The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการกีดกันเพศทางเลือก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by tanyapoom007, 2023-01-28 10:31:33

การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการกีดกันเพศทางเลือก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปัญหาการกีดกันเพศทางเลือก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

รายงานการศึกษาคนควา เรื่อง การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการกีดกันเพศทางเลือก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จัดทำโดย เด็กชายพิชชากร บัวเงิน ชั้น ม.111 เลขที่ 1 เด็กชายธัญภูมิพันธแกน ชั้น ม.111 เลขที่ 17 เด็กชายอนพัทยกิจสุนทรศักดิ์ ชั้น ม.111 เลขที่ 20 รายงานนี้เปนสวนหนึ่งในรายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ (I21202) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


รายงานการศึกษาคนควา เรื่อง การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการกีดกันเพศทางเลือก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จัดทำโดย เด็กชายพิชชากร บัวเงิน ชั้น ม.107 เลขที่ 1 เด็กชายธัญภูมิพันธแกน ชั้น ม.107 เลขที่ 17 เด็กชายอนพัทยกิจสุนทรศักดิ์ ชั้น ม.107 เลขที่ 20 เสนอ นายสุวิทย งามผักแวน รายงานนี้เปนสวนหนึ่งในรายวิชาการสื่อสารและการนำเสนอ (I21202) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


ก งานรายการศึกษาคนควา เรื่อง การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการกีดกันทางเพศ ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ของ เด็กชายพิชชากร บัวเงิน ชั้น ม.111 เลขที่ 1 เด็กชายธัญภูมิ พันธแกน ชั้น ม.111 เลขที่ 17 เด็กชายอนพัทย กิจสุนทรศักดิ์ ชั้น ม.107 เลขที่ 3 ...................................................... ครูประจำรายวิชา (นายสุวิทย งามผักแวน) ........................................................ ครูที่ปรึกษา (นางสาวจิตรลดา รุงเรือง) ........................................................ ครูที่ปรึกษา (นายวีรชัย คำสมหมาย)


ข พิชชากร บัวเงิน, ธัญภูมิ พันธแกน และอนพัทย กิจสุทรศักดิ์. (2565). การศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับ ปญหาการกีดกันทางเพศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย. รายงานการศึกษาคนควา (รายวิชา I21202 การสื่อสารและนำ เสนอ). กรุงเทพฯ : โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย. บทคัดยอ การศึกษาคนควาในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความหมายของเพศทางเลือกและประเภทของ เพศทางเลือก ประเภทของการเลือกปฏิบัติตอเพศทางเลือกวิธีการรับมือ การกีดกันทางเพศในที่ทำงาน สิทธิทางเพศ าการปฏิบัติตอบุคคลที่เปนเพศทางเลือก และความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการกีดกันเพศทาง เลือกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควา คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2565 จำนวน 130 คน โดยใชวิธีการสุมแบบโควตา จาก 13 หอง หองละ 10 คน เครื่องมือที่ใชในการรวบรวมขอมูลคือแบบสอบถามการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการ กีดกันเพศทางเลือก ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย วิเคราะหขอมูลโดยการหาคารอยละ คาเฉลี่ย ประมาณคาและการจัดอันดับ ผลการศึกษาคนควาพบวา หองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 8.62 เปนหอง 101,102,103,105,109,111,112,113 รองลงมา รอยละ 7.75 เปนหอง 106,110 รอยละ 6.03 เปนหอง 104 และรอยละ 107,108 ความหมายของสิทธิทางเพศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 35.34 คือ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ ที่จะไมถูกแบงแยกจากเพ ศอื่นๆ โดยความรุณแรง รองลงมา รอยละ 55.17 คือ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ โดยมีสิทธิขั้น พื้นฐานเทียบเทากับเพศอื่นๆ และรอยละ 9.49 คือ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ โดยมีสิทธิพิเศษ บางขอที่ไมเหมือนกับเพศอื่น ๆ คุณหรือคนที่คุณรูจักที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 28.70 คือ Gay ชายรักชาย รองลงมา รอยละ 23.92 คือ Bisexual รักไดทั้งชายและหญิง รอยละ 12.44 คือ Transgender กลุมคนขามเพศ รอยละ 11.48 คือ Lesbian หญิงรักหญิง,Queer บุคคลที่มีความรักโดยไรกฎเกณฑ (ทางเพศ) และ รอยละ 7.65 คือ อื่น ๆ


