา) พระราชศรัทธา (ความศรัทธา) พระราชดํารัส (คํากลาว) พระราชสาสน (จดหมาย) พระราชหัตถเลขา (จดหมาย) พระราชลัญจกร (ตรา) พระราชปรารภ (คํากลาวถึง) พระพักตร (ดวงหนา) พระหัตถ (มือ) พระกรรณ (หู) พระกร (ปลายแขน) พระพาหา (ตนแขน) พระโสณี (ตะโพก) พระปราง (แกม) พระเศียร (ศีรษะ) พระโอษฐ (ปาก) พระทนต (ฟน) พระชงฆ (แขง) พระอุระ (อก) พระนาสิก (จมูก) พระเนตร (ตา) พระศอ (คอ) พระนขา (เล็บ) พระบาท (เทา) พระอุทร (ทอง) ๒) คํานามหมวดเครื่องภาชนะใชสอย และสิ่งตางๆ นําดวย "พระ" พระสุพรรณศรี (กระโถนเล็ก) พระสุพรรณราช (กระโถนใหญ) พระเตา (คนโท) พานพระศรี (พานหมาก) พระเตาทักษิโณทก (เตากรวดนํ้า) ถาดพระสุธารส (ถาดเครื่องนํ้ารอนนํ้า เย็น) ๓) คํานามทั่วไปที่เติมคํา "ทรง" "ตน" "หลวง" ทายคํานามธรรมดา เครื่องทรง ผาทรง ขางทรง มาทรง รถทรง ฯลฯ ชางตน มาตน เรือตน เรือนตน กฐินตน ฯลฯ ลูกหลวง หลานหลวง เรือหลวง เรือนหลวง สวนหลวง วังหลวง ฯลฯ ๔) คํานามหมวดเครื่องใช เครื่องประดับ นําดวย “ฉลอง” ฉลองพระบาท (รองเทา) ฉลองพระหัตถสอม (สอม) ฉลองพระองค (เสื้อ) ฉลองพระหัตถชอน (ชอน) ๑) คํานามหมวดรางกาย นําดวย "พระ" ๓๕


นําดวย “พระ” พระแทน (เตียง) พระท่ี (ที่นอน - เจานาย) พระยี่ภู (ที่นอน) พระภูษา (ผานุง) พระกลด (รม) พระท่ีนั่ง (เรือนหลวง) พระมาลา (หมวก) พระจุทามณี (ปน) พระ อุณหิส (กรอบหนา) พระฉาย (กระจก) พระ ราชอาสน (ท่ีสําหรับน่ัง) พระแทนบรรทม (เตียงนอน) พระเขนย (หมอนหนุน) พระวิสูตร (มาน) พระสนับเพลา (กางเกง) พระทวาร (ประตู) พระสุคนธ (เครื่องหอม, น้ําหอม) พระกุณฑล (ตุมหู) พระธํามรงค (แหวน) พระสาง (หวี) พระพัชนี (พัด) ๕) คํานามขัตติยตระกูล นําดวย "พระ" พระอัยกา (ปู ตา) พระชนก พระบิดร พระบิดา (พอ) พระเชษฐา (พี่ชาย) พระอนุชา (นองชาย) พระโอรส (ลูกชาย) พระนัดดา (หลาน - ลูกของลูก) พระปนัดดา (เหลน - ลูกของหลาน) พระภัสดา พระสวามี (สามี) พระปตุลา (ลุง ซึ่งเปนพี่ของพอ) พระมาตุลา (ลุง - ซ่ึงเปนพี่ของแม) พระสัสสุระ (พอตา) พระอัยยิกา พระอัยกี (ยา ยาย) พระชนนี พระมารดร พระมารดา (แม) พระภคินี (พี่สาว) พระชนิษฐา (นองสาว) พระธิดา (ลูกหญิง) พระภาคิไนย (หลาน - ลูกพ่ีสาว, นองสาว) พระภาติยะ (หลาน - ลูก พ่ีชาย, นองชาย) พระมเหสี พระ ชายา (ภรรยา) พระปตุจฉา (ปา ซึ่ง เปนพี่ของพอ) พระมาตุจฉา (ปา ซ่ึงเปนพ่ีของแม) พระสัสสุ (แมยาย) พระเชษฐภคินี (พี่สาว) ๓๖


