The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sasinuch poonjuch, 2020-05-04 10:31:05

62_33015

62_33015

ชดุ วชิ า
การเงินเพื่อชีวติ 3
รายวชิ าเลอื กบังคับ

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนปลาย
รหสั สค32029

หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
พุทธศกั ราช 2551

สานกั งานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั
สานกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
กระทรวงศึกษาธกิ าร

ชดุ วชิ าการเงินเพือ่ ชวี ติ 3 | ระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย

คานา
ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชวี ิต 3 สค32029 ตามหลกั สูตรการศึกษานอกระบบ
ระดบั การศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ใชก้ บั ผ้เู รยี นระดับมธั ยมศึกษาตอนปลาย
ชดุ นปี้ ระกอบด้วยเนื้อหาความรเู้ กีย่ วกบั วา่ ด้วยเรอ่ื งของเงิน การวางแผนการเงิน
สนิ เชอื่ สทิ ธิและหน้าทขี่ องผูใ้ ช้บรกิ ารทางการเงนิ และภยั ทางการเงนิ ซ่ึงเนื้อหา
ความรู้ดังกล่าว มวี ตั ถปุ ระสงคเ์ พอื่ ใหผ้ เู้ รยี น กศน. มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะ และ
ตระหนักถึงความจาเป็นของการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต
สานกั งานการศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ขอขอบคณุ
ธนาคารแห่งประเทศไทย ที่ใหก้ ารสนบั สนุนองค์ความรปู้ ระกอบการนาเสนอเนอื้ หา
รวมท้ังผ้เู กยี่ วขอ้ งในการจัดทาชดุ วิชา หวังเป็นอยา่ งยิ่งว่าชุดวิชานจี้ ะเกิดประโยชนต์ อ่
ผเู้ รียน กศน. และนาไปสู่การเงนิ เพอื่ ชีวิตอยา่ งเหน็ คณุ คา่ ตอ่ ไป

สานักงาน กศน.
กรกฎาคม 2559

ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวติ 3 | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

คาแนะนาการใช้ชดุ วิชา

ชุดวิชาการเงินเพ่ือชีวิต 3 รหัสวิชา สค32029 ใช้สาหรับผู้เรียนหลักสูตร
การศึกษา นอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
แบ่งออกเป็น 2 สว่ น คือ

ส่วนท่ี 1 โครงสร้างของชุดวิชา แบบทดสอบก่อนเรียน โครงสร้างของ
หน่วยการเรียนรู้ เนอ้ื หาสาระ กจิ กรรมเรยี งลาดับตามหน่วยการเรียนรู้ และแบบทดสอบหลังเรียน

สว่ นที่ 2 เฉลยแบบทดสอบและกิจกรรม ประกอบด้วย เฉลยแบบทดสอบก่อนเรียน
และหลังเรยี น เฉลยกิจกรรมเรยี งลาดบั ตามหน่วยการเรียนรู้

วธิ ีการใชช้ ุดวิชา
ให้ผู้เรียนดาเนินการตามข้นั ตอน ดงั นี้
1. ศกึ ษารายละเอยี ดโครงสร้างชุดวิชาโดยละเอยี ด เพอื่ ใหท้ ราบวา่ ผเู้ รียน

ตอ้ งเรยี นรู้เน้ือหาในเร่ืองใดบา้ งในรายวชิ านี้
2. วางแผนเพ่ือกาหนดระยะเวลาและจัดเวลาท่ีผเู้ รียนมีความพร้อมทีจ่ ะ

ศึกษาชุดวิชาเพ่อื ใหส้ ามารถศกึ ษารายละเอียดของเนื้อหาได้ครบทุกหนว่ ยการเรยี นรู้ พรอ้ มทา
กิจกรรมตามท่ีกาหนดให้ทันก่อนสอบปลายภาค

3. ทาแบบทดสอบก่อนเรียนของชดุ วิชาตามทีก่ าหนด เพื่อทราบพ้ืนฐาน
ความรู้เดมิ ของผู้เรยี น โดยให้ทาลงในสมุดบนั ทกึ กิจกรรมการเรียนรแู้ ละตรวจสอบคาตอบจาก
เฉลยแบบทดสอบเฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเลม่

4. ศึกษาเนอื้ หาในชดุ วชิ าในแต่ละหนว่ ยการเรียนรู้อย่างละเอยี ดใหเ้ ข้าใจ
ท้ังในชุดวชิ าและสื่อประกอบ (ถ้ามี) และทากิจกรรมทก่ี าหนดไวใ้ หค้ รบถ้วน

5. เมอื่ ทากจิ กรรมเสรจ็ แต่ละกจิ กรรมแล้ว ผู้เรียนสามารถตรวจสอบ
คาตอบได้จากเฉลย/แนวตอบ ท้ายเล่ม หากผู้เรียนยังทากิจกรรมไม่ถูกตอ้ งใหผ้ ู้เรียนกลบั ไป
ทบทวนเนอื้ หาสาระ ในเรอื่ งนนั้ ซา้ จนกวา่ จะเขา้ ใจ

6. เมอ่ื ศึกษาเนื้อหาสาระครบทกุ หน่วยการเรียนรแู้ ลว้ ใหผ้ ้เู รียนทา
แบบทดสอบหลงั เรยี นและตรวจคาตอบจากเฉลยทา้ ยเล่มว่าผ้เู รียนสามารถทาแบบทดสอบได้
ถกู ตอ้ งทกุ ขอ้ หรอื ไม่ หากขอ้ ใดยงั ไมถ่ ูกตอ้ ง ให้ผเู้ รยี นกลับไปทบทวนเน้ือหาสาระในเร่ืองนน้ั
ใหเ้ ขา้ ใจอกี คร้ังหนง่ึ ผู้เรยี นควรทาแบบทดสอบหลังเรยี นใหไ้ ดค้ ะแนนมากกวา่ แบบทดสอบ
กอ่ นเรยี น และควรได้คะแนน ไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 60 ของแบบทดสอบทัง้ หมด (หรอื 24 ข้อ)
เพือ่ ให้มน่ั ใจวา่ จะสามารถสอบปลายภาคผ่าน

7. หากนกั ศึกษาได้ทาการศึกษาเน้อื หาและทากิจกรรมแล้วยังไม่เข้าใจ
ผ้เู รียนสามารถสอบถามและขอคาแนะนาไดจ้ ากครหู รือแหลง่ คน้ คว้าเพ่ิมเตมิ อืน่ ๆ

ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 3 | ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หมายเหตุ : การทาแบบทดสอบก่อนเรียน – หลงั เรียน และทากิจกรรมทา้ ยเรื่อง ใหท้ าและ
บนั ทกึ ลงในสมดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรยี นรู้ประกอบชดุ วิชา
การศกึ ษาค้นคว้าเพม่ิ เตมิ

ผูเ้ รียนอาจศกึ ษาหาความรู้เพ่ิมเติมไดจ้ ากแหล่งเรยี นร้อู นื่ ๆ เชน่ ศูนยค์ มุ้ ครอง
ผู้ใชบ้ ริการทางการเงนิ ธนาคารแหง่ ประเทศไทย โทร.1213, เวบ็ ไซต์ : www.1213.or.th ,
เฟสบุ๊ค : www.facebook.com/hotline1213 การศกึ ษาจากอินเทอรเ์ นต็ พิพธิ ภณั ฑ์
นทิ รรศการ หน่วยงานทเี่ ก่ียวข้องกบั การเงินการธนาคาร การศึกษาจากผูร้ ู้ เป็นต้น
การวดั ผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี น

ผูเ้ รียนตอ้ งวัดผลสัมฤทธิท์ างการเรียน ดงั นี้
1. ระหว่างภาค วัดผลจากการทากิจกรรมหรอื งานทไี่ ด้รบั มอบหมายระหว่างเรียน
รายบุคคล
2. ปลายภาค วดั ผลจากการทาข้อสอบวัดผลสมั ฤทธ์ิปลายภาค

ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชวี ติ 3 | ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย

โครงสร้างชดุ วชิ า

สาระการเรยี นรู้
สาระการพัฒนาสังคม

มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี 5.1 มีความรู้ ความเข้าใจ และตระหนงั ถงึ ความสาคัญเกีย่ วกบั

ภูมศิ าสตร์ ประวัตศิ าสตร์ เศรษฐศาสตร์ การเมอื ง การปกครอง สามารถนามาปรับใชใ้ นการ
ดารงชีวิต

มาตรฐานการเรยี นรู้ระดับ
มคี วามรู้ ความเข้าใจ ตระหนกั เกี่ยวกับภมู ศิ าสตร์ ประวตั ิศาสตร์ เศรษฐศาสตร์

การเมือง การปกครองในโลก และนามาปรับใช้ในการดาเนินชีวติ เพ่ือความมั่นคงของชาติ

ผลการเรียนร้ทู คี่ าดหวงั
- อธิบายขอ้ มลู เกี่ยวกบั เรื่องการเงนิ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ ง
- วิเคราะห์ เปรียบเทียบ การชาระเงนิ ผา่ นช่องทางต่าง ๆ ตลอดจนบัญชีเงินฝาก

ประเภทตา่ ง ๆ และเลอื กใช้ไดอ้ ยา่ งเหมาะสม
- คานวณอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ และดอกเบ้ยี บัญชีเงินฝากได้
- ประยกุ ต์ใช้และเลือกใชค้ วามร้ทู างการเงนิ มากาหนดเปา้ หมายมาออกแบบ

วางแผนการเงินของตนเองไดอ้ ย่างเหมาะสม
- มคี วามรบั ผิดชอบต่อการใชจ้ า่ ย จัดการการเงินไดอ้ ยา่ งเหมาะสม คุม้ ค่า

ตระหนกั ถงึ สทิ ธิและหน้าที่ทางการเงิน

สาระสาคญั
เงนิ เปน็ ปจั จยั สาคญั ในการดารงชีวติ ของประชาชนทุกคน เนอื่ งจากเป็นส่อื กลาง

ทีใ่ ชส้ าหรับแลกเปลี่ยนกับสินค้าและบรกิ ารตา่ ง ๆ ที่จาเปน็ ตอ้ งใชใ้ นชีวติ ประจาวัน
นอกจากน้ัน “เงนิ ” ยังเป็นปจั จยั สาคัญสาหรบั การลงทนุ เพอื่ เพม่ิ พูนรายได้ อย่างไรก็ตาม ใน
ปจั จุบันนสี้ ภาพสังคม เศรษฐกิจทเ่ี ปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว มีวิธที างการเงนิ ใหม่ ๆ ถกู
พัฒนาขนึ้ อย่างหลากหลาย เช่น บตั รเครดิต บตั รเครดิต บตั รเอทีเอม็ การทาธุรกรรมทาง
โทรศัพท์ ทางอินเทอรเ์ น็ต การลงทุนทางการเงนิ ประเภทต่าง ๆ เปน็ ต้น และเม่ือมีการพฒั นา
ทางการเงินเพมิ่ ขนึ้ ภัยทางการเงินก็เพ่ิมขนึ้ เปน็ เงาตามตัว เช่น เงนิ นอกระบบ แชรล์ กู โซ่ ภัย
การเงินออนไลน์ เป็นตน้ จึงต้องพัฒนาทักษะความสามารถดา้ นการเงินใหม้ คี วามรู้ ความเข้าใจ

ชุดวิชาการเงนิ เพ่ือชีวิต 3 | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

สามารถออกแบบ วางแผน และตัดสนิ ใจทางการเงิน ตลอดจนหลีกเล่ียงความเส่ยี งภัยทาง
การเงิน อันเป็นประโยชนต์ อ่ การดารงชวี ิตในปัจจุบัน

ขอบข่ายเนอื้ หา
หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 1. ว่าดว้ ยเรอื่ งของเงิน
2. การวางแผนการเงนิ
3. สินเช่ือ
4. สิทธิและหน้าทข่ี องผู้ใช้บริการทางการเงนิ
5. ภยั ทางการเงิน

สอ่ื ประกอบการเรยี นรู้
1. ชุดวชิ า
2. สมุดบันทึกกิจกรรมการเรียนรู้ ประกอบชุมวชิ า
3. ส่ือเสริมการเรียนร้อู ่นื ๆ

จานวนหน่วยกติ 3 หนว่ ยกิต (120 ช่วั โมง)

กจิ กรรมเรียนรู้
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเลม่
2. ศึกษาเนือ้ หาสาระในหนว่ ยการเรียนรู้ทกุ หน่วย
3. ทากจิ กรรมตามที่กาหนด และตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเลม่
4. ทาแบบทดสอบหลงั เรียน และตรวจสอบคาตอบจากเฉลยท้ายเล่ม

การประเมนิ ผล
1. ทาแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
2. ทากจิ กรรมในแต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้
3. เข้ารบั การทดสอบปลายภาค

ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชวี ิต 3 | ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

สารบัญ หนา้

คานา 1
คาแนะนาการใช้ชดุ วชิ า 4
โครงสรา้ งชุดวชิ า 6
สารบญั 20
หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเร่อื งของเงิน 51
59
เร่ืองที่ 1 ความหมายและประโยชน์
เรื่องที่ 2 ประเภทของเงิน
เรื่องท่ี 3 การฝากเงนิ การประกันภยั และการลงทุน
เรอ่ื งท่ี 4 การชาระเงนิ ทางอิเล็กทรอนกิ ส์
เรอ่ื งท่ี 5 ผ้ใู ห้บรกิ ารทางการเงินในประเทศไทย

หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การวางแผนการเงิน 69
เรื่องที่ 1 การวางแผนการเงนิ 71
เรื่องท่ี 2 การประเมินฐานะการเงินของตนเอง 74
เรื่องท่ี 3 การบนั ทึกรายรับ-รายจา่ ย 80
เรือ่ งท่ี 4 การตงั้ เป้าหมายและจัดทาแผนการเงิน 87
เรอ่ื งที่ 5 การออม 94

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 3 สนิ เชอื่ 100
เรอ่ื งที่ 1 การประเมินความเหมาะสมกอ่ นตดั สนิ ใจก่อหนี้ 102
เร่ืองท่ี 2 ลักษณะของสินเชอ่ื รายยอ่ ยและการคานวณดอกเบยี้ 104
เรอ่ื งท่ี 3 เครดติ บูโร 120
เรื่องท่ี 4 วิธีการป้องกนั ปัญหาหนี้ 122
เร่ืองท่ี 5 วิธกี ารแก้ไขปัญหาหน้ี 124
เรอื่ งท่ี 6 หนว่ ยงานที่ใหค้ าปรกึ ษาวิธีการแก้ไขปญั หาหนี้ 129

หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 4 สทิ ธแิ ละหน้าทข่ี องผูใ้ ช้บริการทางการเงนิ 132

เรอ่ื งท่ี 1 สิทธิของผู้ใช้บริการทางการเงนิ 133

เรื่องท่ี 2 หนา้ ท่ีของผู้ใชบ้ ริการทางการเงิน 135

เรื่องท่ี 3 บทบาทศนู ย์ค้มุ ครองผใู้ ชบ้ ริการทางการเงิน (ศดง.) 137

และหน่วยงานท่ีรับเรอ่ื งรอ้ งเรียนอนื่ ๆ

เรอื่ งท่ี 4 ขัน้ ตอนการร้องเรยี นและหลักการเขียนหนังสอื รอ้ งเรียน 139

ชดุ วชิ าการเงินเพอื่ ชีวติ 3 | ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย

สารบญั (ต่อ) หน้า

หน่ายการเรยี นรูท้ ่ี 5 ภยั การเงนิ 142
เรื่องท่ี 1 หนีน้ อกระบบ 143
เรื่องที่ 2 แชรล์ กู โซ่ 147
เรอ่ื งที่ 3 ภยั ใกลต้ ัว 150
เรื่องท่ี 4 แกง๊ คอลเซนเตอร์ 153
เรอ่ื งท่ี 5 ภัยออนไลน์ 156
เร่อื งที่ 6 ภยั ธนาคารออนไลน์ 160
เรอ่ื งที่ 7 ภยั บัตรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ 165

เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรียน 168
เฉลย/แนวตอบกิจกรรมท้ายเร่อื ง 169
บรรณานกุ รม 224
คณะผจู้ ดั ทา 228

ชุดวิชาการเงนิ เพื่อชวี ิต 3 | ระดับมัธยมศกึ ษาตอนปลาย

1

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1
วา่ ดว้ ยเร่อื งของเงนิ

สาระสาคัญ

เงินเป็นส่ิงสาคัญที่มีผลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน เพราะเป็นสิ่งท่ีใช้ในการ
ซ้ือหาสิ่งของหรือบริการเพ่ือให้สามารถดารงชีพ หรือเพื่อความสะดวกสบาย เงินที่รู้จักกันส่วนใหญ่
มี 2 ชนิด คือ ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์ โดยในประเทศไทยใช้สกุลเงินบาท อย่างไรก็ดี หาก
ต้องเดินทางหรือทาการค้าที่ต่างประเทศ ก็จะต้องเข้าไปเกี่ยวข้องกับเงินตราของประเทศอื่น ๆ
ด้วย ซึ่งค่าของเงินในแต่ละประเทศจะไม่เท่ากัน จึงต้องมีการกาหนดอัตราแลกเปล่ียนข้ึนเพ่ือ
เทียบราคาของเงนิ ตราประเทศหนึง่ กบั เงินตราของอกี ประเทศหนง่ึ