ค การเลือกปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 39.24 คือ การไมยอมรับกลุมเพศทางเลือก รองลงมา รอยละ 20.88 คือ การไมใหความเชื่อถือ,การไมเคารพตอผูที่เปนเพศทางเลือก รอยละ 10.12 คือ การใหคา จางที่ไมเทากัน และ รอยละ 8.86 คือ อื่น ๆ การรับมือการกีดกันทางเพศในองคกรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 25.86 คือ การเลือกใชงานคนหรือจางงานโดยไมแบงแยกเพศสภาพ รองลงมา รอยละ 20.48 คือ ปลอยใหผูที่เปนเพศทางเลือกแตงกายตามเพศสภาพของตน,ภายในองคกร ไมมีการใชวาจาเหยียดเพศ รอยละ 17.56 คือ มีการจัดแบงพื้นที่ที่เหมาะสม และ รอยละ 15.62 คือ การคัดเลือกใหเปนตำแหนงตาง ๆ จะไมมีการแบงแยกเพศ การจัดลำดับวิธีการปฎิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกในครอบครัวของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย อันดับที่ 1 คือ เคารพสิทธิสวนบุคคล (คาน้ำหนัก = 261) อันดับท ี่ 2 คือ ไมเปรียบเทียบเรื่องเพศของสมาชิกกับใคร (คาน้ำหนัก = 250) อันดับที่ 3 คือ ใสใจความรูสึก ให ความสำคัญ (คาน้ำหนัก = 244) อันดับที่ 4 คือ ไมตัดสินเพศวิถีจากรูปลักษนภายนอก (คาน้ำหนัก = 159) อันดับ 5 คือ เพิ่มการสื่อสารในเชิงบวก (คาน้ำหนัก = 119) อันดับ 6 คือ สังเกตพฤติกรรม (คาน้ำหนัก = 110) และ อันดับ 7 คือ ปฏิบัติตอบุคคลในครอบครัว โดยใหเกียรติเพบุคคลนั้นเลือก (คาน้ำหนัก = 86) ความคิดเห็นตอระบบขนสงสาธารณะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย ระดับมาก คือ คุณคิดวาการกีดกันเพศทางเลือก มีผลกระทบตอคุณมากนอยเพียงใด ( = 3.50) คุณมีวิธีปองกันการถูกกีดกันทางเพศ มากนอยเพียงใด ( = 3.61) คุณคิดวาปญหารกา รกีดกันเพศทางเลือก ควรไดรับแกไขมากนอยเพียงใด ( = 3.78)คุณสามารถรับมือตอการถูกกีดกัน ทางเพศ มากนอยเพียงใด ( = 3.78) ระดับปานกลาง คือ คุณเคยถูกกีดกันทางเพศมากนอยเพียงใด ( = 2.74) จากสมมติฐานที่ตั้งวานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยคิดวาการ ปลอยใหผูที่เปนเพศทางเลือกแตงกายตามเพศสภาพของตน เปนการรับมือการกีดกันทางเพศในที่ทำงาน หรือองคกรมากที่สุด ไมเปนไปตามสมมติฐานของการศึกษาคนควา ตามสรุปขอมูลดังนี้ การรับมือการ กีดกันทางเพศในองคกรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 25.86 คือ การเลือกใชงานคนหรือจางงานโดยไมแบงแยกเพศสภาพ รองลงมา รอยละ 20.48 คือ ปลอยใหผูที่เปนเพศทางเลือกแตงกายตามเพศสภาพของตน,ภายในองคกรไมมีการใชวาจาเหยียดเพศ รอยละ 17.56 คือ มีการจัดแบงพื้นที่ที่เหมาะสม และ รอยละ 15.62 คือ การคัดเลือกใหเปนตำแหนง ตาง ๆ จะไมมีการแบงแยกเพศ


ง ประกาศคุณูปการ รายงานการศึกษาคนควาฉบับนี้สำเร็จอยางสมบูรณไดดวยความชวยเหลืออยางดียิ่งจาก ครูสุวิทยงามผักแวน ท ี่ไดกรุณาใหคำแนะนำปรึกษา ขอมูลตางๆและขอกราบขอบพระคุณเปนอยางสูงไว ณ โอกาสน ี้ ขอขอบคุณผูอำนวยการโรงเรียนจิณณภัทร พิบูลวิทิตธำรง ผูอำนวยการโรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัยท ี่ใหความอนุเคราะหความอำนวยความสะดวกและใหความรวมมือเปนอยางดีในการทดลองและ เก็บรวบรวมขอมูล คุณคาและประโยชนอันพึงจากการศึกษาวิจัยครั้งน ี้ ผูวิจัยขอนอมบูชาพระคุณบิดา มารดาและ บูรพาจารยทุกครั้งที่ไดอบรมสั่งสอนวิชาความรูและใหความเมตตาแกผูวิจัยมาโดยตลาดเปนกำลังใจสำคัญ ที่ทำใหการวิจันฉบับนี้สำเร็จลุลวงไดดวยดี คณะผูศึกษาคนควา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 111


ฉ สารบัญตาราง ตารางท ี่ หนา ตาราง 1 หองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 10 ตาราง 2 ความหมายของสิทธิทางเพศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 11 ตาราง 3 คุณหรือคนที่คุณรูจักที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 11 ตาราง 4 การเลือกปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 12 ตาราง 5 การรับมือการกีดกันทางเพศในองคกรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 12 ตาราง 6 การจัดลำดับวิธีการปฎิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกในครอบครัวขอ งนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 13 ตาราง 7 \ความคิดเห็นตอปญหาการกีดกันเพศทางเลือกของนักเรียน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย 14


1 บทที่ 1 บทนำ ความเปนมาและความสำคัญ เนื่องจากในสภาพสังคมปจจุบัน มีกลุมเพศทางเลือกเกิดขึ้นมามากมาย ซึ่งเปนเรื่องใหมที่เกิด ขึ้นไมนานในสังคมไทย จึงทำใหมีกลุมคนรุนเกา ยึดวัฒนธรรมเกา แสดงออกถึงความรังเกียจ เกลียด ชัง กีดกัน กลุมเพศทางเลือก ทำใหกลุมเพศทางเลือกเกิดความหวาดกลัว เสียเปรียบ ไมกลาแสดงตน จากสภาพปญหาขางตน จึงทำใหปญหานี้มีความสำคัญ เพื่อทำใหคนรุนเกา เขาใจกลุมคน เพศทางเลือกมากขึ้น ลดความรุนแรงที่จะเกิดขึ้น และทำใหคนในสังคมสามัคคีกันและอยูรวมกันได อยางมีความสุข จากปญหาและความสำคัญขางตน กลุมผูศึกษาจึงจะทำการศึกษา คนควา ปญหานี้ โดยการ ใชแบบสอบถามเรื่องความคิดเห็นเกี่ยวกับ การกีดกันเพศทางเลือกของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จำนวน 130 คน วัตถุประสงคของการวิจัย ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ไดตั้งความมุงหมายไวดังน ี้ 1. เพื่อศึกษาความหมายของเพศทางเลือกและประเภทของเพศทางเลือก 2. เพื่อศึกษาประเภทของการเลือกปฏิบัติตอเพศทางเลือก 3. เพื่อศึกษาวิธีการรับมือ การกีดกันทางเพศในท ี่ ทำงาน 4. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสิทธิทางเพศ 5. เพื่อศึกษาการปฏิบัติตอบุคคลที่เปนเพศทางเลือก


