The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

จัดทำโดย
คณะอนุกรรมการฝึกภาคปฏิบัติ 3
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121
โทรศัพท์ 02-696-5504 โทรสาร 02-986-8323
Website : http://www.socadmin.tu.ac.th
ออกแบบรูปเล่ม ณัฐนรี ช่วยวัฒนะ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Faulty Of Social Administration, 2022-02-15 04:03:10

คู่มือการฝึกภาคปฏิบัติ 3 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564

จัดทำโดย
คณะอนุกรรมการฝึกภาคปฏิบัติ 3
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12121
โทรศัพท์ 02-696-5504 โทรสาร 02-986-8323
Website : http://www.socadmin.tu.ac.th
ออกแบบรูปเล่ม ณัฐนรี ช่วยวัฒนะ

รายชื่อนักศกึ ษา รหสั อาจารย์นเิ ทศงานในคณะ

สาวนชุ นารถ สนุ ทะวงศ์ 6105615881 อ.ดร.สุกัญญา มสี กุลทอง
[email protected]

สาวนภัสสร ปอ้ งนาน 6105615394 อ.วรลกั ษณ์ เจรญิ ศรี
สาวพิชามณช์ุ นิลกลา่ 6105615725 มลู เมอื ง
สาวอนญั ญา อาซอง 6105700014
[email protected]

ยจิรวัฒน์ จุลรัมย์ 6105700501 ผศ.ดร.สขุ มุ า อรุณจิต
ยพชั รพล รินนานนท์ 6105700352 [email protected]
สาวรตั นพร แก่นจันทร์ 6105700535

8

ลาดับ หนว่ ยงาน จานวน

บุรีรัมย์ จงั หวัดบรุ ีรัมย์
อาจารย์ภาคสนาม :
นางสาวพรพรหม ทัพกฤษณ์
โทรศัพท์ 044-163558
โทรสาร 044163559

109

รายช่อื นักศกึ ษา รหสั อาจารยน์ เิ ทศงานในคณะ

9

5 การตดิ ตอ่ คณะอนุกรรมการฝึกภาคปฏิบตั ิ 3
คณะสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์
คูม่ ือ การฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิ 3
SOCIAL WORK FIELD PRACTICUM 3

การติดต่อคณะกรรมการฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิ

คณะกรรมการฝกึ ภาคปฏบิ ัติ โทรศัพท์ E-mail

รองศาสตราจารยก์ มลทิพย์ แจม่ กระจ่าง 081-6339619 [email protected]

อาจารย์ ดร.ปรินดา ตาสี 086-1760507 [email protected]

ศาสตราจารย์ ดร.นฤมล นริ าทร 081-7023500 [email protected]

ศาสตราจารย์ ดร.พงษ์เทพ สนั ติกลุ 081-6857506 [email protected]

ผ้ชู ่วยศาสตราจารย์ ปานรัตน์ นมิ่ ตลุง 089-2326161 [email protected]

ผู้ชว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วิไลภรณ์ โคตรบงึ แก 081-932-0779 [email protected]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภุชงค์ เสนานชุ 084-1345354 [email protected]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นฤิ มน รัตนะรตั 089-7727822 [email protected]

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.สขุ มุ า อรุณจติ 083-2542811 [email protected]

อาจารย์ ปณุ ิกา อภริ กั ษ์ไกรศรี 083-1995605 [email protected]

อาจารย์ พงศยา ภูมิพัฒน์โยธนิ 089-4896333 [email protected]

อาจารย์ ดร.สรสิช สวา่ งศลิ ป์ 094-880-1818 [email protected]

111

ศนู ยร์ ังสิต

คณะสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
99 หมู่ 18 ถนนพหลโยธิน ตาบลคลองหนึ่ง
อาเภอคลองหลวง จงั หวัดปทุมธานี 12120
โทรศัพท์ 02-696-5504
โทรสาร 02-986-8323
Website : http://www.socadmin.tu.ac.th

ศนู ย์ลาปาง

คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์
248 หมู่ 2 ถนนลาปาง-เชยี งใหม่ ตาบลปงยางคก

อาเภอหา้ งฉตั ร จงั หวดั ลาปาง 52190
โทรศัพท:์ 054-237999 กด 4
โทรสาร: 054-237999 กด 5300

e-mail : [email protected]

6Website : http://www.socadmin.tu.ac.th
ฝ่ายประกนั อุบตั เิ หตุ

8 มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์

สถานท่ตี ้ัง : อาคารเรียนรวมสังคมศาสตร์ SC ช้นั ที่ 1
โทรศัพท์ 02-6966600-2

112

6 ภาคผนวก
คู่มือ การฝึกภาคปฏิบัติ 3

SOCIAL WORK FIELD PRACTICUM 3

1. เปา้ หมายของสงั คมสงเคราะห์ศาสตร์บณั ฑิต คณะสังคมสงเคราะหศ์ าสตร์
การกาหนดเป้าหมายของการผลิตบัณฑิตสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ของคณะ

สงั คมสงเคราะห์นัน้ ประกอบดว้ ย เกณฑ์ตา่ งๆ ดงั นี้
1.1 มคอ. 2 ของหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์บัณฑิต ปี 2559 ซ่ึงได้

ระบถุ ึงบริบทสาคญั ที่ต้องคานงึ ถงึ และนักศกึ ษาต้องตระหนัก คือ

บริบท รายละเอียด
นโยบายการพฒั นาประเทศมกี าร วสิ ยั ทัศน์ “มั่นคง ม่งั คงั่ ย่งั ยืน” โดยเฉพาะยทุ ธศาสตร์ที่
กาหนดกรอบยุทธศาสตรช์ าติระยะ 3 ด้านการสร้างโอกาสความเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
20 ปี ท า งสั งค ม (Inclusive Growth) ป ระ ก อ บ ด้ ว ย 7

แนวทาง ไดแ้ ก่

 การสร้างความอยู่ดีมีสขุ ของครอบครวั ไทย

 การพัฒนาศักยภาพคนทุกชว่ งวัย

 การสร้างความมั่นคงและการลดความเหลื่อมล้า
ทางดา้ นเศรษฐกจิ และสังคม

 การยกระดับคุณภาพการศึกษาและการเรียนรู้ให้มี
คุณภาพ เท่าเทยี มและทั่วถงึ

 การพฒั นาระบบสขุ ภาพ

 การสร้างสภาพแวดลอ้ มและนวตั กรรมท่เี ออ้ื ต่อสังคม
สูงวยั

 การสร้างความเข้มแข็งของสถาบันทางสังคมและ
ทนุ วัฒนธรรม

ผลจากการสัมมนาพัฒนาการเรียน ผู้เรียนยังมีทักษะการปฏิบัติงานทางวิชาชีพไม่เพียง
การสอนหลักสูตรสังคมสงเคราะห์ พอทจ่ี ะปฏบิ ัตงิ านได้ เชน่
ศาสตร์บัณฑิต ในปี 2557-2558 1. ทักษะการประเมินวินิจฉัยปัญหาและวางแผนการ

ทางานกบั กลุม่ เปา้ หมายอยา่ งรอบดา้ น
2. ทกั ษะด้านการแกไ้ ขฟนื้ ฟู ป้องกัน คุม้ ครอง พฒั นา
และติดตามผลท่ีเกดิ ขึ้นกบั กลุม่ เปา้ หมาย
3. ทกั ษะการวิจัยและการรวบรวมขอ้ มลู มีนอ้ ย เปน็ ต้น
ข้อเสนอ

 ควรปรับรูปแบบการเรียนการสอนที่เนน้ กระบวนการ
เรยี นรู้และการฝึกปฏบิ ัติ (ท้ังในและนอกชนั้ เรียน)

 ควรลดรายวชิ าที่มกี ารเรยี นการสอนแบบบรรยาย
เพียงอย่างเดยี ว

114

บริบท รายละเอยี ด

การบังคับใช้พระราชบัญญัติวิชาชีพ  ควรเนน้ วธิ ีวทิ ยาทางสังคมเคราะหใ์ ห้มีความชัดเจนข้นึ
สังคมสงเคราะห์ พ.ศ.2556
 ควรส่งเสรมิ ใหอ้ าจารยไ์ ด้ปฏิบัติงานในหน่วยงานมาก
การเกิดองค์กรวิชาชีพเพื่อส่งเสริม ขนึ้ และใหอ้ าจารยท์ ่สี นใจหนว่ ยงานตา่ งๆเข้าดูงาน
แ ล ะ พั ฒ น า ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ให้ มี และฝึกภาคปฏิบตั ิเชน่ เดียวกับนักศกึ ษา
มาตรฐาน
ทาให้เกิด “สภาวิชาชีพสังคมสงเคราะห์” ทาหน้าที่
การจัดการศึกษาให้สอดคล้องกับการ ควบคุม กากับการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ให้มี
จัดการศึกษาในศตวรรษที่ 21 และ มาตรฐาน หลักสูตรการศึกษาสาขาสังคมสงเคราะห์
การพัฒนาหลักสูตรพ้ืนฐานที่เน้นการ ศาสตร์ จึงควรมุ่งเป้าหมายท่ีการผลิตบัณฑิตให้มีความ
เรียนรูจ้ ากผ้เู รยี นเป็นศนู ยก์ ลาง พร้อมในการเข้าสูก่ ารเปน็ นักสังคมสงเคราะห์วิชาชีพ ซ่ึง
การศึกษาภาคปฏิบัติจะเป็นหัวใจสาคัญย่ิงในการบรรลุ
เปา้ หมายดังกล่าว
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ จึงเห็นสมควรให้มีการเพิ่ม
ชั่วโมงการฝึกภาคปฏิบัติให้มีมาตรฐานย่ิงขึ้น โดยเพ่ิม
จานวนการฝึกภาคปฏิบัติจาก 2 ฝึกภาคปฏิบัติเป็น 3
ฝึกภาคปฏิบัติ และให้ชั่วโมงการฝึกภาคปฏิบัติใน
ภาพรวมให้มากขึ้น