๒.๒ คําสรรพนามราชาศัพท คําสรรพนามราชาศัพท คือ คําพูดที่ใชแทน ผูพูด ผูฟง และผูที่ถูกกลาวถึง หรือคําที่ใชแทนชื่อซึ่งตองใชให เหมาะกับระดับชั้นของบุคคล ดังนี้ หมายเหตุ พระบรมวงศชั้นพระองคเจา ไดแก พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาโสมสวลี กรมหมื่นสุทธนารีนาถ พระอนุวงศชั้นพระองคเจา ไดแก ๑. พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาสิริภาจุฑาภรณ ๒. พระเจาวรวงศเธอ พระองคเจาอทิตยาทรกิติคุณ ๒.๓ คํากริยาราชาศัพท คํากริยาที่ตองเปลี่ยนใชตามราชาศัพท หรือใชดําสุภาพตอไปนี้ อาจสังเกตไดในการพูดการอานขาวทางวิทยุโทรทัศน หรืออาจอานไดจาหนังสือพิมพ เอกสารของทางราชการอยูเสมอควรสังเกตวิธีใชจากตัวอยาง ตอไปนี้ ๑) ใชคํา "ทรง" นําหนาคํานาม หรือ คํากริยาธรรมดา ทรง นําหนาคํานาม ทรงกีฬา (เลนกีฬา) ทรงงานศิลปะ (ทํางานศิลปะ) ทรงงานอดิเรก (ทํางานอดิเรก) ทรงชาง (ขี่ชาง) ทรงดนตรี (เลนดนตรี) ทรงธรรม (ฟงเทศน) ทรงบาตร (ตักบาตร) ทรงมา (ขี่มา) ทรงศีล (รับ ศีล) ทรง นําหนาคํากริยา ทรงเจิม(เจิม) ทรงทํานุบํารุง (ทํานุบํารุง) ทรงปฏิบัติ (ปฏิบัติ) ทรงฉาย (ถายรูป) ทรงพิจารณา (พิจารณา) ทรงรัก (รัก) ทรงเลือก (เลือก) ทรงสนับสนุน (สนับสนุน) ทรงสราง (สราง) ฯลฯ ๓๗


๒) ใชคํา "ทรงพระ" นําหนาคํานาม หรือ คํากริยาราชาศัพท์ ทรงพระกรุณา (กรุณา) ทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ (กรุณา) ทรงพระเมตตา (เมตตา) ทรงพระกันแสง (รองไห) ทรงพระสุคนธ(ทาเครื่องหอม) ทรงพระกาสะ(ไอ) ทรงพระสุบิน (ฝน) ทรงพระอุตสาหะ (อุตสาหะ) ทรงพระวิริยะ (เพียร) ทรงพระวาตะ (ผายลม) ทรงพระประชวร (เจ็บปวย) ทรงพระพิโรธ กริ้ว (โกรธ) ทรงพระสรวล (หัวเราะ) ทรงพระสําราญ (สบายกาย สบายใจ) ตรัส (พูด) บรรทม (นอน) โปรด (ชอบ) เสด็จประพาส (ไปเที่ยว) เสวย (กิน) ทอดพระเนตร (ดู) ประสูติ (เกิด) ใชกับพระบรมวงศานุวงศ พระราชทาน (ให) เสด็จนิวัต (กลับมา) สรงนํ้า (อาบนํ้า) สรงพระพักตร (ลางหนา) ตกพระทัย (ตกใจ) ๓) คํากริยาที่เปนราชาศัพทอยูแลว ไมใชทรง นําหนา ๓๘