2 6. เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการกีดกันเพศทางเลือกของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ขอบเขตของการศึกษาคนควา ประชากรที่ใชในการศึกษาคนควา - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จำนวน 493 คน กลุมตัวอยางที่ใชในการศึกษาคนควา - นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จำนวน 130 คน นิยามศัพทเฉพาะ 1. เพศทางเลือก หมายถึง กลุมคนกลุมหนึ่ง ซึ่งมีอัตลักษณทางเพศหรือรสนิยมทาง เพศที่แตกตางไปจากคนสวนใหญในสังคม 2. การกีดกัน หมายถึง กระบวนการซึ่งปจเจกบุคคลหรือทั้งชุมชนถูกสกัดกั้น ซึ่งสิทธิ โอกาสและทรัพยากรตาง ๆ หรือเรียกวา “ผูที่ถูกสังคมปฏิเสธ” สมมติฐานของการศึกษาคนควา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 คิดวาการปลอยใหผูที่เปนเพศทางเลือกแตงกายตามเพศ สภาพของตน เปนการรับมือการกีดกันทางเพศในที่ทำงานหรือองคกรมากที่สุด ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ 1. ไดทราบถึงความหมายของเพศทางเลือก


3 2. ไดตระหนักถึงปญหาการกีดกันเพศทางเลือก 3. ไดทราบถึงการรับมือตอการกีดกันเพศทางเลือก 4. ไดทราบถึงสิทธิเพศทางเลือก 5. ไดทราบถึงวิธีปฏิบัติตอบุคคลที่เปนเพศทางเลือก 6. ไดทราบถึงความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการกีดกันเพศทางเลือกของนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย


บทที่ 2 เอกสารและวรรณกรรมที่เกี่ยวของ ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ผูศึกษาคนควาไดศึกษาเอกสารและวรรณกรรมเกี่ยวของ ไดนำเสนอ ตามหัวขอตอไปน ี้ 1. สิทธิทางเพศ 2. การเลือกปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกในองคกร 3. การรับมือการกีดกันเพศทางเลือกในองคกร 4. เพศทางเลือก คืออะไร 5. การปฏิบัติตอบุคคลที่เปนเพศทางเลือก 6. การกีดกันเพศทางเลือก คืออะไร 1. สิทธิทางเพศ สิทธิทางเพศหมายถึงสิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆที่ปราศจากความรุนแรงการเลือกปฏิบัติ และการบังคับดวยกำลังโดยมีพื้นฐานบนความเทาเทียมความเคารพและเปนธรรม โดย HERA เสนอวา สิทธิทางเพศครอบคลุมสิ่งตางๆ ดังตอไปนี้ (เจษฎา นกนอย. 2554 : 30) 1.1 สิทธิในความสุขความฝนและจินตนาการตางๆ 1.2 สิทธิที่จะสำรวจเพศวิถีของตนเองที่เปนอิสระจากความหวาดกลัวและอุปสรรคทั้งปวงที่อาจ เปนตัวขัดขวางการแสดงออกทางเพศอยางเสรี 1.3 สิทธิที่จะใชชีวิตดวยเพศวิถี 11 ที่ปราศจากการเลือกปฏิบัติการบังคับความรุนแรงภายใต ความเทาเทียมความเคารพและเปนธรรม 1.4 สิทธิที่จะเลือกคูสัมพันธทางเพศโดยปราศจากการเลือกปฏิบัติ 1.5 สิทธิที่จะเรียกวามีเพศสัมพันธหรือไม 1.6สิทธิที่จะแสดงออกถึงรสนิยมทางเพศอยางอิสระ 1.7 สิทธิที่จะแสดงออกถึงประเทศวิถีที่เปนอิสระจากการมีหรือไมมีลูก 1.8 สิทธิที่จะไดมาซึ่งสุขภาพทางเพศที่ดี 1.9 สิทธิที่จะยืนยันและมีเพศสัมพันธที่ปลอดภัยเพื่อเปนการปองกันการตั้งครรภที่ไมพึงประสงค และการแพรโรคติดตอทางเพศสัมพันธและ HIV หรือเอดส