การจัดต้ัง “สมาคมสภาการศึกษาสังคมสงเคราะห์และ
สวัสดิการสังคมไทย” ได้มีการจัดทา (ร่าง) มาตรฐาน
หลักสูตรสาขาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ เพื่อเป็นกรอบ
การจัดการศึกษาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ในทุกระดับ
เพื่อให้เกิดมาตรฐานกลางของการจัดการเรียนการสอน
กับ ผู้เรียน ซ่ึงได้รับ การสนับสนุนจากสานักงาน
คณะกรรมการจัดการศึกษาระดับอุดมศกึ ษาท่ีจะใช้เป็น
แนวทางในการพฒั นาหลักสูตรและจัดการเรยี นการสอน
ในหลักสูตรสงั คมสงเคราะหศ์ าสตร์

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์มีการปรับหลักสูตรการศึกษา
ท่ัวไป พ.ศ. 2558 ท่ีเน้นการพัฒนาทักษะชีวิต ทักษะ
การทางานเป็นทีม ทักษะการใช้เทคโนโลยีและ
นวัตกรรม และทักษะการสื่อสารฯลฯ ที่เอื้อให้ผู้เรียน
สาม ารถ เท่ าทั น กั บ การเป ลี่ ยน แ ป ล งท้ั งใน ระดั บ โล ก
ระดับภูมิภาค และระดับชาติ ดังนั้นการปรับปรุง
หลกั สูตรสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ในระดับปริญญาตรี จึง
จะมุ่งเน้นศูนย์กลางและให้การจัดการเรียนการสอน

115

บริบท รายละเอยี ด

สอดคล้องกับผู้เรียนและเอ้ือต่อกระบวนการเรียนรู้ที่มี

ประสทิ ธิภาพของผเู้ รยี น

การปฏิบตั ิงานสังคมสงเคราะหม์ ีความ จาเป็นต้องพัฒนาองค์ความรู้ใหม่ที่เอื้อต่อการทางาน

ซับซอ้ น ใช้องค์ความรู้สหศาสตร์ และ อย่างเป็นมืออาชีพ มีเครื่องมือทางวิชาชีพทางานอย่าง

ทางานร่วมกบั สหวิชาชพี คิดเป็นระบบ มีความแม่นยาในหลักวิชาการและ

ประยุกต์ใช้สหศาสตร์อย่างเป็นบูรณาการ มีความรู้ใน

การบริหารงานอย่างเป็นระบบ และการมีความรู้และ

ความเขา้ ใจในการคุม้ ครองสวัสดภิ าพของ

จากการเปลยี่ นแปลงต่างๆ คณะสังคมสงเคราะห์จึงได้กาหนดภารกจิ ทง้ั การ

เป็นผู้นาทางวิชาการ การชี้นาสังคม การลดความเหล่ือมล้าทางสังคม ความไม่เป็น

ธรรมทางสงั คม รวมท้ังการส่งเสริม สนับสนุน พัฒนานโยบายและกลไกทางสังคมให้

สามารถตอบสนองเท่าทันต่อการเปล่ียนแปลงที่เกิดข้ึนของโลกและประเทศโดยมี

เปา้ หมายการพัฒนาประชานใหม้ ีคุณภาพชวี ิตที่ดี อยใู่ นสังคมได้อย่างมีศักดิ์ศรคี วาม

เป็นมนษุ ย์

1.2 คุณลกั ษณะของบัณฑติ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ (คณุ ลกั ษณะ

GREATS)

GREATS Spirit TU ประกอบด้วย

G - Global Mindset ทนั โลกทันสงั คม

R - Responsibility สานกึ รับผดิ ชอบอย่างย่ังยนื

E - Eloquence สื่อสารอย่างสรา้ งสรรค์ทรงพลัง

A - Aesthetic appreciation มสี นุ ทรยี ะในหัวใจ

T - Team leader เป็ นผู้นาทางานเปน็ ทีม

S - Spirit of Thammasat มีจิตวญิ ญาณธรรมศาสตร์

คุณลักษณะ GREATS หมายถึงคุณลักษณะท่ีจาเป็นสาหรับการเป็นผู้นาที่

ประสบความสาเร็จ ในศตวรรษท่ี 21 ประกอบด้วย 6 คณุ ลกั ษณะ

แนวคิด คณุ ลักษณะ

G: Global Mindset ทันโลก ทันสังคม นักศึกษาตระหนักถึงความสาคัญและความจาเป็นท่ตี อ้ งเปดิ

เท่าทัน การเปลี่ยนแปลงของโลกใน มิติ โล ก ทั ศ น์ ให้ ก ว้างข ว างยิ่ งขึ้ น ส น ใจ แ ล ะ ติ ด ต า ม

ต่างๆ ปรากฏการณ์ท่ีสาคัญทางการเมือง เศรษฐกิจสังคม และ

วัฒนธรรมที่กาลังเป็น กระแสท้ังในระดับประเทศระดับ

116

แนวคดิ คุณลักษณะ

R: Responsibility มีสานึกรับผิดชอบ ภูมิภาคอาเซียน และระดับโลกเพ่ือให้ทันโลกและสามารถ
อย่าง ย่ังยืนต่อตนเอง บุคคลรอบ ข้าง ใช้ ประโยชน์จากความทันโลกในการพัฒนาศักยภาพของ
สงั คม และสง่ิ แวดล้อม ตนเอง

E: Eloquence ส่ือสารอย่างสร้างสรรค์ นักศึกษาเข้าใจหลักการความย่ังยืนและตระหนักในคุณค่า
และทรงพลงั มีทักษะสนุ ทรียะสนทนา ของความย่ังยืน เข้าใจธรรมชาติ ของสรรพส่ิงที่เชื่อมโยง
และเป็นพลวัตรสามารถนาความเข้าใจท้ังสองเร่ืองมา
A:Aesthetic Appreciation ซาบซ้ึงใน ประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจาวันในเรื่องการบริโภค การใช้
ความงามคุณค่าของ ศิลปะดนตรีและส ทรัพยากร เช่น ํน้า พลังงาน ฯลฯ อย่างมสี านึก รบั ผิดชอบ
ถาปตยกรรม ต่อตนเองคนรอบข้างสังคม และส่ิงแวดล้อม

T:Team Leader ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ นักศึกษามีทักษะการคิดอย่างสร้างสรรค์โดยมีการคิดเชิง
ท้งั บทบาทผนู้ าและบทบาททมี วิพากษ์เป็นองค์ประกอบสาคัญ สามารถจัดการเนื้อหาที่
ตนเองคิดอย่างเป็นระบบ เพ่ือสื่อสารไปยังผู้รับในระดับ
S: Spirit of Thammasat จิตวิญญาณ ต่างๆ คือ ระดับบุคคลองค์กรและสังคม ได้อย่างชัดเจน
ความเป็น ธรรมศาสตร์เชื่อม่ันในระบอบ เหมาะสมกับสถานการณ์ที่มีบริบทท่ีต่างกัน ในด้านสังคม
ประชาธปไตย สิทธิ เสรีภาพ ยอมรับใน วัฒนธรรม สภาพแวดล้อม และเกิดผลสัมฤทธ์ิตามท่ี
ความเห็นที่แตกต่าง และต่อสู้เพ่ือความ ต้องการอยา่ งเป็นรปู ธรรม

นักศึกษามีความรู้ในการดูแลตนเองแบบองค์รวม (ร่างกาย
อารมณ์สังคม และจิตวิญญาณ) ในด้านการบริโภคอาหาร
การออกกาลังกายการป้องกันโรคการจัดการความเครียด
การสร้าง ความมั่นคงทางอารมณ์เมื่อเผชิญกับปัญหา รับรู้
และซาบซึ้งในความงาม คณุ ค่าของศลิ ปะใน แขนงตา่ งๆ ทั้ง
ทัศนศลิ ป์ดนตรีศิลปะการแสดงและสถาปัตยกรรม

นักศึกษาประพฤติปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างมีมารยาทพ้ืนฐานใน
การฟัง ปฏิบัติตนอย่างเคร่งครัด ในเรื่องการตรงเวลา
เคารพกติกา เคารพสิทธิผู้อื่น ยอมรับความคิดเห็นท่ี
แตกต่าง มีความ รับผิดชอบ มีกิริยาและวาจาท่ีสุภาพ
แสดงออกถงึ มิตรไมตรีเม่ือตอ้ งทางานร่วมกัน สามารถ ปรับ
พฤตกิ รรมของตนเองได้อย่างเหมาะสม ทั้งบทบาทผนู้ าและ
บทบาททมี งาน เพื่อให้งาน โดยรวมสาเรจ็ ตามทต่ี อ้ งการ

นกั ศกึ ษามีความรู้ในเรอื่ งระบอบประชาธิปไตยสิทธิเสรีภาพ
บนพื้นฐานความแตกต่างแนวคิดทางการเมือง สังคม เชื้อ
ชาติ ศาสนาและวัฒนธรรม อย่างผสมผสาน เสียสละ
แรงกายและ อืน่ ๆ เพ่อื ชว่ ยเหลอื บุคคลและสังคมโดยมิต้อง

117

แนวคดิ คุณลกั ษณะ

เปน็ ธรรม ได้รับคาร้องขอ ประพฤติปฏิบัติในวิถี ประชาธิปไตยไม่
เพิกเฉยต่อความไม่ถูกต้องความไม่เป็นธรรมต่อสังคม โดย
เข้าไปชว่ ยเหลอื อย่างเหมาะสม

1.3 เปรียบเทยี บคณุ ลกั ษณะบณั ฑติ ของมหาวิทยาลยั (GREATS) &
คุณลักษณะบัณฑติ สงั คมสงเคราะห์ศาสตร์ (EMPOWER)

GREATS EMPOWER
E – Academic Excellence: มีความเป็นเลิศทาง
G: Global Mindset ทนั โลก ทันสงั คม เทา่ วิชาการ
ทัน การเปลยี่ นแปลงของโลกใน มติ ิต่างๆ M – Moral: ยึดมั่นในคณุ ธรรมและจรรยาบรรณ

R: Responsibility มสี านกึ รบั ผิดชอบอย่าง P – Professional: มีความเป็นวิชาชีพและมือ
ยง่ั ยืนตอ่ ตนเอง บคุ คลรอบ ข้างสงั คม และ อาชพี
สงิ่ แวดลอ้ ม O – Open-minded: เปดิ ใจเรยี นร้สู ิ่งใหม่

E: Eloquence สอ่ื สารอยา่ งสรา้ งสรรคแ์ ละ W – Wisdom: มีความตระหนักในภูมิปัญญา
ทรงพลงั มที ักษะสุนทรียะสนทนา ท้องถน่ิ และเท่าทันต่อสังคมโลก
E – Enterprising: มีความสามารถในด้านบริหาร
A: Aesthetic Appreciation ซาบซงึ้ ใน จัดการและพึ่งพาตนเองได้
ความงามคุณคา่ ของ ศิลปะดนตรแี ละสถาปต
ยกรรม R – Respect and Responsibility: ย อ ม รั บ
ความแตกต่างหลากหลายและมีความรับผิดชอบต่อ
T: Team Leader ทางานรว่ มกบั ผอู้ นื่ ไดท้ ้ัง ตนเองและสังคม
บทบาทผนู้ าและบทบาททีม

S: Spirit of Thammasat จิตวิญญาณความ
เป็น ธรรมศาสตร์เชอื่ มั่นในระบอบ ประชาธป
ไตย สิทธิ เสรีภาพ ยอมรับในความเหน็ ท่ี
แตกตา่ ง และตอ่ สู้เพอื่ ความเปน็ ธรรม

118

2. จรรยาบรรณแห่งวิชาชีพสงั คมสงเคราะห์

จรรยาบรรณแหงวิชาชีพสังคมสงเคราะห แบงเปน 6 องคประกอบ ดังนี้

 จรรยาบรรณตอตนเอง

 จรรยาบรรณตอวชิ าชีพ

 จรรยาบรรณตอผูใชบรกิ าร (บุคคล กลุม ชุมชน)

 จรรยาบรรณตอผูรวมวชิ าชีพและผูรวมงานใน วิชาชพี อน่ื

 จรรยาบรรณตอองคกรท่ีสงั กัด

 จรรยาบรรณตอสงั คม

จรรยาบรรณนัก รายละเอียด

สงั คมสงเคราะห์

จรรยาบรรณต่อ ตระหนักในบทบาท หนาที่ของตนเองในฐานะนักวิชาชีพ และปฏิบัติ

ตนเอง หนาท่ีดวยความ ซื่อสัตย เสียสละ มีคุณธรรม ประพฤติตนอยูใน
กรอบวัฒนธรรมและ บรบิ ททีเ่ หมาะสม ตลอดจนเพ่มิ พนู ความรูและทักษะ

อยูเสมอ

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงประพฤติปฏิบัติตน ในกรอบ

วัฒนธรรมและบริบทที่เหมาะสม ละเวนความประพฤติที่จะ กอใหเกิด
ความเสื่อมเสียตอตนเองและวิชาชพี

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงพัฒนาตนเองใหมี ความรู ทักษะ
ความเช่ยี วชาญ และมที ศั นคติทด่ี ใี นการปฏิบตั ิงานอยูเสมอ

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงปฏิบัติงานในหนาที่ อยางเต็ม

ความสามารถ ดวยความรับผดิ ชอบ ซื่อสัตย และเสียสละ

จรรยาบรรณต่อ ยึดม่ันในหลักวิชาการ ทางวิชาชีพสังคมสงเคราะห รักษาเกียรติภูมิ และ

วิชาชพี สงเสรมิ วิชาชีพใหกาวหนาอยูเสมอ

 ผปู ระกอบวิชาชพี สังคมสงเคราะหพงึ ปฏิบัติงานโดยยดึ ความถูกตองตาม
หลักวิชาการดานสังคมสงเคราะหและศาสตรที่เก่ียวข้องโดยคานึงถึง
มาตรฐานการปฏิบตั งิ านของวชิ าชพี สงั คมสงเคราะห์

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงรักษาเกียรติภูมิแหงวิชาชีพ
ไมนาวิชาชีพไปแสวงหาประโยชนเพ่ือตนเองโดยมิชอบดวย กฎหมาย
แ ล ะ ก ร ะ ท า ใน ลั ก ษ ณ ะ ที่ จ ะ ก อ ให เกิ ด ค ว า ม เส่ื อ ม เสี ย ต อ วิ ช า ชี พ
สงั คมสงเคราะห

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงมีความรู ความสามารถในการ

จัดการความรู เพื่อยกระดับไปสูงานวิชาการหรือ งานวิจัย ท่ีกอใหเกิด

119

จรรยาบรรณนกั รายละเอียด

สังคมสงเคราะห์

ป ร ะ โย ช น สู งสุ ด ต อ ผู ใช บ ริ ก า ร แ ล ะ ค ว า ม ก้ า ว ห น้ า ใน วิ ช า ชี พ สั งค ม

สงเคราะห์

 ผูประกอบวิชาชีพสงั คมสงเคราะหพึงใหความสาคญั ตอ การสง่ เสริมการ

สอนงาน การนเิ ทศงาน และการศึกษาสังคมสงเคราะห์

จรรยาบรรณ ตอ ยึดถือประโยชนสูงสุด ของผูใชบริการ โดยเคารพในศักดศ์ิ รีและคุณคาของ

ผูใชบริการ (บุคคล ความเปนมนุษย สิทธิความเปนสวนตัว รักษาความลับของผูใชบริการ ยึด

กลุม ชุมชน) หลักการมี สวนรวมและรักษาสัมพันธภาพทางวิชาชีพ รวมท้ังใหความ

สาคัญตอ ผูที่มีความตองการเปนพิเศษ ท้ังน้ีหมายรวมถึงการพิทักษคุ

มครอง และพัฒนาความเปนอยูทีด่ ขี องบคุ คล กลุม ชมุ ชน

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงเคารพในศักดิ์ศรี และคุณคาของ

ความเปนมนุษย ปฏิบัติงานโดยคานึงถึงความแตกตาง หลากหลายของ

ปจเจกบคุ คล โดยปราศจากอคตทิ ัง้ ปวง

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงยึดหลักการทางาน เพื่อเสริมพลัง