เมอ่ื ได้รบั เงินจากแหล่งต่าง ๆ เช่น จากการประกอบอาชีพ สิ่งที่ควรทาคือแบ่งเงิน
บางสว่ นไปเก็บออมเพื่อวัตถปุ ระสงคต์ ่าง ๆ เช่น ไวใ้ ชย้ ามฉุกเฉิน เป็นค่าใช้จ่ายหลังเกษียณหรือ
เลิกทางาน แต่บางครั้งการเก็บออมเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉินอาจไม่เพียงพอท่ีจะรองรับเหตุการณ์
ไม่คาดฝัน จึงอาจต้องพิจารณาความจาเป็นในการทาประกันภัยเพ่ือรองรับความเสี่ยงท่ีไม่คาดคิด
เช่น ประสบอุบัติเหตุ หรือเสียชีวิต ซึ่งหากเกิดเหตุการณ์น้ันบริษัทประกันภัยจะเป็นผู้จ่าย
สนิ ไหมทดแทนใหต้ ามเงื่อนไขทต่ี กลงไว้ในกรมธรรม์ นอกจากการออมเงินที่ได้ผลตอบแทนแล้ว
การลงทุนก็เป็นอีกทางเลือกหนึ่งที่ให้ผลตอบแทนสูง แต่ก็มีความเส่ียงสูงเช่นกัน ผู้ลงทุนจึงควร
มีความร้คู วามเขา้ ใจเพ่อื เลือกรูปแบบการลงทนุ ท่ีเหมาะกับตนเอง และสามารถรับความเสย่ี งได้

ด้วยยุคสมัยปัจจุบันเปล่ียนไป มีการนาเทคโนโลยีมาอานวยความสะดวกเพื่อให้
ใช้เงินได้ง่ายข้ึน ไม่ต้องพกพาเงินสดจานวนมาก เช่น บัตรเดบิต และบัตรเครดิต ซึ่งแต่ละชนิด
ออกแบบมาเพ่ือลักษณะการใช้งานที่ต่างกัน นอกจากน้ี ยังมีช่องทางการชาระเงินท่ีรวดเร็ว
ย่ิงขน้ึ เช่น internet payment, mobile payment ที่ทาให้การโอนเงิน ชาระเงินเป็นเร่ืองง่าย
ไม่ต้องเสยี เวลาเดินทางไปทาธุรกรรมท่ธี นาคาร

นอกจากเงินจะมีบทบาทสาคัญต่อชีวิตประจาวันของทุกคน ยังเป็นสิ่งสาคัญ
ในการขับเคล่ือนเศรษฐกิจท้ังระบบ ท้ังในด้านการลงทุน การผลิต และการจ้างงาน จึงมี
ผู้ให้บริการทางการเงินในระบบจานวนมากซึ่งมีบทบาทหน้าท่ีแตกต่างกันไปในการตอบสนอง
ระบบเศรษฐกิจในแต่ละด้าน โดยสถาบันการเงินมีทั้งท่ีรับฝากเงิน และไม่ได้รับฝากเงิน ซึ่ง
ผู้ใช้บริการทางการเงินสามารถวางใจและเช่ือถือได้ เน่ืองจากมีหน่วยงานที่ทาหน้าที่กากับดูแล
อย่างใกล้ชดิ

ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชวี ติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเรอื่ งของเงนิ

2

ตัวช้วี ัด
1. อธบิ ายความหมายและประโยชนข์ องเงนิ
2. บอกความหมายและความแตกต่างของการใหเ้ งนิ และการให้ยมื เงิน
3. บอกความหมายของเงนิ เฟ้อ เงินฝืด
4. อธบิ ายวิธีการตรวจสอบธนบัตร
5. คานวณอัตราแลกเปลยี่ นเงนิ ตราต่างประเทศ
6. บอกชอ่ งทางการแลกเปลยี่ นเงนิ ตราต่างประเทศ
7. อธิบายเงินเสมอื น
8. บอกลักษณะบญั ชเี งินฝากแต่ละประเภท
9. คานวณดอกเบ้ียเงินฝากแบบทบตน้
10. อธิบายการคมุ้ ครองเงนิ ฝาก
11. อธิบายความหมายและประโยชน์ของการประกันภัย บอกประเภทและ

ลกั ษณะการประกันภัยแตล่ ะประเภท
12. บอกลกั ษณะการลงทุนแตล่ ะประเภท
13. วิเคราะห์ความแตกตา่ งระหวา่ งการฝากเงิน การประกันภัย และการลงทุน
14. บอกความหมายและประโยชน์ของการชาระเงินทางอิเลก็ ทรอนิกส์
15. บอกลักษณะของบัตรเอทีเอ็ม บัตรเดบิต บัตรเครดิต Internet payment

และ Mobile payment
16. บอกกฎหมายทเ่ี กย่ี วข้องกับระบบการชาระเงนิ ทางอเิ ลก็ ทรอนิกส์
17. บอกผใู้ หบ้ รกิ ารทางการเงนิ ในประเทศไทย
18. บอกบทบาทหนา้ ทข่ี องสถาบันการเงินและหนว่ ยงานอื่น ๆ ภายใต้การกากับ

ดูแลของธนาคารแหง่ ประเทศไทย
19. บอกบทบาทหน้าทขี่ องผู้ให้บริการภายใต้การกากับดแู ลของหน่วยงานอืน่ ๆ

ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชวี ิต 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเรอ่ื งของเงนิ

3

ขอบขา่ ยเน้ือหา
เรอื่ งที่ 1 ความหมายและประโยชนข์ องเงิน
เรือ่ งที่ 2 ประเภทของเงิน
เรอ่ื งที่ 3 การฝากเงนิ การประกนั ภัย และการลงทุน
เร่อื งที่ 4 การชาระเงนิ ทางอเิ ล็กทรอนิกส์
เรอื่ งท่ี 5 ผู้ใหบ้ รกิ ารทางการเงนิ ในประเทศไทย

ส่อื การเรียนรู้
1. เว็บไซตธ์ นาคารแหง่ ประเทศไทย (ธปท.) www.bot.or.th
2. เว็บไซต์สานักงานคณะกรรมการกากับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์

(ก.ล.ต.) www.sec.or.th
3. เว็บไซต์สานักงานคณะกรรมการกากับและส่งเสริมการประกอบธุรกิจ

ประกันภัย (คปภ.) www.oic.or.th
เวลาทใี่ ช้ในการศกึ ษา 24 ชั่วโมง

ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ว่าด้วยเรอ่ื งของเงนิ

4

เรือ่ งท่ี 1 ความหมายและประโยชน์ของเงิน

ความหมายและประโยชน์ของเงิน

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 ให้ความหมายของ “เงิน” คือ
วัตถุท่ีกาหนดให้ใช้เป็นส่ือกลางในการแลกเปลี่ยนหรือชาระหน้ี ปัจจุบันส่วนใหญ่ คือ ธนบัตร
และเหรียญกษาปณ์ อย่างไรก็ดี เงินอาจไม่ได้จากัดอยู่ในรูปธนบัตรและเหรียญกษาปณ์เท่านั้น
แตอ่ าจอยใู่ นรปู แบบอ่นื ๆ อกี เชน่ เงินอิเลก็ ทรอนิกส์

“เงิน” เป็นสิ่งสาคัญท่ีมีผลต่อการดารงชีวิตในยุคปัจจุบัน เพราะเป็นส่ิงท่ีใช้ใน
การซื้อหาสิง่ ของหรือบริการเพ่ือให้สามารถดารงชีพได้ หรือเพื่อความสะดวกสบาย เช่น การซื้อ
หาอาหาร ส่ิงของจาเป็น การศึกษา การรักษาพยาบาล ค่าใช้จ่ายเดินทาง ดังน้ัน ทุกคนจึง
จาเป็นต้องประกอบอาชีพ สร้างอาชีพให้ตนเองเพ่ือให้มีเงินหรือมีรายได้เล้ียงตนเองและคนใน
ครอบครัว

เม่ือได้เงินมาแล้วก็ควรรู้จักวางแผนการเงินของตนเอง เพ่ือให้ใช้เงินอย่างรู้คุณค่า
และมีเงินเพียงพอต่อการดารงชีพ เช่น เม่ือมีรายได้ให้นาไปเก็บออมส่วนหนึ่งก่อน โดยลาดับแรก
ควรออมเผื่อฉุกเฉินเม่ือเกิดเหตุการณ์ไม่คาดฝันจะได้ดึงเงินท่ีออมมาใช้จ่ายได้ หรือการรู้จัก
วางแผนการใช้จ่าย โดยใช้จ่ายในส่ิงที่จาเป็นก่อน หรือหากมีเงินออมเพียงพอแล้ว อาจนาเงินออม
บางส่วนไปสร้างผลตอบแทนเพ่ิมขึ้น เช่น การฝากเงินในบัญชีเงินฝากประจาเพื่อรับดอกเบี้ย
ทีส่ งู ขึ้น หรอื การลงทนุ ภายใตค้ วามเสี่ยงทีย่ อมรับได้ เพื่อให้เงินที่หามาไดส้ ร้างมูลค่าท่เี พม่ิ ขน้ึ

การให้เงนิ และการใหย้ ืมเงนิ

การใหเ้ งิน หมายถึง การให้เงนิ โดยไมไ่ ด้หวังผลตอบแทน และไม่ได้หวังให้มีการ
นาเงินดังกล่าวมาจา่ ยคืนให้ เชน่ พ่อแมใ่ ห้ค่าขนมแกล่ กู การบริจาคเงนิ เพื่อการกุศล

การใหย้ มื เงนิ หมายถงึ การให้เงินโดยคาดหวงั ให้มีการจ่ายคืนภายในระยะเวลา
ท่ีกาหนด และมีการกาหนดอัตราผลตอบแทนของการให้ยืมเงินนั้นด้วย ซึ่งเรียกว่า “ดอกเบี้ย”
เช่น สมชายให้สมหญิงกู้ยืม 10,000 บาท คิดดอกเบี้ย 2% ต่อปีและให้ใช้คืนเม่ือครบ 1 ปี
หมายความว่า สมหญิงตอ้ งจ่ายเงนิ คนื สมชาย 10,200 บาท เม่อื ครบ 1 ปี

จะเห็นว่าการให้เงินเป็นการให้เปล่าไม่ต้องคืน แต่สาหรับการให้ยืมเงินเป็นการ
คาดหวังให้มีการจ่ายเงินคืน ซ่ึงผู้ให้ยืมอาจต้องการดอกเบี้ยหรือไม่ต้องการดอกเบ้ียก็ได้ ดังน้ัน
ก่อนที่จะให้เงินหรือให้ยืมเงิน ผู้ให้ยืมควรอธิบายให้ชัดเจนและเข้าใจตรงกันว่า ต้องการให้เงิน

ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงิน

5

หรือตอ้ งการใหย้ มื เงิน ซ่ึงหากเป็นการให้ยืมเงิน ผู้ให้ยืมควรแจ้งอัตราดอกเบี้ย ระยะเวลาท่ีต้อง
ชาระคืน และควรทาเอกสารเป็นลายลักษณอ์ กั ษรเพ่อื เป็นหลักฐานการให้ยืมเงินไว้ด้วย
เงินเฟอ้ เงินฝดื

เงนิ เฟ้อ หมายถึง ภาวะท่ีระดับราคาสินค้าโดยทั่วไปเพิ่มสูงข้ึนต่อเนื่อง หรือพูด
งา่ ย ๆ ว่าเป็นภาวะที่ข้าวของแพงขนึ้ ไปเรอื่ ย ๆ

ลองเปรียบเทียบราคาก๋วยเต๋ียวในปัจจุบัน เม่ือ 10 ปีที่แล้ว และอีก 10 ปี
ข้างหน้า ในวันนี้เราอาจซ้ือก๋วยเตี๋ยวได้ในราคาชามละ 30 บาท เมื่อ 10 ปีก่อน เงิน 30 บาท
อาจซื้อก๋วยเตี๋ยวได้ถึง 2 ชาม แต่ในอีก 10 ปีข้างหน้าอาจจะซ้ือก๋วยเต๋ียวไม่ได้สักชามก็เป็นไป
ได้

นั่นแสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า เงินเฟ้อทาให้เงินในกระเป๋าสตางค์ของเรา
ที่มีอยู่เท่าเดิมแต่กลับมีค่าลดลง เพราะซื้อของได้น้อยลง หรืออาจต้องใช้เงินมากข้ึนเพ่ือให้
สามารถซือ้ สินค้าได้จานวนเท่าเดิม หรือท่ีเรียกว่า “มูลค่าของเงิน” หรือ “อานาจซ้ือ” ของเรา
ลดลง เมอ่ื เวลาผ่านไปน่นั เอง

ในภาวะท่ีตรงข้ามกับเงินเฟ้อคือ เงินฝืด หมายถึง ภาวะท่ีระดับราคาสินค้า
โดยทั่วไปลดต่าลงเร่ือย ๆ หรือพูดง่าย ๆ ว่าเป็นภาวะท่ีข้าวของมีราคาถูกลงเรื่อย ๆ ซึ่งน่าจะ
เป็นเรื่องท่ีดีหากข้าวของถูกลงเพราะต้นทุนถูกลง แต่หากข้าวของถูกลงเพราะบริษัทต่าง ๆ
ผลิตสินค้าออกมาขายมากเกินกว่าความต้องการซื้อของประชาชน บริษัทอาจจาเป็นต้องลด
ราคาสินค้าลงเพื่อให้ขายได้หมด หรือไม่ก็ต้องลดการผลิตลงเพราะว่าถ้าผลิตออกมาเท่าเดิม
ก็ขายได้ไม่หมด ผลที่ตามมาก็คือ การจ้างงานจะลดลงตามไปด้วย ดังน้ัน ภาวะเงินฝืดจึงส่ง
ผลกระทบเปน็ ลูกโซเ่ ศรษฐกิจโดยรวม

กิจกรรมท้ายเรือ่ งท่ี 1 ความหมายและประโยชนข์ องเงนิ
(ให้ผู้เรยี นไปทากจิ กรรมทา้ ยเร่ืองท่ี 1 ทีส่ มดุ บนั ทกึ กิจกรรมการเรียนร)ู้

ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชวี ิต 3 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าด้วยเรือ่ งของเงนิ

6

เร่อื งท่ี 2 ประเภทของเงิน

เงนิ ตราไทย

เงินตราท่ีใช้ในประเทศไทย ปัจจุบันมี 2 ชนิด คือ ธนบัตรและเหรียญกษาปณ์
โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้

ธนบตั ร

ธนาคารแห่งประเทศไทยเป็นหน่วยงานท่ีทาหน้าท่ีบริหารจัดการธนบัตร
ภายในประเทศทุกข้ันตอน เริ่มตั้งแต่การผลิต นาธนบัตรใหม่ออกใช้หมุนเวียนและทาลาย
ธนบัตรเก่า รวมท้ังประเมินความต้องการใช้ธนบัตรใหม่ในแต่ละปีว่าควรจะผลิตธนบัตรชนิด
ราคาใดออกมาจานวนมากน้อยเพียงใด เพื่อให้เพียงพอต่อความต้องการใช้จ่ายของประชาชน
ในประเทศ ซึ่งในแต่ละปีปริมาณการผลิตธนบัตรจะผันแปรไปตามความต้องการใช้ธนบัตร
ที่เพม่ิ ขนึ้ หรอื ลดลงตามภาวะเศรษฐกิจของประเทศ

ธนาคารแหง่ ประเทศไทยเป็นผู้มีสิทธ์ิพิมพ์และออกใช้ธนบัตรในประเทศไทย
แต่เพียงผู้เดียว โดยปฏิบัติตามท่ีพระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ. 2501 กาหนดไว้ว่าการนา
ธนบัตรออกใชห้ มนุ เวียนในระบบเศรษฐกิจสามารถทาได้ 2 กรณี คือ

1. แลกเปล่ียนทันทีกับธนบัตรที่ออกใช้หมุนเวียนอยู่แล้วในมูลค่าที่เท่ากัน เช่น
ธนบัตรชนิดราคา 1000 บาท 10 ฉบับ มูลค่า 10,000 บาท แลกเปลี่ยนกับธนบัตรใหม่ชนิด
ราคาเดียวกันหรือชนิดราคาอ่ืนในมูลค่าท่ีเท่ากัน อาทิ ธนบัตรชนิดราคา 500 บาท จานวน
20 ฉบบั