4 2. การเลือกปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกในองคกร การเลือกปฏิบัติ เปนผลมาจากการตีตราผานการเลือกปฏิบัติในรูปแบบตางๆ ซึ่งทำใหคนที่ถูกคดี ตามองวาตัวเขาไมใชมนุษยคนหนึ่ง และบอยครั้งที่การเลือกปฏิบัติมีความหมายรวมถึงการจำกัดพื้นท ี่ สาธารณะและปฏิกิริยาลงโทษจากสังคม (เจษฎา นกนอย. 2554 : 50) อันเนื่องมาจากการเลือกปฏิบัติ ตอผูมีอัตลักษณหลากหลายทางเพศในสถานที่ทำงาน เชน การใหคาจางที่ไมเทากัน การไมไดรับความเชื่อ ถือ การยอมรับ หรือเคารพ ทำใหผูมีอัตลักษณหลากหลายทางเพศกลัววาการเปนผูมีอัตลักษณหลาก หลายทางเพศจะถูกเปดเผย พวกเขาจึงเลือกที่จะแสดงบทบาทเปนชายหรือหญิง โดยกลาววา พวกเขาเชื่อ วาการเลือกปฏิบัติจะเกิดขึ้นเมื่อการเปนผูมีอัตลักษณทางเพศจะถูกคนพบโดยฝายบริหารขององคกร ซึ่ง งานวิจัยชี้วาความกลัววาจะถูกเลือกปฏิบัติเปนปจจัยสำคัญที่ทำให พวกเขาตองปดบังการเปนผูมีอัต ลักษณหลากหลายทางเพศเอาไวไมใหคนในที่ทำงานรับทราบ 3. การรับมือการกีดกันทางเพศในสถานที่ทำงาน แมปจจุบันทัศนคติในเรื่องการกีดกันทางเพศจะเปลี่ยนไปมากแตก็ยังพบเห็นไดในปจจุบันเราจึง ควรรูวิธีการเอาตัวรอด ดังนี้ (JobsDB by SEEK. 2564 : ออนไลน) 3.1 ควรใหมีพนักงานแตงกายตามอัตลักษณทางเพศสภาพของบุคคลนั้นไมควรกำหนดแนว ปฏิบัติใดๆเกี่ยวกับการแตงกายของพนักงานที่เปนการเลือกปฏิบัติและไมเปนธรรมตอพนักงานที่อัตลักษณ ไมตรงกับเพศกำเนิด 3.2 มีการจัดแบงพื้นที่ที่เหมาะสมควรมีการแบงแยกหองน้ำชายหองน้ำหญิงในจำนวนที่เพียงพอ 3.3 การประกาศรับสมัครงานขององคกรสามารถระบุคุณสมบัติเฉพาะดานวุฒิการศึกษาหรือ ความสามารถเฉพาะที่สอดคลองกับลักษณะงานไดแตไมควรกำหนดเพศยกเวนลักษณะงานที่จำเปนตอง กำหนด 3.4 ภายในองคกรไมควรมีการใชวาจาที่แยกเพศรวมไปถึงการแสดงกิริยาลอเลียนทางเพศก็ไม ควรทำ 3.5 การเลื่อนตำแหนงตางๆ ควรสงเสริมใหคัดสรรหาบุคคลที่เหมาะสมตอการดำรงตำแหนงไม วาจะเปนเพศชายเพศหญิงหรือเพศทางเลือก อยางเทาเทียมกัน


5 4. เพศทางเลือก คืออะไร เพศทางเลือกคือกลุมคนกลุมหนึ่งซึ่งมีอัตลักษณทางเพศหรือทศนิยมทางเพศที่แตกตางไปจากคน สวนใหญในสังคม จำแนกไดดังนี้ (BANKKOK HOSPITAL. 2565 : ออนไลน) 4.1 กลุมที่มีความหลากหลาย ดานอัตลักษณทางเพศคนที่มีเพศที่ปรากฏทางรางกายกับจิตใจไม ตรงกัน 4.2 กลุมที่มีความหลากหลาย ดานรสนิยมทางเพศคนเราแตละคนสามารถมีความรูสึกรักรูสึก ดึงดูดหรือมีอารมณทางเพศตอกันในลักษณะที่หลากหลายได มีทั้งรักเพศตรงขาม รักเพศเดียวกัน รักทั้ง สองเพศ หรือไมมีความรูสึกทางเพศเลยก็ได 4.3 กลุมที่มีความหลากหลาย ดานการแสดงออกทางเพศเปนการแสดงออกภายนอกของแตละ บุคคล ซึ่งอาจถูกตีความตามบริบทของสังคมนั้นๆ วาเปนเพศนั้นเพศน ี้ ทั้งหมดที่กลาวมาสามารถ เรียกไดวา กลุม LGBTQ+ แปลวา - L Lesbian หญิงรักหญิง - G Gay ชายรักชาย - B Bisexsual รักไดทั้งชายและหญิง - T Transgender กลุมคนขามเพศ - Q Queer บุคคลที่มีความรักโดยไรกฎเกณฑ (ทางเพศ) - + กลุมอื่นๆ 5.การปฏิบัติตอบุคคลที่เปนเพศทางเลือก ปจจุบันบุคคลผูมีความหลากหลายทางเพศไดรับการยอมรับและโอบรับโดยสังคม ดังนั้นบุคคลใน สังคมจึงควรใหความเคารพ และปฏิบัติตอผูมีความหลากหลายทางเพศบนพื้นฐานของความเทาเทียม และ อีกหนึ่งแรงผลักดัน คือ การยอมรับจากสังคมรอบตัว และสมาชิกครอบครัวจึงควรเรียนรูแนวทางปฏิบัติ ดังนี้(PRINCIPAL HEALTHCARE Company. 2565 : ออนไลน) 5.1 ไมเปรียบเทียบเรื่องเพศของสมาชิกในครอบครัวกับใครและควรสงเสริมการรูคุณคาในตนเอง 5.2 เพิ่มการสื่อสารในเชิงบวกพูดคุยเปดโอกาสใหสมาชิกในครอบครัวไดบอกเรื่องราว 5.3 ใสใจความรูสึกใหความสำคัญและชื่นชมในสิ่งที่สมาชิกในครอบครัวทำได 5.4 สังเกตพฤติกรรมโดยเฉพาะในกลุมวัยรุนเนื่องจากอาจตองเผชิญความเปลี่ยนแปลงตางๆ 5.5 ปฏิบัติตอบุคคลในครอบครัวโดยใหเกียรติความหลากหลายทางเพศ "ที่บุคคลนั้นเลือก" 5.6 เคารพสิทธิสวนบุคคลไมถามถึงรสนิยมทางเพศของสมาชิกในครอบครัว 5.7 ไมตัดสินเพศวิถีจากรูปลักษณภายนอกและการแสดงออกของสมาชิกในครอบครัว


6 6. การกีดกันเพศทางเลือก คืออะไร การกีดกันทางสังคมเปนกระบวนการซึ่งปจเจกบุคคลหรือทั้งชุมชนถูกสกัดกัน(หรือปฏิบัติการเขา ถึงอยางเต็มที่)โอกาสและทรัพยากรตางๆอาจเรียกวา"ผูที่ถูกสังคมปฏิเสธ" (เทนเซ็น(ประเทศไทย)จำกัด. 2565 : ออนไลน) ซึ่งถารวมกับเพศทางเลือกที่หมายถึงกลุมคนกลุมหนึ่งซึ่งมีอัตลักษณหรือรสนิยมทาง เพศที่แตกตางไปจากคนสวนใหญในสังคมจะหมายถึงกลุมคนที่ถูกกีดกันแบงแยกเลือกปฏิบัติเพราะเกิด จากคนกลุมนี้มีอัตลักษณหรือรสนิยมทางเพศไมเหมือนกับคนสวนใหญในสังคมซึ่งอาจเปนการตีตัวออก หางการปฏิเสธสิทธิที่คนกลุมนี้มีหรืออาจถึงขั้นใชความรุนแรงเกินกวาเหตุ