๓.๑ คํานาม คํานามที่ใชสําหรับพระภิกษุนั้น สวนมากใชเชนเดียวกับบุคคลทั่วไป เวนแตคําบางคําที่กําหนดไวเฉพาะพระภิกษุ สงฆ เชน กาสาวพัสตรผายอมฝาด คือ ผาเหลืองพระ กลด มีขนาดใหญ มีดามยาว สําหรับพระธุดงคโดยเฉพาะ จีวร ผาสําหรับหมของภิกษุสามเณร คูกับสบง สบง ผานุงสําหรับภิกษุสามเณร สังฆาฏิ ผาคลุมกันหนาวสําหรับพระใชทาบบนจีวร ใชพันพาดบาซาย ตาลปตร พัดใบตาล มีดามยาว สําหรับพระใชในพิธีกรรม ไทยธรรม ของถวายพระ ธรรมาสนท่ีสําหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม บาตร ภาชนะชนิดหน่ึงสําหรับภิกษุสามณรใชรับอาหารบิณฑบาต บริขาร เครื่องใชสอยของภิกษุ มี ๘ อยาง รวมเรียกวา "อัฏฐบริขาร" ไดแก สบง จีวร สังฆาฏิ บาตร มีดโกน เข็ม ประคดเอว กระบอกกรองนํ้า เบญจางคประดิษฐการกราบโดยใหอวัยวะทั้ง ๕ คือ เขาทั้ง ๒ มือทั้ง ๒ และหนาผากจดลงกับพื้น ปจจัย เงินที่ทายกทายิกาถวายพระเพื่อเปนคาปจจัยสี่ คือ เครื่องนุงหม ที่อยูอาศัย อาหาร ลิขิต จดหมายของพระสงฆ์ ๓. คําราชาศัพทสําหรับพระภิกษุ สมเด็จพระสังฆราช สกลมหาสังฆปริณายกเปนประมุขของสงฆ จึงกําหนดใหใชราชาศัพทกับสมเด็จพระสังฆราช เทียบเทาพระราชวงศชั้นพระองคเจา สวนพระภิกษุที่เปนพระราชวงคนั้นคงใชราชาศัพทตามลําดับชั้นแหงพระราชวงศ์ ๓๙


๑) คํานามหมวดสถานที่และสิ่งอื่น ๆ ๑) คํานามหมวดสถานที่และสิ่งอื่น ๆ กุฏิ เรือนหรือตึกสําหรับพระภิกษุสามเณรอยูอาศัย วิหาร วัด สวนใหญเปนท่ีประดิษฐานพระพุทธรูป เจดียสิ่งซ่ึงกอเปนรูปคลายลอมฟาง มียอดแหลม บรรจุสิ่งท่ีนับถือ เชน พระธาตุ พุทธาวาส สวนหน่ึงของวัด ประกอบดวย โบสถ วิหาร เจดีย ซ่ึงใชเปนท่ีประกอบสังฆกรรมโดยมีกําแพงกั้น ไวจากสวนท่ีเปนสังฆาวาส สังฆาวาส บริเวณท่ีอยูอาศัยของพระสงฆ ประกอบดวย กุฏิ หอฉัน ศาลาการเปรียญ เปนตน หอไตร หอสําหรับเก็บพระไตรปฎก อุโบสถ สถานที่สําหรับพระสงฆประชุมกันทําสังฆกรรม เรียกสั้นๆ วา โบสถ์ ๒) คํานามหมวดพระภิกษุและบุคคลที่เกี่ยวของ สมภาร เจาอาวาส อุปชฌายพระเถระผูเปนประธานในการบวช กรรมวาจาจารยอาจารยผูใหสําเร็จกรรมวาจา คือ คูสวดในการบวช นาค ชายหนุมที่ไปอยูวัดเพ่ือเตรียมตัวบวช ทายก ทายิกา ชายและหญิงผูถวายจตุปจจัยแกภิกษุสามเณร มหา สมณศักด์ิท่ีใชนําหนาช่ือภิกษุที่สอบไสไดตั้งแตเปรียญธรรม ๓ ประโยคขึ้นไป มัคนายก ผูนําทาง คือ ผูจัดการทางกุศล ผูช้ีแจงทางบุญ ใบฎีกา ตําแหนงพระฐานานุกรมอันดับสุดทาย สมุหตําแหนงพระฐานานุกรม เหนือพระใบฎีกา โยม คําท่ีพระภิกษุใชเรียกฆราวาส โยมอุปฏฐาก ผูแสดงตนเปนผูอุปการะพระสงฆ อุบาสก อุบาสิกา ชาวบานชายหญิงที่นับถือพระพุทธศาสนาอยางมั่นคง ๔๐