2. แลกเปล่ียนทันทีกับสินทรัพย์ท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นทุนสารองเงินตรา
ในมลู คา่ ที่เท่ากนั เชน่ นาทองคามูลค่า 100 ล้านบาทมาเข้าบัญชีทุนสารองเงินตรา แลกเปลี่ยน
กบั ธนบตั รเพื่อนาออกใชม้ ูลค่า 100 ลา้ นบาทเท่ากัน

ทุนสารองเงินตรา คือสินทรัพย์ที่ใช้หนุนหลังธนบัตรออกใช้ เพื่อสร้างความ
เช่ือม่นั ให้แก่ประชาชน และเป็นหลักประกันว่าธนบัตรออกใช้ทุกฉบับมีมูลค่าตามราคาท่ีระบุไว้
บนหน้าธนบัตร โดยสินทรัพย์ท่ีกฎหมายกาหนดให้เป็นทุนสารองเงินตรา เช่น ทองคา เงินตรา
ตา่ งประเทศท่อี ยู่ในรูปของเงินฝากในธนาคารนอกราชอาณาจักรหรือในสถาบันการเงินระหว่าง
ประเทศ หลกั ทรพั ย์ตา่ งประเทศ หลักทรัพย์รฐั บาลไทย ต๋วั เงนิ ในประเทศ

ชุดวิชาการเงนิ เพอ่ื ชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงิน

7

ธนบตั รท่ใี ช้หมุนเวียนในปจั จุบนั

นับจากปี พ.ศ. 2445 ที่เริ่มนาธนบัตรแบบแรกออกใช้ จนถึงปัจจุบันปี พ.ศ. 2559
ประเทศไทยมีธนบตั รออกใชห้ มุนเวยี นรวมจานวน 16 แบบ โดยธนบัตรแบบปัจจุบัน คือ ธนบัตร
แบบสิบหก1 มี 5 ชนิดราคา ไดแ้ ก่ 20 บาท 50 บาท 100 บาท 500 บาท และ 1000 บาท

ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเดจ็
พระเจา้ อยู่หวั ในฉลองพระองค์ครุยมหาจักรบี รมราชวงศ์

ลักษณะธนบัตรดา้ นหนา้ ภาพประธาน : ภาพพระบรมราชานุสาวรียพ์ ่อขุนรามคาแหง
มหาราช
ลักษณะธนบัตรด้านหลัง
ขนาด ภาพประกอบ : ภาพการประดษิ ฐอ์ กั ษรไทย ภาพศิลาจารึก
วันประกาศออกใช้ หลกั ท่ี 1 จารกึ พ่อขนุ รามคาแหง ภาพลายสอื ไทย ภาพทรง
วันออกใช้ รับเรอ่ื งราวร้องทุกขข์ องราษฎร ภาพกระดง่ิ และภาพ
เครื่องสงั คโลก
7.20 x 13.80 เซนตเิ มตร
ลงวนั ที่ 2 พฤศจกิ ายน 2555
วนั ที่ 1 เมษายน 2556

1 ขอ้ มูล ณ เดือนมิถุนายน 2559

ชุดวิชาการเงินเพือ่ ชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเร่อื งของเงนิ

ลกั ษณะธนบตั รดา้ นหน้า 8

ลักษณะธนบตั รด้านหลงั ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทสิ ลกั ษณ์พระบาทสมเด็จ
ขนาด พระเจ้าอยหู่ ัว ในฉลองพระองคค์ รยุ มหาจักรบี รมราชวงศ์
วันประกาศออกใช้
วันออกใช้ ภาพประธาน : ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์สมเดจ็ พระนเรศวร
มหาราช
ลกั ษณะธนบัตรด้านหน้า
ภาพประกอบ : ภาพจิตรกรรมฝาผนงั ทรงพระแสงดาบ
ลักษณะธนบตั รด้านหลัง นาทหารเข้าตีค่ายพม่า พระบรมราชานสุ าวรีย์ ณ อนุสรณ์
ขนาด ดอนเจดยี ์ และพระเจดียช์ ยั มงคล วดั ใหญช่ ัยมงคล จังหวดั
วันประกาศออกใช้ พระนครศรีอยุธยา
วันออกใช้ 7.20 x 14.40 เซนตเิ มตร
ลงวันที่ 24 มิถนุ ายน 2554
วนั ที่ 18 มกราคม 2555
ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จ
พระเจา้ อยหู่ วั ในฉลองพระองค์ครุยมหาจกั รบี รมราชวงศ์

ภาพประธาน : ภาพพระบรมรปู สมเดจ็ พระเจ้าตากสิน
มหาราช

ภาพประกอบ : ภาพทรงเกลี้ยกล่อมใหป้ ระชาชนรวมกาลัง
กันต่อส้กู ้อู สิ รภาพ ภาพท้องพระโรงพระราชวงั กรุงธนบุรี
ภาพพระบรมราชานุสาวรีย์สมเด็จพระเจา้ ตากสนิ มหาราช
ทรงมา้ พระทีน่ ง่ั ออกศกึ และภาพปอ้ มวิไชยประสิทธ์ิ
7.20 x 15.00 เซนตเิ มตร
ลงวนั ท่ี 27 ธนั วาคม 2557
วันที่ 26 กุมภาพนั ธ์ 2558

ชุดวิชาการเงนิ เพ่อื ชีวติ 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเรื่องของเงิน

ลกั ษณะธนบตั รด้านหน้า 9

ลักษณะธนบตั รด้านหลัง ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทสิ ลักษณ์พระบาทสมเดจ็
ขนาด พระเจา้ อยู่หัว ในฉลองพระองค์ครยุ มหาจักรบี รมราชวงศ์
วันประกาศออกใช้
วนั ออกใช้ ภาพประธาน : ภาพพระบรมราชานุสาวรียพ์ ระบาทสมเดจ็
พระพุทธยอดฟา้ จฬุ าโลกมหาราช
ลักษณะธนบัตรด้านหนา้
ภาพประกอบ : ภาพวัดพระเชตพุ นวมิ ลมังคลาราม
ลกั ษณะธนบัตรดา้ นหลงั ภาพป้อมพระสุเมรุ
ขนาด 7.20 x 15.60 เซนติเมตร
วนั ประกาศออกใช้ ลงวนั ท่ี 27 ธนั วาคม 2556
วันออกใช้ วนั ท่ี 12 พฤษภาคม 2557
ภาพประธาน : พระบรมฉายาสาทสิ ลักษณ์พระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยูห่ ัว ในฉลองพระองคค์ รุยมหาจักรีบรมราชวงศ์

ภาพประธาน : ภาพพระบรมรูปพระบาทสมเดจ็
พระจุลจอมเกล้าเจา้ อยหู่ ัว พระปยิ มหาราช

ภาพประกอบ : ภาพพระบรมราชานสุ าวรียพ์ ระบาทสมเดจ็
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยหู่ ัวทรงมา้ พระที่นัง่ ภาพพระทนี่ ่งั
อนนั ตสมาคม และภาพการเลกิ ทาส
7.20 x 16.20 เซนตเิ มตร
ลงวนั ท่ี 24 มถิ ุนายน 2558
วนั ที่ 21 สงิ หาคม 2558

ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ว่าดว้ ยเร่อื งของเงนิ

10

ขนาดมาตรฐานของธนบัตรแบบปัจจบุ นั 2 (แบบสบิ หก)

การกาหนดขนาดธนบัตรมุ่งเน้นถึงความสะดวกในการพกพาเป็นหลัก และเพ่ือ
ประโยชน์ต่อการสังเกตของประชาชน โดยเฉพาะอย่างย่ิงผู้ท่ีมีความบกพร่องทางสายตาซึ่ง
สามารถแยกแยะชนิดราคาธนบัตรด้วยการสัมผัสเท่านั้น จึงกาหนดให้ธนบัตรทุกชนิดราคา
มีความกวา้ งเทา่ กนั คือ 72 มิลลิเมตร แต่มคี วามยาวทล่ี ดหล่นั กนั ชนิดราคาละ 6 มิลลเิ มตร

วธิ ีการตรวจสอบธนบัตรแบบสิบหก

1. สัมผัส
1.1 กระดาษธนบตั ร

ธนบตั รทาจากกระดาษชนิดพิเศษท่ีมีใยฝ้ายเป็นส่วนประกอบหลัก จึง
มีความแกรง่ ทนทาน ไม่ยุ่ยง่าย เมอ่ื จบั สมั ผสั จะใหค้ วามรูส้ ึกแตกตา่ งจากกระดาษทั่วไป

1.2 ลายพิมพเ์ สน้ นูน

สามารถสัมผัสความนูนตามจุดต่าง ๆ ได้แก่ ตัวเลขอารบิกแจ้งชนิด
ราคาที่มุมขวาบนของธนบัตร ตัวอักษรคาว่า “รัฐบาลไทย” และตัวเลขไทยแจ้งชนิดราคา
ดา้ นหนา้ ธนบตั ร

นอกจากนี้ ท่ีบริเวณมุมล่างด้านขวาของธนบัตรทุกชนิดราคาจะมีลายพิมพ์
เส้นนนู รูปดอกไม้ ซ่ึงเป็นสญั ลักษณ์แจง้ ชนิดราคาธนบตั รทีป่ ระยุกต์มาจากอักษรเบรลล์ เพ่ือ
อานวยความสะดวกแก่ผ้มู คี วามบกพร่องทางสายตา

2 ข้อมลู ณ เดือนมิถนุ ายน 2559

ชุดวชิ าการเงนิ เพือ่ ชวี ติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเร่อื งของเงิน

11

2. ยกสอ่ ง
2.1 ลายน้า
ลายน้าเกิดขึ้นในข้ันตอนการผลิตกระดาษท่ีทาให้เน้ือกระดาษมีความหนา

ไม่เท่ากัน เม่ือยกธนบัตรส่องกับแสงสว่างจึงมองเห็นภาพท่ีมีการไล่ระดับของแสงเงา และ
ตัวเลขไทยตามชนิดราคาธนบัตรที่มีความโปร่งแสงเป็นพิเศษ ประดับควบคู่ลายน้าพระบรม
ฉายาสาทสิ ลกั ษณ์พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั

2.2 แถบสีและแถบส่ีเหลี่ยมเคล่ือนไหวสลับสี
ธนบัตรทุกชนิดราคามีแถบสีต่าง ๆ ตามชนิดราคาธนบัตรที่ฝังไว้ใน

เนื้อกระดาษตามแนวต้ัง มีบางส่วนของแถบปรากฏให้เห็นเป็นระยะ ๆ ท่ีด้านหลังของธนบัตร
เมื่อยกส่องดูกับแสงสว่างจะเห็นเป็นเส้นตรงยาวต่อเนื่อง บนแถบมีตัวเลขและตัวอักษร
โปร่งแสงแจ้งชนิดราคาธนบัตรที่มองเห็นได้ทั้งสองด้าน และสามารถมองเห็นการเปลี่ยนสี
ของแถบนีเ้ ม่อื พลิกเอียงธนบัตรไปมา

ภาพที่ 1 ภาพที่ 2 ภาพท่ี 3 ภาพท่ี 4 ภาพที่ 5

ภาพที่ 1 - 3 เป็นแถบสี ซ่ึงมีอยู่ในธนบัตรชนิดราคา 20 บาท 50 บาท และ 100 บาท
ภาพที่ 4 - 5 เป็นแถบสีที่มีสี่เหลี่ยมเคลื่อนไหวสลับสี ซึ่งมีอยู่ในธนบัตรชนิดราคา 500 บาท
และ 1000 บาท

ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าด้วยเรอื่ งของเงนิ

12

2.3 ภาพซอ้ นทับ
บรเิ วณมมุ บนด้านซา้ ยของธนบัตรมีตัวเลขอารบิกแจ้งชนิดราคาธนบัตร

ที่พิมพ์แยกไว้ในตาแหน่งตรงกันของด้านหน้าและด้านหลังธนบัตร จะมองเห็นเป็นตัวเลข
ทส่ี มบูรณเ์ มื่อยกธนบตั รสอ่ งกับแสงสว่าง

3. พลิกเอยี ง
3.1 หมกึ พมิ พ์พเิ ศษสลับสี
เป็นจุดสังเกตสาหรับธนบัตรชนิดราคา 500 บาท และ 1000 บาท

เท่าน้ัน โดยให้สังเกตที่มุมล่างด้านซ้ายของธนบัตรเม่ือพลิกขอบล่างธนบัตรขึ้น ลายประดิษฐ์
สีทองจะเปล่ยี นเป็นสเี ขียว

ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 3 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงนิ

13

3.2 แถบฟอยล์ 3 มติ ิ
แถบฟอยล์ 3 มิติที่ผนึกอยู่บนด้านหน้าธนบัตรชนิดราคา 100 บาท

500 บาท และ 1000 บาท จะมองเห็นเป็นหลายมิติแตกต่างกันตามชนิดราคาและจะเปล่ียน
สีสะท้อนแสงวาววับเมื่อพลิกเอียงธนบตั รไปมา

3.3 ตวั เลขแฝง
ในลายประดษิ ฐ์มุมล่างซา้ ยของธนบัตรทุกชนิดราคาเม่ือยกธนบัตรเอียง

เข้าหาแสงสว่างและมองผ่านจากมุมล่างซ้ายเข้าหากึ่งกลางธนบัตรในมุมท่ีเหมาะสม จะเห็น
ตัวเลขอารบกิ แจ้งชนิดราคาธนบัตรฉบับน้ัน

เหรยี ญกษาปณ์
กรมธนารักษ์ได้ผลิตเหรียญกษาปณ์หมุนเวียนออกใช้ในระบบเศรษฐกิจตั้งแต่

พ.ศ. 2493 เป็นต้นมา ซ่ึงมีหลากรุ่นหลายแบบ โดยได้ปรับเปล่ียนรูปลักษณะ ลวดลาย และ
กรรมวิธีการผลติ เร่อื ยมา เพอ่ื ใหส้ ะดวกตอ่ การพกพา การใชส้ อย และยากตอ่ การปลอมแปลง

เหรียญกษาปณ์หมุนเวียน เป็นเหรียญกษาปณ์ท่ีใช้หมุนเวียนกันอยู่ทั่วไป
ในชีวิตประจาวัน มี 9 ชนิดราคาคือ 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ 25 สตางค์
10 สตางค์ 5 สตางค์ และ 1 สตางค์ แต่ใช้หมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจมี 6 ชนิดราคา คือ

ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ด้วยเรอ่ื งของเงนิ

14

10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ 25 สตางค์ ส่วนเหรียญชนิดราคา 10 สตางค์
5 สตางค์ และ 1 สตางค์ มใี ช้ในทางบญั ชีเท่าน้นั

ในปี พ.ศ. 2551 กระทรวงการคลงั ได้อนุมัติให้กรมธนารักษ์ จัดทาเหรยี ญ
กษาปณ์ออกใช้หมุนเวยี นชดุ ใหม่ในระบบเศรษฐกจิ โดยมีลกั ษณะและชนดิ ราคา ดังน้ี

1. เหรียญกษาปณโ์ ลหะสองสี (สขี าวและสที อง) ชนิดราคา 10 บาท

2. เหรยี ญกษาปณโ์ ลหะสขี าว (ทองแดงผสมนิกเกลิ เคลือบไส้ทองแดง)
ชนิดราคา 5 บาท

3. เหรยี ญกษาปณโ์ ลหะสีทอง (ทองแดงผสมนิกเกลิ และอลมู เิ นยี ม) ชนิดราคา
2 บาท

4. เหรยี ญกษาปณโ์ ลหะสขี าว (ไส้เหล็กชุบนิกเกิล) ชนิดราคา 1 บาท

5. เหรียญกษาปณโ์ ลหะสแี ดง (ไสเ้ หลก็ ชบุ ทองแดง) ชนิดราคา 50 สตางค์

6. เหรียญกษาปณโ์ ลหะสแี ดง (ไสเ้ หล็กชุบทองแดง) ชนิดราคา 25 สตางค์

7. เหรยี ญกษาปณโ์ ลหะสีขาว (อลูมิเนยี ม) ชนิดราคา 10 สตางค์ 5 สตางค์
1 สตางค์

เหรียญกษาปณก์ ับการใช้ชาระหน้ตี ามกฎหมาย

ตามพระราชบัญญัติเงินตรา พ.ศ. 2501 มาตรา 11 ระบุว่า เหรียญกษาปณ์เป็นเงิน
ทช่ี าระหนไี้ ดต้ ามกฎหมาย ไมเ่ กินจานวนทีก่ าหนดโดยกฎกระทรวง ดงั น้ี