บทที่ 3 วิธีดำเนินการศึกษาคนควา ในการศึกษาคนควาครั้งนี้ ผูศึกษาคนควาไดดำเนินการตามขั้นตอนดังน ี้ 1. การกำหนดประชากรและการสุมกลุมตัวอยาง 2. การสรางเครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การจัดกระทำและการวิเคราะหขอมูล 5. สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล การกำหนดประชากรและการเลือกกลุมตัวอยาง ประชากร ประชากรที่ใชในการศึกษาครั้งนี้ คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ป การศึกษา 2565 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย จำนวน 493 คน การเลือกกลุมตัวอยาง กลุมตัวอยางท ี่ใชในการศึกษาครั้งน ี้คือ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 1 ภาคเรียนท ี่ 2 ปการศึกษา 2565 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ไดจากการสุมแบบโควตา จากนักเรียน 13 หอง หอง ละ 10 คน จำนวน 130 คน การสรางเครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา ) 1. ศึกษาเอกสารและวรรณกrรรมที่เกี่ยวของกับการเพศทางเลือก 2. สรางแบบสอบถาม ตามวัตถุประสงคดังน ี้ ตอนที่ 1 เปนขอคำถามแบบนามบัญญัติเกี่ยวกับขอมูลสวนตัวของผูตอบแบบสอบถาม จำนวน 5 ขอ ตอนที่ 2 เปนคำถามแบบจัดอันดับวิธีปองกันวิธีการปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกใน ครอบครัว จำนวน 4 อันดับ ซึ่งมีรายการใหจัดอันดับ 4 รายการ ตอนที่ 3 เปนคำถามแบบมาตรประมาณคาปญหาการกีดกันเพศทางเลือก จำนวน 5 ขอ มี ลักษณะเปนแบบสอบถามแบบมาตรอันตรภาคชั้น โดยสอบถามความคิดเห็นของกลุมตัวอยาง 3. นำไปใหครูที่ปรึกษา/ครูผูสอน ตรวจสอบความถูกตองและความครอบคลุมของขอคำถาม แกไขตามคำแนะนำ 4. ทดลองใช โดยใหเพื่อนลองทำ


8 การเก็บรวบรวมขอมูล เริ่มเก็บขอมูลตั้งแตวันที่ 23 มกราคม 2566 โดยสมาชิกในกลุมแบบเก็บขอมูลดวยตนเอง คนละ 6 หอง จำนวนทั้งหมด 130 ฉบับ ไดแบบสอบถามกลับ จำนวน 116 รายการ แบบสอบถามไม สมบูรณ จำนวน 14 ฉบับ การจัดกระทำขอมูลและการวิเคราะหขอมูล 1. แบบสอบถามตอนที่ 1 ซึ่งเปนแบบสอบถามแบบนามบัญญัตินำมาแจกแจงความถี่ และหาคา รอยละ 2. แบบสอบถามตอนที่ 2 เปนแบบสอบถามใหจัดอันดับ 4 ลำดับ กำหนดคาน้ำหนักคะแนน ดังน ี้ อันดับที่ 1 คาน้ำหนักคะแนนคือ 4 อันดับที่ 2 คาน้ำหนักคะแนนคือ 3 อันดับที่ 3 คาน้ำหนักคะแนนคือ 2 อันดับที่ 4 คาน้ำหนักคะแนนคือ 1 หลังจากนั้นนำคาคะแนนรวมที่ไดมาเรียงลำดับจากมากไปนอย เพื่อเรียงลำดับ 3. แบบสอบถามตอนที่ 3 เปนแบบประมาณคา 5 ระดับ สอบถามระดับความคิดเห็นนำมาหา คาเฉลี่ย ดังน ี้ 5 หมายถึง มากที่สุด 4 หมายถึง มาก 3 หมายถึง ปานกลาง 2 หมายถึง นอย 1 หมายถึง นอยที่สุด การแปลผลคาเฉลี่ยที่ได ระดับ แปลผล 4.50 - 5.00 มากที่สุด 3.50 - 4.49 มาก 2.50 - 3.49 ปานกลาง 1.50 - 2.49 นอย 1.00 – 1.49 นอยที่สุด


9 สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล X = คาเฉลี่ยของคะแนน = ผลรวมของคะแนน n = จำนวน


บทที่ 4 ผลการวิเคราะหขอมูล การนำเสนอขอมูล ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม 1. คุณอยูระดับชั้นระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 หองใด 2. คุณคิดวาความหมายของสิทธิทางเพศ ตรงกับขอใดมากที่สุด 3. คุณคิดวาคุณหรือคนที่คุณรูจักที่เปนเพศทางเลือก เปนเพศทางเลือกประเภทใด 4. คุณคิดวาการเลือกปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือก มีขอใดบาง 5. คุณคิดวาการรับมือการกีดกันทางเพศในองคกร มีขอใดบาง 6. คุณคิดวาองคกรที่เกี่ยวของกับระบบขนสงสาธารณะคือกระทรวงอะไร ตอนที่ 2 จัดลำดับการปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกในครอบครัว ตอนที่ 3 ความคิดเห็นตอปญหาการกีดกันทางเพศ ตอนที่ 1 ขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ตาราง 1 หองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รายการ จำนวน/คน รอยละ 101 10 8.62 102 10 8.62 103 10 8.62 104 7 6.03 105 10 8.62 106 9 7.75 107 6 5.17 108 6 5.17 109 10 8.62 110 9 7.75 111 10 8.62 112 10 8.62 113 10 8.62 รวม…… 116 100


