The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

Computer science Demonstration school of Suan Sunandha Rajaphat University

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by DS_SSRU, 2024-05-12 07:14:08

วิทยาการคำนวณ ป.3

Computer science Demonstration school of Suan Sunandha Rajaphat University

Keywords: Computer science

………… ผู้สอน อ.ศิริลักษณ์ เลิศหิรัญทรัพย์


สาระที่ 4 เทคโนโลยี มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอนและเป็น ระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหาได้อย่างมี ประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ 1. แสดงลำดับขั้นตอนการทำงาน หรือการแก้ปัญหาอย่างง่าย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือข้อความ ➢ อัลกอริทึมเป็นขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา ➢ การแสดงอัลกอริทึมทำได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพ หรือใช้สัญลักษณ์ ➢ ตัวอย่างปัญหา เช่น เกมเศรษฐีเกมบันไดงู เกม Tetris เกม OX การเดินไปโรงอาหาร การทำความสะอาด ห้องเรียน 2. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ ซอฟต์แวร์หรือสื่อและตรวจหา ข้อผิดพลาด ของโปรแกรม ➢ การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับของคำสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทำงาน ➢ ตัวอย่างโปรแกรม เช่น เขียนโปรแกรมที่สั่งให้ตัวละคร ทำงานซ้ำไม่สิ้นสุด ➢ การตรวจหาข้อผิดพลาดทำได้โดยตรวจสอบคำสั่งที่แจ้ง ข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่ต้องการให้ ตรวจสอบการทำงานทีละคำสั่ง ➢ ซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนโปรแกรม เช่น ใช้บัตร คำสั่งแสดงการเขียนโปรแกรม Code.org ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้


ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ 3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ ➢ อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ช่วยให้การ ติดต่อสื่อสารทำได้สะดวกและรวดเร็ว เป็นแหล่งข้อมูล ความรู้ที่ช่วย ในการเรียนและการดำเนินชีวิต ➢ เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสำหรับอ่านเอกสารบนเว็บ เพจ ➢ การสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตทำได้โดยใช้เว็บไซต์สำหรับ สืบค้นและต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสมจึงจะได้ข้อมูลตาม ต้องการ ➢ ข้อมูลความรู้ เช่น วิธีทำอาหาร วิธีพับกระดาษเป็นรูปต่างๆ ข้อมูลประวัติศาสตร์ชาติไทย(อาจเป็นความรู้ในวิชาอื่นๆ หรือเรื่องที่เป็นประเด็นที่สนใจในช่วงเวลานั้น) ➢ การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแลของครู หรือผู้ปกครอง 4. รวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอ ข้อมูล โดยใช้ ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ ➢ การรวบรวมข้อมูลทำได้โดยกำหนดหัวข้อที่ต้องการ เตรียม อุปกรณ์ในการจดบันทึก ➢ การประมวลผลอย่างง่าย เช่นเปรียบเทียบ จัดกลุ่ม เรียงลำดับ ➢ การนำเสนอข้อมูลทำได้หลายลักษณะตามความเหมาะสม เช่น การบอกเล่าการทำเอกสารรายงาน การจัดทำป้าย ประกาศ ➢ การใช้ซ้อฟแวร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ เช่นใช้ซอฟแวร์ นำเสนอหรือซอฟต์แวร์กราฟิกสร้างแผนภูมิรูปภาพ ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคำทำป้ายประกาศหรืเอกสารรายงาน ใช้ซอฟต์แวร์ตารางทำงานในการประมวลผลข้อมูล


ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ อินเทอร์เน็ต ➢ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่น ปกป้อง ข้อมูลส่วนตัว ➢ ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหาจาก การใช้งาน เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ทำให้ไม่สบายใจ ➢ การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทำให้ ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผู้อื่น เช่น ไม่ใช้คำหยาบ ล้อเลียน ด่าทอ ทำให้ผู้อื่นเสียหายหรือเสียใจ ➢ ข้อดีและข้อเสียในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร


เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 20 ชั่วโมง / ปี คำอธิบายรายวิชา ตัวชี้วัด ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) 1. แสดงอัลกอริทึมในการทำงาน หรือการแก้ปัญหาอย่างง่าย โดยใช้ภาพ สัญลักษณ์ หรือ ข้อความ 2. เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์หรือสื่อและตรวจหาข้อผิดพลาด ของโปรแกรม 3. ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ 4. รวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอข้อมูล โดยใช้ ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ 5. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย ปฏิบัติ ตามข้อตกลงในการใช้ อินเทอร์เน็ต รวมทั้งหมด 5 ตัวชี้วัด ศึกษาและฝึกทักษะเกี่ยวกับการใช้อัลกอริทึมเป็นขั้นตอนที่ใช้ในการแก้ปัญหา การแสดงอัลกอริทึม ทำได้โดยการเขียน บอกเล่า วาดภาพหรือใช้สัญลักษณ์ การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้างลำดับของคำสั่งให้ คอมพิวเตอร์ทำงาน การตรวจหาข้อผิดพลาดทำได้โดยตรวจสอบคำสั่งที่แจ้ง ข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ ไม่เป็นไปตามที่ต้องการให้ ตรวจสอบการทำงานทีละคำสั่งซอฟต์แวร์หรือสื่อที่ใช้ในการเขียนเว็บเบราว์เซอร์ เป็นโปรแกรมสำหรับอ่านเอกสารบนเว็บเพจ การสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตทำได้โดยใช้เว็บไซต์สำหรับ สืบค้นและต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสม จึงจะได้ข้อมูลตามต้องการ การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแลของครู หรือผู้ปกครอง การ รวบรวมข้อมูลทำได้โดยกำหนดหัวข้อที่ต้องการ เตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก การประมวลผลอย่างง่าย การนำเสนอข้อมูลทำได้หลายลักษณะตามความเหมาะสม การใช้ซ้อฟแวร์ทำงานตาวัตถุประสงค์ การใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหาจาก การใช้งาน เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ทำให้ไม่สบายใจ การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทำให้ ไม่เกิด ความเสียหายต่อตนเองและผู้อื่น ข้อดีและข้อเสีย ในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร


เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 เวลา 20 ชั่วโมง / ปี ลำดับที่ หน่วยการเรียนรู้/เรื่อง มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) คะแนน 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย ว 4.2 ป.3/5 - การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง ปลอดภัย - ขอความช่วยเหลือจากครูหรือ ผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหาจาก การใช้ งาน เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ทำให้ ไม่สบายใจ - การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ อินเทอร์เน็ตจะทำให้ ไม่เกิดความ เสียหายต่อตนเองและผู้อื่น - ข้อดีและข้อเสียในการใช้ เทคโนโลยีสารสนเทศและการ สื่อสาร 2 10 2 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหา ความรู้ ว 4.2 ป.3/3 - อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาด ใหญ่ ช่วยให้การติดต่อสื่อสารทำได้ สะดวกและรวดเร็ว เป็นแหล่งข้อมูล ความรู้ที่ช่วย ในการเรียนและการ ดำเนินชีวิต - เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรม สำหรับอ่านเอกสารบนเว็บเพจ - การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ทำได้โดยใช้เว็บไซต์สำหรับสืบค้น และต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสมจึง จะได้ข้อมูลตามต้องการ - ข้อมูลความรู้ เช่น ขั้นตอนการ ทำอาหาร - การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย ควรอยู่ในการดูแลของครู หรือ ผู้ปกครอง 2 10 โครงสร้างรายวิชา


ลำดับที่ หน่วยการเรียนรู้/เรื่อง มาตรฐาน การเรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระสำคัญ เวลา (ชั่วโมง) คะแนน 3 รวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอข้อมูล ว 4.2 ป.3/4 - การรวบรวมข้อมูลทำได้โดย กำหนดหัวข้อที่ต้องการเตรียม อุปกรณ์ในการจดบันทึก - การประมวลผลอย่างง่าย - การนำเสนอข้อมูลทำได้หลาย ลักษณะตามความเหมาะสม 2 10 4 การใช้ซอฟต์แวร์ทำงานตาม วัตถุประสงค์ ว 4.2 ป.3/3 ว 4.2 ป.3/4 - การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต ทำได้โดยใช้เว็บไซต์สำหรับสืบค้น และต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสมจึง จะได้ข้อมูลตามต้องการ - การรวบรวมข้อมูล - การประมวลผลอย่างง่าย - การนำเสนอข้อมูลทำได้หลาย ลักษณะตามความเหมาะสม - การใช้ซ้อฟแวร์ทำงานตาม วัตถุประสงค์ 4 10 5 แสดงอัลกอริทึมในการ ทำงานหรือแก้ปัญหาอย่าง ง่าย ว 4.3 ป.3/1 - อัลกอริทึมเป็นขั้นตอนที่ใช้ในการ แก้ปัญหา - การแสดงอัลกอริทึมทำได้โดย การเขียน บอกเล่า วาดภาพหรือ ใช้สัญลักษณ์ 4 10 6 เขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดย ใช้โปรแกรม Scratch ว 4.2 ป.3/2 - การเขียนโปรแกรมเป็นการสร้าง ลำดับของคำสั่งให้ คอมพิวเตอร์ ทำงาน - การตรวจหาข้อผิดพลาดทำได้โดย ตรวจสอบคำสั่งที่แจ้ง ข้อผิดพลาด หรือหากผลลัพธ์ไม่เป็นไปตามที่ ต้องการให้ ตรวจสอบการทำงานที ละคำสั่ง 6 20 สอบปลายภาค 40 รวม 20 100


หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการ เรียนรู้ วิธีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยี สารสนเทศอย่าง ปลอดภัย แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 1 จริยธรรมในการใช้ เทคโนโลยี สารสนเทศ 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2.วิธีการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 1.ใบงานที่ 1.1 1 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 2 Digital Footprint 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2.วิธีการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 1.ใบงานที่ 1.2 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ใช้อินเทอร์เน็ตในการ ค้นหาความรู้ แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 3 เว็บเบราเซอร์ 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2.วิธีการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการ แก้ปัญหา 1.แบบประเมิน ผลงาน 2.แบบประเมิน รายบุคคล 1 โครงสร้างแผนการจัดการเรียนรู้


หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการ เรียนรู้ วิธีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 4 Google 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2.วิธีการสอนโดยใช้ ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการ แก้ปัญหา 5.ทักษะการทำงาน ร่วมกัน 1.แบบประเมิน ผลงาน 2.แบบประเมิน พฤติกรรมกลุ่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 รวบรวม ประมวลผล และนำเสนอข้อมูล แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 5 รวบรวมข้อมูล 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2.วิธีการสอนแบบใช้ เกม (Game) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการทำงาน ร่วมกัน 6.ทักษะการ แก้ปัญหา 1.ใบงานที่ 3.1 2.แบบประเมิน รายบุคคล 1 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 6 ประมวลผลข้อมูล 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2.วิธีการสอนแบบใช้ เกม (Game) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการ แก้ปัญหา 1.ใบงานที่ 3.1 2.แบบประเมิน รายบุคคล 3.แบบประเมิน พฤติกรรมกลุ่ม 1


หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการ เรียนรู้ วิธีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การใช้ซอฟต์แวร์ทำงาน ตามวัตถุประสงค์ แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 7 นำเสนอข้อมูล 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2.วิธีการสอนโดยการ ลงมือปฏิบัติ (Practice) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการใช้ กระบวนการทาง เทคโนโลยี 6.ทักษะการ แก้ปัญหา 1.ใบงานที่ 4.1 2.แบบประเมิน รายบุคคล 3.แบบ ประเมินผลงาน 4 หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสดงอัลกอริทึมในการ ทำงานหรือแก้ปัญหา อย่างง่าย แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 8 อัลกอริทึม 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการ แก้ปัญหา 2.แบบประเมิน รายบุคคล 1 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 9 การแสดง อัลกอริทึมด้วย การเขียนบอกเล่า 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการ แก้ปัญหา 1.ใบงาน 5.2 2.แบบประเมิน รายบุคคล 1


หน่วยการเรียนรู้ แผนการจัดการ เรียนรู้ วิธีการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ ทักษะที่ได้ การประเมิน เวลา (ชั่วโมง) แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 10 การแสดง อัลกอริทึมด้วย การวาดภาพ 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการทำงาน ร่วมกัน 6.ทักษะการ แก้ปัญหา 1.ใบงาน 5.3 2.แบบประเมิน รายบุคคล 1 แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 11 การแสดง อัลกอริทึมด้วย การใช้สัญลักษณ์ 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการ แก้ปัญหา 1.ใบงาน 5.4 2.แบบประเมิน รายบุคคล 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 6 เขียนโปรแกรมอย่าง ง่าย โดยใช้โปรแกรม Scratch แผนการจัดการ เรียนรู้ที่ 12 Scratch 1.วิธีการสอนแบบ สร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2.วิธีการสอนโดยการ ลงมือปฏิบัติ (Practice) 1.ทักษะความคิด สร้างสรรค์ 2.ทักษะการสื่อสาร 3.ทักษะการคิดอย่าง เป็นระบบ 4.ทักษะการคิด วิเคราะห์ 5.ทักษะการ แก้ปัญหา 1.แบประเมิน ผลงาน 2.แบบประเมิน รายบุคคล 6


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหา จากการใช้งาน เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ทำให้ไม่สบายใจ การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทำ ให้ ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผู้อื่น ข้อดีและข้อเสียในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.3/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ อินเทอร์เน็ต จุดประสงค์ 1. บอกได้ว่าจริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศมีอะไรบ้าง (K) 2. ปฏิบัติตามจรรยาบรรณผู้ใช้อินเทอร์เน็ต (P) 3. เห็นความสำคัญของการปกป้องข้อมูลส่วนตัว (A) 4. สาระการเรียนรู้ ➢ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่นปกป้องข้อมูลส่วนตัว ➢ ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหาจาก การใช้งาน เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ทำ ให้ไม่สบายใจ ➢ การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทำให้ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผู้อื่น เช่น ไม่ใช้คำหยาบล้อเลียน ด่าทอ ทำให้ผู้อื่นเสียหายหรือเสียใจ ➢ ข้อดีและข้อเสียในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1


ทักษะการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะการแก้ปัญหา 6. สมรรถนะทาง ICT 1. ICA 1 การเข้าถึงประเมิน และจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 8. ภาระงาน 1. ใบงานที่ 1.1 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. วิธีการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วิธีการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) 1. ผู้สอนถามผู้เรียนเพื่อเป็นการกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน เช่น “นักเรียนรู้อะไรเกี่ยวกับเพื่อนที่ นั่งข้างๆกันบ้าง?” 2. ผู้สอนสุ่มผู้เรียนให้บอกข้อมูลส่วนตัวเบื้องต้นของตัวเอง เช่น ชื่อ นามสกุล ชื่อเล่น วัน เดือน ปี เกิด อาหารที่ชอบ ผลไม้ที่ชอบ สีที่ชอบ 3. ผู้สอนอธิบายว่า ข้อมูลส่วนตัว คือ ข้อมูลที่แสดงความเป็นตัวตนของเรา เช่น ชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อบัญชีผู้ใช้-รหัสผ่าน จำนวนเงิน เลขที่บัญชีธนาคาร เป็นต้น 4. ผู้สอนแจกใบความรู้ที่ 1 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ ให้กับผู้เรียน พร้อมอธิบายใบ ความรู้ คือ ชั่วโมงที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน


จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ แบ่งเป็น 4 ประเด็น คือ 1. ความเป็นส่วนตัว ความเป็นส่วนตัวของข้อมูลและสารสนเทศ โดยทั่วไปหมายถึง สิทธิที่จะอยู่ตามลำพัง และเป็นสิทธิที่เจ้าของสามารถที่จะควบคุมข้อมูลของตนเองในการเปิดเผยให้กับผู้อื่น สิทธินี้ใช้ได้ครอบคลุมทั้งปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล และองค์กร และหน่วยงานต่างๆ 2. ความถูกต้อง ข้อมูลควรได้รับการตรวจสอบความถูกต้องก่อนที่จะบันทึกข้อมูลเก็บไว้รวมถึงการ ปรับปรุงข้อมูลให้มีความทันสมัยอยู่เสมอ นอกจากนี้ ควรให้สิทธิแก่บุคคลในการเข้าไป ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลตนเองได้ 3. ความเป็นเจ้าของ เป็นกรรมสิทธิ์ในการถือครองทรัพย์สิน ซึ่งอาจเป็นทรัพย์สินทั่วไปที่จับต้องได้ เช่น คอมพิวเตอร์ รถยนต์ หรืออาจเป็นทรัพย์สินทางปัญญา ที่จับต้องไม่ได้ เช่น บทเพลง โปรแกรมคอมพิวเตอร์ แต่สามารถถ่ายทอดและบันทึกลงในสื่อต่างๆ ได้ เช่น สิ่งพิมพ์ เทป ซีดีรอม เป็นต้น 4. การเข้าถึงข้อมูล การเข้าใช้งานโปรแกรม หรือระบบคอมพิวเตอร์ มักจะมีการกำหนดสิทธิตามระดับของ ผู้ใช้งาน ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันการเข้าไปดำเนินการต่างๆ กับข้อมูลของผู้ใช้ที่ไม่มี ส่วนเกี่ยวข้อง และเป็นการรักษาความลับของข้อมูล จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (บัญญัติ10 ประการ) จรรยาบรรณที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตยึดถือไว้เสมือนเป็นแม่บทแห่งการปฏิบัติเพื่อระลึกและเตือนความจำ เสมอ 1. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อก่ออาชญากรรมหรือละเมิดสิทธิผู้อื่น 2. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์รบกวนการผู้อื่น 3. ไม่ทำการสอดแนม แก้ไข หรือเปิดดูไฟล์ของผู้อื่นก่อนได้รับอนุญาต 4. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร 5. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานเท็จ 6. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการคัดลอกโปรแกรมที่มีลิขสิทธิ์ 7. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ในการละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธิ์ 8. ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อนำเอาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน 9. คำนึงถึงผลของการกระทำที่จะเกิดขึ้นกับสังคม 10. ใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ กติกา และมารยาท ขั้นสอน


5. ผู้สอนแจกใบงานที่ 1.1 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ พร้อมอธิบายวิธีการทำใบงาน คือ ให้ผู้เรียนเขียนทำเครื่องหมาย / หน้าข้อที่เป็นควรทำ และทำเครื่องหมาย x หน้าข้อ ที่ไม่ควร ทำ เมื่อใช้งานอินเทอร์เน็ต 6. ผู้สอนให้ผู้เรียนแลกเปลี่ยนใบงานกัน และผู้สอนเฉลยใบงาน 7. ผู้สอนสรุปให้ผู้เรียนเข้าใจว่า เทคโนโลยีสารสนเทศมีทั้งประโยชน์และโทษ จึงต้องศึกษาเพื่อให้ใช้ งานได้อย่างเท่าทันและปลอดภัยซึ่งมีดังนี้ 1. ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัว 2. กำหนดรหัสผ่านให้รัดกุม เปลี่ยนรหัสผ่านทุกๆ 3 เดือน 3. ออกจากระบบทุกครั้งหลังใช้งาน 4. ติดตั้งโปรแกรมป้องกันไวรัสคอมพิวเตอร์ 5. ขอความช่วยเหลือเมื่อเกิดปัญหา 8. ผู้สอนถามผู้เรียนว่า หากพบว่า ข้อมูลส่วนตัวภูกขโมยไป ผู้เรียนจะบอกใครให้ช่วยเหลือได้บ้าง แนวคำตอบ : บอกพ่อ แม่ ผู้ปกครอง บอกคุณครู แจ้งผู้ดูแลเว็บไซต์ แจ้งตำรวจ 9. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสอบถามเพิ่มเติม 9. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบงานที่ 1.1 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 2. ใบความรู้ที่ 1 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 0 10. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจ ใบงานที่ 1.1 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ แบบประเมินผลงาน คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่าน เกณฑ์ ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล จากการทำใบงานที่ 1.1 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยี สารสนเทศ แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่าน เกณฑ์ ขั้นสรุป


แบบบันทึกหลังแผนการสอน เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 จริยธรรมในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………..................…………… ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………...................……… ลงชื่อ…………………….…………….ผู้สอน (ศิริลักษณ์ เลิศหิรัญทรัพย์) ตำแหน่งอาจารย์ชำนาญการ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………....................………… ลงชื่อ…………………………………………………………. (…………………..…………………………) ตำแหน่ง……………………………………… ………………/…………....../……………