ชนิดราคา จานวนการชาระหน้ีต่อครั้ง

เหรยี ญชนิดราคา 1 สตางค์ ชาระหน้ีได้ครั้งละไมเ่ กิน 5 บาท

เหรียญชนดิ ราคา 5, 10, 25 และ 50 สตางค์ ชาระหน้ีได้ครัง้ ละไม่เกนิ 10 บาท

เหรียญชนดิ ราคา 1, 2 และ 5 บาท ชาระหนีไ้ ดค้ รง้ั ละไมเ่ กนิ 500 บาท

เหรียญชนดิ ราคา 10 บาท ชาระหนไี้ ด้ครง้ั ละไมเ่ กนิ 1,000 บาท

สาเหตุที่กฎหมายต้องกาหนดจานวนเงินในการชาระหนี้ของเหรียญกษาปณ์ คือ
เพื่อปอ้ งกนั การกลน่ั แกลง้ ระหว่างลูกหน้กี บั เจ้าหนี้ในการชาระหนี้

ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ด้วยเรือ่ งของเงิน

15

เงินตราต่างประเทศ

ในการดาเนินชีวิตประจาวันท่ัว ๆ ไป เราจะใช้เงินสกุลของประเทศไทยคือ
เงินบาทในการจบั จา่ ยใชส้ อยในประเทศ แต่หากตอ้ งเดนิ ทางหรือมีการทาธุรกิจระหว่างประเทศ
เราก็จะต้องเขา้ ไปเกย่ี วข้องกบั เงินตราของประเทศอืน่ ๆ

ตัวอยา่ ง เงนิ สกลุ ตา่ งประเทศทีส่ าคญั

ชอื่ ประเทศ ช่ือสกลุ เงนิ อักษรย่อสกุลเงนิ
สหรัฐอเมริกา ดอลลารส์ หรัฐ (United States Dollar) USD
สหราชอาณาจักร ปอนด์ (British Pound) GBP
ยโู รโซน ยโู ร (Euro) EUR
ญ่ีปุน่ เยน (Japanese Yen) JPY
ฮอ่ งกง ดอลลาร์ฮ่องกง (Hong Kong Dollar) HKD
มาเลเซยี รงิ กติ (Malaysian Ringgit) MYR

ซึ่งค่าของเงินในแตล่ ะสกลุ จะไมเ่ ท่ากัน จึงต้องมีการกาหนดอัตราแลกเปล่ียนขึ้น
อัตราแลกเปล่ยี น หมายถึง ราคาของเงินตราสกลุ หนึ่งเม่อื เทียบกับเงินตราอกี สกุลหนงึ่ เช่น

1 USD เท่ากับ 31 บาท หมายถึง เงินบาทจานวน 31 บาท แลกเป็นเงิน
ดอลลารส์ หรฐั ได้ 1 ดอลลาร์สหรฐั

1 EUR เท่ากับ 42 บาท หมายถึง เงินบาทจานวน 42 บาท แลกเป็นเงินยูโรได้
1 ยูโร

อตั ราแลกเปล่ียนไมไ่ ดค้ งที่ แตม่ กี ารเปลยี่ นแปลงขน้ึ ลงอยเู่ สมอในแต่ละช่วงเวลา
ตามปจั จัยทีม่ ีผลกระทบ เช่น ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ เศรษฐกจิ โลก ภาวะตลาดการเงิน

การดูอตั ราแลกเปลย่ี นอยา่ งง่าย

ตัวอย่าง ตารางแสดงอัตราแลกเปล่ียนระหว่างเงินต่างประเทศและเงินบาท ท่ีผู้ให้บริการ
ซ่ึงประกอบธุรกิจปัจจัยชาระเงินตราต่างประเทศท่ีได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย
ประกาศไว้

ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงนิ

16

(เงินบาทต่อ 1 หนว่ ยสกลุ เงินตราตา่ งประเทศ)

ประเทศ สกุลเงิน อัตรารบั ซื้อ อตั ราขาย
สหรัฐอเมริกา USD 34.89 35.22
สหราชอาณาจกั ร GBP 49.84 50.69
ยโู รโซน EUR 39.25 39.96
ญ่ีปนุ่ (ต่อ 100 เยน) JPY 31.68 32.37
ฮอ่ งกง HKD 4.47 4.55
มาเลเซีย MYR 8.85 9.13

อตั รารบั ซอ้ื คอื อัตราทีผ่ ใู้ หบ้ ริการเสนอซอื้ เงนิ ตราตา่ งประเทศ
อัตราขาย คอื อัตราทผ่ี ู้ให้บริการเสนอขายเงินตราตา่ งประเทศ

 หากตอ้ งการนาเงนิ บาทไทยไปแลกเป็นเงินดอลลาร์สหรัฐ กล่าวคือ ต้องการ
ซือ้ เงนิ ดอลลารส์ หรัฐ เราตอ้ งดรู าคาท่ีอตั ราขาย จากตวั อย่างขา้ งตน้ 1 USD = 35.22 บาท

 หากตอ้ งการนาเงนิ ดอลลาร์สหรฐั ไปแลกเป็นเงินบาท กล่าวคือ ต้องการขาย
เงนิ ดอลลารส์ หรัฐ เราตอ้ งดรู าคาที่อัตรารบั ซอื้ จากตัวอย่างข้างตน้ 1 USD = 34.89 บาท

วธิ ีการคานวณอตั ราแลกเปล่ยี นเงินตราตา่ งประเทศ

ในกรณีที่ต้องเดินทางไปต่างประเทศ เราอาจต้องแลกเปลี่ยนสกุลเงินเป็นของ
ประเทศนนั้ ๆ ซง่ึ สามารถคานวณอัตราแลกเปลย่ี นได้ ดงั น้ี

ตวั อยา่ งท่ี 1

หากต้องการเดินทางไปยังประเทศสหรัฐอเมริกา ซึ่งใช้สกุลเงินดอลลาร์สหรัฐ
(USD) สมมตุ ิวา่ อัตราแลกเปล่ียนขณะนั้นอยู่ท่ี 1 USD = 30 บาท หากต้องการแลก 100 USD
ต้องใชเ้ งินบาทไทยแลกเป็นจานวนเทา่ ไร

วธิ ีคานวณ

1 USD = 30 บาท

100 USD = [30 x 100] ÷ 1

= 3,000 บาท

ดงั นน้ั ต้องใช้เงินบาทไทยจานวนเงนิ 3,000 บาท จึงจะแลกได้ 100 USD

ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 ว่าดว้ ยเรือ่ งของเงิน

17

ตัวอยา่ งที่ 2

หากต้องการไปประเทศญี่ปุ่น ซึ่งใช้สกุลเงินเยน สมมุติว่าอัตราแลกเปลี่ยน
ขณะน้ันอยู่ท่ี 100 เยน = 30 บาท หากต้องการแลก 1,000 เยน ต้องใช้เงินไทยแลกเป็น
จานวนเทา่ ไร

วธิ คี านวณ

100 เยน = 30 บาท

1,000 เยน = [30 x 1,000] ÷ 100

= 300 บาท

ดงั น้ัน ต้องใช้เงนิ บาทไทยจานวนเงิน 300 บาท จงึ จะแลกได้ 1,000 เยน

ตัวอยา่ งที่ 3

หากต้องการนาเงินดอลลาร์สหรัฐมาแลกเป็นเงินบาท สมมุติว่า อัตรา
แลกเปล่ียนขณะน้ันอยู่ท่ี 1 USD = 30 บาท หากต้องการแลก 1,500 บาท จะต้องใช้เงิน
ดอลลาร์สหรฐั จานวนเงินเท่าไร

วิธีคานวณ

30 บาท = 1 USD

1,500 บาท = [1 x 1,500] ÷ 30

= 50 USD

ดงั น้นั ตอ้ งใช้เงินดอลลาร์สหรัฐจานวนเงิน 50 USD จงึ จะแลกได้ 1,500 บาท

ชอ่ งทางการแลกเปลยี่ นเงนิ ตราต่างประเทศ

การติดต่อขอแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศสามารถติดต่อกับผู้ให้บริการ ซ่ึง
ประกอบธุรกิจปัจจัยชาระเงินตราต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตจากธนาคารแห่งประเทศไทย
(ธปท.) เชน่

- นิติบุคคลรับอนุญาต (authorized financial institution) หมายถึง
ธนาคารพาณิชย์ที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจซ้ือ ขาย แลกเปล่ียน ให้กู้ยืม หรือโอนเงินตรา
ต่างประเทศ

ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ว่าดว้ ยเรื่องของเงิน

18

- บุคคลรับอนุญาต (authorized money changer) หมายถึง นิติบุคคล
ท่ีได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจซื้อและขายธนบัตรต่างประเทศ และรับซ้ือเช็คเดินทาง
เช่น ผู้ประกอบธุรกิจโรงแรม หรือบริษัทที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบธุรกิจแลกเปลี่ยนเงินตรา
ตา่ งประเทศ

เงินเสมอื น

เงินเสมือน (virtual currency) ถูกสร้างขึ้นโดยบุคคลกลุ่มหนึ่ง และยอมรับให้
ใช้งานกันภายในกลุ่มสังคมนั้น โดยมีการกาหนดมูลค่าของเงินเสมือนเป็นหน่วยข้อมูลทาง
อิเล็กทรอนิกส์ เช่น coin, point เพื่อนามาใช้ซื้อสินค้าและบริการในกลุ่มที่ยอมรับเงินเสมือน
ดงั กล่าว

เงนิ เสมอื น3 อาจแบง่ ตามคุณสมบัตกิ ารใชง้ านได้ดงั นี้

1. เงินเสมือนที่ไม่สามารถใช้ซื้อสินค้าจริงได้และแลกเป็นเงินจริงไม่ได้ โดย
รับมาจากโลกออนไลน์ด้วยกิจกรรมต่างๆ เช่น การเล่นเกมออนไลน์แล้วได้รับแต้มหรือเงิน
เสมือน แต่จะสามารถใช้ได้แค่ในโลกออนไลน์เท่านั้น

2. ใช้เงินจริงแลกเปลี่ยนเป็นเงินเสมือน แต่ไม่สามารถแลกเปลี่ยนกลับมาเป็น
เงินจริงได้ สามารถใชซ้ อื้ สินคา้ และบรกิ ารออนไลน์หรอื แอพพลิเคชน่ั ตา่ ง ๆ ได้

3. สามารถใชเ้ งนิ จริงแลกเปล่ียนกบั เงนิ เสมือนได้ท้ังสองทาง โดยสามารถใช้ซ้ือ
ของไดท้ งั้ ในโลกออนไลนแ์ ละโลกจรงิ เชน่ Bitcoin

ขอ้ ควรระวงั เกยี่ วกับเงินเสมือน

1. หน่วยข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์น้ี ไม่ถือเป็นเงินท่ีใช้ชาระหน้ีได้ตาม
กฎหมายไทย การใช้หน่วยขอ้ มลู ดงั กล่าวในการชาระค่าสินค้าหรือบริการ จึงอาจถูกปฏิเสธจาก
ร้านค้าได้

2. มีความเสี่ยงจากการท่ีมูลค่าหน่วยข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ผันแปรอย่าง
รวดเรว็ เนอ่ื งจากมูลค่าของหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์เกิดจากความต้องการแลกเปล่ียนในกลุ่ม
ของผู้ใช้ด้วยกัน มูลค่าจึงมีความผันผวนสูงและไม่สัมพันธ์กับสภาพเศรษฐกิจจริง ผู้ถือครอง
หนว่ ยขอ้ มลู จึงมคี วามเสี่ยงที่จะสูญเสียเงินจากการทม่ี ลู ค่าของหน่วยข้อมลู ลดตา่ ลงอย่างรวดเร็ว
และหากร้านค้าใดรับหน่วยข้อมูลดังกล่าว เพื่อแลกเปล่ียนกับสินค้าและบริการของตน ก็อาจมี

3 ที่มา : บทความเรื่อง “เงินเสมือน (Virtual Currency) ต่างจากเงินจริงอย่างไร” โดย กัณตภณ ศรีชาติ ธนาคารแห่ง
ประเทศไทย

ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเรอื่ งของเงนิ

19

ความเสี่ยงท่ีหน่วยข้อมูลท่ีได้รับมาและถือไว้น้ันอาจมีมูลค่าหรือราคาลดต่าลงได้ตลอดเวลา
อย่างรวดเร็วจากมูลคา่ หรอื ราคาเดิม ณ ขณะทีร่ ้านคา้ ได้รับหนว่ ยข้อมูลอเิ ลก็ ทรอนิกส์นั้นมา

3. มีความเสี่ยงจากการถูกขโมยข้อมูล เน่ืองจากหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ดังกลา่ วจะต้องจัดเก็บไว้ในอปุ กรณ์คอมพิวเตอรเ์ ท่านั้น จึงมคี วามเสี่ยงที่ผู้ถือครองอาจสูญเสีย
หนว่ ยข้อมูลดังกล่าวได้จากการถกู ลักลอบโจรกรรมข้อมูล

4. มีความเสี่ยงที่ผู้ใช้ไม่ได้รับการคุ้มครอง เนื่องจากหน่วยข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
ดังกล่าวไม่ได้เป็นสื่อการชาระเงินตามกฎหมาย ดังน้ัน หากมีการใช้เป็นช่องทางในการ
หลอกลวงหรือฉ้อโกง หรือกรณีท่ีเกิดปัญหาในการใช้งาน เช่น การโอนไปยังผู้รับผิดคนหรือ
ผิดจานวน หรือโอนไปยังร้านค้าแล้วแต่ไม่ได้รับสินค้า การติดตามข้อมูลการโอนเพื่อใช้เป็น
พยานหลักฐานอาจทาได้ยากหากต้องฟ้องร้องดาเนินคดี ซึ่งต่างจากการโอนเงินผ่านธนาคาร
พาณิชย์หรือผใู้ ห้บริการชาระเงนิ ภายใต้การกากบั ดูแลของทางการทีม่ ีระบบตดิ ตาม
กิจกรรมท้ายเรอ่ื งท่ี 2 ประเภทของเงิน

(ให้ผเู้ รียนไปทากิจกรรมท้ายเรอ่ื งที่ 2 ทส่ี มดุ บนั ทกึ กจิ กรรมการเรยี นร้)ู

ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ว่าดว้ ยเร่อื งของเงนิ

20

เรอ่ื งท่ี 3 การฝากเงนิ การประกันภยั และการลงทนุ

การฝากเงนิ

เมื่อได้รับเงินจากแหล่งต่าง ๆ เช่น รายได้จากการประกอบอาชีพ สิ่งที่ควรทา
คือแบ่งเงินบางส่วนไปเก็บออมเพื่อวัตถุประสงค์ต่าง ๆ เช่น ไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เป็นค่าใช้จ่ายหลัง
เกษียณหรือเลิกทางาน การมองหาสถานท่ีเก็บรักษาเงินจึงเป็นเรื่องจาเป็น โดยแหล่งเก็บเงิน
ท่ีนิยมกันคือการฝากเงินไว้กับธนาคาร ซึ่งนอกจากมีความปลอดภัยกว่าการเก็บเงินสดไว้กับตัว
หรือไว้ที่บ้านแล้ว การฝากเงินไว้กับธนาคารยังทาให้ได้รับผลตอบแทนในรูปของดอกเบี้ย
เงนิ ฝากด้วย

อย่างไรก็ดี การจะได้รับดอกเบ้ียมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับว่าเป็นบัญชีเงินฝาก
ประเภทใด มีเงื่อนไขอย่างไร เราจึงจาเป็นต้องรู้จักบัญชีเงินฝากแต่ละประเภท เพื่อเลือกบัญชี
ทเ่ี หมาะสมและตรงกับความต้องการของเรามากท่ีสุด โดยปัจจุบันบัญชีเงินฝากที่รู้จักและใช้กัน
มาก เช่น บัญชีเงนิ ฝากออมทรัพย์ บัญชีเงินฝากประจา

ประเภทของบัญชีเงนิ ฝาก

1. บัญชีเงินฝากออมทรพั ย์

ลกั ษณะ

 สามารถฝากหรือถอนเงินเม่อื ไหรก่ ็ได้
 กาหนดจานวนเงนิ ฝากข้ันตา่ ไว้ไมส่ งู นกั เชน่ 100 - 1,000 บาท
 จา่ ยดอกเบยี้ ให้ปลี ะ 2 คร้งั ในเดอื นมิถนุ ายนและธนั วาคมของทกุ ปี

ประโยชน์

 ถ้าดอกเบ้ียรับไม่เกิน 20,000 บาท ไม่ต้องเสียภาษี 15% ของดอกเบี้ย
ที่ได้รับ (รวมรับจากทุกสถาบันการเงินใน 1 ปี) ถ้าเกิน 20,000 บาท ธนาคารจะหักภาษี ณ ท่ีจ่าย
ไว้เลยจากบญั ชเี งนิ ฝาก

 มีบริการบัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิต สาหรับใช้ถอนหรือโอนเงินที่เคร่ือง
เอทีเอ็มได้สะดวก (บัตรเดบิตยังสามารถใช้ชาระค่าสินค้าและบริการได้ด้วย) แต่หากต้องการ
เปิดบญั ชีเพียงอย่างเดยี วกส็ ามารถทาไดโ้ ดยไม่จาเปน็ ต้องทาบัตรใด ๆ