11 จากตาราง 1 แสดงวา หองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 8.62 เปนหอง 101,102,103,105,109,111,112,113 รองลงมา รอยละ 7.75 เปนหอง 106,110 รอยละ 6.03 เปนหอง 104 และรอยละ 107,108 ตาราง 2 ความหมายของสิทธิทางเพศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รายการ จำนวน/คน รอยละ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ ที่จะไมถูกแบงแยกจากเพศอื่น ๆ โดยความรุณแรง 41 35.34 สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ โดยมีสิทธิขั้นพื้นฐานเทียบ เทากับเพศอื่นๆ 64 55.17 สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ โดยมีสิทธิพิเศษบางขอที่ไม เหมือนกับเพศอื่นๆ 11 9.49 รวม 116 100 จากตาราง 2 แสดงวา ความหมายของสิทธิทางเพศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 35.34 คือ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ ที่จะไม ถูกแบงแยกจากเพศอื่นๆ โดยความรุณแรง รองลงมา รอยละ 55.17 คือ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถี หนึ่ง ๆ โดยมีสิทธิขั้นพื้นฐานเทียบเทากับเพศอื่นๆ และรอยละ 9.49 คือ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถี หนึ่ง ๆ โดยมีสิทธิพิเศษบางขอที่ไมเหมือนกับเพศอื่น ๆ ตาราง 3 คุณหรือคนที่คุณรูจักที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รายการ จำนวน/คน รอยละ Lesbian หญิงรักหญิง 24 11.48 Gay ชายรักชาย 60 28.70 Bisexual รักไดทั้งชายและหญิง 50 23.92 Transgender กลุมคนขามเพศ 26 12.44


12 Queer บุคคลที่มีความรักโดยไร กฎเกณฑ (ทางเพศ) 24 11.48 อื่น ๆ 16 7.65 รวม 204 100 จากตาราง 3 แสดงวา คุณหรือคนที่คุณรูจักที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 28.70 คือ Gay ชายรักชาย รองลงมา รอยละ 23.92 คือ Bisexual รักไดทั้งชายและหญิง รอยละ 12.44 คือ Transgender กลุมคนขามเพศ รอยละ 11.48 คือ Lesbian หญิงรักหญิง,Queer บุคคลที่มีความรักโดยไรกฎเกณฑ (ทางเพศ) และ รอยละ 7.65 คือ อื่น ๆ ตาราง 4 การเลือกปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รายการ จำนวน/คน รอยละ การใหคาจางที่ไมเทากัน 16 10.12 การไมใหความเชื่อถือ 33 20.88 การไมยอมรับกลุมเพศทางเลือก 62 39.24 การไมเคารพตอผูที่เปนกลุมเพศ ทางเลือก 33 20.88 อื่น ๆ 14 8.86 รวม 158 100 จากตาราง 4 แสดงวา การเลือกปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 39.24 คือ การไมยอมรับกลุมเพศทางเลือก รอง ลงมา รอยละ 20.88 คือ การไมใหความเชื่อถือ,การไมเคารพตอผูที่เปนเพศทางเลือก รอยละ 10.12 คือ การใหคาจางที่ไมเทากัน และ รอยละ 8.86 คือ อื่น ๆ ตาราง 5 การรับมือการกีดกันทางเพศในองคกรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รายการ จำนวน/คน รอยละ ปลอยใหผูที่เปนเพศทางเลือก แตงกายตามเพศสภาพของตน 42 20.48 มีการจัดแบงพื้นที่ที่เหมาะสม 36 17.56


13 การเลือกใชงานคนหรือจางงาน โดยไมแบงแยกเพศสภาพ 53 25.86 ภายในองคกรไมมีการใชวาจา เหยียดเพศ 42 20.48 การคัดเลือกใหเปนตำแหนงตาง ๆ จะไมมีการแบงแยกเพศ 32 15.62 รวม 205 100 จากตาราง 5 แสดงวา การรับมือการกีดกันทางเพศในองคกรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 25.86 คือ การเลือกใชงานคนหรือจางงานโดยไม แบงแยกเพศสภาพ รองลงมา รอยละ 20.48 คือ ปลอยใหผูที่เปนเพศทางเลือกแตงกายตามเพศสภาพ ของตน,ภายในองคกรไมมีการใชวาจาเหยียดเพศ รอยละ 17.56 คือ มีการจัดแบงพื้นที่ที่เหมาะสม และ รอยละ 15.62 คือ การคัดเลือกใหเปนตำแหนงตาง ๆ จะไมมีการแบงแยกเพศ ตอนที่ 2 จัดลำดับวิธีการปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกในครอบครัว ตาราง 6 การจัดลำดับวิธีการปฎิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกในครอบครัวของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รายการ อันดับที่ 1 อันดับท ี่ 2 อันดับที่ 3 อันดับที่ 4 คาน้ำหนัก คะแนน อันดับ ไมเปรียบ เทียบเรื่อง เพศของ สมาชิกกับ ใคร (47) 188 (11) 33 (6) 12 (17) 17 250 2 ใสใจความ รูสึก ให ความสำคัญ (23) 92 (35) 105 (19) 38 (9) 9 244 3 เคารพสิทธิ สวนบุคคล (30) 120 (24) 72 (30) 60 (9) 9 261 1 ไมตัดสินเพศ วิถีจากรู (10) 40 (22) 66 (22) 44 (23) 23 159 4