อานาจของผูใชบริการ ใหเกิดความเขมแข็ง เชื่อมั่นและเห็นคุณคาใน

ตนเอง สามารถพฒั นาไปสูการเปนผพู ิทักษสทิ ธขิ องตนเอง กลมุ่ ชุมชน

 ผูประกอบวชิ าชีพสงั คมสงเคราะหพึงยดึ หลกั การทางาน อยางมีสวนรวม

เช่ือในศักยภาพ เคารพสิทธิในการตัดสินใจดวยตนเอง ของผูใชบริการ

โดยยดึ ถอื ประโยชนสูงสดุ ของผูใชบรกิ ารเปนสาคญั

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงรักษาความลับของ ผูใชบริการ

และไมนาขอมูลไปสื่อสาร หรือเผยแพรตอสาธารณะ โดย ไมไดรับการ

ยินยอมจากผูใชบริการและ/หรือผูเก่ียวของ เวนแตการ เปดเผยขอมูล

เพื่อประโยชนของผูใชบริการ และการรักษาไวซ่ึง สวัสดิภาพความ

ปลอดภยั ของชีวติ ซ่ึงตองกระทาอยางระมัดระวงั

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงรักษาสัมพันธภาพ ทางวิชาชีพ

ตลอดกระบวนการใหบรกิ ารกบั ผูใชบรกิ าร ครอบครัว กลุม ชุมชน

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงถือเปนความ รับผิดชอบในการ

พิทกั ษคุมครองและพัฒนาความเปนอยูท่ดี ีของบคุ คล กลุม และชมุ ชน

จรรยาบรรณ ตอ เคารพ ใหเกียรติ สนับสนุนความรวมมือในการทางานเปนเครือขาย รวม

ผูรวมวิชาชีพและ ขบั เคลอ่ื นการ ปฏบิ ตั ิงานทเี่ ปนประโยชนตอผูใชบริการและวิชาชพี

ผู ร ว ม ง า น ใ น  ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงใหเกียรติ เคารพใน สิทธิ หนาท่ี
วชิ าชีพอืน่
และขอบเขตความรับผิดชอบของผูรวมวิชาชีพสังคม สงเคราะหและ

120

จรรยาบรรณนัก รายละเอยี ด

สงั คมสงเคราะห์

ผูรวมงานในวิชาชีพอนื่

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงรวมมือ สงเสริม และสนับสนุนซึ่ง

กันและกัน ในการปฏิบัติภารกิจ เพ่ือให เกิดประโยชน สูงสุดตอ

ผูใชบริการ

 ผปู ระกอบวิชาชพี สังคมสงเคราะหพึงใหความสาคญั ของ การทางานรวม

กับผูรวมวิชาชีพเดียวกันและกับผูรวมงานในสาขาวิชาชีพ อ่ืนๆ ทั้งใน

และนอกหนวยงาน

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงไมสงเสรมิ ไมเพิกเฉย หรือปกปอง

การประพฤติผิดของผูรวมวิชาชีพและผูรวมงานใน วิชาชีพอ่ืน เพื่อ

ผลประโยชนแหงตนหรือผูกระทาการน้นั ๆ

ผปู้ ระกอบวชิ าชีพสังคมสงเคราะหพึงเคารพในสทิ ธิการเป็นเจ้าของงานและ

ผลงาน โดยไมนางานและผลงานของผูอนื่ ไปแอบอาง เปนของตน

จรรยาบรรณ ต่อ สงเสริม รักษา และ พัฒนาองคกรเพอื่ ประโยชนสงู สดุ ตอผูใชบรกิ าร รวมทั้ง

องคกรท่สี งั กัด มีความ รบั ผดิ ชอบตอองคกรทีต่ นสังกดั

 ผูประกอบวิชาชพี สังคมสงเคราะหพึงมสี วนรวมในการ สง่ เสรมิ ปรับปรุง

พัฒนาองคกรใหดาเนินนโยบาย/แนวทางปฏิบัติงานท่ีคานึงถึงความ

เปนธรรม ผลประโยชนสูงสุดและการพิทักษสิทธิของ ผูใชบริการ

เปนสาคญั

 ผูประกอบวิชาชพี สังคมสงเคราะหพึงใชทรัพยากรของ องคกรดวยความ

คุมคาและเกดิ ประโยชนสูงสดุ

 ผูประกอบวิชาชีพสังคมสงเคราะหพึงสงเสริม สราง บรรยากาศและ

สภาพแวดลอมในการทางานทีเ่ ปนมติ ร

ผูป ระ ก อ บ วิ ช าชี พ สั งค ม ส งเค ร าะ ห พึ งต ระ ห นั ก ถึ งก า รด าร งรัก ษ า ไว ซ่ึ ง

เกียรตภิ ูมขิ ององคกร

121

3. เอกสารเกี่ยวกบั การดาเนนิ งานระหวา่ งการฝึกภาคปฏิบตั ิ 3

3.2 แบบบันทึกการทางานของนกั ศึกษา (รายบุคคล)
คาอธบิ าย
การฝึกภาคปฏบิ ัติออนไลน/์ ผสมผสาน นกั ศกึ ษาและอาจารย์นิเทศงานตอ้ ง
ทางานร่วมกันท้ังการแนะนา การให้คาปรึกษาและการเรียนรู้ผ่านการปฏิบัติจริง
บันทึกการทางานนี้เป็นกระบวนการวิเคราะห์ที่สะท้อนถึงทักษะในการใช้เครื่องมือ
ของนักศกึ ษาในการปฏบิ ัติงานอยา่ งไตร่ตรอง เคร่ืองมอื ในงานสงั คมสงเคราะหจ์ ึงเป็น
สิ่งท่ีแสดงให้เห็นถึงความเป็นนักศึกษาสังคมสงเคราะห์ท่ีทางานอย่างเป็นมืออาชีพ
โดยแบบบันทกึ การทางานเปน็ บันทกึ รายบคุ คล (ที่นักศึกษาฝึกงานทุกคนตอ้ งทา) โดย
ในการบันทึกการทางานนี้เปน็ การตกลงระหวา่ งนักศึกษาว่าจะบนั ทึกเปน็ รายวนั /ราย
สัปดาห์ และนักศึกษาตอ้ งสง่ ให้อาจารยน์ เิ ทศงานตรวจและลงนามทกุ ครงั้
บันทึกการทางานเป็นเคร่ืองมือสาคัญสาหรับนักศึกษาสังคมสงเคราะห์
เพราะช่วยในการทบทวนและตรวจสอบกอ่ นการดาเนนิ งานต่อไป

แบบบนั ทึกการทางาน
1. ชือ่ -สกุล
นักศึกษา…………………………………………………………………………………………………………
2. วันท่ี/สปั ดาหท์ ่ี ……………………………………………………………………………………………

5) เป้าหมายของการดาเนินการ/ผลลพั ธท์ ีค่ าดหวงั
6) แผนการดาเนินงาน (อธิบายส่ิงที่ วางแผนและผลสาเร็จตาม

วตั ถุประสงค)์ ประกอบด้วย
- รายละเอียดการดาเนินการ
- สมรรถนะท่แี สดงออกไป (ความรู้ ทกั ษะ เทคนคิ เครือ่ งมอื ฯลฯ)
7) การสะท้อนการทางานของตนเอง ( การประเมินตนเอง รวมถงึ คาถาม
การประเมินการปฏบิ ัติงาน ข้อท้าทายท่ีพบ ปัญหาอุปสรรคท้ังภายใน
และภายนอกตัวบุคคลทพี่ บ การจัดการแกไ้ ขปญั หา เปน็ )
8) แผนการดาเนินงานต่อไป (ข้อเสนอต่อความเป็นไปได้ของการ
ดาเนินงานต่อไป การปรับเปลี่ยนแผนการดาเนินงาน แนวทางการ
ดาเนนิ งานโครงการในอนาคต)

122

เปา้ หมายของการ แผนการ การสะทอ้ นการ แผนการ
ดาเนินการ/ผลลพั ธท์ ี่ ดาเนินงาน
ทางานของตนเอง ดาเนินงานต่อไป
คาดหวงั

5. การประเมินผลต่อปฏิสัมพันธ์ (บรรลุตามเป้าหมายท่ีกาหนดไหม ได้ผลอย่างไร มี
อะไรเกิดข้ึนบ้าง การเปลี่ยนแปลงของผู้ใช้บริการ เป้าหมายและแผนงานที่จะ
ดาเนินการมคี วามเหมาะสมกบั เป้าหมายของผู้ใช้บรกิ ารหรือไม่ ฯลฯ)
………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………

ลงชอ่ื ...................................................... นกั ศึกษา
(...................................................................)

ลงชอื่ ...................................................... อาจารยภ์ าคสนาม
(...................................................................)

วนั ที่ .................................................................