ขอ้ จากัด

ชุดวิชาการเงนิ เพอื่ ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเรื่องของเงนิ

21

 อัตราดอกเบ้ียค่อนข้างต่า
 มีค่าธรรมเนียมกรณีบัญชีเงินฝากไม่เคลื่อนไหวและมียอดเงินฝาก
คงเหลอื นอ้ ยกวา่ ทีก่ าหนด
 กรณีทาบัตรเอทีเอ็มและบัตรเดบิตมักจะต้องเสียค่าทาบัตรและ
คา่ ธรรมเนียมรายปี
บญั ชนี เี้ หมาะกับใคร:

 ผู้ท่ีใชบ้ ริการรับโอนเงินเดือนหรอื ค่าจ้าง หรอื ค่าสนิ ค้า
 ผทู้ ีเ่ บกิ ถอนบอ่ ยครงั้ หรอื ใชบ้ ริการหกั บัญชีเพื่อชาระค่าใช้จ่ายรายเดือน
เชน่ ค่าน้า คา่ ไฟ ค่าบตั รเครดิต และคา่ ใช้จ่ายอนื่ ๆ
 ผู้ท่ีต้องการออมเงินไว้ใช้ยามฉุกเฉิน เนื่องจากถอนได้สะดวก (ถอนได้
หลายช่องทางและถอนเม่ือไหร่ก็ได้)
นอกจากน้ี บางธนาคารมีบัญชีเงินฝากออมทรัพย์พิเศษ ซ่ึงให้อัตราดอกเบี้ย
ทสี่ งู กว่าบัญชเี งนิ ฝากออมทรัพย์ แต่จะมีเงื่อนไขที่เพ่ิมขึ้นด้วย เช่น เงินฝากข้ันต่า 10,000 บาท
ถอนได้ไม่เกิน 2 คร้ังต่อเดือน หากถอนต้ังแต่คร้ังท่ี 3 เป็นต้นไปในเดือนนั้นจะถูกคิด
ค่าธรรมเนียมครั้งละ 500 บาท ซึ่งบัญชีในลักษณะน้ีเหมาะกับการออมเงินมากกว่าที่จะใช้เป็น
บัญชีเพอื่ ชาระค่าใชจ้ า่ ย
คาแนะนา
1. ควรทารายการฝาก ถอน หรือโอนอย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง เพื่อหลีกเลี่ยง
การถูกคิดค่าธรรมเนียมรักษาบัญชีกรณีบัญชีเงินฝากไม่เคล่ือนไหว และมียอดเงินฝากคงเหลือ
น้อยกวา่ ท่ีกาหนด
2. ปรับสมุดบัญชีอย่างสม่าเสมอเพื่อดูว่ามีเงินคงเหลือในบัญชีเพียงพอ
สาหรับการหักบัญชีหรือเงื่อนไขต่าง ๆ ที่กาหนดหรือไม่ เช่น ค่าใช้จ่ายท่ีจะถูกตัดออกจากบัญชี
ยอดเงินข้ันต่าที่ธนาคารกาหนด เพ่ือไม่ให้พลาดการชาระเงินหรือมีเงินไม่พอท่ีจะชาระซ่ึงอาจทาให้
ต้องเสยี คา่ ใช้จา่ ยเพิม่ เตมิ
3. หากไม่มีความจาเป็นต้องใช้บัตรเอทีเอ็มหรือบัตรเดบิตควรแจ้งยกเลิก
บัตร หรอื แจง้ เจ้าหน้าท่ีวา่ ไมต่ ้องการทาบตั ร จะช่วยประหยัดคา่ ธรรมเนียมท่ีไมจ่ าเป็นได้

ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวติ 3 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงิน

22

ตัวอย่างการคานวณดอกเบ้ยี เงนิ ฝากออมทรพั ย์
สารวยเปิดบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ท่ีธนาคารมุ่งมั่นเมื่อวันที่ 1 ม.ค. 58 จานวน

10,000 บาท ได้รับดอกเบ้ียเงินฝากในอัตรา 3% ต่อปี โดยธนาคารจะจ่ายดอกเบ้ียให้ในวันท่ี
30 ม.ิ ย. และ 31 ธ.ค. ของทกุ ปี หากสารวยฝากเงินไว้ทั้งปี โดยไม่ถอนเงินออกหรือฝากเงินเพิ่ม
และไม่ได้ถอนดอกเบ้ียออกมาใช้ในระหว่างปี หากครบ 1 ปี สารวยจะมีเงินฝากในบัญชีรวม
ดอกเบ้ยี เป็นเงนิ เทา่ ไร

วิธีการคานวณ
1. ระยะเวลาในการคานวณจานวนวันในการฝากเงิน จะคานวณถึงวันก่อนวันท่ี
จา่ ยดอกเบีย้ ดงั น้ี
จา่ ยดอกเบี้ย 30 ม.ิ ย. 58 จะเรม่ิ นบั ต้งั แตว่ นั ที่ 1 ม.ค. 58 ถงึ 29 ม.ิ ย. 58 = 180 วนั
จา่ ยดอกเบยี้ 31 ธ.ค. 58 จะเริ่มนับตั้งแตว่ นั ที่ 30 ม.ิ ย. 58 ถึง 30 ธ.ค. 58 = 184 วัน
2. อตั ราดอกเบ้ีย 3% ในท่ีนด้ี อกเบี้ยเงินฝากออมทรัพยไ์ มต่ อ้ งเสียภาษี ณ ที่จ่าย
15% จึงสามารถนามาคานวณในสตู รได้
3. เงินฝากออมทรัพย์นี้ให้ดอกเบี้ยทบต้น ดังน้ัน ต้องนาเงินต้นบวกดอกเบี้ยก่อน
จากนัน้ จึงนาผลท่ไี ดไ้ ปเป็นฐานคานวณดอกเบย้ี สาหรบั งวดถดั ไป

คาตอบ ณ 31 ธ.ค. 58 สารวยจะมเี งนิ ตน้ บวกดอกเบี้ยทั้งส้ินเท่ากับ 10,301 บาท
โดยประมาณ

ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ด้วยเร่อื งของเงนิ

23

ตัวอย่าง การคานวณเงนิ รวมทีจ่ ะไดจ้ ากดอกเบ้ยี ทบตน้ อย่างง่าย
พอใจฝากเงิน 10,000 บาท เป็นระยะเวลา 3 ปี ธนาคารให้อัตราดอกเบ้ีย 3%

ตอ่ ปี เท่ากนั ทกุ ปี โดยจ่ายดอกเบย้ี ให้ปลี ะคร้งั หากพอใจไมม่ ีการฝากเพ่ิมระหว่างปี และไม่ถอน
เงินตน้ หรอื ดอกเบี้ยออกมาใช้ จะสามารถคานวณเงนิ รวมเมือ่ ครบ 3 ปีตามสตู รได้ ดงั นี้

สูตรคานวณเงนิ รวมท่จี ะไดจ้ ากดอกเบ้ียทบต้นอยา่ งง่าย

ดังนัน้ เมอ่ื ฝากครบ 3 ปี สมรวยจะมเี งินรวมทัง้ ส้ิน 10,927 บาทโดยประมาณ
2. บัญชเี งินฝากประจา มหี ลายรปู แบบ เชน่

2.1 บัญชีเงินฝากประจาทั่วไป
ลักษณะ
 มีระยะเวลาการฝากหลายแบบ เช่น 3 เดือน 6 เดอื น 12 เดอื น
 ส่วนใหญ่จะกาหนดจานวนเงนิ ฝากขน้ั ตา่ ไว้ประมาณ 1,000 บาท
 การจ่ายดอกเบี้ย แล้วแต่เงื่อนไขธนาคาร เช่น บัญชี 3 เดือน 6 เดือน

และ 12 เดือน จ่ายดอกเบ้ียเมื่อครบกาหนด บัญชี 24 เดือน และ 36 เดือน จ่ายดอกเบ้ียทุก
3 เดอื น โดยอาจจะนาดอกเบ้ียที่ได้มาฝากเข้าบัญชีเงินฝากประจา (ทบต้น) หรืออาจจะโอน
ดอกเบ้ียเงินฝากเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือกระแสรายวัน ซ่ึงธนาคารจะแจ้งให้ทราบ
ต้งั แต่ตอนเปดิ บัญชกี ับธนาคาร

 กรณีถอนก่อนครบกาหนด อาจไม่ได้รับดอกเบี้ย หรือได้รับใน
อัตราดอกเบ้ียเงินฝากออมทรัพย์ เช่น ธนาคารอาจกาหนดว่าหากเลือกฝากประจา 6 เดือน

ชุดวิชาการเงินเพ่ือชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าดว้ ยเรอ่ื งของเงิน

24

แต่ฝากยังไม่ถึง 3 เดือนแล้วต้องการถอนออกมาจะไม่ได้รับดอกเบ้ีย หรือถอนหลัง 3 เดือนไปแล้ว
แต่ยังไม่ครบกาหนด 6 เดือน จะได้รับดอกเบ้ียในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย์ พร้อมทั้ง
ถูกหกั ภาษี ณ ท่ีจ่าย

นอกจากนี้ บางธนาคารมีรูปแบบการฝากประจาแบบพิเศษ เช่น ให้
เลอื กระยะเวลาการฝากไดต้ ามที่สะดวก กาหนดระยะการฝากเป็นจานวนวัน (เช่น 99 วัน) หรือ
จ่ายดอกเบี้ยเงินฝากต้ังแต่วันแรกที่ผู้ฝากเปิดบัญชี โดยอาจมีเง่ือนไขที่กาหนดจานวนเงินฝาก
ที่ค่อนขา้ งสงู เช่น 100,000 บาทข้นึ ไป

บัญชนี ้ีเหมาะกบั ใคร

 ผทู้ ีต่ อ้ งการเก็บออมเพ่อื เพ่ิมรายไดจ้ ากดอกเบ้ีย
 ผู้ที่มีเงินก้อนและไม่มีความจาเป็นที่จะใช้เงินที่ออมไว้ในช่วง

ระยะเวลาหนงึ่

ตวั อย่างการคานวณดอกเบี้ยเงินฝากประจา

รุ่งโรจนเ์ ลอื กเปดิ บัญชเี งินฝากประจา 3 เดอื น จานวน 10,000 บาท ได้รับอัตรา
ดอกเบี้ย 3% ต่อปีแบบทบต้น โดยเร่ิมต้นฝากวันท่ี 1 ม.ค. 58 และเมื่อครบกาหนด 3 เดือน
นายรุ่งโรจน์กย็ งั คงฝากอย่างตอ่ เน่อื งไปเรอ่ื ย ๆ โดยไมม่ ีการถอนเงินต้นและดอกเบี้ย ให้คานวณ
ว่าเม่ือครบกาหนดทุก 3 เดือนในช่วงเวลา 1 ปี รุ่งโรจน์จะได้รับเงินต้นและดอกเบ้ียเป็นเงิน
เท่าไร

วธิ กี ารคานวณ

1. ระยะเวลาในการคานวณจานวนวนั ในการฝากเงิน จะคานวณถึงวันกอ่ นวันที่
จ่ายดอกเบ้ีย ดงั น้ี

จา่ ยดอกเบย้ี 1 เม.ย. 58 จะเริ่มนบั ตง้ั แตว่ ันที่ 1 ม.ค. 58 ถึง 31 มี.ค. 58 รวม 90 วัน
จ่ายดอกเบี้ย 1 ก.ค. 58 จะเริ่มนับตัง้ แต่วนั ที่ 1 เม.ย. 58 ถงึ 30 ม.ิ ย. 58 รวม 91 วนั
จ่ายดอกเบี้ย 1 ต.ค. 58 จะเร่มิ นับต้ังแตว่ ันท่ี 1 ก.ค. 58 ถึง 30 ก.ย. 58 รวม 92 วัน
จา่ ยดอกเบย้ี 1 ม.ค. 59 จะเรมิ่ นับตง้ั แตว่ ันที่ 1 ต.ค. 58 ถึง 31 ธ.ค. 58 รวม 92 วัน

2. ดอกเบี้ยท่ีได้รบั จะถกู หักภาษี ณ ทจ่ี ่าย 15% ดังนนั้ อัตราดอกเบ้ียที่รุ่งโรจน์
จะไดร้ ับหลงั หักภาษี ณ ทจี่ ่าย เท่ากับ 2.55% (3 x 0.85)

3. เงนิ ฝากประจานี้ธนาคารใหด้ อกเบยี้ ทบต้น ดังน้นั ต้องนาเงนิ ตน้ บวก
ดอกเบี้ยก่อน จากนั้นจึงนาผลที่ได้ไปเปน็ ฐานคานวณดอกเบีย้ สาหรับงวดถดั ไป

ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชีวติ 3 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ว่าดว้ ยเรื่องของเงนิ

25

คาตอบ รงุ่ โรจน์จะไดร้ ับเงินตน้ และดอกเบ้ียเป็นเงิน 10,257 บาทโดยประมาณ
2.2 บัญชเี งินฝากประจาแบบปลอดภาษี
ลักษณะ
 เป็นบญั ชีเงินฝากประจาทีไ่ ดร้ บั ยกเว้นภาษี แต่เปดิ ได้เพยี งบัญชีเดยี ว
 ตามเกณฑส์ รรพากรไมไ่ ด้มีการกาหนดจานวนเงินฝากขน้ั ต่าไว้ แต่มี

เพดานฝากสูงสุดอยู่ที่ 25,000 บาทต่อเดือน และเม่ือรวมจานวนเงินที่ฝากทุกเดือนแล้วต้อง
ไม่เกิน 600,000 บาท ซ่ึงต้องฝากต่อเน่ืองในจานวนที่เท่ากันทุก ๆ เดือน เดือนละ 1 คร้ัง เป็น
เวลาไมน่ ้อยกวา่ 24 เดือน

 หากเงินฝากครบกาหนด บางธนาคารจะโอนเงินต้นและดอกเบี้ย
เข้าบัญชีออมทรัพย์หรือบัญชีกระแสรายวันตามท่ีลูกค้าแจ้งความประสงค์ไว้ตอนเปิดบัญชี หรือ
บางกรณีหากลูกค้าไม่ได้ถอนเงินออก ธนาคารก็อาจเปลี่ยนประเภทเป็นบัญชีเงินฝากประจาให้
อัตโนมตั ิโดยมเี งื่อนไขการฝากเงินและอัตราดอกเบี้ยตามประกาศของธนาคารท่ีใชอ้ ยใู่ นขณะนั้น

 ในระหว่างระยะเวลาการฝาก ขาดฝากได้ไม่เกิน 2 คร้ัง และยังคง
ต้องฝากให้ครบตามวงเงินท่ีกาหนด

 กรณีถอนก่อนครบกาหนด ส่วนใหญ่มักกาหนดว่าหากฝากไม่ถึง
3 เดือน จะไมไ่ ด้รับดอกเบีย้ หากถอนหลังจาก 3 เดือนไปแล้วจะได้รับในอัตราดอกเบ้ียเงินฝาก
ออมทรพั ย์ พร้อมทงั้ ถกู หักภาษี ณ ที่จ่าย

ชุดวชิ าการเงินเพ่ือชีวติ 3 | หน่วยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าด้วยเร่ืองของเงนิ

26

 จ่ายดอกเบี้ยเม่ือครบกาหนดระยะเวลาการฝาก โดยท่ัวไปจะโอน
ดอกเบย้ี ไปยังบัญชีเงนิ ฝากออมทรพั ยห์ รอื กระแสรายวนั

ประโยชน์

 ไดร้ ับอัตราดอกเบี้ยเงนิ ฝากสูงกวา่ บัญชีเงินฝากออมทรพั ย์
 ได้ฝึกวนิ ยั การออม (ต้องนาเงินไปฝากทุกเดือน เดือนละเท่า ๆ กนั )
 ดอกเบีย้ ท่ีไดร้ บั ไม่ต้องเสียภาษี

ข้อจากัด มีข้อจากัดและเงื่อนไขในการถอน เช่น หากมีการถอนก่อน
ระยะเวลาที่กาหนดไว้อาจไมไ่ ด้รบั ดอกเบย้ี และไม่ได้รบั สิทธยิ กเว้นการหักภาษี ณ ท่ีจ่าย 15%

บัญชนี ี้เหมาะกบั ใคร

 ผู้ท่ตี อ้ งการสร้างวินัยการออม และเพ่ิมรายไดจ้ ากดอกเบ้ยี
 ผู้ที่ไม่มีความจาเป็นท่ีจะใช้เงินที่ออมไว้ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง

(อยา่ งน้อย 2 ปี)