14 ปลักษน ภายนอก ปฏิบัติตอ บุคคลใน ครอบครัว โดยให เกียรติเพ บุคคลนั้น เลือก (3) 12 (7) 21 (14) 28 (25) 25 86 7 เพิ่มการ สื่อสารใน เชิงบวก (11) 44 (9) 27 (18) 36 (12) 12 119 5 สังเกต พฤติกรรม (6) 24 (10) 30 (16) 32 (24) 24 110 6 จากตาราง 6 แสดงวา การจัดลำดับวิธีการปฎิบัติตอผูท ี่ เปนเพศทางเลือกในครอบครัวของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปท ี่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย อันดับท ี่ 1 คือ เคารพสิทธิสวนบุคคล ( คาน้ำหนัก = 261) อันดับท ี่ 2 คือ ไมเปรียบเทียบเรื่องเพศของสมาชิกกับใคร (คาน้ำหนัก = 250) อันดับท ี่ 3 คือ ใสใจความรูสึก ใหความสำคัญ (คาน้ำหนัก = 244) อันดับท ี่ 4 คือ ไมตัดสินเพศวิถีจากรู ปลักษนภายนอก (คาน้ำหนัก = 159) อันดับ 5 คือ เพิ่มการสื่อสารในเชิงบวก (คาน้ำหนัก = 119) อันดับ 6 คือ สังเกตพฤติกรรม (คาน้ำหนัก = 110) และ อันดับ 7 คือ ปฏิบัติตอบุคคลในครอบครัว โดย ใหเกียรติเพบุคคลนั้นเลือก (คาน้ำหนัก = 86) ตอนที่ 3 ความคิดเห็นตอปญหาการกีดกันเพศทางเลือก ตาราง 7 ความคิดเห็นตอปญหาการกีดกันเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย รายการ คาเฉลี่ย ( ) แปลผล 1.คุณคิดวาการกีดกันเพศทางเลือก มีผลกระทบตอคุณมากนอยเพียงใด 3.50 มาก 2.คุณมีวิธีปองกันการถูกกีดกันทางเพศ มากนอยเพียงใด 3.61 มาก 3.คุณคิดวาปญหารการกีดกันเพศทางเลือกควรไดรับแกไขมากนอย เพียงใด 3.78 มาก


15 4.คุณเคยถูกกีดกันทางเพศมากนอยเพียงใด 2.74 ปานกลาง 5.คุณสามารถรับมือตอการถูกกีดกันทางเพศ มากนอยเพียงใด 3.59 มาก จากตาราง 7 แสดงวา ความคิดเห็นตอระบบขนสงสาธารณะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาป ที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย ระดับมาก คือ คุณคิดวาการกีดกันเพศทางเลือก มีผลกระทบตอคุณ มากนอยเพียงใด ( = 3.50) คุณมีวิธีปองกันการถูกกีดกันทางเพศ มากนอยเพียงใด ( = 3.61) คุณคิดวาปญหารการกีดกันเพศทางเลือก ควรไดรับแกไขมากนอยเพียงใด ( = 3.78)คุณสามารถ รับมือตอการถูกกีดกันทางเพศ มากนอยเพียงใด ( = 3.78) ระดับปานกลาง คือ คุณเคยถูกกีดกันทาง เพศมากนอยเพียงใด( = 2.74)


บทที่ 5 สรุปผลการศึกษาคนควาและขอเสนอแนะ การศึกษาคนควาครั้งนี้เกี่ยวกับการศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการกีดกันเพศทางเลือก นักเรียนมัธยมศึกษาชั้นที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สรุปผลตามลำดับดังน ี้ วัตถุประสงคของการศึกษาคนควา 1. เพื่อศึกษาเกี่ยวกับสิทธิทางเพศ 2. เพื่อศึกษาการรับมือการกีดกันทางเพศในองคกร 3. เพื่อศึกษาความหมายและประเภทของเพศทางเลือก 4. เพื่อศึกษาวิธีการปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือก 5. เพื่อศึกษาประเภทของการเลือกปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือก 6. เพื่อศึกษาความคิดเห็นเกี่ยวกับปญหาการกีดกันเพศทางเลือก ของนักเรียนระดับชั้น มัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สมมติฐานในการศึกษาคนควา นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย คิดวาการปลอยใหผูที่เปนเพศ ทางเลือกแตงกายตามเพศสภาพของตน เปนการรับมือการกีดกันทางเพศในที่ทำงานหรือองคกรมากที่สุด วิธีดำเนินการวิจัย 1. การกําหนดประชากรและการสุมกลุมตัวอยาง 2. การสรางเครื่องมือที่ใชในการศึกษาคนควา 3. การเก็บรวบรวมขอมูล 4. การจัดกระทําและการวิเคราะหขอมูล สรุปผลการวิจัย หองของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 8.62 เปนหอง 101,102,103,105,109,111,112,113 รองลงมา รอยละ 7.75 เปนหอง 106,110 รอยละ 6.03 เปนหอง 104 และรอยละ 107,108 ความหมายของสิทธิทางเพศของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบ วิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 35.34 คือ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ ที่จะไมถูกแบงแยกจากเพศ


