The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เอกสารฉบับนี้แนะนำการติดตั้งโปรแกรม YENKA CHEMISTRY ตลอดจนการใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปที่เป็นการทดลองทางเคมี และสามารถออกแบบการทดลองทางเคมีเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน เพื่อวางแผนการทดลอง หรือเพื่อหลีกเลี่ยงสารอันตรายต่อสุขภาพได้ด้วยตนเอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rujida suksai :KruNOK, 2019-06-19 17:50:20

คู่มือการใช้โปรแกรมYENKA CHEMISTRY

เอกสารฉบับนี้แนะนำการติดตั้งโปรแกรม YENKA CHEMISTRY ตลอดจนการใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปที่เป็นการทดลองทางเคมี และสามารถออกแบบการทดลองทางเคมีเพื่อตรวจสอบสมมติฐาน เพื่อวางแผนการทดลอง หรือเพื่อหลีกเลี่ยงสารอันตรายต่อสุขภาพได้ด้วยตนเอง

Keywords: virtual chemsitry

คู่มือการใช้โปรแกรมYENKA CHEMISTR

สาหรับนกั เรียนระดบั ชั้นธยมศกึ ษาตอนปลาย

จัดทาโดย
นางสาวรจุ ดิ า สขุ ใส
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
โรงเรียนหาดใหญว่ ิทยาลัยสมบรู ณ์กุลกัยา จงั หวดั สงขลา

ค่มู ือการใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 1

คานา

จากประสบการณ์ในการนาโปรแกรมการทดลองเสมือนจริง หรือ Yenka Chemistry เข้าสู่ห้องเรียน
วิชาเคมีระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเน้นตั้งแต่ปีการศึกษา 2555 มาถึงปัจจุบัน พบว่าโปรแกรมดังกล่าว
สามารถนามาใชส้ ร้างการทดลองในกรณีท่ีมีสารเคมีที่เป็นอันตรายต่อสุขภาพ และสามารถสอนให้นักเรียนใช้
โปรแกรมดังกล่าวเพ่ือวางแผนการทดลองหรือตรวจสอบสมมติฐานการทดลองท่ีนักเรียนสนใจศึกษา เป็นการ
เพิ่มพูนประสบการณ์การเรยี นร้ขู องนักเรียนได้ตามความสนใจโดยการแนะนาให้นักเรียนใช้โปรแกรมดังกล่าว
ไดด้ ้วยตนเองในระดับเบอ้ื งต้นที่นักเรียนจะสามารถเหน็ ผลการทดลองได้ชดั เจน ทาใหน้ ักเรียนสามารถคดิ นอก
กรอบออกแบบการทดลองได้อยา่ งสร้างสรรค์โดยไม่เป็นอนั ตราย

นอกจากการจัดการเรียนการสอนรายวิชาเคมีมีข้อจากัดด้านเวลา ดังน้ันการนาเทคโนโลยีด้าน
คอมพิวเตอร์ท่ีเก่ียวข้องกับการทดลองมาใช้สามารถนามาแก้ปัญหาดังกล่าวได้โดยการส่งเสริมให้นักเรียนใช้
โปรแกรมดงั กลา่ วได้ด้วยตนเอง

เพื่อให้การส่งเสริมการเรียนรกู้ ารใช้โปรแกรม Yenka Chemistry บรรลุวัตถุประสงค์จึงได้จัดทาและ
พัฒนาคู่มือการใช้โปรแกรม Yenka Chemistry ด้วยตนเองสาหรับนักเรียนช้ันมัธยมศกึ ษาตอนปลายมาอย่าง
ต่อเน่ือง ท้ังนี้เร่ิมจากนาข้อมูลเบ้ืองต้นมาจากเอกสารประกอบการฝึกอบรมครูผู้สอนวิทยาศาสตร์ผนวกกับ
ประสบการณ์ในการใช้โปรแกรมดังกล่าว หวังอยา่ งยงิ่ จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้ท่ีตอ้ งการเรยี นรกู้ ารทดลองเคมโี ดย
ใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry

ครรู จุ ดิ า สขุ ใส
9 ตลุ าคม พ.ศ. 2559

คมู่ ือการใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 2

สารบัญ

คำนำ 3
สำรบญั 4
1. การตดิ ตัง้ โปรแกรมด้วยตนเอง……………………………………………………………………………………………… 14
2. ส่วนประกอบของโปรแกรม Yenka Science………………………………………………………………………… 17
3. การใชช้ ุดการทดลองสาเร็จรูป........................................................................................................... 22
4. การออกแบบการทดลองด้วยตนเอง..................................................................................................
เอกสำรอำ้ งอิง............................................................................................................................. ............