๓.๒ คําสรรพนาม คําสรรพนามที่พระภิกษุใชกับบุคคลระดับตางๆ มีดังตอไปนี้ บุรุษที่ ๑ สรรพนามที่ใช้ ใช้กับ อาตมา อาตมาภาพ เกล้ากระหม่อม ผม กระผม บุคคลธรรมดาทั่วไป หรือผูมีตําแหนงสูง พระราชวงศตั้งแตหมอมเจาขึ้นไป พระภิกษุที่เปนอุปชฌาจารย หรือพระภิกษุ ที่ดํารงสมณศักดิ์สูงกวา พระภิกษุดวยกัน บุรุษที่ ๑ สรรพนามที่ใช มหาบพิตร บพิตร คุณ คุณ เธอ ใชกับ พระเจาแผนดิน พระราชวงศ พระภิกษุดวยกันที่ฐานะเสมอกัน บุคคลทั่วไป คําขานรับของพระภิกษุ มีดังตอไปนี้ คำ ขานรับ ใช้กับ ขอถวายพระพร ครับ ขอรับ เจริญพร พระเจาแผนดิน พระราชวงศ พระภิกษุดวยกัน ฆราวาสทั่วไป คําสรรพนามที่บุคคลทั่วไปใชกับพระภิกษุมีดังตอไปนี้ บุรุษที่ ๑ ๒ สรรพนาม ใช้กับ กระผม ผม (ชาย) ดิฉัน (หญิง) พระภิกษุทั่วไป พระภิกษุทั่วไป พระคุณเจา พระคุณทาน พระสงฆสมณศักดิ์ พระภิกษุสงฆทั่วไป ๔๑


นุงหม เชน ครองจีวร รับประทานอาหารที่ชาวบานถวายเวลาตักบาต เชิญ เชิญเปนการเชิญพระมารับบิณฑบาต รองขอพระภิกษุใหยินดีพอใจทําสิ่งใดสิ่งหนึ่ง เชน อาราธนาศีล รับประทานอาหารมื้อกลางวัน ถวายของพระโดยวิธียกสูงใหตามพิธีการที่กําหนดไวสวดพระพุทธมนต นอนหลับ อยูประจําวัด ๓ เดือน ในชวงเขาพรรษาการแสดงความออนนอมโดยการก ราบ ไหว บวชเปนสามเณร บวชเปนพระภิกษุ สึก ลาออกจากความเปนพระภิกษุมาเปนคนธรรมดา เจ็บปวย โทษจากการลวงละเมิดหามสําหรับพระภิกษุ ตาย ๓.๓ คํากริยา มีคํากิริยาหลายคําที่กําหนดไวใชสําหรับพระภิกษุ เชน คำ ความหมาย ครองผา รับบิณฑบาต นิมนต อาราธนา ฉันภัตตาหารเพล ประเคน เจริญพระพุทธมนตจําวัด จําพรรษา นมัสการบัญชา บรรพชา อุปสมบท ลาสิกขา อาพาธ อาบัติ มรณภาพ ๕. คําศัพทสําหรับบุคคลทั่วไป คําศัพทสําหรับบุคคลทั่วไป เรียกอีกอยางวา คําสุภาพ เปนคําที่ใชในการสื่อสารดวยความสุภาพ มีลักษณะ หลีกเลี่ยง เปลี่ยนแปลงจากคําที่ถือวาไมสุภาพ หรือไมเปนทางการ ดังนี้ ๔๒