17 อื่นๆ โดยความรุณแรง รองลงมา รอยละ 55.17 คือ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ โดยมีสิทธิขั้น พื้นฐานเทียบเทากับเพศอื่นๆ และรอยละ 9.49 คือ สิทธิในการใชชีวิตดวยเพศวิถีหนึ่ง ๆ โดยมีสิทธิพิเศษ บางขอที่ไมเหมือนกับเพศอื่น ๆ คุณหรือคนที่คุณรูจักที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 28.70 คือ Gay ชายรักชาย รองลงมา รอยละ 23.92 คือ Bisexual รักไดทั้งชายและหญิง รอยละ 12.44 คือ Transgender กลุมคนขามเพศ รอยละ 11.48 คือ Lesbian หญิงรักหญิง,Queer บุคคลที่มีความรักโดยไรกฎเกณฑ (ทางเพศ) และ รอยละ 7.65 คือ อื่น ๆ การเลือกปฏิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 39.24 คือ การไมยอมรับกลุมเพศทางเลือก รองลงมา รอยละ 20.88 คือ การไมใหความเชื่อถือ,การไมเคารพตอผูที่เปนเพศทางเลือก รอยละ 10.12 คือ การใหคา จางที่ไมเทากัน และ รอยละ 8.86 คือ อื่น ๆ การรับมือการกีดกันทางเพศในองคกรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 25.86 คือ การเลือกใชงานคนหรือจางงานโดยไมแบงแยกเพศสภาพ รองลงมา รอยละ 20.48 คือ ปลอยใหผูที่เปนเพศทางเลือกแตงกายตามเพศสภาพของตน,ภายในองคกร ไมมีการใชวาจาเหยียดเพศ รอยละ 17.56 คือ มีการจัดแบงพื้นที่ที่เหมาะสม และ รอยละ 15.62 คือ การคัดเลือกใหเปนตำแหนงตาง ๆ จะไมมีการแบงแยกเพศ การจัดลำดับวิธีการปฎิบัติตอผูที่เปนเพศทางเลือกในครอบครัวของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย อันดับที่ 1 คือ เคารพสิทธิสวนบุคคล (คาน้ำหนัก = 261) อันดับท ี่ 2 คือ ไมเปรียบเทียบเรื่องเพศของสมาชิกกับใคร (คาน้ำหนัก = 250) อันดับที่ 3 คือ ใสใจความรูสึก ให ความสำคัญ (คาน้ำหนัก = 244) อันดับที่ 4 คือ ไมตัดสินเพศวิถีจากรูปลักษนภายนอก (คาน้ำหนัก = 159) อันดับ 5 คือ เพิ่มการสื่อสารในเชิงบวก (คาน้ำหนัก = 119) อันดับ 6 คือ สังเกตพฤติกรรม ( คาน้ำหนัก = 110) และ อันดับ 7 คือ ปฏิบัติตอบุคคลในครอบครัว โดยใหเกียรติเพบุคคลนั้นเลือก ( คาน้ำหนัก = 86) ความคิดเห็นตอระบบขนสงสาธารณะของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวน กุหลาบวิทยาลัย ระดับมาก คือ คุณคิดวาการกีดกันเพศทางเลือก มีผลกระทบตอคุณมากนอยเพียงใด ( = 3.50) คุณมีวิธีปองกันการถูกกีดกันทางเพศ มากนอยเพียงใด ( = 3.61) คุณคิดวาปญหารกา รกีดกันเพศทางเลือก ควรไดรับแกไขมากนอยเพียงใด ( = 3.78)คุณสามารถรับมือตอการถูกกีดกัน ทางเพศ มากนอยเพียงใด ( = 3.78) ระดับปานกลาง คือ คุณเคยถูกกีดกันทางเพศมากนอยเพียงใด ( = 2.74)


18 การอภิปรายผล จากสมมติฐานที่ตั้งวานักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัยคิดวาการ ปลอยใหผูที่เปนเพศทางเลือกแตงกายตามเพศสภาพของตน เปนการรับมือการกีดกันทางเพศในที่ทำงาน หรือองคกรมากที่สุด ไมเปนไปตามสมมติฐานของการศึกษาคนควา ตามสรุปขอมูลดังนี้ การรับมือการ กีดกันทางเพศในองคกรของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย สวนใหญ รอยละ 25.86 คือ การเลือกใชงานคนหรือจางงานโดยไมแบงแยกเพศสภาพ รองลงมา รอยละ 20.48 คือ ปลอยใหผูที่เปนเพศทางเลือกแตงกายตามเพศสภาพของตน,ภายในองคกรไมมีการใชวาจาเหยียดเพศ รอยละ 17.56 คือ มีการจัดแบงพื้นที่ที่เหมาะสม และ รอยละ 15.62 คือ การคัดเลือกใหเปนตำแหนง ตาง ๆ จะไมมีการแบงแยกเพศ ขอเสนอแนะ 1. คุณควรเปนสวนหนึ่งของการปองการการกีดกันเพศทางเลือก เพื่อลดผลกระทบตอผูกีดกัน 2. คุณควรรวมแกปญหาของการกีดกันเพศทางเลือก เพื่อปองกันการเกิดการกีดกันเพศทาที่อาจ จะเกิดขึ้นในสังคมปจจุบัน


19 บรรณานุกรม เจษฎา นกนอย. (2554). การจัดการความหลากหลายในองคกร. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เทนเซ็นต(ประเทศไทย)จำกัด. (2565). กีดกัน คืออะไร. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก https://dictionary.sanook,com [สืบคนวันที่ 28 พฤศจิกายน 2565]. BANGKOK HOSTIPAL. (2565). เพศทางเลือก(LGBT). (ออนไลน). เขาถึงไดจาก : bangkokhospital.com/content/lgbt-altenative-sex [สืบคนวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564] JobDB by SEEK. (2564). เอาตัวรอดอยางไรเมื่อเจอSexismในที่ทำงาน. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :th.jobsdb.com/th-th/articles/sexism-ในที่ทำงาน/ [สืบคนวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564]. PRINCIPAL HEALTHCARE COMPANY. (2565). ทำความรูจักLGBTQ+โอบกอดความหลากหลายท ี่ ”ไมจำเปนตองรักษา”. (ออนไลน). เขาถึงไดจาก :princhealth.com/pride-month-lgbtq/ [สืบคนวันที่ 13 พฤศจิกายน 2564].


20 ภาคผนวก


21 ประวัติผูวิจัย 1. ชื่อ-นามสกุล : เด็กชายพิชชากร บัวเงิน ชั้นระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 111 เบอรโทร : 092-364-4153 2. ชื่อ-นามสกุล : เด็กชายธัญภูมิ พันธแกน ชั้นระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 111 เบอรโทร : 085-860-4937 3. ชื่อ-นามสกุล : เด็กชายอนพัทย กิจสุนทรศักด ิ์ ชั้นระดับชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 หอง 111 เบอรโทร : 064-789-9911


Click to View FlipBook Version