123

4.เอกสารเก่ียวกับการประเมนิ ผลการฝกึ ภาคปฏิบตั ขิ องนักศกึ ษา
แบบประเมินผลการฝกึ ภาคปฏิบตั ิ 3 (รายกล่มุ )

แบบประเมินผลการฝึกภาคปฏิบัติ 3 นี้ใช้สาหรับประเมินนักศึกษา
รายบุคคลในความก้าวหน้าและการพัฒนาตนเองจากการฝึกภาคปฏิบัติ โดยคานึงถึง
การเรียนรู้ของนักศึกษาเป็นหลัก มาตรฐานทางวิชาชีพสังคมสงเคราะห์ท่ีกาหนดให้
นักศึกษาสังคมสงเคราะห์ต้องมีการฝึกภาคปฏิบัติที่มีการพัฒนาและความก้าวหน้าท่ี
พร้อมไปด้วยความรู้ ทักษะ และสมรรถนะตามท่ีกาหนดสาหรับความเป็นนักสังคม
สงเคราะห์วชิ าชพี

แบบประเมินผลนี้รับรองโดยทีมอาจารย์ผู้นิเทศงานท้ังภายในคณะและ
อาจารย์ผู้นิเทศงานภาคสนาม โดยส่งคืนมายังคณะสังคมสงเคราะห์หลังจากฝึก
ภาคปฏิบตั ิเสรจ็ สมบูรณ์แลว้
ขอ้ มูลท่วั ไป

1. ช่อื -สกุล นกั ศกึ ษา …………………………………...……เลขทะเบยี น ....................
2. หนว่ ยงานทีฝ่ กึ ฯ และอาจารยผ์ นู้ เิ ทศงานภาคสนาม

………………………………………………………………...................………………….……
………………………………………………………………………....................………………
สว่ นท่ี 1 แบบประเมินการเขยี นโครงการ (รายโครงการ)
หมวดที่ 1 ความสามารถในประเมินองค์กรและการเขยี นโครงการฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิ 3
(20 คะแนน)
เกณฑค์ ะแนน ในแต่ละหวั ข้อ จงพิจารณาให้คะแนนผลการฝกึ ภาคปฏิบัติ ตามลาดับ
เกณฑ์การประเมนิ 5 ระดบั ดังน้ี

5 หมายถึง ยอดเย่ยี ม/ดีมาก
4 หมายถงึ ดี
3 หมายถงึ ปานกลาง
2 หมายถงึ พอใช้
1 หมายถึง ควรปรบั ปรุง

124

หัวขอ้ การประมนิ คะแนน อาจารย์ อาจารย์
5 นเิ ทศ นเิ ทศงาน
1) ความสามารถในการวิเคราะห์ความต้องการต่อการพัฒนางานหรือ 5 งานใน ภาคสนาม
สง่ เสริมงานสวัสดิการสังคมหรืองานสงคมสงเคราะหข์ ององคก์ รผ่าน คณะ
การเขียน ความสอดคล้องกับนโยบายยุทธศาสตร์ แผนงาน องค์กร 5
ทีม่ าของโครงการ หลกั การและเหตผุ ล และการทบทวนวรรณกรรม 5
20
2) ความสามารถในการวิเคราะห์ตนเองของนักศึกษาหรือกลุ่มต่อการ

พัฒนาโครงการและดาเนินโครงการ โดยมีประเด็นเกี่ยวกับ องค์
ค ว า ม รู้ แ ล ะ ทั ก ษ ะ ข อ ง นั ก ศึ ก ษ า ท่ี เกี่ ย ว ข้ อ ง กั บ อ ง ค์ โ ค ร ง ก า ร
ความสามารถพิเศษเพ่ิมเตมิ (เช่น ด้าน IT ด้านศิลปะ ด้านกีฬา เป็น
ต้น) ที่เป็นประโยชน์ตอ่ การดาเนินโครงการ ข้อควรพัฒนาตนเองทั้ง
เชิงความรู้ ความสามารถ ทักษะ และทัศนคติ และข้อจากัดของ
นักศกึ ษาหรอื กล่มุ ตอ่ การดาเนนิ โครงการ ผา่ นการเขยี นในหัวขอ้ การ
วิเคราะห์ตนเองหรอื กล่มุ
(1) ความริเร่ิมสร้างสรรรค์ ความเป็นนวัตกรรม ของโครงการฝึก
ภาคปฏิบัติ 3 ที่สอดคล้องกับความต้องการต่อการพัฒนางานหรือ
ส่งเสริมงานสวัสดิการสังคมหรืองานสงคมสงเคราะห์ขององค์กร
โดยพิจารณาจากวัตถุประสงค์ เป้าหมาย ตัวชี้วัด และประโยชน์ที่
คาดว่าจะได้รับของโครงการฝึกภาคปฏบิ ตั ิ 3
(2) ความสมบูรณ์และความครบถ้วนของโครงการ ความสามารถในการ
นาเสนอโครงการ การวางแผนงานอย่างเป็นระบบของโครงการที่
นาเสนอฝึกภาคปฏิบัติ 3 โดยพิจารณาจาก การนาเสนอและการ
เขยี นโครงการฉบับสมบรู ณ์

รวม

125

สว่ นท่ี 2 แบบประเมินการปฏบิ ตั งิ านการฝึกภาคปฏิบัติ 3 (รายบคุ คล) รวม 60 คะแนน

เกณฑ์คะแนน ในแต่ละหัวข้อ จงพิจารณาให้คะแนนผลการฝึกภาคปฏิบัติ ตามลาดับเกณฑ์การ

ประเมิน 5 ระดับ ดงั น้ี

ระดบั คะแนน รายละเอียด

5 มีความสามารถ/คุณลักษณะในการปฏิบัติงานที่ยอดเยี่ยม เป็นท่ีประจักษ์และได้
ยอมรับ

4 มคี วามสามารถ/คุณลกั ษณะในการดาเนนิ งานไดอ้ ยา่ งดี

3 มีความสามารถ/คุณลกั ษณะในการดาเนนิ การในระดับปานกลาง

2 มีความสามารถ/คุณลกั ษณะในการดาเนนิ การในระดับนอ้ ย

1 ไม่มีความสามารถและไม่มีคุณลักษณะสาหรับการทางานด้านสังคมสงเคราะห์และ
สวัสดกิ ารสังคมได้ในอนาคต

หัวข้อการประมิน คะแนน อาจารย์ อาจารย์
นเิ ทศงาน นิเทศงาน
ในคณะ ภาคสนาม

หลกั จรยิ ธรรม/คุณธรรม 20
5
1) เคารพในสิทธิ ศักด์ิศรี และคุณค่าความเป็นมนุษย์ และ 5
ปฏิบตั งิ านโดยมีความเคารพในความแตกต่างหลากหลายของบคุ คล
5
2) มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และภารกิจที่ได้รับมอบหมายทั้งต่อ
ตนเองและสว่ นรวม 5
40
3) สามารถสร้างสัมพันธภาพทางวิชาชีพ สร้างความเชื่อมโยง และ 5
ประสานความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน เครือข่าย ชุมชนและ
หนว่ ยงาน 5

4) ความสามารถในการปรับตัว มีความใส่ใจต่อการเรียนรู้ ยอมรับ
และเขา้ ใจคาวจิ ารณ์ เพือ่ การปรบั ปรุงให้ดี
สมรรถนะทางความรู้ ทักษะ และความสามารถในการ

ปฏบิ ตั ิงาน
1) มีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวิเคราะห์ องค์กร/

หน่วยงาน/ชมุ ชน /เครือข่าย เพื่อจัดทาโครงการ
2) มีความสามารถในการประยุกตใ์ ช้เทคนิค ทักษะ เครื่องมือใน

การออกแบบโครงการหรือกิจกรรมและปฏิบัติงานร่วมกับ
ชุมชน/กลุ่มเป้าหมาย/หนว่ ยงาน

126

หวั ข้อการประมิน คะแนน อาจารย์ อาจารย์
นิเทศงาน นิเทศงาน
3) มคี วามสามารถในการประยุกต์ใช้เทคนิค ทักษะ เครื่องมือใน ในคณะ ภาคสนาม

การติดตาม ประเมินผล ถอดบทเรียน ในการออกแบบ 5 อาจารย์ อาจารย์
โค ร ง ก า ร ห รื อ กิ จ ก ร ร ม แ ล ะ ป ฏิ บั ติ งา น ร่ ว ม กั บ ชุ ม ช น / นเิ ทศงานใน นเิ ทศงาน
ภาคสนาม
กลมุ่ เป้าหมาย หรอื หน่วยงาน คณะ

4) มีความสนใจและกระตือรือร้นเรียนรู้ข้อมูลต่างๆ ขององค์กร

กฎระเบียบและนโยบายต่างๆ ขององค์กร หรือข้อมูลที่ 5

เกีย่ วข้องกบั ผใู้ ช้บรกิ ารอย่างรอบดา้ น

5) มคี วามสามารถวิเคราะหข์ ้อมลู และปญั หาตา่ งๆอยา่ งรอบคอบ

ก่อนการตดั สนิ ใจ ทาให้ตัดสินใจได้ดี ถูกต้อง รวดเรว็ สามารถ 5

แกป้ ัญหาเฉพาะหนา้ ได้

6) มีความสามารถปฏิบัติตามภาระงานที่ได้รับมอบหมายใน

ระดับองค์กรหรือกลุ่ม หรือแผนการปฏิบัติงานด้วยความเต็ม 5

ใจ และมผี ลของการทางานมปี ระสิทธภิ าพ

7) มีความสามารถสื่อสาร หรือการนาเสนอผลการเรียนรู้ เพื่อ

สร้างความเข้าใจประสบการณ์จากการฝึกภาคปฏิบัติ รู้จัก 5
สอบถาม และชี้แจงผลการปฏิบัติงานและปัญหาข้อจากัดให้