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 Digital Footprint เวลาเรียน 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหา จากการใช้งาน เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคลที่ทำให้ไม่สบายใจ การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทำ ให้ ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผู้อื่น ข้อดีและข้อเสียในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 3. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.3/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างปลอดภัย ปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้ อินเทอร์เน็ต จุดประสงค์ 1. อธิบายได้ว่าร่องรอยดิจิทัล (Digital Footprint) คืออะไร (K) 2. ปฏิบัติตามกฎความปลอดภัยในการใช้งานอินเทอร์เน็ตได้ (P) 3. เห็นความสำคัญของการปกป้องข้อมูลส่วนตัว (A) 4. สาระการเรียนรู้ ➢ การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย เช่นปกป้องข้อมูลส่วนตัว ➢ ขอความช่วยเหลือจากครูหรือผู้ปกครองเมื่อเกิดปัญหาจาก การใช้งาน เมื่อพบข้อมูลหรือบุคคล ที่ทำให้ไม่สบายใจ ➢ การปฏิบัติตามข้อตกลงในการใช้อินเทอร์เน็ตจะทำให้ไม่เกิดความเสียหายต่อตนเองและผู้อื่น เช่น ไม่ใช้คำหยาบล้อเลียน ด่าทอ ทำให้ผู้อื่นเสียหายหรือเสียใจ ➢ ข้อดีและข้อเสียในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสาร แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2


5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ทักษะการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะการแก้ปัญหา 6. สมรรถนะทาง ICT 1. ICA 1 การเข้าถึงประเมิน และจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 8. ภาระงาน 1. ใบงานที่ 1.2 Digital Footprint 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. วิธีการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วิธีการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) 1. ผู้สอนเล่าให้ผู้เรียนฟัง เพื่อเป็นการกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน ไม่นานมานี้มีนักการเมือง บุคคล สำคัญทางสังคมโดนโจมตีทางสื่อสังคมออนไลน์ ด้วยรูปภาพและข้อมูลที่เคยลงไว้ในสื่อสังคม ออนไลน์ที่เคยลงไว้นานหลายสิบปี และถูกขุดคุ้ยมาโจมตี และทำให้เกิดการสื่อสารที่สร้างความ เกลียดชังและความขัดแย้ง เหตุการณ์ทั้งหมดนี้เกิดขึ้นด้วย ร่องรอยดิจิทัล (Digital Footprint) 2. ผู้สอนถามผู้เรียนเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียน เช่น “เด็กๆรู้จักคำว่าดิจิทัล หรือไม่ ดิจิทัลคืออะไร?” แนวคำตอบ : ดิจิทัลเป็นเทคโนโลยีที่มีความสำคัญกับการดำรงชีวิตของมนุษย์ในยุคปัจจุบัน เช่น คอมพิวเตอร์ สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต ชั่วโมงที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน


3. ผู้สอนแจกใบความรู้ที่ 2 ร่องรอยดิจิทัล (Digital Footprint) ให้กับผู้เรียน พร้อมอธิบาย ใบความรู้ คือ ร่องรอยดิจิทัล คือ ร่องรอยที่ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตกระทำการต่าง ๆ เช่น การใช้งานอัพโหลด ข้อมูลส่วนตัว ไฟล์งาน รูปภาพ การใช้งานสมาร์ทโฟน แท็บเล็ต และคอมพิวเตอร์ โดยระบบต่าง ๆ ของอินเทอร์เน็ตจะบันทึกข้อมูลของผู้ใช้งาน เช่น ชื่อ และข้อมูลส่วนตัว วันเดินปีเกิด ตำแหน่ง งาน ผลงาน ข้อมูลการศึกษา ประวัติส่วนตัว ของผู้ใช้งาน ร่องรอยดิจิทัล สามารถบอกให้ผู้อื่น ทราบถึงสิ่ง ที่เราชอบ สิ่งที่สนใจ และสิ่งที่เราอยากทำ ร่องรอยดิจิทัล มี 2 ประเภทคือ ประเภทที่ 1 ร่องรอยดิจิทัล ที่ผู้ใช้เจตนาบันทึก (Active Digital Footprints) ร่องรอย ดิจิทัล ของผู้ใช้งานที่เจตนาบันทึกไว้ในโลกออนไลน์ ข้อมูลที่เราตั้งใจเปิดเผยโดยที่รู้ตัว เช่น อีเมล์ เบอร์โทร ชื่อโปรไฟล์ เฟซบุ๊ก หรือสิ่งที่เราตั้งใจโพสต์ลงในโซเชียลมีเดีย เช่น สิ่งที่เราพูดหรือ โพสต์ รูปที่เราเคยลง สิ่งที่เรากดไลก์ รีทวิต หรือแชร์ ที่ตั้งสถานที่ที่เราอยู่ หรือเคยไป ประเภทที่ 2 ร่องรอยดิจิทัล ที่ผู้ใช้ไม่เจตนาบันทึก (Passive Digital Footprints) ร่องรอยดิจิทัล ของผู้ใช้งานที่ไม่มีเจตนาบันทึกเอาไว้ในโลกออนไลน์ หรือข้อมูล แบบที่ไม่ได้ตั้งใจหรือไม่ได้รู้ตัว เช่น IP Address หรือ Search History ต่าง ๆ ที่เราถูกจัดเก็บ เอาไว้ สิ่งที่เราเคยคลิกเข้าไป การซื้อสินค้าออนไลน์ของเรา การเปิดระบบ GPS เป็นต้น 4. ผู้สอนให้ผู้เรียนช่วยกันคิดกฎการใช้งานอินเทอร์เน็ตเพื่อไม่ให้ทิ้งร่องรอยดิจิทัล แนวคำตอบ : ไม่โพสต์ภาพ หรือข้อมูลส่วนตัวลงบนอินเทอร์เน็ต ไม่แสดงความคิดเห็นในแง่ ลบ ก่อนโพสต์หรือแชร์อะไร ควรเปรียบเทียบข้อมูลจากแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ ใช้ อินเทอร์เน็ต ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 5. ผู้สอนแนะนำกฎความปลอดภัยในการใช้งานอินเทอร์เน็ต คือ 1. ไม่เปิดเผยข้อมูลส่วนตัว เช่น เบอร์โทรศัพท์ ชื่อโรงเรียน ชื่อเพื่อน หรือผู้ปกครอง 2. ไม่นัดแนะเพื่อพบปะกับบุคคลที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ตโดยไม่บอกผู้ปกครอง 3. ไม่ส่งรูปหรือข้อมูลส่วนตัวให้กับคนที่รู้จักทางอินเทอร์เน็ต 4. ไม่ให้ความสนใจ หรือตอบโต้กับคนที่ใช้ถ้อยคำหยาบคาย 5. ไม่ดาวน์โหลดสิ่งที่ไม่คุ้นเคยหรือเปิดเอกสารจากอีเมล์ของคนที่เราไม่รู้จัก ขั้นสอน


6. เคารพในกฎระเบียบ นโยบาย หรือข้อตกลงที่ให้ไว้กับผู้ปกครอง และคุณครูในการใช้ อินเทอร์เน็ต 6. ผู้สอนแจกใบงานที่ 1.2 Digital Footprint ให้กับผู้เรียน พร้อมอธิบายวิธีการทำใบงาน คือ ให้ผู้เรียนเขียนประวัติส่วนตัวของตัวเองด้วย ปากกา ลงในใบงาน โดยผู้สอนให้เวลา 20 นาที 7. เมื่อครบกำหนดเวลา ผู้สอนให้ผู้เรียน นำ ยางลบ ลบข้อมูลส่วนตัวที่เขียนลงในใบงาน จะพบว่า ไม่สามารถลบได้ หรือบางคนอาจจะลบได้ แต่ก็ไม่สะอาด ซึ่งเปรียบเสมือนการกระทำการต่างๆ บนอินเทอร์เน็ต ทุกอย่างจะถูกบันทึกไว้และยากที่จะลบออกไป 8. อธิบายว่า ร่องรอยการกระทำของผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ต เช่น หากเราทำอะไรลงไปในโลก อินเทอร์เน็ตจะคงอยู่อย่างถาวร ยากที่จะลบออกไปได้ และเมื่อบุคคลอื่นเข้ามาอ่านอาจนำข้อมูล ของเราไปเผยแพร่ได้ จะทำให้เกิดผลเสียต่อตัวเราและคนอื่นมากมาย ฉะนั้น เด็ก ๆ จะต้อง ระมัดระวังให้มากในการส่งข้อมูลลงไปในโลกของอินเทอร์เน็ต 9. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสอบถามเพิ่มเติม 9. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบงานที่ 1.2 Digital Footprint 2. ใบความรู้ที่ 2 ร่องรอยดิจิทัล (Digital Footprint) 0 10. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจ ใบงานที่ 1.1 ใบงานที่1.2 Digital Footprint แบบประเมินผลงาน คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์ ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล จากการทำใบงาน1.2 Digital Footprint แบบประเมินพฤติกรรมรายบุคคล คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์ ขั้นสรุป


แบบบันทึกหลังแผนการสอน เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 Digital Footprint เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………….…………….ผู้สอน (ศิริลักษณ์ เลิศหิรัญทรัพย์) ตำแหน่งอาจารย์ชำนาญการ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………………. (…………………..…………………………) ตำแหน่ง……………………………………… ……………/…………....../……………


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เว็บเบราว์เซอร์ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด 3. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.3/3 ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ จุดประสงค์ 1. อธิบายได้ว่าเว็บเบราว์เซอร์คืออะไร (K) 2. เลือกใช้งานเว็บเบราว์เซอร์ได้ตามวัตถุประสงค์ (P) 3. เห็นประโยชน์ของการใช้งานอินเทอร์เน็ตด้วยเว็บเบราว์เซอร์ (A) 4. สาระการเรียนรู้ ➢ การใช้อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ช่วยให้การติดต่อสื่อสารทำได้สะดวกและรวดเร็ว เป็นแหล่งข้อมูลความรู้ที่ช่วย ในการเรียนและการดำเนินชีวิต ➢ เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสำหรับอ่านเอกสารบนเว็บเพจ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ช่วยให้การติดต่อสื่อสารทำได้สะดวกและรวดเร็ว เป็น แหล่งข้อมูลความรู้ที่ช่วย ในการเรียนและการดำเนินชีวิต เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสำหรับอ่านเอกสารบน เว็บเพจ การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตทำได้โดยใช้เว็บไซต์สำหรับสืบค้นและต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสมจึง จะได้ข้อมูลตามต้องการ ข้อมูลความรู้ เช่น ขั้นตอนการทำอาหาร การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ใน การดูแลของครู หรือผู้ปกครอง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3