คู่มอื การใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 3

การตดิ ตัง้ โปรแกรม Yenka Science มรี ายละเอียดดังน้ี
1. ใชแ้ ผน่ ตดิ ตัง้ ใส่ในเครื่อง แลว้ เลอื ก drive เพอื่ set up โปรแกรม โดย double click ที่ install.exe
แลว้ ดาเนนิ การตามขอ้ ความที่ข้ึนมาเป็นลาดบั คอื

- ตอบ yes เพ่ือรบั ขอ้ ตกลง
- ตอบ ok เพื่อเลอื กทเี่ ก็บ C:\Program Files\Yenka
- จากนน้ั ก็ Activate License “1202-0413-1286” ซึ่งเป็นลขิ สิทธิ์ทที่ างกระทรวงศึกษาธกิ ารได้

จดั ซือ้ เพือ่ นามาแจกจ่ายให้กับโรงเรยี น
ท้ังน้ีสามารถดาวน์โหลดโปรแกรม Yenka Science ไดท้ ลี่ งิ คต์ ่อไปนี้
https://1drv.ms/u/s!Aq0qx9vG0ucEuV_ppYY4xgPAOdV3 หรอื สแกนโค้ดต่อไปนี้

เมื่อลงโปรแกรมสาเร็จจะเกิดไอคอนบนหน้าจอดงั แสดงในภาพที่ 1
ไอคอนโปรแกรม
Yenka

ภาพท่ี 1 ไอคอน Yenka เมอ่ื ลงโปรแกรมสาเรจ็
2. เมื่อตดิ ต้งั โปรแกรมพบว่าตัวอักษรภาษาไทยเปน็ เหลย่ี มใหไ้ ปท่ี control panel >Formats>Format
จากนน้ั เปลี่ยนภาษาให้เป็น English (united kingdom) ดังแสดงในภาพที่ 2 หรอื อีกวธิ ีคอื พิมพ์ข้อความ
ภาษาไทยใน Microsoft word จากน้นั copy มาใสใ่ นบริเวณทต่ี อ้ งการก็ได้เชน่ กนั

คู่มอื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 4

ภาพท่ี 2 แสดงการแก้ปญั หาฟอนต์ภาษาไทย

2. ส่วนประกอบของโปรแกรม Yenka Science

เม่อื เปิดโปรแกรม Yenka จะพบว่าหนา้ จอหลักประกอบด้วย ดา้ นคอมพวิ เตอร์ ดา้ นคณิตศาสตร์
ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และด้านเทคโนโลยี แตใ่ นที่น่จี ะเนน้ เฉพาะด้านวทิ ยาศาสตร์(Science) สาขาเคมี ซงึ่ จะ
ประกอบด้วย เคมีอนินทรยี ์ (Inorganic Chemistry) และไฟฟ้าเคมี (Electrochemistry) ดังแสดงในภาพที่ 3
ในคมู่ ือเลม่ น้ีจะเน้นการใช้โปรแกรมท่เี ป็นเคมีอนนิ ทรยี ์เป็นหลัก

เคมอี นินทรยี ์
ใชบ้ ่อยท่สี ดุ
ภาพที่ 3 แสดงรายละเอยี ดโปรแกรม Yenka Science

คูม่ ือการใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 5

เมอ่ื เปิดท่ี Inorganic chemistry จะพบสว่ นประกอบของโปรแกรมทสี่ าคญั ดงั นี้

ภาพที่ 4 แสดงส่วนประกอบทสี่ าคัญของ Yenka chemistry
โดยถา้ เลือก
1. New จะเปน็ การสรา้ งการทดลองเสมือนดว้ ยตนเอง
2. Open – online ใช้เพอื่ เปดิ การทดลองสาเรจ็ รูปโดยเช่ือมต่อกบั ระบบอินเตอรเ์ น็ต ทาใหพ้ บการทดลอง
สาเรจ็ รูปจานวนมากมาก
3. Open – local ใชเ้ พือ่ เปิดการทดลองสาเร็จรปู ที่มากบั โปรแกรม ซึง่ มีการจาแนกหมวดหมู่ดงั แสดงในภาพ
ท่ี 3 อาทิเชน่ getting Started (การแนะนาเบ้ืองต้น) การจาแนกวัสดุ(Classifying Materials) หรอื สมการ
เคมพี ร้อมกับปริมาณสาร (Equations and Amounts) เปน็ ต้น ตัวอยา่ งเชน่ ภาพท่ี 5 และภาพท่ี 6
ตามลาดบั