อาจารย์ภาคสนามไดท้ ราบ

8) มีความสามารถทางานเป็นทีม สร้างการมีส่วนร่วมในการ

ดาเนินงานกลุ่ม ร่วมวเิ คราะห์ ร่วมตัดสินใจแกป้ ัญหา รวมถึง 5

ความสารถจัดการกับความขัดแยง้ ท่ีเกิดขน้ึ

รวม 60

สว่ นที่ 3 รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านการฝกึ ภาคปฏบิ ตั ิ 3 รวม 20 คะแนน

หวั ข้อการประมนิ คะแนน

รายงาน / บันทกึ ประจาวัน / ถอดบทเรียน

- บันทึกงานประจาวัน/ประจาสัปดาห์ สามารถสรปุ การเรียนรู้ได้เห็นการ 5
ทางานอย่างเปน็ รปู ธรรม และสง่ ตรงตามเวลาท่กี าหนด (รายบุคคล) 5

- รายงานถอดบทเรียนรู้จากการปฏิบัติงานฝึกภาคปฏิบัติ 3 ของ
ตนเอง (รายบุคคล)

127

- รายงานฉบับสมบูรณ์ เขียนเชิงวิเคราะห์และสังเคราะห์ อย่างเป็น 10
ระบบ การใช้ภาษาท่ีถูกต้อง อธิบายเข้าใจชัดเจน มีการอ้างอิงท่ี 20
ถกู ตอ้ ง (รายโครงการ)

รวม

ข้อคิดเห็นต่อความรู้ ทักษะในการปฏิบัติงานสังคมสงเคราะห์ของนักศึกษา (บูรณาการ การ

เข้าถงึ การแทรกแซงช่วยเหลือ และการประเมนิ ผล)

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………….................................

จดุ เดน่ และขอ้ ควรปรับปรงุ ของนกั ศกึ ษา

จดุ เด่นของนักศึกษา ขอ้ ควรปรบั ปรงุ ของนักศกึ ษา

ข้อคิดเห็นอืน่ ๆ เพิ่มเตมิ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………..……...................…………………
ความเห็นเพิม่ เติมเพือ่ ประโยชน์ในการพัฒนาการฝกึ ภาคปฏบิ ัติ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………
….……………………………………………………………………………………………..……...................…………………

ลงช่อื ....................................................... ลงช่ือ .......................................................
(...............................................................) (...............................................................)

อาจารยน์ เิ ทศงานภาคสนาม อาจารยน์ เิ ทศงานในคณะ
วนั ท่ี ........... / ................ / ..................
วันท่ี ........... / ................ / ..................

128

5. แนวทางการถอดบทเรียนการฝกึ ภาคปฏิบตั ิ
การถอดบทเรียน เป็นรูปแบบหน่ึงของการจั ดการความรู้ โดยในการ

ฝกึ ภาคปฏิบัติ 3 กาหนดใหน้ ักศึกษาทุกคนต้องถอดบทเรยี นการฝกึ ภาคปฏิบัตขิ องตนเองส่ง
หลังจากสิ้นสุดการฝกึ ภาคปฏิบตั ิ โดยสาระสาคญั ของการถอดบทเรียน มดี งั นี้

ความหมายและความสาคัญของการถอดบทเรยี น
การถอดบทเรียน เป็นการทบทวนหรือสรุปประสบการณ์การทางานท่ีผ่านมาใน
แง่มุมต่างๆเพ่ือให้เห็นถึงรายละเอียดของเหตุปัจจัยทั้งภายในและภายนอกที่ก่อให้เกิดผล
การดาเนินงานข้ึนอาจเป็นท้ังผลสาเรจ็ หรอื ความล้มเหลว การถอดบทเรียนจึงเป็นการสืบค้น
ความรู้จากการปฏิบัติงานโดยการสกัดความรู้และประสบการณ์ท้ังจากตัวผู้ปฏิ บัติงานเอง
ทีมงาน รวมทั้งกลุ่มเป้าหมายที่ได้ร่วมการปฏิบัติงาน พร้อมทั้งบันทึกรายละเอียดข้ันตอน
การปฏิบัติงาน ผลการปฏิบัติงาน และความรู้ใหม่ๆที่เกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติงาน เพ่ือ
เผยแพร่ความรู้จากการดาเนินงานนนั้ และเพ่ือเป็นแนวทางในการพัฒนาการดาเนนิ งานให้ดี
ข้ึนตอ่ ไป
ประโยชนข์ องการถอดบทเรียน คือ
1) เป็นแนวทางในการปรับปรุงการงานใหบ้ รรลุเป้าหมาย
2) สรุปประสบการณ์การทางานในแง่มุมต่างๆ ให้เห็นรายละเอียดของเหตุผล

และปัจจัยท้ังภายในและภายนอก ที่มีผลต่อความสาเร็จ/ล้มเหลวของการ
ทางาน
3) ค้นหาความรู้จากการทางานสกัดความรู้ ประสบการณ์ของคนทางาน
รวมทง้ั ความรู้ใหมๆ่ ทเ่ี กิดขน้ึ ระหว่างทางาน
4) บทเรียนทีถ่ อดจะเปน็ ความรู้ใหมท่ เ่ี ผยแพรใ่ ห้สงั คมได้เรียนรตู้ อ่ ไป
ลักษณะการถอดบทเรียน สามารถถอดบทเรียนได้ 2 แบบ คอื
1) ถอดบทเรียนเฉพาะประเด็น เน้นเฉพาะกิจกรรมสาคญั ของโครงการ และนา
ผลการถอดบทเรียนจากกิจกรรมน้ันไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาโครงการให้
ประสบความสาเรจ็ ในอนาคต
2) ถอดบทเรยี นทงั้ โครงการ เป็นการถอดบทเรยี นทั้งระบบ และเริ่มต้งั แตค่ วาม
เป็นมาของโครงการ กระบวนการดาเนินงาน และผลลัพธ์เม่ือสิ้นสุด
โครงการ
เทคนิคและแนวทางการถอดบทเรียน มีหลายรปู แบบขึ้นอยู่กับวัตถปุ ระสงค์และ
เปา้ หมายของการนาไปใช้ ซง่ึ เทคนิคการถอดบทเรียนทน่ี ิยมใชก้ ันได้แก่

129

1) การทบทวนระหว่างการปฏิบัติงาน (After Action Review technique =
AAR) เป็นการถอดบทเรียนระหว่างดาเนินงาน มีความง่ายและเหมาะกับ
การเริ่มต้นวัฒนธรรมการเรียนรู้ในบุคคล/องค์กร โดยสามารถทาการ AAR
ได้บ่อยๆ เพราะใช้เวลาไม่นาน อีกท้ังยังสามารถเลือกได้ว่าจะถอดบทเรียน
เป็นประเด็นหรือรายกิจกรรม

2) แผนท่ีผลลัพธ์ (Outcome mapping = OM) เป็นการ ถอดบทเรียน
ระหว่างดาเนินงาน เน้นคุณภาพการทางานและการพัฒนาการของ
พฤติกรรม การถอดบทเรียนแบบแผนที่ผลลัพธ์ต้องใช้กับงานใช้ระบบ การ
ติดตามประเมินผลท่ีต้องการเปล่ียนแปลงพฤติกรรม ต้องการปรับเปลี่ยน
ยุทธศาสตร์ และเก่ียวข้องกับการบริหารจัดการองค์กรโดยต้องมีการเก็บ
ข้อมูลตามตวั ชี้วดั

3) การทบทวนหลังการปฏิบัติงาน (Retrospective technique) เป็นเทคนิค
การถอดบทเรียนหลังจบโครงการ โดยถอดบทเรียนต้ังแต่การเกิดข้ึนของ
โครงการ กระบวนการดาเนินงาน ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น เทคนิคการถอดเรียนนี้
เหมาะกับการถอดบทเรียนโครงการท่ีทาเสร็จสิ้นและต้องการทาในลักษณะ
เดยี วกันตอ่ เนื่องไปอีก

4) การประเมินประสิทธิผลการทางาน (Performance Measurement =
PM) เป็ น เท ค นิ ค ก า ร ถ อ ด บ ท เรี ย น ห ลั ง เส ร็ จ สิ้ น โ ค ร ง ก า ร
เหมาะสาหรบั งานที่มีระบบการติดตาม ประเมินผลและมีการเก็บข้อมูลตาม
ตัวชี้วัดที่ชัดเจนแล้ว โดยถอดบทเรียนตามกรอบตั ว ช้ี วั ด ความสาเร็จของ
โครงการ เทคนิคการประเมินประสิทธิผลการทางานต้องใช้เวลา และข้ึนอยู่
กบั ความซับซ้อน ความชดั เจนของตัวชว้ี ัด