➢ การสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตทำได้โดยใช้เว็บไซต์สำหรับสืบค้นและต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสมจึง จะได้ข้อมูลตามต้องการ ➢ ข้อมูลความรู้ เช่น วิธีทำอาหาร วิธีพับกระดาษเป็นรูปต่างๆข้อมูลประวัติศาสตร์ชาติไทย (อาจเป็น ความรู้ในวิชาอื่นๆหรือเรื่องที่เป็นประเด็นที่สนใจในช่วงเวลานั้น) ➢ การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแลของครู หรือผู้ปกครอง 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ทักษะการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะการแก้ปัญหา 6. สมรรถนะทาง ICT 1. ICA 1 การเข้าถึงประเมิน และจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 8. ภาระงาน 1. ใบงานที่ 2.1 กิจกรรมลูกเต๋าเบราว์เซอร์ 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. วิธีการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วิธีการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL) 1. ผู้สอนถามผู้เรียนเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียนและเพื่อกระตุ้นความสนใจของ ผู้เรียน เช่น “นักเรียนเคยใช้งานอินเทอร์เน็ต เพื่อทำอะไรบ้าง” แนวคำตอบ ดูยูทูป เรียน ออนไลน์ ติดต่อสื่อสารกับเพื่อน เล่นเกม ชั่วโมงที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน


1. ผู้สอนแจกใบความรู้ที่ 3 เว็บเบราว์เซอร์พร้อมอธิบายใบความรู้ คือ Web Browser (เว็บเบราว์เซอร์) คือ โปรแกรมที่ใช้ในการเข้าถึงข้อมูลและติดต่อสื่อสาร ในรูปแบบ Webpage (เว็บเพจ) โดยโปรแกรมจะแปลงภาษาคอมพิวเตอร์HTML ให้เป็นภาษา ที่คนทั่วไปสามารถอ่านและเข้าใจได้บนหน้าเว็บ การใช้งาน Web Browser ในการเข้าชมเว็บไซต์ ผู้ใช้งานจะต้องกรอก Domain Name (โดเมนเนม) เพื่อเข้าไปยังเว็บไซต์ต่างๆ โดย Domain Name จะนำมาใช้แทน IP Address (ไอ พี แอดเดรส) หรือที่อยู่ของเว็บไซต์ที่เป็นตัวเลขซึ่งจดจำได้ยาก 2. ผู้สอนยกตัวอย่างโดเมนเนม หรือ ชื่อเว็บไซต์ เช่น www.youtube.com หรือ www.google.co.th โดเมนเนมจะมีนามสกุลที่แตกต่างกันไปแล้วแต่ประเภทของเว็บไซต์ เช่น .org , .co.th และที่ นิยมใช้มากที่สุดก็คือ .com 3. ผู้สอนอธิบายใบความรู้ต่อว่า การจะเข้าเว็บไซต์ต่างๆได้ นักเรียนจะต้องมี เว็บเบราว์เซอร์ก่อน และเว็บเบราว์เซอร์ที่นิยมใช้มากที่สุด คือ 1. กูเกิล โครม (Google Chrome) 2. อินเทอรืเน็ตเอ็กซ์พลอเรอร์ (Internet Explorer) 3. มอซิลลา ไฟร์ฟอกซ์ (Mozilla Firefox) 4. โอเปร่า (Opera) 5. ซาฟารี (Safari) ประโยชน์ของเว็บบราวเซอร์ เว็บบราวเซอร์เป็นโปรแกรมที่ถูกสร้างขึ้นมาให้ผู้ใช้งานอินเทอร์เน็ตสามารถใช้งานได้ง่ายขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการเข้าเว็บไซต์เพื่อค้นหาข้อมูล ทำธุรกิจหรือธุรกรรมต่างๆ ประกอบกับใน ปัจจุบันเมื่อสังคเข้าสู่ยุคอินเทอร์เน็ตการใช้งานเว็บบราวเซอร์จึงเป็นที่นิยม และถือเป็นสิ่ง แรกที่ผู้ใช้งานต้องทำการเข้าใช้เพื่อเป็นการส่งต่อไปยังเว็บไซต์หรือสิ่งอื่นๆ ที่เราต้องการเข้า ใช้ต่อไป 4. ผู้สอนนำ บัตรภาพเว็บบราวเซอร์มาอธิบายว่ามีแบบใดบ้าง และมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง 5. ผู้สอนแจกใบงานที่ 2.1 ลูกเต๋าเบราว์เซอร์ให้กับผู้เรียน พร้อมอธิบายวิธีการทำใบงาน คือ 1. ให้ผู้เรียนตัดตามรูปแบบ 2. พับตามรอยปะ 3. ทากาวที่หมายเลข 1 4. ประกอบให้เป็นลูกเต๋า 6. ผู้สอนให้เวลาผู้เรียนในการทำลูกเต๋า โดยผู้สอนคอยดูแลความเรียบร้อย โดยกำหนดระยะเวลาใน การทำลูกเต๋าให้ผู้เรียน 20 นาที ขั้นสอน


7. เมื่อครบกำหนดระยะเวลา ผู้สอนให้ผู้เรียนนำลูกเต๋ามาส่ง ก่อนส่งให้ผู้เรียนทอยลูกเต๋า เมื่อตกที่ ภาพใดให้ผู้เรียนบอกชื่อเว็บเบราว์เซอร์และคุณสมบัติเบื้องต้น 8. ผู้สอนสรุปให้ผู้เรียนเข้าใจว่า เว็บเบราว์เซอร์ เป็นโปรแกรมที่ช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งาน อินเทอร์เน็ตได้สะดวกสบายมากยิ่งขึ้น เพราะการเรียกใช้งานเว็บไซต์แต่ละครั้ง ถ้าต้องจดจำ IP ซึ่งเป็นชุดตัวเลขคงเป็นเรื่องยาก ซึ่งหน้าที่หลักๆ ของเว็บบราวเซอร์ก็คือช่วยในการแปลงโดเมน เนมให้กลายเป็นไอพีนั้นเอง 9. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสอบถามเพิ่มเติม 10. 9. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบงานที่ 2.1 ลูกเต๋าเบราว์เซอร์ 2. ใบความรู้ที่ 3 เว็บเบราว์เซอร์ 3. บัตรภาพเว็บบราวเซอร์ 0 10. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ประเมินพฤติกรรมรายบุคคล จากการทำใบงานที่ ใบงานที่ 2.1 ลูกเต๋าเบราว์เซอร์ แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.1 ลูกเต๋า เบราว์เซอร์ แบบประเมินผลงาน คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์ ขั้นสรุป


แบบบันทึกหลังแผนการสอน เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เว็บเบราว์เซอร์ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………….…………….ผู้สอน (ศิริลักษณ์ เลิศหิรัญทรัพย์) ตำแหน่งอาจารย์ชำนาญการ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………………. (…………………..…………………………) ตำแหน่ง……………………………………… ………………/…………....../……………


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมงแผนการ จัดการเรียนรู้ที่ 4 Google Search เวลาเรียน 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด 3. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.3/3 ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ จุดประสงค์ 1. อธิบายขั้นตอนการหาข้อมูลด้วย Google Search ได้(K) 2. พิจารณาเลือกแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือได้ (P) 3. เห็นประโยชน์ของการใช้งาน Google Search (A) 4. สาระการเรียนรู้ ➢ การใช้อินเตอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ช่วยให้การติดต่อสื่อสารทำได้สะดวกและรวดเร็ว เป็นแหล่งข้อมูลความรู้ที่ช่วย ในการเรียนและการดำเนินชีวิต ➢ เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสำหรับอ่านเอกสารบนเว็บเพจ ➢ การสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตทำได้โดยใช้เว็บไซต์สำหรับสืบค้นและต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสมจึง จะได้ข้อมูลตามต้องการ อินเทอร์เน็ตเป็นเครือข่ายขนาดใหญ่ ช่วยให้การติดต่อสื่อสารทำได้สะดวกและรวดเร็ว เป็น แหล่งข้อมูลความรู้ที่ช่วย ในการเรียนและการดำเนินชีวิต เว็บเบราว์เซอร์เป็นโปรแกรมสำหรับอ่านเอกสารบน เว็บเพจ การสืบค้นข้อมูลบนอินเทอร์เน็ตทำได้โดยใช้เว็บไซต์สำหรับสืบค้นและต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสมจึง จะได้ข้อมูลตามต้องการ ข้อมูลความรู้ เช่น ขั้นตอนการทำอาหาร การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ใน การดูแลของครู หรือผู้ปกครอง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4


➢ ข้อมูลความรู้ เช่น วิธีทำอาหาร วิธีพับกระดาษเป็นรูปต่างๆข้อมูลประวัติศาสตร์ชาติไทย (อาจเป็น ความรู้ในวิชาอื่นๆหรือเรื่องที่เป็นประเด็นที่สนใจในช่วงเวลานั้น) ➢ การใช้อินเตอร์เน็ตอย่างปลอดภัยควรอยู่ในการดูแลของครู หรือผู้ปกครอง 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ทักษะการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ชีวิต ทักษะการทำงานร่วมกัน 6. สมรรถนะทาง ICT 1. ICA 1 การเข้าถึงประเมิน และจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 8. ภาระงาน 1. ใบงานที่ 2.2 Google Search 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. วิธีการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วิธีการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL 1. ผู้สอนถามผู้เรียนเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียนและเพื่อกระตุ้นความสนใจของ ผู้เรียน เช่น “เมื่อนักเรียนต้องการรู้เรื่องเกี่ยวกับอะไรสักเรื่องหนึ่งนักเรียนจะไปถามใคร? จะ เป็นอย่างไรถ้ามีคนที่สามารถตอบเราได้ทุกเรื่องที่เราสงสัย?” 2. ผู้สอนถามผู้เรียนว่า “ถ้าคุณครูสั่งให้นักเรียนหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องไวรัสโคโรนา Covid-19 นักเรียนจะไปถามใคร หรือหาข้อมูลจากไหนที่จะได้ข้อมูลที่ครบถ้วนมากที่สุด” ชั่วโมงที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน


3. ผู้สอนแนะนำผู้เรียนว่า เมื่อก่อน ถ้าเราอยากรู้เรื่องอะไรเราจะต้องไปที่ห้องสมุด และเลือกดู หนังสือตามหมวดหมู่ที่เราต้องการจะรู้ แต่ในปัจจุบันเราไม่ต้องเดินทางไปห้องสมุด เราก็ สามารถหาข้อมูลต่างๆได้ จากอินเทอร์เน็ต ที่รวบรวมข้อมูลมากมายจากทั่วทุกมุมโลกเอาไว้ ที่ มีทั้งข้อความ ภาพ วีดิโอ แผนที่ ในปัจจุบันมีเว็บไซต์มากมายที่ให้บริการค้นหาข้อมูล แต่ที่นิยม มากที่สุด ก็คือ Google Google Search เป็นเครื่องมือที่ให้บริการค้นหาข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต (Search Engine) ของเว็บไซต์Google.com ผู้ใช้งานเพียงเข้า เว็บไซต์ www.google.com จากนั้นพิมพ์คำหรือข้อความ (Keyword) เกี่ยวกับเรื่องที่ ต้องการค้นหา และกดปุ่ม Enter Google Search ก็จะแสดงเว็บไซต์ทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง กับ Keyword เหล่านั้นทันที ไม่เฉพาะแต่เพียงการค้นหาข้อมูลในรูปของเว็บไซต์เท่านั้น Google Search ยัง สามารถค้นหาข้อมูลที่เป็นไฟล์รูปภาพ (Images) , กลุ่มข่าว (News Groups) และ สาระบบ เว็บ (Web Directory) ได้อย่างแม่นยำอีกด้วย 4. ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติมว่า เพราะความง่ายของการเข้าถึงข้อมูล ทำให้มีผู้คนมากมายหลงเชื่อ ข้อมูลที่ไม่เป็นความจริงที่อ่านเจอ ดังนั้น หากต้องการเอาข้อมูลมาใช้ประโยชน์ ผู้เรียนจะต้องดู ที่มาของแหล่งข้อมูล และนำข้อมูลมาเปรียบเทียบกันจากหลายๆที่ และจึงนำข้อมูลไป ประมวลผลเป็นสารสนเทศที่มีประโยชน์ต่อไป 5. ผู้สอนแบ่งกลุ่มผู้เรียนออกเป็น 5 กลุ่ม และแจกใบงานที่ 2.2 Google Search ให้นักเรียน พร้อมอธิบายการทำใบงาน คือ ให้ผู้เรียนช่วยกันพิจารณาว่า ข้อมูลที่ใดเชื่อถือได้ ให้ทำ เครื่องหมาย / หน้าข้อมูลที่เชื่อถือได้ และทำเครื่องหมาย x หน้าข้อมูลที่ไม่น่าเชื่อถือ โดยให้ เวลาในการทำใบงาน 20 นาที 6. เมื่อครบกำหนดผู้สอนให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มออกมาอธิบาย ว่าทำไมข้อมูลข้อนั้นๆถึงน่าเชื่อถือ และทำไมถึงไม่น่าเชื่อถือ โดยผู้สอนคอยให้คำแนะนำเพิ่มเติม 7. ผู้สอนสรุปให้ผู้เรียนเข้าใจว่า Google Search คือ โปรแกรมบนอินเทอร์เน็ตที่ช่วยให้ผู้ใช้ค้นหา ข้อมูลได้ง่ายขึ้น โดยที่ผู้ใช้งานเพียงแต่ทราบหัวข้อที่ต้องการค้นหาแล้วป้อนคำหรือข้อความนั้นๆ ลงไป บนเว็บไซต์ www.google.com แต่เพราะมีข้อมูลที่หลากหลายจึงต้องดูแหล่งที่มาของ ข้อมูลก่อนที่จะนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ต่อไป 8. ผู้สอนให้ผู้เรียนช่วยกันบอกประโยชน์ของการใช้งาน Google Search แนวคำตอบ : ค้นหาข้อมูลที่ต้องการได้สะดวก รวดเร็ว สามารถค้นหาแบบเจาะลึกได้ ขั้นสอน ขั้นสรุป


มีความหลากหลายในการค้นหาข้อมูล 9. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้สอบถามเพิ่มเติม 9. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบงานที่ 2.2 Google Search 0 10. การวัดและประเมินผล แบบบันทึกหลังแผนการสอน เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาความรู้ จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 Google Search เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………….…………….ผู้สอน (ศิริลักษณ์ เลิศหิรัญทรัพย์) ตำแหน่งอาจารย์ชำนาญการ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ประเมินพฤติกรรมกลุ่ม จากการทำใบงานที่ ใบงานที่ 2.2 Google Search แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 2.2 Google Search แบบประเมินผลงาน คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์


ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………………. (…………………..…………………………) ตำแหน่ง……………………………………… ………………/…………....../……………


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 รวบรวมประมวลผล และนำเสนอข้อมูล จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 รวบรวมข้อมูล เวลาเรียน 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.3/4 รวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอข้อมูล โดยใช้ ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ จุดประสงค์ 1. อธิบายขั้นตอนการรวบรวมข้อมูลได้ (K) 2. สามารถพิจารณาเลือกแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ (P) 3. เห็นความสำคัญของการเลือกแหล่งข้อมูลที่น่าเชื่อถือ (A) 4. สาระการเรียนรู้ ➢ การการรวบรวมข้อมูลทำได้โดยกำหนดหัวข้อที่ต้องการเตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก ➢ การประมวลผลอย่างง่าย เช่นเปรียบเทียบ จัดกลุ่ม เรียงลำดับ ➢ การนำเสนอข้อมูลทำได้หลายลักษณะตามความเหมาะสมเช่น การบอกเล่า การทำเอกสารรายงาน การจัดทำป้าย ประกาศ การรวบรวมข้อมูล นำข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ มารวมกันไว้ในรูปแบบที่เหมาะสม นำข้อมูลที่เก็บ รวบรวมได้มาประมวลผล เพื่อแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ นำข้อมูลที่รวบรวมและผ่านการ ประมวลผลข้อมูล มานำเสนอ หรือทำการเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบ หรือนำไปวิเคราะห์เพื่อไปใช้ ประโยชน์ 3. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5


➢ การใช้ซอฟต์แวร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ เช่นใช้ซอฟต์แวร์ นำเสนอหรือซอฟต์แวร์กราฟิกสร้าง แผนภูมิรูปภาพ ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคำทำป้ายประกาศหรือเอกสารรายงานใช้ซอฟต์แวร์ตาราง ทำงานในการประมวลผลข้อมูล 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ทักษะการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ชีวิต ทักษะการทำงานร่วมกัน 6. สมรรถนะทาง ICT 1. ICA 1 การเข้าถึงประเมิน และจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 7. ภาระงาน 1. ใบงานที่ 3.1 ไวรัสโคโรนา Covid-19 8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. วิธีการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วิธีการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL 1. ผู้สอนถามผู้เรียนเพื่อเป็นการทบทวนความรู้เดิมของผู้เรียนและเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน เช่น “เมื่อนักเรียนต้องการรู้เรื่องเกี่ยวกับอะไรสักเรื่องหนึ่งนักเรียนจะไปถามใคร? จะเป็นอย่างไร ถ้ามีคนที่สามารถตอบเราได้ทุกเรื่องที่เราสงสัย?” 2. ผู้สอนถามผู้เรียนว่า “ถ้าคุณครูสั่งให้นักเรียนหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องไวรัสโคโรนา Covid-19 นักเรียนจะไปถามใคร หรือหาข้อมูลจากไหนที่จะได้ข้อมูลที่ครบถ้วนมากที่สุด” ชั่วโมงที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน


3. ผู้สอนแจกใบความรู้ที่ 4 DATA ให้กับผู้เรียน พร้อมอธิยายใบความรู้ ข้อมูล (DATA) คือ ข้อเท็จจริงหรือสิ่งต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น คน สัตว์ สิ่งของ เรื่องราว เหตุการณ์ หรือสถานที่ต่างๆ ที่เราสนใจ ซึ่งประเภทของข้อมูลที่ได้รับจะอยู่ในรูปแบบของ ข้อมูลรูปภาพ ตัวเลข สัญลักษณ์ ตัวอักษร เสียง ภาพเคลื่อนไหว รสสัมผัสและผิวสัมผัส ซึ่งเราจะรับรู้ได้จาก ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ได้แก่ ตา หู จมูก ปาก ผิวสัมผัส ประเภทของข้อมูล 1. ข้อมูลตัวอักษร คือ ข้อมูลที่ประกอบด้วยตัวอักษรและตัวเลขที่ใช้ในการคำนวณ ทั้งภาษาไทย และภาษาต่างประเทศ เช่น บัตรประชาชน ทะเบียนบ้าน 2. ข้อมูลตัวเลข คือ ข้อมูลที่ประกอบไปด้วยตัวเลข 0 – 9 ใช้ในการคำนวณได้ เช่น คะแนน จำนวนเงิน ราคาสินค้า 3. ข้อมูลภาพ คือ ข้อมูลที่เป็นภาพ อาจเป็นภาพนิ่ง หรือ ภาพเคลื่อนไหว 4. ข้อมูลเสียง คือ ข้อมูลที่รับรู้ด้วยการได้ยิน จัดเก็บข้อมูลในสื่อคอมพิวเตอร์ สามารถ แสดงผลข้อมูลเสียงด้วยเครื่องขยายเสียงและลำโพง 4. ผู้สอนให้ผู้เรียนช่วยกันตอบว่า เราจะหาข้อมูลต่างๆได้จากที่ไหนบ้าง? แนวคำตอบ : ห้องสมุด หนังสือพิมพ์ ถามจากผู้มีประสบการณ์ อินเทอร์เน็ต 5. ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติม ว่า แหล่งข้อมูล หรือ สื่อ (Media) คือ ตัวกลางในการติดต่อสื่อสาร โดยนำ สารจากผู้ส่งไปยังผู้รับเพื่อติดต่อสื่อสารถึงกัน แหล่งข้อมูล หมายถึงสถานที่หรือแหล่งที่เกิด ข้อมูลแหล่งข้อมูลจะแตกต่างกันไปตามข้อมูลที่ต้องการ สามารถแบ่งแหล่งข้อมูลตามลักษณะการเกิด ได้ดังนี้ 1.แหล่งข้อมูลปฐมภูมิหมายถึง ข้อมูลทั่วไปที่ได้จากการเก็บรวบรวม หรือบันทึก จากแหล่งข้อมูลโดยตรง อาจเป็นการสาอบถาม การสัมภาษณ์ การจดบันทึก และการจัดหา ด้วยเครื่องอัตโนมัติ 2.แหล่งข้อมูลทุติยภูมิหมายถึง ข้อมูลที่ได้มีผู้รวบรวมไว้แล้วในลักษณะเอกสาร ตีพิมพ์เผยแพร่และตำราทางวิชาการ เช่น ข้อมูลสถิติต่าง ๆ ข้อมูลเหล่านี้มีการตีพิมพ์ เผยแพร่เพื่อใช้งานหรือนำไปประมวลผลต่อ 6. ผู้สอนอธิบาย ขั้นตอนการรวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอข้อมูล ขั้นตอนวิธี หรือแผนการรวบรวมเพื่อนำมาทำเป็นสารสนเทศหรือความรู้เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ ต่อไป มีขั้นตอนคือ 1. การกำหนดหัวข้อ 2. การเตรียมอุปกรณ์ 3. ค้นหาและเก็บข้อมูล ขั้นสอน