๑) หลีกเลี่ยงคําพูดเหยียดหยาม ดําพูดเหยียดหยามผูอื่นใหไดรับความอับอาย เชน คําหยาบ ดําดา ดํา เสียดสี คําเหน็บแนมตําหนิใหผูฟงเจ็บใจเปนคําที่ไมสมควรพูดเพราะไมใชคําสุภาพ ๒) หลีกเลี่ยงคําหยาบ คําดา คํากระดาง เปนคําที่ไมสมควรพูด เชน การเรียกผูอื่นวา อาย อี การใช สรรพนาม มึง กู การดาวาเปรียบเปรยใหผูอื่นตํ่าเสมือนสัตว เชน ควาย หมา เหี้ย ฯลฯ ถาจะกลาวถึงของเสียที่ขับถายออกจากรา งกาย ก็ควรใชคําอื่นแทน เชน ปสสาวะ (แทนเยี่ยว) อุจจาระ (แทนขี้) ผายลม (แทนตด) ถาของเสียนั้นเปนของสัตว ตามตําราวจีวิภาคของพระยาอุปกิตศิลปสารแนะนําใหใชคําวา "มูล" แทน "ขี้" เชน มูลนก มูลหนู มูลชาง ฯลฯ สวนคํากระดางนั้นเปนคําพูดที่หวนไมมีหางเสียงและมีความหมายไปในเชิงกดผูอื่นใหตํ่าลง เชน ไลให ออกไป ก็พูด วา ไสหัวไปหรือแสดงความดูหมิ่นซํ้าเดิม เชน สมนํ้าหนา ๓) หลีกเลี่ยงคําผวน คําผวน หรือคําที่มีความหมายสองแงคําที่หามผวนตามตําราวจีวิภาคของพระยาอุปกิตศิลปสาร เชน ที่หา ที่หก แปดตัว ฯลฯ แตถาคําผวนแลวความหมายไมหยาบจะถือวาเปนศิลปะการใชภาษา เชน นักรอง (นองรัก) พักรบ (พบรัก) ฯลฯ คําที่มีความหมายสองแงนั้นแงหนึ่งมีความหมายธรรมดาตรงตัวแตอีกแงหนึ่งอาจมีความหมายไปทางเพศ จึงถือเปนคําไมสุภาพไมสมควรพูด ๔.หลีกเลี่ยงคําสแลง คําสแลงหรือคำ คะนอง เปนคําที่มีใชกันเฉพาะกลุม เชน วัยรุนนิยมพูดเปนชวงระยะเวลาหนึ่ง แลวผานไปก็มีคําใหมขึ้นมาอีก เชน คําวา แอบแบว แซว ขิต ตุยแจว สุดสุด ฯลฯ คําเหลานี้สวนมากผูที่พูดมักจะมุง ความสนุกมากกวาอยางอื่น เมื่อใดที่จําเปนตองใชภาษาใหถูกตองตามมาตรฐานของคําสุภาพ ผูใชภาษาก็ยอม มีดุลพินิจวาควรใชคําอยางไรจึงจะเหมาะสม ๕.หลีกเลี่ยงภาษาปาก แมวาภาษาปากจะไมใชดําหยาบหรือคําสแลง แตอาจไมเหมาะสําหรับการใชเปนภาษา ทางการ จึงตองเปลี่ยนใหสุภาพขึ้นตามความเหมาะสม ๖. ระดับภาษา การสื่อสารดวยการพูดนั้น ตองคํานึงถึงระดับของภาษา เนื่องจากสังคมไทยมีการเคารพและยกยอง กัน ตามอาวุโสและตําแหนงหนาที่ ภาษาที่เราใชสนทนากับเพื่อนสนิทอาจนําไปสนทนากับครูอาจาร ยไมได เนื่องจากคําอาจไมสุภาพเหมาะสมหรือภาษาที่เราใชสนทนากับคนในครอบครัวก็อาจไมเหมาะ สมที่จะสนทนากับคนแปลกหนา เปนตน นอกจากนี้การสื่อสารกับบุคคลเดียวกันแตตางโอกาสหรือตาง สถานที่กัน ก็ตองเปลี่ยนระดับภาษาใหเหมาะสม ภาษาบางระดับคนบางคนอาจจะไมมีโอกาสใชเลย เชน ภาษาระดับพิธีการ บางระดับตองใชกันอยูเสมอในชีวิตประจําวันการเรียนรูเรื่องระดับภาษาจึงเปน เรื่องจําเปน ถึงแมบางระดับเราไมไดใชแต่อยางนอยก็ทําใหเรารับรูวาภาษามีระดับ เมื่อถึงคราว ที่จะตองใชก็จะใชไดอยางถูกตอง ไมตองถูกใครมาตําหนิวา พูดจาไมเหมาะสม ดังนั้นการใชภาษาจึงตอง เลือกใหเหมาะสมกับบุคคลและโอกาสเปนสําคัญโดยคํานึงถึงมารยาทและความสุภาพเหมาะสม ๔๓