5) การเรียนรู้จากเพื่อน (Peer Assist = PA) เป็นเทคนิคการถอดบทเรียนท่ีทา
หลงั เร่มิ ดาเนินการมาสกั ระยะ เป็นกระบวนการมสี ่วนร่วมของภาคีเครอื ข่าย
ที่ทางานรว่ มกนั และมลี ักษณะงานคล้ายกนั

6) การเรียนรู้จากตัวอย่างท่ีดี (Good/Best Practice = GP/BP) เป็นเทคนิค
ท่ีต้องมีการกาหนดหลักเกณฑ์ของตัวอย่างดีๆน้ันร่วมกัน มีการบันทึกผล
การเชิญผู้ที่เห็นร่วมกันว่าทาให้เกิดตัวอย่างดีๆนั้นมาเล่าสู่กันฟังและ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์ ซึ่งความยากของเทคนิคน้ีคือ การ นิยามว่า
ตวั อยา่ งทเ่ี ลือกมานั้น ดีอย่างไร และเพราะอะไร

ประเดน็ การถอดบทเรียน ประกอบดว้ ย 4 ประเด็นคาถามสาคัญ ดังน้ี

130

1) การทบทวน (การจูนภาพ) ท่ีมาท่ีไปของโครงการ กิจกรรม กรณีศึกษา และ
ตัวเอง รวมทั้งส่ิงที่ทาลงไป ผลท่ีเกิดในทุกด้าน เพ่ือให้เห็นภาพ ซึ่งคาถามเพื่อจูนภาพนี้
ไดแ้ ก่

 ทาไมทา่ นถงึ เข้ามาร่วมในการดาเนินงานโครงการน้ี

 โครงการน้ีมุ่งหวงั ให้เกิดอะไรข้ึนบ้าง (สภาพความสาเร็จทคี่ าดหวัง)

 โครงการน้ีมโี ครงสร้างการทางาน บทบาทหน้าที่กันอย่างไร ใครรับผิด
ชองอะไรบา้ ง

 โครงการน้ดี าเนินกิจกรรมอะไรไปบ้าง และได้ผลอะไรบ้าง
2) การค้นหา (ชุด scan) เป็นการวิเคราะห์แยกแยะให้เห็นความสาเร็จท่ีเกิดข้ึน
จริง ท้ังในด้านการบรหิ าร การจดั การตา่ งๆ ซึง่ คาถามเพ่อื คน้ หา/scan ไดแ้ ก่

 ความสาเรจ็ อะไรที่ได้ตามความคาดหวัง และสภาพความสาเร็จนนั้ เป็น
อย่างไร

 ความสาเรจ็ อะไรทไี่ ด้ มากกว่า ความคาดหวัง และสภาพความสาเรจ็ ท่ี
ไดม้ ากกวา่ ความคาดหวัง เป็นอย่างไร

 ความสาเร็จอะไรท่ีได้ น้อยกว่า ความคาดหวัง และสภาพความสาเร็จ
ท่นี อ้ ยกวา่ ความคาดหวงั เปน็ อย่างไร

3) ปัจจัย และอุปสรรค (ชุดทาไม) เป็นการวิเคราะห์ว่า ทาไม ผลการดาเนินงาน
จึงได้มากกว่า น้อยกว่าท่ีคาดหวัง โดยให้วิเคราะห์ปัจจัยท่ีเกี่ยวข้อง โครงสร้างการทางาน
กระบวนการทางาน กิจกรรม วิธีการทางาน ทีมงาน กลุ่มเป้าหมาย รวมถึงปัจจัยแวดล้อม
อ่ืนๆว่า อะไรเป็นสาเหตุให้ผลการดาเนินงานเป็นเช่นน้ัน ซึ่งคาถามเพ่ือหาเหตุผล ปัจจัย
และอุปสรรค ไดแ้ ก่

 อะไรท่ที าให้เราทางานได้ผล ตาม ความคาดหวงั ทาไม จึงเปน็ เชน่ น้ัน

 อะไร ที่ทาให้เราทางานได้ผล มากกว่า ความคาดหวัง ทาไม จึงเป็น
เชน่ นัน้

 อะไร ท่ีทาให้เราทางานได้ผล น้อยกว่า ความคาดหวัง ทาไม จึงเป็น
เช่นน้นั

4) การค้นหาบทเรียน (ชุดสรุป) เป็นคาถามท่ีได้เรียนรู้ว่า บทเรียนอะไรจากการ
ทางาน รู้ว่ามีเง่ือนไขอะไรที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการทางาน เพื่อพัฒนากระบวนการ
วธิ ีการทางาน การบริหารจดั การโครงการให้ดขี ้ึน ซ่งึ คาถามเพ่ือคน้ หาบทเรียน ได้แก่

 อะไรที่คิดว่า ดี ทาแล้วได้ผล ควรทาตอ่ ไป ทาไม

131

 อะไร ที่คิดว่ายังสามารถทาได้ แต่ต้องปรับปรุง และจะปรับปรุง
อยา่ งไร

 อะไร ทค่ี ดิ ว่าทาแล้ว ยงั ไม่ดี ไม่ควรทาตอ่ ทาไม
 ข้อเสนอแนะต่อการดาเนินงานโครงการตอ่ ไป
บทเรียนและข้อเสนอตอ้ งชัดเจน เป็นรูปธรรม ใหเ้ ห็นแนวปฏบิ ัตทิ ีจ่ ะไปใชไ้ ด้
ตอ่ ไป

132

6. แบบบันทกึ การนเิ ทศงานของอาจารยน์ ิเทศงานในคณะ
แบบบนั ทึกการนเิ ทศงานของอาจารย์นิเทศงานในคณะ

การนเิ ทศงานครั้งท่ี
ช่อื นักศกึ ษา
หนว่ ยงาน/ ชุมชนท่ฝี กึ
อาจารยน์ เิ ทศงานภาคสนาม
อาจารยน์ เิ ทศงานของคณะ

วัตถปุ ระสงคข์ องการนเิ ทศงานคร้งั น้ี

ผลการจัดทา/ ตดิ ตามแผนการฝกึ

กระบวนการเรียนรขู้ องนกั ศึกษา ตอ้ ง เป็นไปตาม เหนือความ
ปรบั ปรงุ ความคาดหวงั คาดหวัง
กระบวนการเรียนรขู้ องนกั ศกึ ษา

1) การปรบั ตวั เขา้ กบั หนว่ ยงาน/ พื้นที
2) การสามารถในการเรยี นรู้
3) การใช้ประโยชนจ์ ากการนเิ ทศงาน
4) การทางานกบั กลุ่มคนที่มคี วามแตกต่าง

หลากหลาย
5) ความสามารถในการทางานรว่ มกับผอู้ น่ื
6) ความสามารถในการสะทอ้ นอัตลกั ษณข์ อง

วชิ าชีพ

133

7.แบบประเมินการนิเทศงานอาจารย์นเิ ทศงานในคณะ และอาจารยน์ เิ ทศงาน
ภาคสนาม (สาหรับนกั ศึกษา คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตร์)

แบบประเมินผลน้มี ีวัตถปุ ระสงค์เพือ่ การประเมินการนเิ ทศงานของอาจารย์
นิเทศงานของคณะและอาจารย์ภาคสนาม เพ่ือเป็นส่วนหนงึ่ ของการพัฒนาการศึกษา
ภาคปฏิบัติของคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ดังน้ัน
คณะกรรมการฝ่ายการศึกษาภาคปฏบิ ัตขิ อความร่วมมอื จากนกั ศึกษาทุกคนตอบแบบ
ประเมินนี้ตามความจริงเพ่ือพัฒนาแนวทางการฝึกภาคปฏิบัติอย่างมีส่วนร่วมของ
คณะฯ ครัง้ ต่อไป

สว่ นท่ี 1 ข้อมูลท่ัวไปของนักศกึ ษา

1. นักศึกษาศูนย์  1) รังสิต  2) ลาปาง
2. หน่วยฝกึ ........................................................................................................
3. ชอื่ อาจารย์นิเทศงานใน................................................................................