คู่มอื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 6

ภาพที่ 5 แสดงการเลอื กหัวข้อการทดลองที่สนใจ
ภาพท่ี 6 แสดงชดุ การทดลองเสมือนสาเร็จรปู

คมู่ อื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 7

ในการทางานของโปรแกรม Yenka Chemistry จะประกอบด้วย 3 ส่วนสาคัญดงั แสดงในภาพที่ 7
คอื
1. แถบอุปกรณแ์ ละแบบจาลอง
2. พนื้ ทก่ี ารทางาน
3. แถบเมนู

สว่ นที่ 1 ส่วนท่ี 2
แถบอุปกรณแ์ ละ พื้นทีก่ ารทางาน

แบบจาลอง ส่วนที่ 3
แถบเมนู

ภาพท่ี 7 แสดงส่วนประกอบหลักของโปรแกรม Yenka Chemistry

คมู่ ือการใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 8

ส่วนท่ี 1 แถบอปุ กรณแ์ ละแบบจาลอง
ประกอบดว้ ยสารเคมี (Chemical) อุปกรณท์ างวิทยาศาสตร์ (Equipment) เครอ่ื งแก้ว

(Glassware) อนิ ดิเคเตอร์ (Indicator) การนาเสนอ (Presentation) ดังแสดงในภาพที่ 8

ภาพที่ 8 แสดงแถบอปุ กรณ์ตา่ งๆทจ่ี าเปน็ ในการทดลอง
ในกลุ่มสารเคมีจะมีเมนยู อ่ ยใหเ้ ลอื กอีกหลายหลายดงั แสดงในภาพโดยจาแนกเปน็ กลุม่ สารเคมีไดแ้ ก่ กลุ่มโลหะ
กลุม่ กรด กลุ่มเบส กล่มุ ออกไซด์ กลมุ่ เฮไบด์ กล่มุ ซัลไฟด์ กลุ่มคารบ์ อเนต กลุ่มไนเตรท กลมุ่ ซัลเฟต กลุม่
เกลอื ต่าง กลุม่ เบด็ เตล็ด และแก๊ส

โลหะ
กรด
เบส
ออกไซด์
เฮไลด์
คาร์บอเนต
ไนเตรท
ซัลเฟต
เกลือต่างๆ
สารเคมอี ื่นๆ
แก๊ส
ภาพท่ี 9 แสดงแถบกล่มุ สารเคมี

คมู่ อื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 9

การตั้งคา่ ตา่ งๆกลุ่มสารเคมีได้แก่ การปรับจานวนท่ตี ้องการใช้(กรัม) ลกั ษณะเน้ือสาร(หยาบ ละเอยี ด) หรือ
ความเข้มข้นท่ตี ้องการใช้(โมล/ลติ ร) ตวั อย่างท่ีแสดงในภาพที่ 10

วางcursor ในตาแหน่งท่ี
ตอ้ งการเปลยี่ นตวั เลขพมิ พ์
ตวั เลขใหม่ หรอื กดเลือกที่
เครือ่ งหมายลกู ศรชล้ี ง

ภาพที่ 10 แสดงการปรับปริมาณสาร ลักษณะเน้ือสาร ความเขม้ ข้นและปริมาตรท่ีต้องการใช้
การใช้เครือ่ งมือและเคร่ืองแก้วมีลกั ษณะการใชแ้ บบเดียวกันคอื ใช้การ drag ลากมายงั ตาแหน่งท่ี
ตอ้ งการวาง พร้อมกับมแี ถบสไลดเ์ ลื่อนเพือ่ ควบคมุ การทางานเครอื่ งหมือนั่นๆ หรือแถบเครือ่ งมือ ดงั แสดงใน
ภาพท่ี 11

ภาพท่ี 11 แสดงการใช้แถบเครือ่ งมือและเคร่ืองแก้ว

ค่มู ือการใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 10

ตัวอยา่ งการใชป้ ่มุ ตา่ งๆ ในการควบคุมการทางานของเคร่อื งแก้ว และเคร่ืองมือ ดังแสดงในภาพที่ 12

แถบดา้ นขา้ งทใี่ ช้ควบคมุ การทางาน
ลองเลอื่ น mouse ไปวางที่
สัญลักษณจะบอกหน้าท่ีการทางาน
เช่น ใหร้ ายละเอียดปฏิกิริยา มุมมอง
อะตอม การทาความสะอาดเครื่อง
แก้ว และการติดป้าย