คาแนะนา

ผู้สนใจจะฝากเงินในบัญชีเงินฝากประจาทั้ง 2 ประเภทนี้ ควรศึกษา
เงอ่ื นไขการฝากและถอนเงินให้เข้าใจ และต้องมั่นใจว่ายังไม่มีความจาเป็นต้องใช้เงินในระหว่าง
ที่ฝากเงินไว้กับธนาคาร เพื่อป้องกันปัญหาการไม่ปฏิบัติตามเง่ือนไขและทาให้ไม่ได้รับดอกเบี้ย
ตามทีก่ าหนด

3. บัญชเี งินฝากแบบขน้ั บนั ได

ลักษณะ

 จานวนเงินฝากข้ันต่า ส่วนใหญ่มักจะสูงกว่าบัญชีเงินฝากประจาท่ัวไป
เชน่ ไม่นอ้ ยกวา่ 5,000 บาท

 กาหนดการจา่ ยดอกเบีย้ ขน้ึ อยกู่ ับเงอ่ื นไขของธนาคาร เช่น จ่ายดอกเบ้ีย
ทุกเดอื น โดยจะโอนดอกเบี้ยเงินฝากเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์หรือกระแสรายวัน ซ่ึงธนาคาร
จะแจ้งให้ทราบตงั้ แตต่ อนเปดิ บญั ชีกบั ธนาคาร

 มกั จูงใจผ้ฝู ากดว้ ยการโฆษณาวา่ ให้อตั ราดอกเบี้ยสูงมาก แต่ในความจริง
แล้วมักเป็นเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ (ส่วนใหญ่จะสูงมากเฉพาะเดือนสุดท้าย) และในแต่ละช่วงเวลา
การฝากดอกเบย้ี จะค่อย ๆ เพมิ่ สงู ขึน้ อาทิ

ชุดวิชาการเงินเพื่อชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ดว้ ยเรอื่ งของเงนิ

27

เดอื นท่ี 1 - 5 อัตราดอกเบีย้ 1% เดอื นที่ 6 - 7 อัตราดอกเบย้ี 1.7%
เดอื นที่ 8 - 9 อตั ราดอกเบยี้ 1.9% เดอื นที่ 10 อตั ราดอกเบีย้ 8%
ดังนั้น ผู้สนใจฝากต้องมองหาอัตราดอกเบ้ียเฉลี่ยต่อปีของทั้งโครงการ
ท่ีธนาคารต้องเขียนไว้ในใบโฆษณา หรือสอบถามจากเจ้าหน้าที่ธนาคารเพิ่มเติมเพื่อขอ
รายละเอยี ดท่ีชดั เจน
 หากเงินฝากครบกาหนด แล้วไม่ได้ถอนเงินออก ธนาคารมักจะเปลี่ยน
ประเภทเป็นบัญชีเงินฝากประจาให้อัตโนมัติโดยมีเงื่อนไขการฝากเงินและอัตราดอกเบ้ียตาม
ประกาศของธนาคารที่ใชอ้ ยู่ในขณะน้นั
 ข้อกาหนดในเร่ืองถอนก่อนครบกาหนดมีหลายรูปแบบ อาทิ อาจต้อง
ปิดบัญชีเลย หรือต้องถอนทั้งจานวนของแต่ละยอดการฝาก เช่น ฝากครั้งแรก 10,000 บาท
ครั้งท่ี 2 ฝาก 20,000 บาท หากต้องการถอนเงินท่ีฝากไว้จะต้องถอนเงินที่ยอด 10,000 บาท
หรือ 20,000 บาท เท่าน้นั ไมส่ ามารถถอนบางสว่ นได้
 สาหรับเรื่องดอกเบี้ย ผู้ฝากท่ีถอนก่อนครบกาหนดอาจได้ดอกเบี้ยตาม
อัตราที่กาหนดไว้ในแต่ละช่วงระยะเวลาการฝาก หรืออาจไม่ได้ดอกเบี้ย หรือได้รับอัตรา
ดอกเบยี้ เงนิ ฝากออมทรัพย์ ขึ้นอยู่กับเง่ือนไขท่ธี นาคารกาหนด

ข้อจากัด

 ให้อัตราดอกเบ้ียเงินฝากสูงกว่าเงินฝากออมทรัพย์ แต่ส่วนใหญ่มักอยู่
ในรปู แบบของบัญชีเงนิ ฝากประจาจึงจะถูกหักภาษี ณ ท่ีจา่ ย 15% ของดอกเบ้ียที่ได้รบั

 มีข้อจากัดและเง่ือนไขในการถอน เช่น กรณีการถอนก่อนครบกาหนด
(อย่างทกี่ ล่าวไปแล้ว)

บญั ชีน้ีเหมาะกบั ใคร

 ผู้ทตี่ อ้ งการเกบ็ ออมเพอื่ เพ่มิ รายได้จากดอกเบี้ย
 ผูท้ ี่มเี งินก้อนและไมม่ คี วามจาเป็นทจ่ี ะใช้เงนิ ในช่วงระยะเวลาหนงึ่

ตัวอย่าง การคานวณดอกเบีย้ เงินฝากแบบขัน้ บันได

เย็นใจฝากเงินในบัญชีเงินฝากแบบข้ันบันไดประเภทฝากประจา 10,000 บาท
เมื่อวันที่ 1 ม.ค. 58 โดยธนาคารจะจ่ายดอกเบ้ียทุกเดือนเข้าบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ (ดอกเบ้ีย
ไม่นาไปทบกบั เงนิ ต้น) ซงึ่ ธนาคารใหอ้ ัตราดอกเบ้ียแบบขั้นบนั ไดระยะเวลา 5 เดือน ดังน้ี

เดือนท่ี 1 – 2 อัตราดอกเบย้ี 1% ตอ่ ปี

ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 วา่ ด้วยเรอื่ งของเงนิ

28

เดอื นท่ี 3 – 4 อัตราดอกเบ้ยี 2% ตอ่ ปี
เดือนท่ี 5 อัตราดอกเบยี้ 4% ตอ่ ปี

ท้งั น้ี ดอกเบี้ยรบั จะถูกหกั ภาษี ณ ทีจ่ ่าย 15% ใหค้ านวณดอกเบยี้ เงนิ ฝากทเี่ ย็นใจจะไดร้ บั

วิธีการคานวณ

1. ระยะเวลาในการคานวณจานวนวันในการฝากเงนิ จะคานวณถึงวนั กอ่ นวันที่
จ่ายดอกเบี้ย ดงั น้ี

จ่ายดอกเบ้ยี 1 ก.พ. 58 จะเริ่มนับต้ังแต่วนั ท่ี 1 ม.ค. 58 ถึง 31 ม.ค. 58 รวม 31 วัน
จา่ ยดอกเบี้ย 1 มี.ค. 58 จะเริ่มนับตั้งแต่วนั ท่ี 1 ก.พ. 58 ถงึ 28 ก.พ. 58 รวม 28 วนั
จ่ายดอกเบยี้ 1 เม.ย. 58 จะเริม่ นบั ตงั้ แตว่ ันที่ 1 มี.ค. 58 ถึง 31 มี.ค. 58 รวม 31 วนั
จา่ ยดอกเบี้ย 1 พ.ค. 58 จะเริม่ นบั ตั้งแตว่ นั ท่ี 1 เม.ย. 58 ถึง 30 เม.ย. 58 รวม 30 วัน
จา่ ยดอกเบย้ี 1 มิ.ย. 58 จะเรมิ่ นบั ตั้งแต่วันท่ี 1 พ.ค. 58 ถงึ 31 พ.ค. 58 รวม 31 วนั

2. ดอกเบี้ยที่ได้รับจะถูกหักภาษี ณ ที่จ่าย 15% ดังนั้น อัตราดอกเบ้ียที่จะได้รับ
ตอ้ งนามาหกั ภาษี ณ ท่ีจ่ายกอ่ น

อตั ราดอกเบ้ียก่อนหักภาษี ณ ทจ่ี า่ ย อัตราดอกเบี้ยหลังหกั ภาษี ณ ท่จี ่าย

เดือนท่ี 1 – 2 อตั ราดอกเบี้ย 1% ตอ่ ปี (1 x 0.85) = 0.85%
เดอื นที่ 3 – 4 อตั ราดอกเบ้ยี 2% ตอ่ ปี (2 x 0.85) = 1.70%
เดอื นท่ี 5 อตั ราดอกเบี้ย 4% ตอ่ ปี (4 x 0.85) = 3.40%

ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ว่าดว้ ยเร่ืองของเงนิ

29

คาตอบ เย็นใจจะได้รับดอกเบี้ยเป็นเงินท้ังส้ิน 71 บาท ซ่ึงเม่ือคานวณอัตรา
ดอกเบยี้ ท่ีแท้จริงทเี่ ยน็ ใจได้รบั จะเทา่ กับ

ชุดวชิ าการเงินเพื่อชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเรอื่ งของเงิน

30

ขอ้ แนะนาการเลือกประเภทบญั ชเี งินฝาก
เมื่อไดป้ ระเภทบัญชีที่ต้องการแล้ว ให้หาข้อมูลบัญชีประเภทเดียวกันจากหลาย ๆ

ธนาคาร เพอื่ นามาเปรียบเทียบ ซ่ึงสามารถหาข้อมูลได้จากเว็บไซต์ของธนาคารแต่ละแห่ง หรือ
แผ่นพับหรือโฆษณาที่ธนาคารเผยแพร่ อย่างไรก็ตาม ควรดูประกาศอัตราดอกเบี้ยเงินฝากของ
ธนาคารประกอบด้วย เนื่องจากจะมีการระบุรายละเอียดและเง่ือนไขในการจ่ายดอกเบ้ียต่าง ๆ
ในส่วนท้ายของประกาศ โดยขอ้ มูลทคี่ วรนามาเปรียบเทียบมีดงั น้ี

1. อัตราดอกเบี้ย ไม่ควรดูเฉพาะในใบโฆษณา แต่ควรดูจากประกาศอัตรา
ดอกเบี้ยในเว็บไซต์ของธนาคารทีเ่ ราสนใจจะนาเงนิ ไปฝากดว้ ย เพ่อื ให้ไดข้ อ้ มลู ทคี่ รบถ้วน

2. ระยะเวลาการฝาก ต้องมัน่ ใจว่าสามารถฝากได้ตามระยะเวลาท่ีเป็นเงื่อนไข
ของบญั ชนี ้ัน

3. เงินฝากข้ันต่า และเงื่อนไขการฝาก เช่น ต้องฝากต่อเนื่องทุกเดือนหรือไม่
และท่ีสาคัญควรดูความสามารถในการฝากของตนเองด้วย เพราะหากเป็นเงินฝากที่ให้อัตรา
ดอกเบ้ียสงู ก็มักจะกาหนดจานวนเงนิ ฝากขัน้ ต่าไว้สูงเชน่ กนั

4. วิธีการจ่ายดอกเบี้ย หากเป็นบัญชีออมทรัพย์ท่ัวไป ธนาคารจะนาดอกเบ้ีย
เข้าบัญชีเงินฝากไปสมทบกับเงินต้นให้ แต่หากเป็นบัญชีเงินฝากประจาบางประเภท ธนาคาร
อาจจะโอนดอกเบี้ยเข้าบัญชีออมทรัพย์หรือบัญชีกระแสรายวันตามที่ได้แจ้งให้ลูกค้าทราบตอน
เปิดบัญชี ซ่ึงการจ่ายดอกเบี้ยจะมีท้ังจ่ายเมื่อครบกาหนดระยะเวลาการฝาก หรือจ่ายดอกเบี้ย
ทุก 3 เดอื น

5. เงือ่ นไขเกี่ยวกับภาษี ดอกเบี้ยจะถูกหักภาษี ณ ท่ีจ่าย 15% หรือไม่ เพราะ
หากเสยี ภาษี อตั ราดอกเบย้ี ที่จะได้รบั กจ็ ะนอ้ ยกว่าที่ธนาคารประกาศไว้

6. เงื่อนไขการใช้บริการ ฝาก ถอน โอน หรือเงื่อนไขกรณีการถอนก่อนครบ
ระยะเวลา หรือการเรียกเก็บค่าธรรมเนียม เช่น กรณีบัญชีเงินฝากไม่เคลื่อนไหวหรือมียอดเงิน
ในบญั ชีตา่ กวา่ ท่ีกาหนดจะถกู เรยี กเกบ็ คา่ ธรรมเนียมรักษาบญั ชี หรอื กรณีมีเงื่อนไขเร่ืองจานวน
ครั้งการถอน เช่น ถอนได้เพียง 2 คร้ังต่อเดือน หากถอนตั้งแต่คร้ังที่ 3 เป็นต้นไป จะเสีย
คา่ ธรรมเนยี มการถอนครงั้ ละ 500 บาท

ชุดวชิ าการเงนิ เพอ่ื ชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเรอ่ื งของเงิน

31

สลากออมทรัพย์/สลากออมสนิ

เป็นทางเลือกการออมอย่างหน่ึงของผู้ท่ีชอบลุ้นรางวัล แม้จะให้ผลตอบแทน
ไม่สูงนัก (หากไม่ถูกรางวัล) แต่จะได้เงินต้นคืนเต็มจานวนเม่ือครบกาหนด ซึ่งแตกต่างจากการ
ซื้อหวย หรือสลากกินแบ่งรัฐบาล สถาบันการเงินท่ีออกสลากในปัจจุบัน4เป็นสถาบันการเงิน
เฉพาะกิจของรัฐ

ลักษณะของสลากออมทรัพย/์ สลากออมสิน คือ ขายเปน็ จานวนหน่วยและมีการ
กาหนดอายทุ ี่แนน่ อน (เช่น อายุ 3 ปี หรอื 5 ป)ี และมักมีการจ่ายดอกเบ้ียเป็นผลตอบแทนหาก
ถือจนครบตามเกณฑ์ท่ีผู้ออกสลากกาหนด ผู้ซ้ือสลากสามารถลุ้นรางวัลได้ทุกงวดจนกว่าสลาก
จะหมดอายุ แต่ก็อาจมีสลากบางรุ่นซ่ึงหากถอนก่อนครบกาหนดอาจได้คืนเงินต้นน้อยกว่าท่ีจ่ายไป
หรือมีบริการพิเศษท่สี ามารถใช้สลากค้าประกันการกู้เงินไดด้ ว้ ย

ทั้งน้ี เม่ือซื้อสลาก สถาบันการเงินท่ีออกสลากมักแนะนาให้เปิดบัญชีเงินฝาก
ออมทรัพย์คกู่ ันเพอ่ื เปน็ บญั ชีเงินฝากสาหรบั การรบั เงนิ หากถกู รางวัล

ขอ้ จากัด

1. เงินที่นามาซ้ือสลากออมทรัพย์ควรจะเป็นเงินเย็น หรือเป็นเงินท่ีไม่ต้องการ
ใชต้ ลอดอายขุ องสลาก เพราะหากถอนสลากก่อนกาหนด อาจได้รบั เงินคืนนอ้ ยกวา่ จานวนทซี่ ื้อ

2. ควรศึกษาเงอื่ นไขให้ละเอียดก่อนซือ้

3. เมือ่ ได้สลากมาควรตรวจสอบความถกู ต้องทกุ ครัง้ เช่น ช่ือ นามสกุล จานวน
หนว่ ย จานวนเงนิ ทซ่ี ือ้

4. ควรเกบ็ รักษาสลากให้ดี หากทาหายตอ้ งไปแจง้ ความ และติดต่อขอทาสลาก
ใหม่ซ่งึ จะมีค่าธรรมเนียมในการออกสลากใหม่ดว้ ย

5. ควรพิจารณาและเปรียบเทียบผลตอบแทนของสลากแต่ละประเภท หรือ
แตล่ ะรุ่นกอ่ นตัดสินใจซือ้

การคุม้ ครองเงินฝาก

เป็นการคุ้มครองประโยชน์ของประชาชนที่ฝากเงินไว้กับสถาบันการเงิน ซึ่งเป็น
ระบบสากลท่ีประเทศต่าง ๆ นามาใช้มากกว่า 100 ประเทศ โดยการกาหนดวงเงินท่ีรับรองว่า
ผูฝ้ ากจะได้รับคนื เป็นจานวนที่แน่นอนภายในระยะเวลาทกี่ าหนดโดยเร็วหากสถาบันการเงิน

4 ขอ้ มูล ณ มถิ นุ ายน 2559

ชุดวชิ าการเงินเพอื่ ชวี ติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 วา่ ด้วยเร่อื งของเงนิ

32

ถกู ปดิ กิจการ สาหรับเงินฝากสว่ นทีเ่ กินวงเงินดังกล่าว ผู้ฝากมีโอกาสได้รับเพ่ิมเติมหลังจากการ
ขายสนิ ทรพั ยแ์ ละชาระบญั ชีสถาบันการเงนิ นัน้ แล้ว