4. นำข้อมูลที่ได้มาทำการประมวลผล โดยการเปรียบเทียบ จัดกลุ่มเรียงลำดับ จนได้ผลเป็น สารสนเทศ 5. นำเสนอ ซึ่งทำได้หลายลักษณะตามวัตถุประสงค์ เช่น การบอกเล่า เอกสารรายงาน โปสเตอร์ โปรแกรมนำเสนอต่างๆ 7. ผู้สอนแจกใบงานที่ 3.1 ไวรัสโคโรนา Covid-19 พร้อมอธิบายวิธีการทำใบงานคือ ให้ผู้เรียน หาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องไวรัสโคโรนา Covid-19 ตามหัวข้อที่กำหนดในใบงาน และทำการวิเคราะห์ ข้อมูล หลังจากวิเคราะห์แล้ว ให้ผู้เรียนเขียนลงในใบงาน และนำมาส่งในชั่วโมงเรียนถัดไป 8. ผู้สอนสรุปให้ผู้เรียนเข้าใจว่า ข้อมูล (DATA) คือ ข้อเท็จจริงหรือสิ่งต่างๆ สามารถหาข้อมูลได้จาก แหล่งข้อมูลต่างๆ โดยมีขั้นตอน คือ การกำหนดหัวข้อ การเตรียมอุปกรณ์ ค้นหาและเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูล และนำเสนอ 9. ผู้สอนและผู้เรียนสรุปร่วมกันว่า แหล่งข้อมูล หรือ สื่อ (Media Forms) มีด้วยกันหลายรูปแบบ เราจำเป็นต้องเข้าใจ จุดประสงค์ของแหล่งข้อมูล (สื่อ) หรือที่เรียกว่า การรู้เท่าทันสื่อไม่อย่างนั้น เราจะหลงเชื่อไปกับสื่อ (แหล่งข้อมูล) ที่ไม่เหมาะสมได้ 10. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสอบถามเพิ่มเติม 9. สื่อการเรียนรู้ 1. ใบงานที่ 3.1 ไวรัสโคโรนา Covid-19 2. ใบความรู้ที่ 4 DATA 0 10. การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ ตรวจใบงานที่ 3.1 ไวรัสโคโรนา Covid-19 แบบประเมินผลงาน คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์ ขั้นสรุป


แบบบันทึกหลังแผนการสอน เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 รวบรวมประมวลผล และนำเสนอข้อมูล จำนวน 2 ชั่วโมงแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 รวบรวมข้อมูล เวลา เรียน 1 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………….…………….ผู้สอน (ศิริลักษณ์ เลิศหิรัญทรัพย์) ตำแหน่งอาจารย์ชำนาญการ ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………………. (…………………..…………………………) ตำแหน่ง……………………………………… ………………/…………....../……………


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 รวบรวมประมวลผล และนำเสนอข้อมูล จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การประมวลผล เวลาเรียน 1 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.3/4 รวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอข้อมูล โดยใช้ ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ จุดประสงค์ 1. อธิบายขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลได้(K) 2. นำขั้นตอนการประมวลผลข้อมูลไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน (P) 3. เห็นประโยชน์ของการประมวลผลข้อมูลก่อนนำเสนอ หรือเผยแพร่ (A) 4. สาระการเรียนรู้ ➢ การการรวบรวมข้อมูลทำได้โดยกำหนดหัวข้อที่ต้องการเตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก ➢ การประมวลผลอย่างง่าย เช่นเปรียบเทียบ จัดกลุ่ม เรียงลำดับ ➢ การนำเสนอข้อมูลทำได้หลายลักษณะตามความเหมาะสมเช่น การบอกเล่า การทำเอกสารรายงาน การจัดทำป้าย ประกาศ การรวบรวมข้อมูล นำข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ มารวมกันไว้ในรูปแบบที่เหมาะสม นำข้อมูลที่เก็บ รวบรวมได้มาประมวลผล เพื่อแปรสภาพข้อมูลให้อยู่ในรูปแบบที่ต้องการ นำข้อมูลที่รวบรวมและผ่านการ ประมวลผลข้อมูล มานำเสนอ หรือทำการเผยแพร่ให้ผู้ที่สนใจได้รับทราบ หรือนำไปวิเคราะห์เพื่อไปใช้ ประโยชน์ 3. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6


➢ การใช้ซอฟต์แวร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ เช่นใช้ซอฟต์แวร์ นำเสนอหรือซอฟต์แวร์กราฟิกสร้าง แผนภูมิรูปภาพ ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคำทำป้ายประกาศหรือเอกสารรายงานใช้ซอฟต์แวร์ตาราง ทำงานในการประมวลผลข้อมูล 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ทักษะการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะการแก้ปัญหา 4. ความสามารถในการใช้ชีวิต ทักษะการทำงานร่วมกัน 6.สมรรถนะทาง ICT 1. ICA 1 การเข้าถึงประเมิน และจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 8. ภาระงาน 1. กิจกรรมนำเสนอข้อมูล 2. ใบงาน 3.2 ตัด เติม ติด 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. วิธีการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วิธีการสอนโดยใช้ปัญหาเป็นฐาน (Problem–based Learning : PBL 1. ผู้สอนนำภาพตัวอย่างขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ให้ผู้เรียนดู และอธิบายว่า การทำงาน พื้นฐานของคอมพิวเตอร์ มี 4 ขั้นตอน ดังนี้ 1. รับข้อมูล (Input) คอมพิวเตอร์จะทำหน้าที่รับข้อมูลไปประมวลผล อุปกรณ์ที่ทำหน้าที่รับ ข้อมูล ได้แก่ แป้นพิมพ์ เมาส์ เครื่องสแกน เป็นต้น ชั่วโมงที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน


2. ประมวลผลข้อมูล (Process) เมื่อคอมพิวเตอร์รับข้อมูลเข้าสู่ระบบแล้วจะทำการประมวลผล ตามคำสั่ง หรือโปรแกรมที่กำหนด อุปกรณ์ทีทำหน้าที่ประมวลผลได้แก่ CPU 3. แสดงผลข้อมูล (Output) เมื่อทำการประมวลผลแล้ว คอมพิวเตอร์จะแสดงผลลัพธ์ อุปกรณ์ ที่ทำหน้าที่ในการแสดงผลข้อมูลคือ จอภาพและเครื่องพิมพ์ เป็นต้น 4. จัดเก็บข้อมูล คอมพิวเตอร์จะทำการจัดเก็บข้อมูลลงในอุปกรณ์ที่เก็บข้อมูล เช่น ฮาร์ดดิสก์ แผ่นซีดี แฟลชไดรว์ 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนนำใบงานที่ 3.1 ไวรัสโคโรนา Covid-19 มาทำกิจกรรมนำเสนอข้อมูล โดยให้ ผู้เรียนนำข้อมูลที่ได้มานำเสนอหน้าชั้นเรียน และบอกวิธีการได้มาของข้อมูล 2. ผู้สอนคอยเสนอแนะผู้เรียนว่า ขั้นตอนการหาข้อมูลเกี่ยวกับ ไวรัสโคโรนา Covid-19 ก่อนนำมา ตอบลงในใบงาน มีขั้นตอนเหมือนการทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์ คือ ➢ ขั้นตอนรับข้อมูล (Input) คือ ขั้นตอนที่ผู้เรียนไปหาข้อมูลจากแหล่งข้อมูลต่างๆ ➢ ขั้นตอนประมวลผลข้อมูล (Process) คือ ขั้นตอนที่ผู้เรียนได้ข้อมูลมาแล้วนำมา เรียงลำดับข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูล ➢ แสดงผลข้อมูล (Output) คือ ขั้นตอนที่ผู้เรียนแต่ละคนได้ออกมานำเสนอข้อมูล อยู่ในขณะนี้นั่นเอง ➢ จัดเก็บข้อมูล คือ กระบวนการที่ผู้เรียนได้รวบรวมข้อมูล ประมวลผล และนำมา เสนอ จะเกิดเป็นข้อมูลสารสนเทศ ที่ผู้เรียนสามารถจดจำและนำไปใช้ประโยชน์ได้ 3. ผู้สอนแบ่งกลุ่มผู้เรียน ออกเป็น 5 กลุ่ม และแจกใบงาน 3.2 ตัด เติม ติด โดยให้ผู้เรียนตัดภาพ อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ แล้วนำมาติดให้ตรงกับระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ 4. ผู้สอนอธิบายเพิ่มเติมว่า ใบงานนี้ผู้เรียนจะได้รู้จักอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ และเรียนรู้วิธีการ ประมวลผล คือ การนำข้อมูลที่ได้ ซึ่งเป็นรูปภาพอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ต่างๆ ผ่านกระบวนการ ต่างๆ มาจัดให้อยู่ในกลุ่มที่กำหนด 5. ผู้สอนกับผู้เรียนช่วยกันสรุป โดย ผู้สอนถามนำผู้เรียน เช่น “ขั้นตอนการประมวลผลข้อมูล เพื่อ นำไปใช้ประโยชน์ มีขั้นตอนเหมือนกับระบบการทำงานของคอมพิวเตอร์ คือ ขั้นตอนอะไรบ้าง” แนวคำตอบ : ขั้นตอนการรับข้อมูล ขั้นตอนประมวลผลข้อมูล ขั้นตอนแสดงผลข้อมูล หรือ การนำเสนอ และขั้นตอนจัดเก็บข้อมูล 6. ผู้สอนเปิดโอกาสให้ผู้เรียนสอบถามเพิ่มเติม ขั้นสอน ขั้นสรุป