ภาษาแบงออกเปน ๕ ระดับ ดังนี้ ๑) ภาษาระดับพิธีการ ๒) ภาษาระดับทางการ ๓) ภาษาระดับกึ่งทางการ ๔) ภาษาระดับสนทนาทั่วไป ๕) ภาษาระดับกันเอง การแบงระดับภาษาดังกลาวนี้ โอกาสและบุคคลเปนสิ่งที่ตองพิจารณามากกวาเรื่องอื่น ๆ ๑) ภาษาระดับพิธีการ ภาษาระดับพิธีการเปนภาษาที่ใชในงานระดับสูงที่จัดขึ้นเปนพิธีการ เชน การกลาวสดุดี กลาวรายงาน กลาวปราศรัยกลาวเปดพิธี ผูกลาวมักเปนบุคคลสําคัญ บุคคลระดับสูงในสังคมวิชาชีพหรือวิชาการ ผูรับสารเปนแตเพียงผูฟงหรือผูรับรูไมตองโตตอบเปนรายบุคคล หากจะมีก็จะเปนการตอบอยางเปนพิธีการในฐานะ ผูแทนกลุม การใชภาษาระดับนี้ตองมีการเตรียมลวงหนาเปนลายลักษณอักษรซึ่งเรียกวา วทานิพนธก็ได ในการแตงสาร นี้มีคําตองเลือกเฟนถอยคําใหรูสึกถึงความสูงสงยิ่งใหญจริงจังตามสถานภาพของงานนั้น ๒) ภาษาระดับทางการ ภาษาระดับทางการ ใชในงานที่ตองรักษามารยาท ในการใชภาษาคอนขางมาก อาจจะเปนการรายงาน การอภิปรายในที่ประชุม การปาฐกถา ซึ่งตองพูดเปนการเปนงาน อาจจะมีการใชศัพทเฉพาะ เรื่องหรือศัพททางวิชาการบางตามลักษณะของเนื้อหาที่ตองพูดหรือเขียน ๓) ภาษาระดับกึ่งทางการ ภาษาระดับกึ่งทางการเปนภาษาที่ใชในระดับเดียวกับภาษาทางการที่ลดความเปนงานเปนการลงผูรับและผูสงสารมี ความใกลชิดกันมากขึ้น มีโอกาสโตตอบกันมากขึ้น ภาษาระดับนี้มักใชในการประชุมกลุมการบรรยายในชั้นเรียน การใหขาว การเขียนขาวหรือบทความในหนังสือพิมพ ซึ่งนิยมใชถอยคํา สํานวนที่แสดงความคุนเคยกับผูอานเเละผู้ฟัง ๔) ภาษาระดับสนทนาทั่วไป ภาษาระดับสนทนาทั่วไป เปนภาษาระดับที่ใชในการพูดคุยกันธรรมดา แตยังไมเปนการสวนตัวเต็มที่ยังตอง ระมัดระวังเรื่องการใหเกียรติคูสนทนา เพราะอาจจะไมเปนการพูดเฉพาะกลุมพวกของตนเทานั้นอาจมีบุคคลอื่นอยูดวย หรืออาจมีบุคคลตางระดับรวมสนทนากัน จึงตองคํานึงถึงความสุภาพมิใหเปนกันเองจนกลายเปนการลวงเกินคูสนทนา ๕) ภาษาระดับกันเอง หรือระดับภาษาปาก ภาษาระดับกันเองเปนภาษาที่ใชสื่อสารกับผูคุนเคยสนิทเปนกันเอง ใชพูดจากันในวงจํากัดอาจจะเปนกลุมเพื่อนฝูง ครอบครัว สถานที่ใชก็มักเปนสวนตัวเปนสัดสวนเฉพาะกลุมเฉพาะพวกไดแกภาษาถิ่นภาษาสแลงภาษาที่ใชติดตอใน ตลาดในโรงงาน รานคา ภาษาที่ใชในการละเลนหรือการแสดงบางอยางที่มุงใหตลกขบขัน เชน จําอวด ฯลฯ ๔๔


การใชภาษาทุกระดับไมวาจะเปนภาษาระดับสนทนาหรือระดับกันเอง ผูใชควรคํานึงถึงมาร ยาทซึ่งเปนทั้งการใหเกียรติผูอื่นและการรักษาเกียรติของตนเองเพราะเปนเครื่องแสดงวา บุคคลนั้น เปนผูไดรับการอบรม สั่งสอนมาดี เปนผูมีสมบัติผูดี และมีจิตใจดี การใชคําราชาศัพททั้งกับพระมหากษัตริย พระภิกษุสงฆ และการใชคําสุภาพกับบุคคลสามัญชน ทั่วไป เปนการแสดงวัฒนธรรมทางภาษาอันดีงามของภาษาไทย ทั้งยังสะทอนถึงความเคารพยกย่อง ในสถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย ผูที่ใชคําราชาศัพทไดถูกตองเหมาะสมกับบุคคล และสถานการณ นอกจากจะไดรับคํายกยองวาเปนผูรูจักการใชภาษาไดดีแลวยังแสดงใหเห็นวา บุคคลผูนั้นมีมารยาทและวัฒนธรรมอันดีงามในการใชภาษา ๔๕


Click to View FlipBook Version