การคุ้มครองเงินฝากในประเทศไทย
ในอดีตหากสถาบันการเงินถูกปิดกิจการ ผู้ฝากเงินจะต้องไปดาเนินการฟ้องร้อง
เพื่อให้ได้รับเงินฝากคืนเอง ซ่ึงไม่มีความแน่นอนว่าจะได้รับเงินคืนหรือไม่ จะได้รับเงินคืนเมื่อใด
และจานวนเท่าใด ดังน้ัน ภาครัฐจึงได้จัดให้มีระบบคุ้มครองเงินฝากขึ้น เพ่ือช่วยเหลือประชาชน
ผฝู้ ากเงนิ ใหไ้ ดร้ ับเงินฝากคนื ภายในเวลาทร่ี วดเร็วหากสถาบนั การเงนิ ถูกปิดกิจการ ซึ่งการมีระบบ
คุ้มครองเงินฝากจะไม่ก่อให้เกิดภาระกับภาครัฐ เน่ืองจากมีการเรียกเก็บเงินนาส่งจากสถาบัน
การเงินต่าง ๆ สะสมไว้ใช้ในการจ่ายคืนเงินให้กับประชาชนผู้ฝากเงิน ซ่ึงดาเนินการโดยสถาบัน
คมุ้ ครองเงนิ ฝาก (Deposit Protection Agency: DPA)
สถาบนั คมุ้ ครองเงนิ ฝาก เป็นหนว่ ยงานของรัฐ จัดตง้ั ข้นึ เม่ือวันท่ี 11 สิงหาคม 2551
เพือ่ คุ้มครองประชาชนผ้ฝู ากเงนิ โดยมหี นา้ ทหี่ ลกั คือ
1. จ่ายเงินคืนผู้ฝากภายในวงเงินและระยะเวลาท่ีกฎหมายกาหนด ในกรณี
ทส่ี ถาบนั การเงินทอี่ ยู่ภายใต้การคุ้มครองถกู ปิดกจิ การ
2. ชาระบัญชีสถาบันการเงินท่ีถูกปิดกิจการ เพ่ือรวบรวมเงินจากการขาย
สินทรัพย์มาชาระคืนให้แก่เจ้าหนี้ของสถาบันการเงินนั้น รวมถึงเงินฝากส่วนท่ีเกินวงเงิน
คมุ้ ครองดว้ ย
ค้มุ ครองอะไรบา้ ง
เงินบาทท่ีฝากไว้กับสถาบันการเงินที่อยู่ภายใต้การคุ้มครอง (ธนาคารพาณิชย์
บริษัทเงินทุน และบริษัทเครดิตฟองซิเอร์) แต่ไม่ครอบคลุมถึงเงินท่ีฝากไว้กับสถาบันการเงิน
เฉพาะกิจของรฐั เนื่องจากมีกฎหมายเฉพาะจัดต้ังข้นึ ทง้ั น้ี สถาบันการเงินทั้งหมดอยู่ภายใต้การ
กากับดูแลของกระทรวงการคลัง และธนาคารแห่งประเทศไทย ซ่ึงจะกากับดูแลความมั่นคง
อยา่ งใกลช้ ดิ และจะปอ้ งกันหรอื แก้ไขปญั หาทอ่ี าจเกิดข้ึนมใิ ห้ต้องปดิ กจิ การโดยงา่ ย

ชุดวิชาการเงินเพ่อื ชวี ิต 3 | หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงนิ

33

เงินฝากท่ไี ด้รบั ความค้มุ ครอง เงินฝากที่ไม่ไดร้ ับการค้มุ ครอง

เงนิ ฝากออมทรพั ย์  เงินฝากท่เี ป็นเงนิ ตราต่างประเทศ
เงนิ ฝากประจา
เงนิ ฝากกระแสรายวนั  เงินฝากทีม่ อี นุพนั ธแ์ ฝง
บตั รเงนิ ฝาก
ใบรบั ฝากเงิน  เงนิ ฝากระหว่างสถาบันการเงิน
เงนิ ฝากใน “บัญชีรว่ ม” หรอื
“บัญชเี พือ่ ”  เงนิ ฝากในบัญชเี งนิ บาทของผูม้ ีถ่นิ ทอ่ี ยู่นอกประเทศ
(เปน็ ประเภทบัญชีพิเศษท่ีเปดิ เพอ่ื ทารายการเฉพาะ
ตาม พ.ร.บ.ควบคุมการแลกเปลีย่ นเงิน)

 เงินฝากในสหกรณ์ (เนือ่ งจากสหกรณ์ไม่ไดเ้ ป็น
สถาบันการเงนิ ภายใตก้ ฎหมายค้มุ ครองเงินฝาก)

 เงนิ ลงทุนอ่ืน ๆ เช่น กองทุนรวม หุ้นกู้
ต๋วั แลกเงิน พันธบตั รรัฐบาล สลากออมทรัพย์ (เป็น
ผลิตภัณฑอ์ ื่นทม่ี ใิ ช่เงนิ ฝากจึงไม่ไดร้ บั การค้มุ ครอง)

จานวนเงินทไ่ี ด้รับการคมุ้ ครอง5

จานวนเงนิ ฝากรวมดอกเบีย้ ท่ีจะได้รับการคุ้มครองตามเกณฑ์ที่กฎหมายกาหนด
ดังนี้

ระยะเวลา จานวนเงนิ ฝากที่คมุ้ ครอง
(ต่อรายผู้ฝาก ตอ่ สถาบันการเงนิ )
11 ส.ค. 2558 – 10 ส.ค. 2559
11 ส.ค. 2559 – 10 ส.ค. 2561 ไม่เกนิ 25 ลา้ นบาท
11 ส.ค. 2561 – 10 ส.ค. 2562 ไมเ่ กิน 15 ลา้ นบาท
11 ส.ค. 2562 – 10 ส.ค. 2563 ไมเ่ กนิ 10 ล้านบาท
11 ส.ค. 2563 เป็นตน้ ไป ไมเ่ กิน 5 ล้านบาท
ไม่เกิน 1 ล้านบาท

หมายเหตุ: เงนิ ฝากส่วนที่เกินความคุ้มครอง จะได้รับคืนเพิ่มเติมหลังจากการชาระบัญชีสถาบัน
การเงนิ ทป่ี ิดกจิ การ

5 ขอ้ มูลนอี้ าจมกี ารปรบั เปล่ยี นในอนาคต ดงั นัน้ ควรสอบถามรายละเอียดเพิ่มเตมิ ได้ทส่ี ถาบันคุ้มครองเงินฝาก โทร. 1158
เวบ็ ไซต์ www.dpa.or.th

ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1 ว่าดว้ ยเรอื่ งของเงิน

34

การประกันภัย

ความหมายและประโยชน์
การทาประกันภัยเป็นการบริหารความเส่ียงภัยวิธีหน่ึง ซ่ึงจะโอนความเสี่ยงภัย
ของผเู้ อาประกันภัยไปส่บู รษิ ทั ประกันภัย เม่อื เกิดความสูญเสียหรือความเสียหายจากเหตุการณ์
ไม่คาดฝัน บริษัทประกันภัยจะชดใช้ค่าสินไหมทดแทนตามท่ีได้รับความคุ้มครองในกรมธรรม์
ประกันภัยให้แก่ผู้เอาประกันภัย โดยท่ีผู้เอาประกันภัยจะต้องเสียเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัท
ประกนั ภัยตามที่ไดต้ กลงกันไว้

การประกันภัยจะช่วยสร้างความม่ันคงทางการเงินให้แก่ผู้เอาประกันภัยและ
ครอบครัว กล่าวคือ หากเกิดความสูญเสียหรือความเสียหายต่อสิ่งท่ีเอาประกันจะไม่ส่งผล
กระทบต่อฐานะการเงินของผู้เอาประกัน นอกจากน้ี การทาประกันภยั ยังช่วยให้ผู้เอาประกันภัย
คลายความกังวลกับส่ิงท่ีเหนือการควบคุมหรือคาดเดาได้ยากว่าในอนาคตจะเกิดอะไรข้ึนบ้าง
เช่น การทาประกันชีวิต โดยหากผู้เอาประกันเกิดเสียชีวิตขึ้นมาในขณะท่ียังมีภาระดูแล
ครอบครัว ผู้ที่อยู่ข้างหลังจะได้รับค่าสินไหมทดแทนในฐานะผู้รับประโยชน์ตามท่ีผู้เอาประกันภัย
ไดต้ กลงไว้กบั บรษิ ัทประกนั ภยั

หลักการพจิ ารณาความจาเปน็ ในการทาประกันภัย

อย่างไรก็ตาม ไม่จาเป็นว่าทุกคนต้องทาประกันภัยเสมอไป หากตัวเราเอง
สามารถรับความเสี่ยงหรือมีแผนการรองรับท่ีดีก็ไม่จาเป็นต้องทาประกันภัย โดยมีหลักในการ
พิจารณาวา่ จาเป็นต้องทาประกนั ภัยหรือไมด่ งั นี้

1. ภาระรับผิดชอบท่ีมี หากเราเป็นเสาหลักทางการเงินของครอบครัว เช่น
เป็นคนดูแลคา่ ใช้จ่ายของทุกคนในบ้าน หรือมีภาระหน้ีท่ีต้องรับผิดชอบ ถ้าเกิดปัญหากับเราจน
ไม่สามารถดูแลครอบครัวได้ เช่น เจ็บป่วยหนัก เกิดอุบัติเหตุรุนแรงหรือเสียชีวิต จะสร้างภาระ
ให้แก่คนท่ีอยู่เบื้องหลังมากน้อยแค่ไหน เรามีแผนการรองรับความเสี่ยงท่ีจะเกิดข้ึนแล้วหรือไม่
(ถ้าเรามีเงินเก็บมากพอ มีทรัพย์สินที่ปลอดภาระแล้ว การเสียชีวิตของเราไม่ทาให้ผู้ท่ี
อยเู่ บ้อื งหลังเดือดรอ้ น ประกันภัยก็อาจไม่จาเปน็ สาหรบั เรา)

2. โอกาสความเป็นไปได้ท่ีจะเกิดความเส่ียงหรือประกอบอาชีพที่มีความเส่ียง
เช่น ต้องอยู่ในเขตก่อสร้าง ผลิตสารเคมี หรือเดินทางบ่อย ย่อมมีความเสี่ยงมากกว่าผู้ที่ทางาน
ในออฟฟิศ ในกรณีนกี้ ค็ วรทาประกันภัย

ชุดวชิ าการเงินเพอ่ื ชีวติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเรอ่ื งของเงิน

35

ในการประกนั ภยั จะมีบคุ คลทเ่ี ก่ยี วข้อง 3 ฝา่ ย คือ
 ผรู้ ับประกันภยั คอื บรษิ ทั ที่ประกอบธรุ กจิ ประกันภยั
 ผู้เอาประกันภัย คือ บุคคลที่ต้องการจะทาประกันภัยและมีหน้าที่จ่าย
เบ้ยี ประกันภยั ให้แก่ผู้รับประกนั ภัย
 ผรู้ ับประโยชน์ คอื คนทจ่ี ะไดร้ ับสินไหมทดแทนตามท่ีผู้เอาประกันภัยระบุไว้
โดยผเู้ อาประกันภัยกบั ผู้รับประโยชนอ์ าจเปน็ คนคนเดยี วกนั ได้

รูปแบบประกันภัย
ก่อนซื้อประกันภัย ผู้เอาประกันภัยควรศึกษาทาความเข้าใจ เปรียบเทียบ
รปู แบบ ความคุม้ ครอง และเบ้ียประกันภัยของการประกันภัยก่อน เพื่อให้ได้รับแบบประกันภัย
ท่ีมีความเหมาะสม ตรงตามความต้องการมากที่สุด ซึ่งสามารถแบ่งประกันภัยออกเป็น
2 ประเภทใหญ่ ได้แก่ 1) ประกันชีวิต 2) ประกันวินาศภัย โดยแต่ละประเภทก็ยังมีรูปแบบการ
ประกันภัยท่ีจาแนกย่อยอีก

ชุดวชิ าการเงนิ เพอื่ ชวี ติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงนิ

36

1. ประกันชีวิต เป็นสัญญาระหว่างผู้รับประกันภัย (บริษัทประกันชีวิต) กับ
ผู้เอาประกันภัย โดยเรียกสัญญาดังกล่าวว่ากรมธรรม์ประกันชีวิต ซ่ึงกาหนดให้ผู้เอาประกันภัย
ต้องจ่ายเบี้ยประกันภัยให้แก่บริษัทประกันชีวิต หากผู้เอาประกันภัยเกิดเสียชีวิตขณะท่ี
กรมธรรม์มีผลบังคับ (ยังอยู่ในระยะเวลาการคุ้มครอง) ภายใต้เงื่อนไขในกรมธรรม์ เช่น การ
เสียชีวิตท่ีไม่ใช่การฆ่าตัวตาย บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินจานวนหน่ึงให้กับผู้รับผลประโยชน์
เรยี กว่าเงนิ สนิ ไหม

หากพิจารณาจากลักษณะความคุ้มครองและผลประโยชน์ สามารถแบ่งแบบ
การประกันชีวติ ไดด้ ังนี้

1) แบบการประกันชีวติ พนื้ ฐาน มีอยู่ 4 แบบคอื
1.1) ประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลา (term insurance) เป็นการ

ประกันชีวิตที่บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์ เมื่อผู้เอา
ประกันภัยเสียชีวิตในระยะเวลาเอาประกันภัย วัตถุประสงค์เพ่ือคุ้มครองการเสียชีวิตก่อนวัย
อันสมควร การประกันชีวิตแบบนี้ไม่มีส่วนของการออมทรัพย์ เบ้ียประกันภัยจึงต่ากว่าแบบ
อ่ืน ๆ และไมม่ ีเงนิ เหลือคืนใหห้ ากผู้เอาประกันภัยมชี วี ติ อย่จู นครบกาหนดสัญญา

ตัวอย่างการประกันชีวิตแบบชั่วระยะเวลา เช่น กรมธรรม์ประกัน
ชีวิตแบบคุ้มครองสินเช่ือเพื่อท่ีอยู่อาศัย จะให้ความคุ้มครองการเสียชีวิตของผู้กู้ยืมซ่ึงได้แก่
ผู้เอาประกันภัยซ่ึงเป็นผู้มีรายได้หลักของครอบครัว หากผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต สมาชิก

ชุดวชิ าการเงินเพือ่ ชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 วา่ ดว้ ยเร่ืองของเงนิ

37

ในครอบครัวซ่ึงเป็นผู้รับประโยชน์ จะได้รับความคุ้มครองเป็นเงินรายงวดเพ่ือนาไปผ่อนชาระ
สนิ เชอื่ ให้แก่สถาบันการเงิน

1.2) ประกนั ชวี ิตแบบตลอดชีพ (whole life) เป็นการประกันชีวิตที่
บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตใน
ขณะท่ีกรมธรรม์มีผลบังคับ หรือหากผู้เอาประกันภัยมีอายุยืนยาวจนครบกาหนดสัญญา ผู้เอา
ประกันภัยจะได้รับจานวนเงินเอาประกันภัย (ระยะเวลาเอาประกันชีวิตแบบตลอดชีพ
กาหนดให้ครบกาหนดสัญญาเมื่อผู้เอาประกันภัยมีอายุครบ 90 ปี ถึง 99 ปี) วัตถุประสงค์เพื่อ
คุ้มครองการเสียชีวิต เพื่อให้บุคคลท่ีอยู่ในความอุปการะของผู้เอาประกันภัยได้รับเงินทุน
จานวนหน่ึงไว้สาหรับจุนเจือ หรือเป็นเงินทุนสาหรับการเจ็บป่วยคร้ังสุดท้ายและค่าทาศพ
เพ่อื ไมใ่ หต้ กเป็นภาระของคนอื่น

1.3) ประกันชีวิตแบบสะสมทรัพย์ (endowment) เป็นการประกัน
ชีวิตทีบ่ รษิ ัทประกนั ชีวติ จะจ่ายจานวนเงินเอาประกันภยั ใหแ้ กผ่ ู้เอาประกนั ภยั เม่ือมีชีวิตอยู่ครบ
กาหนดสัญญา หรือจ่ายเงินเอาประกันภัยให้แก่ผู้รับประโยชน์เมื่อผู้เอาประกันภัยเสียชีวิตลง
ภายในระยะเวลาเอาประกันภัย วัตถุประสงค์เพ่ือคุ้มครองการเสียชีวิตและการออมทรัพย์
โดยในส่วนของการออมทรัพย์ ผู้เอาประกันภัยได้รับเงินคืนในระหว่างสัญญาหรือเม่ือสัญญา
ครบกาหนด