ส่วนที่ 2 ภาพรวมของการนิเทศงานอาจารย์นิเทศงานในคณะและอาจารย์นิเทศ
งานภาคสนาม

คาช้ีแจง กรณุ าเลือกเครื่องหมายถูก () ในชอ่ งท่ีตรงกบั ระดบั การปฏิบัตทิ ่ีกาหนดไว้

(5-มากทสี่ ดุ / 4-มาก / 3-ปานกลาง / 2-นอ้ ย / 1-นอ้ ยท่ีสุด/ 0 –ไม่ได้ดาเนินการเลย)

ภาพรวมของการนิเทศงาน ระดับการปฏบิ ัติ
ของอาจารยน์ ิเทศงาน
ดา้ นการบรหิ ารจดั การ (Administrative)
1. มกี ารกาหนดและวางแผนการฝึกภาคปฏิบัตริ ่วมกบั นกั ศึกษา     
2. มีการประชุมหารือร่วมกันกบั นกั ศกึ ษา     
3. มกี ารกาหนดขั้นตอนและออกแบบการฝกึ ภาคปฏิบัติงานรว่ มกบั     

นกั ศึกษา     
4. มีการชแี้ จงวัตถปุ ระสงค์ ทาความเข้าใจข้อตกลงการฝกึ ภาคปฏบิ ัติ
    
ร่วมกบั หนว่ ยฝกึ ฯและนกั ศึกษา
ดา้ นการเรยี นรู้และจดั การศกึ ษา (Learning & Education)     
5. มีการกาหนดแนวทางการเรยี นรู้รว่ มกบั อาจารย์นเิ ทศงาน     

ภาคสนามและนกั ศึกษา
6. มีการแนะนาการใชเ้ ครอื่ งมอื เทคนิค ทักษะการทางานกบั ชุมชน
7. มกี ารจดั กระบวนการท่ีสง่ เสรมิ ให้นักศึกษาเกิดการเรียนร้แู ละเห็น

134

ความเชื่อมโยงระหวา่ งทฤษฎีและการฝกึ ภาคปฏิบตั ิ     
ดา้ นการสนบั สนุนช่วยเหลอื นกั ศกึ ษา (Supportive)     
8. มกี ารสรา้ งสมั พันธภาพท่ีดรี ว่ มกับนกั ศกึ ษา     
9. มีการช่วยเหลือและสนบั สนุนให้เกดิ การทางานทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ     
10.มกี ารสรา้ งให้เกิดแรงจงู ใจในการทางาน
11.มกี ารติดต่อสอื่ สารกบั นกั ศึกษาอยา่ งตอ่ เน่ือง

สว่ นท่ี 3 สมรรถนะการนเิ ทศงาน

คาชี้แจง กรณุ าเลือกเคร่ืองหมายถูก () ในชอ่ งทตี่ รงกับระดับการปฏิบัติท่ีกาหนด
ไว้ โดย 5 ระดบั คอื

5-มากที่สุด / 4-มาก / 3-ปานกลาง / 2-น้อย / 1-น้อยท่ีสุด / 0 -ไม่ได้
ดาเนินการเลย

ภาพรวมของการนเิ ทศงาน ระดบั การปฏบิ ตั ิ
ของอาจารยน์ เิ ทศงาน

ด้านขอบเขตของเนือ้ หาวชิ า (Scope)

12.มีความเขา้ ใจเนอื้ หาวิชาการฝึกภาคปฏบิ ัติ     

13.มีความเขา้ ใจกระบวนการและข้นั ตอนการฝึกภาคปฏิบตั ิ     

14.มคี วามเขา้ ใจในเน้ือหา แนวคดิ ทฤษฎกี ารปฏบิ ตั งิ าน     

สังคมสงเคราะห์

ด้านการปฏบิ ตั ิงานสังคมสงเคราะหเ์ ฉพาะราย/กลมุ่ ชน/ชุมชน/การบริหาร/การวจิ ัย

(Methodologies)

15.มกี ารถ่ายทอดองคค์ วามรู้ในงานสงั คมสงเคราะห์แบบบรู ณาการ     

16.มกี ารอธบิ ายการประยุกตใ์ ช้องคค์ วามรใู้ นงานสังคมสงเคราะหท์ ุก     

ระดบั

17.มีการยกตวั อย่างและนาเสนอประสบการณ์การทางานสังคม     

สงเคราะห์ท่ีเปน็ รปู ธรรม

ด้านการทางานร่วมกบั ทมี สหวิชาชีพ หรอื การทางานเป็นทมี กบั ชมุ ชน (Team work)

18.มกี ารประสานงานการฝึกภาคปฏบิ ตั ริ ว่ มกันกบั อาจารยน์ ิเทศงาน     

ในคณะและภาคสนาม

19.มีการทางานรว่ มกบั องคก์ รในการแกไ้ ขปญั หาต่างๆ ทพ่ี บในการ     

ฝึกภาคปฏิบัติ

20.มกี ารจดั กระบวนการใหเ้ กดิ การทางานเปน็ ทีม     

135

ดา้ นการตดิ ตามและประเมินผล (Monitoring and Evaluation)     
21.มกี ารตดิ ตามความก้าวหนา้ ในการทางานของนกั ศกึ ษาอยา่ ง
    
ตอ่ เนอ่ื ง     
22.มีการสะท้อนปญั หาในการทางานอย่างสม่าเสมอ     
23.มกี ารประเมนิ ผลระหวา่ งและหลังจากการฝกึ ภาคปฏบิ ัติ
24.มกี ารให้ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ การฝึกภาคปฏบิ ัติ

ส่วนท่ี 4 ข้อเสนอแนะของนกั ศึกษาต่อการนเิ ทศงานของอาจารย์
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………

136

8.ประเด็นการเขียนโครงการทางสงั คม

1. ชื่อโครงการ
2. ผู้รบั ผิดชอบโครงการ
3. ความสอดคล้องกับนโยบาย ยทุ ธศาสตร์ แผนงาน
4. วิเคราะห์ความสอดคล้องกบั สถานการณ์ของหน่วยฝึก
5. หลกั การและเหตุผล
6 วตั ถปุ ระสงค์
7. นิยามศัพท์เฉพาะ
8. ทบทวนวรรณกรรม ; แนวคิด/ทฤษฎี งานวิจัยท่ีเก่ียวข้อง หมายรวมถึงนโยบาย/
ยุทธศาสตร์ท่เี กย่ี วข้อง
9.กรอบแนวคิดในการดาเนินกจิ กรรม

10. ขอบเขต ; กลมุ่ เปา้ หมาย , พ้ืนท่ี , เนือ้ หา , ระยะเวลา

11. กจิ กรรม ; วิธกี ารดาเนนิ การ ทกั ษะหรือเทคนิคและเคร่อื งมอื ท่ีประยุกตใ์ ช้

ระยะ กจิ กรรม วัตถปุ ระสงค์ การ เครือ่ งมือ Output Outcome

ดาเนิน ทกั ษะท่ีคาด ของ ของ

กจิ กรรม ว่าจะ กิจกรรม กจิ กรรม

ประยุกต์ใช้

137

12. แผนปฏิบัติการ (สอดคล้องกบั กจิ กรรม) ; แผนการดาเนนิ งาน
ที กจิ กรรม

ระยะที่ 1
12345

13

น เปา้ หมาย / ตวั ชวี้ ัด
ระยะเวลา

ระยะท่ี 2 ระยะท่ี 3 ผลลัพธ์ ผลสืบเนือ่ ง

6 7 8 9 10 11 12 (Output) (Outcome)

38

13. แผนการใชง้ บประมาณ งบประมาณการณ์ หมายเหตุ

ที่ รายการ

14. ตัวช้วี ัด ตัวชว้ี ดั
วตั ถุประสงค์ของโครงการ (ตัวช้ีวัดที่สะท้อนไดต้ ามวตั ถุประสงคก์ าหนด)

เชิงคุณภาพ เชิงปริมาณ
(สงิ่ ชว้ี ัดผลเชิงคณุ ภาพท่ี (ผลท่ีวดั เป็นปริมาณตวั
เกดิ ข้ึนท่ีสะทอ้ นใหเ้ หน็ เลขทจ่ี ะให้เกดิ ข้ึนจริง)
การเปลย่ี นแปลง การ
เกดิ ข้ึนตามวตั ถปุ ระสงค์

นั้น ๆ )

15. การติดตามประเมินโครงการ ; ประเด็นการพิจารณาเพื่อการติดตามและ
ประเมินผลโครงการ และ วธิ ีการตดิ ตามและประเมนิ โครงการ
16. ผลที่คาดวา่ จะได้รับ:
17. การประเมนิ ตนเองของนกั ศกึ ษาหรือกลุ่ม

การวิเคราะห์ ตนเองของนั กศึกษาห รือกลุ่มต่ อการพั ฒ น าโค ร งการและ
ดาเนินโครงการ โดยมีประเด็นเกี่ยวกับ องค์ความรู้และทักษะของนักศึกษาที่
เกยี่ วข้องกับองค์โครงการ ความสามารถพิเศษเพิ่มเติม (เช่น ด้าน IT ด้านศิลปะ ดา้ น
กีฬา เป็นต้น) ท่ีเป็นประโยชน์ต่อการดาเนินโครงการ ข้อควรพัฒนาตนเองทั้งเชิง
ความรู้ ความสามารถ ทกั ษะ และทัศนคติ และขอ้ จากัดของนกั ศกึ ษาหรือกลุ่มตอ่ การ
ดาเนินโครงการ ผ่านการเขยี นในหัวข้อการวิเคราะหต์ นเองหรือกลุ่ม

139


Click to View FlipBook Version