สามารถ
เล่อื นขน้ึ
และลงเพื่อ
ปรบั
ปรมิ าณได้

ภาพท่ี 12 แสดงการควบคุมการทางานของเครอื่ งมือ เคร่ืองแก้ว และสารเคมี
หากไม่ต้องการเครื่องมือ เครือ่ งแกว้ สารเคมีหรอื วตั ถุใดให้ ให้คลิกล้อมรอบวัตถหุ รอื บริเวณที่ไม่
ต้องการจากนัน้ คลิกmouse ดา้ นขวา กดปุ่ม delete ดงั แสดงในภาพท่ี 13

ภาพที่ 13 แสดงวธิ กี ารลบวตั ถุหรอื บรเิ วณท่ีไม่ต้องการ

คู่มอื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 11

การใชง้ านปุ่มตา่ งๆ ของ Presentation ดังแสดงในภาพท่ี 14 โดยลากวตั ถุดงั กล่าวไปยังบริเวณที่
ตอ้ งการ

ภาพที่ 14 แสดงอุปกรณ์ในกลมุ่ นาเสนอ
ตวั อย่างการใช้กราฟเพ่ือแสดงความสัมพันธ์ของการทดลอง นากราฟมาวางบนพืน้ ท่ีต้องการจากนน้ั
กาหนดเป้าหมายโดยใช้การคลิกกาหนดกลุ่มเปา้ หมาย และมกี ารต้ังคา่ ได้ทง้ั แกน Y และแกน X ดงั แสดงใน
ภาพที่ 15 และ 16 ตามลาดับ

คู่มือการใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 12

ภาพท่ี 15 การเลือกสมบัตทิ ี่จะนาไปเขียนกราฟ
ภาพท่ี 16 การเลือกสมบัตทิ ี่จะใชเ้ ปน็ คา่ ในแกน Y และ X

คมู่ อื การใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 13

ตวั อย่างการนาภาพมาใชใ้ นการทางานดงั แสดงในภาพที่ 17 ลาก Icon รูปภาพมาวางในพนื้ ทท่ี ่ี
ต้องการวางภาพ จากน้นั คลกิ mouse ด้านขวาจะมี Key properties เลือกภาพท่จี ะนามาใช้

ภาพท่ี 17 แสดงการนาภาพมาวางทีพ่ น้ื ที่ต้องการพร้อมกับการเลือกภาพที่จะนามาใช้

คู่มอื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 14

คลกิ เลอื ก
ภาพท่ีนี่

ภาพที่ 18 แสดงผลการเลอื กภาพ และการคลกิ ขวาเพ่ือจัดการกับภาพดงั กล่าว
จะมีป่มุ เคร่อื งมืออีกหลากหลายใหล้ องศึกษาด้วยตนเองวิธีการคือคลกิ ด้านขวาจะทาให้พบแถบ
เคร่ืองมอื ท่ีบรหิ ารจัดการอุปกรณน์ ัน้ ได้
สว่ นที่ 2. พนื้ ที่การทางาน

พื้นทใี่ นการทางานเปน็ สีขาวทกุ คร้งั หากต้องการเปล่ยี นเพอ่ื ความสวยงามให้ไปที่
Properties>Space Appearance> Background ดังแสดงในภาพท่ี 19

คลิกตรงน้เี พอื่ เลือก
กาหนดสีพน้ื หลังไดต้ าม
ความพึงพอใจตลอดจน
การนาภาพมาเป็นพน้ื
หลงั

ภาพท่ี 19 แสดงการปรับรปู แบบพืน้ หลัง

คู่มอื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 15

สว่ นท่ี 3 แถบเมนู เป็นแถบคาส่ังต่างๆ ลองศกึ ษารายละเอียดจากภาพที่ 20

คาสั่งแก้ไขต่างๆ ขณะ การเปิดใช้
สรา้ งแบบจาลองหรือ ตารางธาตุ
การทดลอง
กาหนดเวลาในการ
ใช้เปดิ ปดิ แถบ ทดลองให้ช้าเรว็ ตาม
อปุ กรณ์ในส่วนท่ี 1 ตอ้ งการ

การบนั ทึกข้อมูล การเปิดปดิ
แบบเตม็ จอ
การลบวตั ถุ

ภาพที่ 20 แสดงแถบเมนูด้านล่างเพ่ือควบคุมโปรแกรม

คมู่ อื การใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 16

3. การใชช้ ดุ การทดลองสาเรจ็ รูป

แบบจาลองสาเร็จรูปท่สี ามารถนาเข้าไดท้ ั้งแบบออนไลน์ (Online)และแบบติดมากบั โปรแกรม
(Local) มีรายละเอียดดังน้ี