1.4) ประกันชีวิตแบบบานาญ (annuity) เป็นการประกันชีวิตท่ี
บริษัทประกันชีวิตจะจ่ายเงินจานวนหน่ึงเท่ากันอย่างสม่าเสมอให้แก่ผู้เอาประกันภัยทุกเดือน
นับแต่ผู้เอาประกันภัยเกษียณอายุ หรือมีอายุครบ 55 ปี หรือ 60 ปี เป็นต้นไป แล้วแต่เงื่อนไข
ในกรมธรรม์ที่กาหนดไว้ สาหรับระยะเวลาการจ่ายเงินขึ้นอยู่กับความต้องการของผู้เอา
ประกันภัย โดยบริษัทประกันชีวิตจะเก็บเบี้ยประกันภัยจนถึงอายุหน่ึงซึ่งช่วงระยะเวลาท่ีเก็บ
เบี้ยประกันภัยจะอยู่ในช่วงที่ทางาน หรือช่วงก่อนเกษียณอายุ วัตถุประสงค์เพื่อให้ความ
คุม้ ครองกรณีทผ่ี ูเ้ อาประกนั ภยั ท่ีคาดว่ามอี ายุยนื ยาว และต้องการให้มีเงินได้ประจาหลังจาก
ที่เกษยี ณอายุ

2) แบบการประกันชีวิตควบการลงทุน คือ การประกันชีวิตที่ให้ความ
คุ้มครองการเสียชีวิตและการออมทรัพย์ โดยเบี้ยประกันภัยจะแบ่งออกเป็น 3 ส่วน ได้แก่ ส่วน
ของความคุ้มครอง ส่วนของค่าใช้จ่ายต่าง ๆ และส่วนของการออมทรัพย์ เงินในส่วนของการ
ออมทรัพย์ทไ่ี ด้รับจะมากหรือน้อยขน้ึ กบั ผลตอบแทนท่ีได้รบั จากการลงทนุ มอี ยู่ 2 แบบคอื

ชุดวชิ าการเงนิ เพื่อชวี ติ 3 | หน่วยการเรยี นรทู้ ่ี 1 วา่ ด้วยเร่อื งของเงิน

38

2.1) ประกันชีวิตแบบยูนิเวอร์แซลไลฟ์ (universal life) เป็นการ
ประกันชีวิตที่ให้ความคุ้มครองการเสียชีวิตและการออมทรัพย์ โดยส่วนของการออมทรัพย์
บริษทั ประกันชีวิตเปน็ ผู้บรหิ ารการลงทนุ

 ความคุ้มครองกรณีผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต จะได้รับจานวน
เงินเอาประกันภัยรวมกับเงินผลประโยชน์ในส่วนของการออมทรัพย์ซ่ึงจะได้รับเป็นจานวน
ทีม่ ากหรือนอ้ ยข้ึนกบั ผลตอบแทนจากการลงทนุ ของบรษิ ทั

 ความคุ้มครองกรณีมีชีวิตอยู่ครบกาหนดสัญญา จะได้รับ
เงินผลประโยชน์ในส่วนของการออมทรัพย์ ซึ่งจะได้รับเป็นจานวนท่ีมากหรือน้อยขึ้นกับ
ผลตอบแทนจากการลงทุนของบริษทั

ท้ังนี้ เงินผลประโยชน์ท่ีได้รับทั้งกรณีความคุ้มครองการเสียชีวิต
และกรณีมีชีวิตอยู่ครบกาหนดสัญญา ต้องไม่น้อยกว่าเบี้ยประกันภัยที่ผู้เอาประกันภัยได้ชาระ
ไปแลว้

2.2) ประกันชีวิตแบบควบการลงทุน (unit link) เป็นการประกัน
ชีวิตท่ีให้ความคุ้มครองการเสียชีวิตและการออมทรัพย์ โดยส่วนของการออมทรัพย์
ผู้เอาประกันภัยเป็นผู้เลือกลงทุนในกองทุนรวมประเภทต่าง ๆ ซ่ึงกองทุนรวมดังกล่าวบริษัทได้
พิจารณาจดั สรรเพอ่ื ใหผ้ เู้ อาประกนั ภัยได้เลือกลงทนุ

 ความคุ้มครองกรณีผู้เอาประกันภัยเสียชีวิต จะได้รับเงิน
เอาประกันภัยรวมกับเงินผลประโยชน์ในส่วนของการลงทุนในกองทุนรวม เงินในส่วนของการ
ลงทุนที่ได้รับจะมีจานวนมากหรือน้อยข้ึนกับผลตอบแทนจากการลงทุนของกองทุนรวมท่ีเลือก
ลงทนุ

 ความคุ้มครองกรณีมีชีวิตอยู่ครบกาหนดสัญญา จะได้รับเงิน
ผลประโยชน์ในส่วนของการลงทุนในกองทุนรวม เงินในส่วนของการลงทุนท่ีได้รับจะมีจานวน
มากหรอื นอ้ ยข้นึ กบั ผลตอบแทนจากการลงทนุ ของกองทุนรวมที่เลอื กลงทุน

ทั้งนี้ เงินลงทุนที่ได้อาจมากกว่าหรือน้อยกว่าเบ้ียประกันภัยในส่วน
ลงทุน ดังนั้น เงินครบกาหนดที่ได้รับอาจน้อยกวา่ เบย้ี ประกันภยั ท่จี า่ ย

ชุดวชิ าการเงนิ เพ่อื ชีวิต 3 | หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 1 วา่ ด้วยเร่ืองของเงิน

39

เบี้ยประกนั ชีวติ

จะแตกต่างกันไปตามประเภทของประกันท่ีทา เช่น ถ้าเป็นประกันชีวิตแบบ
สะสมทรัพย์ ค่าเบ้ยี ประกนั ภยั จะแพงกว่าแบบอ่ืน ๆ นอกจากน้ี ข้อมูลของผู้เอาประกันภัย เช่น
เพศ อายุ ก็มีผลตอ่ การคานวณเบ้ยี ประกนั ภยั ด้วยเช่นกนั

2. ประกันวินาศภัย เป็นการทาประกันภัยเพื่อให้ความคุ้มครองต่อทรัพย์สิน
เชน่ ประกนั อัคคภี ัย ประกนั ภยั รถยนต์ หากทรัพยส์ ินที่ได้รบั การคมุ้ ครองเสียหาย บริษัทอาจจะ
จ่ายเป็นตัวเงิน หรือซ่อมแซม หรือหาของมาทดแทน หรือทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิม ขึ้นอยู่กับ
เง่อื นไขทีไ่ ด้ตกลงหรือกาหนดไว้ ประกนั วินาศภัย มี 4 ประเภท ได้แก่

1) การประกันอัคคีภัย (fire insurance) คือ การประกันภัยเพ่ือคุ้มครอง
ความเสียหายของทรัพย์สินท่ีเกิดจากไฟมาเผาผลาญ ซ่ึงเมื่อเกิดภัยข้ึนแล้วบริษัทประกันภัย
ชดใช้ค่าเสียหายให้ ซ่ึงภัยที่คุ้มครอง ได้แก่ ไฟไหม้ ฟ้าผ่า การระเบิดของแก๊สท่ีใช้ในครัวเรือน
และความสูญเสียหรือเสียหายจากสาเหตุใกล้ชิดของอัคคีภัย เช่น ทรัพย์สินท่ีเสียหายจากน้า
หรือสารเคมีทใ่ี ช้ในการดับเพลงิ

2) การประกันภัยรถยนต์ (automobile insurance) คือ การประกัน
เพื่อคมุ้ ครองความเสียหายอันเกดิ จากการใช้รถยนต์ ไดแ้ ก่

 ความสูญเสียหรือเสียหายท่ีเกิดแก่รถยนต์ ได้แก่ ความเสียหาย
บบุ สลาย หรอื สูญหายของตวั รถยนต์

 ความสูญเสียหรือเสียหายท่ีรถยนต์ก่อให้เกิดข้ึนแก่ชีวิต ร่างกาย
และทรัพย์สินของบคุ คลภายนอก รวมทั้งบคุ คลท่ีโดยสารอยู่ในรถยนตน์ ั้นดว้ ย

3) การประกันภัยทางทะเล (marine insurance) คือ การประกันภัย
ความเสียหายของตวั เรอื สินคา้ และทรัพย์สนิ ทีอ่ ยู่ระหว่างการขนส่งภายในประเทศและระหว่าง
ประเทศ รวมทั้งพาหนะและส่ิงอื่น ๆ ที่ใช้ในการขนส่งด้วย และยังขยายขอบเขตความคุ้มครอง
รวมไปถึงภัยทางบกและความสูญเสียในขณะขนส่ง

4) การประกันภัยเบ็ดเตล็ด (miscellaneous insurance) คือ การ
ประกันภัยท่ีให้ความคุ้มครองต่อความสูญเสียหรือความเสียหายอันเนื่องมาจากภัยอื่น ๆ ท่ีอยู่
นอกเหนือจากการคุ้มครองของกรมธรรม์ประกันภัยรถยนต์ ประกันภัยทางทะเล ประกัน
อัคคภี ยั และประกันชวี ิต

ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชีวิต 3 | หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 1 ว่าดว้ ยเรื่องของเงิน

40

เบย้ี ประกันวินาศภัย

ค่าเบี้ยประกันภัยก็จะแตกต่างกันตามระดับความเส่ียงภัย ระยะเวลาที่คุ้มครอง
และจานวนเงนิ เอาประกันภยั นอกจากน้ี ยังมีรายละเอยี ดเพิ่มเติม เช่น

- เบี้ยประกันอัคคีภัย จะพิจารณาปัจจัยจากสถานที่ต้ังของสิ่งปลูกสร้าง
ลักษณะของสิ่งปลูกสร้าง คานึงถึงความเส่ียงภัยท่ีจะเกิด เช่น อยู่ในพ้ืนที่ท่ีมีส่ิงปลูกสร้าง
หนาแนน่ การเข้าถึงไดข้ องรถดบั เพลงิ หรือสง่ิ ปลกู สรา้ งเป็นไมห้ รอื วัสดตุ ดิ ไฟ

- เบ้ียประกันภัยรถยนต์ ผู้รับประกันภัยจะพิจารณาจากหลาย ๆ ปัจจัย เช่น
อายุ รุ่น ประเภทของรถยนต์ ขนาดของเคร่ืองยนต์ ประเภทกรมธรรม์ รวมถึงอายุ เพ ศ
ของผู้เอาประกันภยั ด้วย

แบบประกนั ภัยใกล้ตวั

1. สญั ญาเพิ่มเตมิ กรมธรรมป์ ระกันชีวิต เป็นสัญญาประกันภัยชนิดหนึ่ง เวลา
ที่เราทาประกนั ชวี ิต เราสามารถเลือกทาสัญญาเพ่ือรับความคุ้มครองเพม่ิ เติมได้อกี เช่น

1) คุ้มครองความทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิง (สูญเสียสมรรถภาพในการ
ทางานอันเกิดจากอุบัติเหตุ การเจ็บป่วยหรือเชื้อโรคทาให้ไม่สามารถประกอบหน้าท่ีการงาน
ได้แบบถาวร) เช่น สูญเสียสายตา มือหรือเท้าหรือทั้ง 2 ข้างหรืออย่างใดอย่างหนึ่งรวมกันตั้งแต่
สองอย่างข้ึนไป สัญญาเพิ่มเติมน้ีมักจะเพิ่มไว้ในกรมธรรม์ประกันชีวิตให้โดยอัตโนมัติ และ
กาหนดผลประโยชนเ์ ท่ากับจานวนเงนิ เอาประกนั ภัย

2) คุ้มครองโรคร้ายแรงและการเจ็บป่วยข้ันวิกฤต หากป่วยด้วยโรค
ร้ายแรงหรือขั้นวิกฤต มักจะมีค่ารักษาพยาบาลเป็นจานวนสูง การทาประกันภัยเพื่อความ
คุ้มครองกรณีดังกล่าวจะช่วยแบ่งเบาภาระค่ารักษาลงได้ เช่น โรคมะเร็ง โรคหลอดเลือดสมอง
โรคหัวใจขาดเลือด ไตวาย ซ่ึงผูร้ ับประกันภัยอาจทาเพม่ิ เปน็ อกี หน่งึ กรมธรรม์ได้

3) ประกันอุบัติเหตุ เป็นสัญญาท่ีให้ความคุ้มครองกรณีที่ผู้เอาประกันภัย
ประสบอุบัติเหตุ เสียชีวิต สูญเสียอวัยวะ รวมถึงให้ผลประโยชน์ด้านค่ารักษาพยาบาลจากการ
ได้รับอบุ ัติเหตดุ ้วย

4) ประกันสุขภาพ เป็นสัญญาเพิ่มเติมที่ผู้เอาประกันภัยจะได้รับการ
คุ้มครองเม่ือต้องเข้าพักรักษาตัวในโรงพยาบาล ซ่ึงในสัญญาจะระบุรายการผลประโยชน์ท่ีจะ
ได้รับ และจานวนเงินที่ผู้รับประกันภัยจะจ่ายให้ เช่น ค่าห้อง ค่าอาหาร ค่าบริการพยาบาล
1,000 บาทต่อวนั ค่าห้องผา่ ตดั 4,000 บาทต่อการเข้ารับการรักษา 1 คร้งั

ชุดวชิ าการเงนิ เพ่ือชวี ิต 3 | หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 1 ว่าด้วยเรือ่ งของเงิน

41

2. ประกันคุ้มครองสินเชื่อ (mortgage reducing term assurance -
MRTA) เป็นกรมธรรม์ประกันชีวิตท่ีให้ความคุ้มครองกรณีผู้เอาประกันภัยมีภาระหนี้ โดยหาก
เกดิ เหตุกับผู้เอาประกันภัยที่ทาให้เสียชีวิตหรือทุพพลภาพสิ้นเชิงถาวร ผู้รับประกันภัยจะชาระ
หนี้แก่เจ้าหน้ีแทนผู้เอาประกันภัยตามเงินเอาประกันภัย ประกัน MRTA จะช่วยลดภาระหน้ี
บางส่วนที่ครอบครัวและลูกหลานต้องชาระต่อ หรือไม่ต้องประสบปัญหาถูกยึดท่ีอยู่อาศัยเพื่อ
นาเงินไปชาระหนี้คืนเจ้าหน้ี ธนาคารจึงมักเสนอประกันภัยประเภทน้ีแก่ลูกค้าเมื่อขอสินเชื่อ
ท่ีอยู่อาศัยกับธนาคาร โดยมักจะกาหนดให้ลูกค้าทาประกันคุ้มครองวงเงินสินเช่ือไม่ต่ากว่า
70% ของวงเงนิ สินเชอ่ื

ประกัน MRTA จะต่างกบั ประกันอน่ื ตรงท่ี
- จานวนเงินเอาประกันภัยจะลดลงทุกปีตามยอดหน้ีท่ีทยอยลดลง และ

ความคุ้มครองสิ้นสดุ เม่ือภาระหนห้ี มดลง
- จ่ายค่าเบ้ียประกันภัยคร้ังเดียว แต่หากชาระหนี้หมดก่อนครบกาหนด

ค้มุ ครองสามารถขอเวนคืนกรมธรรม์ได้

3. กรมธรรม์ประกันภัยสาหรับรายย่อยหรือไมโครอินชัวรันส์ (micro
insurance) หมายถึง การประกันภัยสาหรับผู้มีรายได้น้อย - ปานกลาง ซ่ึงมีลักษณะที่สาคัญ
ดงั น้ี

- เบีย้ ประกันภัยราคาไมแ่ พง
- ความคุ้มครองไมซ่ ับซ้อน เข้าใจงา่ ย
- การขอรับเงินค่าสินไหมทดแทนไม่ยุ่งยาก
- ช่องทางการจาหน่ายหลากหลาย เขา้ ถึงประชาชนทกุ กล่มุ
- สามารถเป็นเคร่ืองมือในการรองรับความเสี่ยงของประชาชนได้
โดยเฉพาะผมู้ ีรายไดน้ อ้ ย

กรมธรรม์ประกันภัย 200 สาหรับรายย่อย เป็นประกันภัยที่ถูกออกแบบมาให้
เหมาะกับผู้มีรายได้น้อย มีข้ันตอนการซื้อง่ายเพียงใช้บัตรประชาชนพร้อมชาระเบี้ยประกันภัย
เพียง 200 บาท ซึ่งผู้เอาประกันภัยจะได้รับใบรับรองการประกันภัย และได้รับความคุ้มครอง
ทันทีเม่ือซื้อ โดยแบบประกันภัยน้ีมีระยะเวลาคุ้มครอง 1 ปี สามารถต่ออายุปีถัดไปได้ ให้
ความคุ้มครองกรณีเสียชีวิต การสูญเสียมือ เท้า สายตา หรือทุพพลภาพถาวรสิ้นเชิงจาก
อุบัติเหตุหรือถูกฆาตกรรม รวมถึงค่าใช้จ่ายในการจัดงานศพกรณีเสียชีวิตจากการเจ็บป่วย
ผู้สนใจสามารถติดต่อซื้อได้ตามช่องทางการจาหน่ายต่าง ๆ เช่น บริษัทประกันภัยและสาขา

ชุดวิชาการเงินเพอ่ื ชีวติ 3 | หนว่ ยการเรยี นรูท้ ี่ 1 ว่าดว้ ยเรอ่ื งของเงนิ


Click to View FlipBook Version