9. สื่อการเรียนรู้ 1. กิจกรรมนำเสนอข้อมูล 2. ใบงาน 3.2 ตัด เติม ติด 3. ภาพตัวอย่างขั้นตอนการทำงานของคอมพิวเตอร์ 0 10. การวัดและประเมินผล แบบบันทึกหลังแผนการสอน เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 รวบรวมประมวลผล และนำเสนอข้อมูล จำนวน 2 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การประมวลผล เวลาเรียน 1 ชั่วโมง ผลการเรียนรู้ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาอุปสรรค …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………….…………….ผู้สอน (ศิริลักษณ์ เลิศหิรัญทรัพย์) ตำแหน่งอาจารย์ชำนาญการ วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ กิจกรรมนำเสนอข้อมูล แบบประเมินผลงาน คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์ กิจกรรมนำเสนอข้อมูล แบบประเมินพฤติกรรม รายบุคคล คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์ ใบงาน 3.2 ตัด เติม ติด แบบประเมินพฤติกรรมกลุ่ม คุณภาพอยู่ในระดับ ดี ผ่านเกณฑ์


ความคิดเห็นของผู้บริหารสถานศึกษา …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ…………………………………………………………. (…………………..…………………………) ตำแหน่ง……………………………………… ………………/…………....../……………


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เทคโนโลยี วิทยาการคำนวณ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การใช้ซอฟต์แวร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ จำนวน 4 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 นำเสนอข้อมูล เวลาเรียน 4 ชั่วโมง 1. มาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาที่พบในชีวิตจริงอย่างเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปัญหา ได้อย่างมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทัน และมีจริยธรรม 2. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด การรวบรวมนำข้อมูลที่สืบค้นได้บนอินเทอร์เน็ต ผ่านการประมวลผล และนำมาสรุป นำเสนอ ผ่านรูปแบบกราฟิก โดยใช้โปรแกรมไมโครซอฟท์พาวเวอร์พอยต์ (Microsoft Power Point) เพื่อให้เข้าใจ เนื้อหาได้มากขึ้น เปลี่ยนข้อมูลที่ยุ่งยากซับซ้อนให้เข้าใจได้ง่าย ตัวชี้วัด ว 4.2 ป.3/3 ใช้อินเทอร์เน็ตค้นหาความรู้ ว 4.2 ป.3/4 รวบรวม ประมวลผล และ นำเสนอข้อมูล โดยใช้ ซอฟต์แวร์ตามวัตถุประสงค์ จุดประสงค์ 1. อธิบายได้ว่า อินโฟกราฟิก (infographic) คืออะไร (K) 2. ใช้งานซอฟต์แวร์ทำงานได้ตามวัตถุประสงค์ (P) 3. เห็นความสำคัญของการเลือกใช้โปรแกรมให้เหมาะสมกับข้อมูล (A) 4. สาระการเรียนรู้ ➢ การสืบค้นข้อมูลบนอินเตอร์เน็ตทำได้โดยใช้เว็บไซต์สำหรับสืบค้นและต้องกำหนดคำค้นที่เหมาะสมจึง จะได้ข้อมูลตามต้องการ ➢ ข้อมูลความรู้ เช่น วิธีทำอาหาร วิธีพับกระดาษเป็นรูปต่างๆข้อมูลประวัติศาสตร์ชาติไทย(อาจเป็น ความรู้ในวิชาอื่นๆหรือเรื่องที่เป็นประเด็นที่สนใจในช่วงเวลานั้น) ➢ การการรวบรวมข้อมูลทำได้โดยกำหนดหัวข้อที่ต้องการเตรียมอุปกรณ์ในการจดบันทึก ➢ การประมวลผลอย่างง่าย เช่นเปรียบเทียบ จัดกลุ่ม เรียงลำดับ 3. ตัวชี้วัด/จุดประสงค์การเรียนรู้ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7


➢ การนำเสนอข้อมูลทำได้หลายลักษณะตามความเหมาะสมเช่น การบอกเล่า การทำเอกสารรายงาน การจัดทำป้าย ประกาศ ➢ การใช้ซอฟต์แวร์ทำงานตามวัตถุประสงค์ เช่นใช้ซอฟต์แวร์ นำเสนอหรือซอฟต์แวร์กราฟิกสร้าง แผนภูมิรูปภาพ ใช้ซอฟต์แวร์ประมวลคำทำป้ายประกาศหรือเอกสารรายงานใช้ซอฟต์แวร์ตาราง ทำงานในการประมวลผลข้อมูล 5. สมรรถนะสำคัญ 1. ความสามารถในการสื่อสาร ทักษะการสื่อสาร 2. ความสามารถในการคิด ทักษะความคิดสร้างสรรค์ ทักษะการคิดอย่างเป็นระบบ ทักษะการคิดวิเคราะห์ 3. ความสามารถในการแก้ปัญหา ทักษะการแก้ปัญหา ➢ ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี ทักษะการใช้กระบวนการทางเทคโนโลยี 6. สมรรถนะทาง ICT 1. ICA 1 การเข้าถึงประเมิน และจัดการข้อมูลและสารสนเทศ 2. ICA2 การแชร์ข้อมูลและการสื่อสาร 7. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 1. มีวินัย 2. ใฝ่เรียนรู้ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน 8. ภาระงาน 1. Info graphic Covid-19 9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 1. วิธีการสอนแบบสร้างสรรค์เป็นฐาน (Creativity-Based Learning : CBL) 2. วิธีการสอนโดยการลงมือปฏิบัติ (Practice) 1. ผู้สอนถามผู้เรียนเพื่อเป็นการทบทวรความรู้เดิม และเพื่อกระตุ้นความสนใจของผู้เรียน เช่น ชั่วโมงที่ 1 ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน


“จากบทเรียนที่ผ่านมา นักเรียนได้รู้วิธีการค้นหาข้อมูล การประมวลผลข้อมูล และได้นำเสนอ ข้อมูลโดยการออกมาอธิบาย บอกเล่าหน้าชั้นเรียน นักเรียนคิดว่า นอกจากวิธีการบอกเล่า และ วิธีการนำเสนอข้อมูลให้น่าสนใจอย่างไรบ้าง?” แนวคำตอบ : การนำเสนอข้อมูลเป็นเอกสารรายงาน การนำเสนอแบบมีภาพประกอบ 2. ผู้สอนเปิดคลิป INFOGRAPHIC ANIMATION COVID-19 (YOU KNOW ? ) จากลิงค์ https://www.youtube.com/watch?v=snMD7Mfo3o4 3. จบคลิปผู้สอนบอกจุดประสงค์ของการเรียนรู้ คือ จากคลิปที่นักเรียนได้ดู เป็นการนำเรื่องไวรัส โคโรนา COVID-19 มานำเสนอในรูปแบบของวีดีโอ Infographic ซึ่งมีทั้งข้อความ ภาพ และ เสียง ประกอบ ซึ่งทำให้ข้อมูลน่าสนใจและดูเข้าใจง่ายมากขึ้น นอกจากนี้ ยังมีวิธีการนำเสนอ ข้อมูล ในรูปแบบ infographic แบบที่ไม่มีเสียงบรรยาย แต่ก็ทำให้เข้าใจได้ง่ายไม่แพ้กัน ซึ่งนักเรียนจะ ได้เรียนรู้วิธีการนำเสนอข้อมูลจากหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 นี้ 4. ผู้สอนแจกใบความรู้ที่ 5 การนำเสนอข้อมูล ให้ผู้เรียน พร้อมอธิบาย ใบความรู้ การนำเสนอข้อมูล หมายถึง การนำข้อมูลและรายละเอียดต่างๆ ที่เก็บรวบรวม มาจัดให้เป็น ระเบียบ เพื่อนำเสนอข้อมูลจากบุคคลหนึ่ง (ผู้นำเสนอ) ไปยังอีกบุคคลหนึ่ง (ผู้ฟัง ผู้รับข้อมูล) ให้เกิด ความเข้าใจในเรื่องที่นำเสนอ โดยใช้เทคนิคและสื่อต่าง ๆ ในการนำเสนอข้อมูล เพื่อให้บรรลุ จุดมุ่งหมายของการนำเสนอที่กำหนดไว้ จุดมุ่งหมายในการนำเสนอ 1. เพื่อให้ผู้รับสารรับทราบความคิดเห็นหรือความต้องการ 2. เพื่อให้ผู้รับสารพิจารณาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง 3. เพื่อให้ผู้รับสารได้รับความรู้จากข้อมูลที่นำเสนอ 4. เพื่อให้ผู้รับสารเกิดความเข้าใจที่ถูกต้อง ประเภทของการนำเสนอข้อมูล 1. การนำเสนอข้อมูลด้วยวาจา หรือ การรายงานปากเปล่า 2. การนำเสนอข้อมูลเป็นเอกสารรายงาน 3. การนำเสนอข้อมูลด้วยการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ หลักการเลือกใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมต่อการนำเสนองาน 1. หลักการดึงดูดความสนใจ โดยการออกแบบให้สิ่งที่ปรากฏต่อสายตานั้นชวนมอง มี ความสบายตา สบายใจ มีความชัดเจนและความกระชับของเนื้อหา คือข้อความต้อง สั้น ขั้นสอน