อตั ราการเกิดปฏิกิริยา
สาหรับม.5

สารละลายกรด-เบส
สาหรับม.5
ตารางธาตแุ ละสมบัตขิ อง
ธาตุตางๆ
ภาพที่ 21 แสดงแบบจาลองสาเรจ็ รปู
ในสว่ นเคมีไฟฟา้ มแี บบจาลองสาเรจ็ รูปเพยี ง 2 เร่ืองคอื
1. การใชง้ านเบ้ืองตน้
2. การทดลองเก่ยี วกบั ไฟฟ้าเคมีพน้ื ฐานเชน่ Electrolysis Electroplating หรือ Batteries

คู่มอื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 17

4. การออกแบบการทดลองด้วยตนเอง

กอ่ นที่นักเรียนจะลงมอื ออกแบบการทดลองควรวางกรอบการออกแบบการทดลองในประเดน็ ต่อไปน้ี

1. ชอ่ื การทดลอง “ควรใชภ้ าษาส้นั ๆ กระชับ และสรา้ งสรรค์”

2. บอกจดุ ประสงคข์ องการทดลองเสมือนชุดนัน้ ๆ ว่ามเี ปา้ หมายอย่างไร เชน่ เพื่อศกึ ษาลักษณะปฏกิ ริ ยิ า

ระหว่างโลหะหมู่ 1 กับน้า

3. หาขอ้ มลู สารเคมีตา่ งๆ และอปุ กรณ์ท่ีจะใช้

4. ควรมีคาถามประกอบการออกแบบการทดลองเพื่อทาให้ผู้ใชโ้ ปรแกรมไดม้ ีโอกาสตรวจสอบทบทวนความรู้

ของตนเองหรือผลการทดลองของตนเอง

ลองศกึ ษาจากภาพท่ี - 1. ใส่ชอื่ การทดลอง

2. ลากอปุ กรณส์ ารเคมที ่ี 3. กาหนดส่วนแสดงผลในทีน่ ต่ี อ้ ง
ตอ้ งใช้วางในพน้ื ที่ การศึกษาปฏกิ ริ ยิ าจงึ แสดงปฏกิ ิรยิ าเคมี
เหมาะสม

5. สรา้ งกรอบ
โต้ตอบกับผู้ใช้

4. ควรเพ่ิมปุ่มหยดุ หรือ
โหลดอีกครง้ั

ภาพท่ี 22 แสดงการข้นั ตอนการทางานการสร้างแบบจาลองหรือการทดลองเสมอื น

คมู่ ือการใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 18

6. บันทกึ ขอ้ มูลต้งั ชอ่ื ไฟล์
ตามความเหมาะสม

ภาพท่ี 23 แสดงการบันทึกและจัดเกบ็ ข้อมูลอย่างเปน็ ระบบ

คู่มือการใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 19

7. การเพ่มิ กรอบการ
โตต้ อบ สังเกตจากกรอบ
ด้านลา่ งจะมีจานวนเพม่ิ ขนึ้
เชน่ 4/4

ภาพที่ 24 แสดงการเพิ่มกรอบการโต้ตอบในการสรา้ งชดุ การทดลองเสมือน

คูม่ อื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 20

8. เมอ่ื เพ่มิ ขอ้ มลู จนครบ
ทกุ กรอบให้มาทก่ี รอบที่1/
เสมอจากนนั้ ส่งั บนั ทกึ แลว้
กด view เพอื่ แสดงผล

ภาพที่ 25 แสดงการบันทึกงานอย่างสมบรู ณ์และการดผู ลงานเพอื่ ตรวจสอบความเรยี บร้อยสมบูรณ์

คู่มอื การใชโ้ ปรแกรม Yenka Chemistry 21

9. ผลการแสดงหลังจาก
กด view จะเร่ิมแสดงทลี ะ
ขั้นตอนตามจานวนกรอบที่
เรากาหนดไว้

ภาพท่ี 26 แสดงผลการ view ผลงานจากกรอบเร่มิ ต้นถงึ กรอบสดุ ท้ายโดยการปฏบิ ตั คิ าชแ้ี จงในแต่ละกรอบ

คูม่ อื การใช้โปรแกรม Yenka Chemistry 22

เอเกอสกสาารรออ้า้างงออิง ิง

เอเชีย่ น ไอ.ท.ี จากัด, บริษัท. คมู่ อื กำรใช้โปรแกรม Yenka Science (Chemistry) กรุงเทพมหานคร :
ไม่ปรากฏสานกั พิมพ์, 2554.


Click to View FlipBook Version