ได้ใจความ ชัดเจน และภาพประกอบต้องมีส่วนสัมพันธ์อย่างสร้างสรรค์กับข้อความ ที่นำเสนอ 2. หลักความเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย การออกแบบสื่อนำเสนอต้องคำนึงถึง กลุ่มเป้าหมาย เช่น กลุ่มเป้าหมายเป็นเด็ก ควรออกแบบโดยการใช้สีสดๆ และมีภาพ การ์ตูนประกอบ การนำเสนอที่ดี นอกจากการเลือกรูปแบบของการนำเสนอให้ถูกต้องและเหมาะสมแล้ว จะต้อง คำนึงถึงลักษณะ ของการนำเสนอที่จะช่วยให้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ของการนำเสนอด้วย โดยทั่วไปลักษณะของการนำเสนอที่ดี ควรมีดังต่อไปนี้ 1. มีวัตถุประสงค์ที่ชัดเจน คือ ต้องมีความแน่ชัดว่า เสนอเพื่ออะไร โดยไม่ต้องให้ ผู้รับ รับการนำเสนอต้องถามว่าต้องการให้พิจารณาอะไร 2. มีรูปแบบการนำเสนอเหมาะสม กล่าวคือมีความกะทัดรัด ได้ใจความ เรียงลำดับ น่าสนใจ ใช้ภาษาเข้าใจง่าย ใช้ตาราง แผนภูมิ แผนภาพ ช่วยให้พิจารณาข้อมูล ได้สะดวก 3. เนื้อหาสาระดี มีความน่าเชื่อถือ เที่ยงตรง ถูกต้อง สมบูรณ์ ตรงตามความ ต้องการ มีข้อมูลที่เป็นปัจจุบันทันสมัย และมีเนื้อหาเพียงพอแก่การพิจารณา 4. มีข้อเสนอที่ดี มีข้อเสนอที่สมเหตุสมผล มีข้อพิจารณาเปรียบเทียบ ทางเลือกที่ เห็นได้ชัด เสนอแนะแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดคอมพิวเตอร์ตามขั้นตอนการเปิดคอมพิวเตอร์ และเปิดโปรแกรม Microsoft Word ขึ้นมา 2. ผู้สอนอธิบายส่วนประกอบของโปรแกรม Microsoft Word ขั้นสอน (ต่อ) ชั่วโมงที่ 2 1. แท็บเครื่องมือ ด่วน 2. ชื่อแฟ้มและ โปรแกรม 3. แท็บ 4. Ribbon 5. แบบอักษร 6. ไม้บรรทัด 7. ตัวเปิดไม้บรรทัด 8. ตำแหน่งพิมพ์หรือ เครื่องหมายจบ 9. แท็บเลื่อน 10. มุมมอง/ย่อขยาย 11. แท็บสถานะ


3. ผู้สอนอธิบายวิธีการบันทึกไฟล์ ทำการบันทึก ไฟล์โดยใช้การกดปุ่ม Ctrl+S คีย์บอร์ดก็ได้ หรือ เลือกปุ่ม Save ที่อยู่ใน Quick Access Toolbar ก็ได้ หรือจะเลือกแท็บ File (ไฟล์) ตามด้วยคำสั่ง Save (บันทึก) หรือ Save As (บันทึกเป็น) ก็ได้ 4. ผู้สอนอธิบายรอสักครู่จะมีหน้าต่าง Save As แสดงขึ้นมา เราสามารถเลือกโฟลเดอร์ สำหรับเก็บไฟล์ และตั้ง ชื่อได้ตามต้องการก่อน เลือกปุ่ม Save (บันทึก) 5. ผู้สอนให้ผู้เรียนพิมพ์ข้อมูลตามใบงาน 3.1 ไวรัสโคโรนา Covid-19 ผู้สอนกำหนดให้ ผู้เรียนใช้ฟอนต์ และขนาดที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน เช่น ใช้ฟ้อนต์Angsana New ขนาด 16 พอยน์ 6. นอกจากเนื้อหาที่เป็นข้อความแล้ว ผู้สอนแนะนำให้ผู้เรียนเตรียมเนื้อหาในส่วนที่เป็น ภาพประกอบเอาไว้ด้วย โดยใช้วิธีการที่ได้เรียนรู้มาแล้วการค้นหาภาพ คือ วิธีการสืบค้นรูปภาพ 1. ทำการเปิดเว็บไซต์ http://www.google.co.th/ 2. เลือกหัวข้อที่ต้องการค้น ในที่นี้จะเลือกหัวข้อ “ค้นรูป” 3. พิมพ์ Keyword (ข้อความ) ที่ต้องการสืบค้นลงในช่อง text box 4. กดที่ปุ่ม “ค้นหา” 5. ระบบจะทำการค้นหาเว็บไซต์ที่ตรงกับ Keyword ที่ต้องการ


7. ผู้สอนให้เวลาผู้เรียนค้นหาข้อมูลเพิ่มเติม เตรียมข้อมูล ผู้สอนคอยดูแลความเรียบร้อย 1. ผู้สอนให้ผู้เรียนเปิดโปรแกรม Microsoft PowerPoint ขึ้นมา ผู้สอนอธิบายส่วนประกอบของ โปรแกรม Microsoft PowerPoint 1. ปุ่ม Office button คือ ปุ่มรวบรวมคำสั่งที่ใช้งานกับไฟล์งานทั้งหมดเช่นสร้าง New เปิด ( Open ) และ บันทึก ( Save ) 2. เป็นแท็บ (กำหนดแถบเครื่องมือด่วนเอง) เป็นแถบเครื่องมือที่จัดเก็บปุ่มคำสั่งที่ต้องการ ใช้งานด่วน เช่น Open, Save, Undo หรือ Redo เป็นต้น ซึ่งผู้ใช้สามรถเพิ่มหรือลบปุ่ม คำสั่งในส่วนนี้ได้ 3. Title bar (ชื่อหัวเรื่อง) เป็นแถบแสดงหัวเรื่องหรือชื่อไฟล์ที่เปิดขึ้นมาใช้งาน โดยแผ่นสไลด์ ที่เปิดขึ้นมาใช้งานแผ่นแรกจะมีชื่อว่า Presentation1 4. Ribbon ( ริบบอน ) ส่วนที่จัดเก็บแท็บคำสั่งและเครื่องมือต่างๆ ที่ใช้สำหรับสร้างและ ออกแบบงานนำเสนอโดยแต่ละแท็บคำสั่งจะจัดเก็บชุด คำสั่งเรียงไว้เป็นกลุ่มๆ 5. Normal View เป็นมุมมองการทำงานที่มีให้เลือกใช้งาน 2 รูปแบบ คือ แบบ Slides (ใช้สำหรับจัดวางและปรับแต่งองค์ประกอบบนแผ่นสไลด์)และแบบ Outline (ใช้สำหรับ กำหนดและจัดลำดับหัวข้องานที่จะนำเสนอ) 6. พื้นที่สำหรับใช้ออกแบบและจัดวางองค์ประกอบต่างๆ บนแผ่นสไลด์ 7. Status bar แถบแสดงสถานการณ์ทำงาน 8. View ส่วนที่ใช้สับเปลี่ยนมุมมองการแสดงผลแผ่นสไลด์ 9. Zoom Level เครื่องมือที่ใช้ย่อหรือขยายขนาดการแสดงผล ชั่วโมงที่ 3 ขั้นสอน(ต่อ)


2. ผู้สอนให้ผู้สร้างหน้ากระดาษเปล่าที่มีกระดาษเท่า A4 ขึ้นมา โดยไปที่ แท็บเมนู ออกแบบ (Design) และไปที่ไอคอน ตั้งค่าหน้ากระดาษ (Slide Side) จากนั้นให้เลือก กำหนดขนาดเอง 3. จะปรากฎ Dialog Box ให้ผู้เรียนตั้งค่าขนาดเป็น A4 และเลือกแนวตั้ง (Portrait) จากนั้นกดปุ่ม OK 4. เมื่อได้หน้ากระดาษแล้วให้ผู้เรียนพิมชื่อประเทศลงไป 5. จากนั้นให้ผู้เรียนไปที่แท็บเมนู File (ไฟล์) แล้วเลือกคำสั่ง บันทึกเป็น (Save As) 6. จะปรากฎDialog Box ขึ้นมา ให้ผู้เรียตั้งชื่อไฟล์ว่า Infographic Covid-19 และตามด้วย ชื่อ นามสกุลของผู้เรียน จากนั้นเลือกที่จัดเก็บเพื่อให้ง่ายต่อการเปิดขึ้นมาในครั้งถัดไป 7. ผู้สอนให้ผู้เรียนไปที่แท็บเมนู ออกแบบ (Design) ให้ผู้เรียนเลือก Template ที่เหมาะสมตามหลักการ ออกแบบ หรือเหมาะสมกับข้อมูลของผู้เรียน


8. ให้ผู้เรียน ปรับเปลี่ยนชื่อหัวข้อ ให้น่าสนใจ โดยไปที่แท็บเมนูหน้าแรก (Home) และปรับขนาด ปรับสีตัวอักษร เปลี่ยนรูปแบบตัวอักษรตามหลักการออกแบบ 9. ให้ผู้เรียนแบ่งสัดส่วน ว่าจะจัดวาง อย่างไรคร่าวๆ โดยไปที่แท็บเมนู แทรก (Insert) และเลือกรูปร่าง ตามที่ต้องการ มาแบ่งสัดส่วนของ เนื้อหาให้ครบถ้วน ตามเทคนิค การออกแบบข้อมูลให้น่าสนใจ


10. ผู้สอนให้ผู้เรียนนำข้อมูลที่พิมพ์ไว้ในโปรแกรม Microsoft Word มาใส่ตามช่องที่ได้แบ่งข้อมูลไว้ โดย จัดเนื้อหาข้อความ ไม่น่าสนใจ ไม้มาก ไม่น้อยจนเกินไป 11. ผู้สอนให้ผู้เรียนใส่ข้อมูลให้ครบ โดยผู้สอนคอยดูแลความเรียบร้อย 1. ผู้สอนแนะนำการแทรกภาพ โดยไปที่แท็บเมนู แทรก (Insert) เลือกไอคอนภาพ (Pictures) 2. จะมีหน้าต่างขึ้นมา ให้เลือกที่จัดเก็บไฟล์ภาพไว้ หรือพิมพ์ค้นหาชื่อภาพ ที่ช่อง File name และ เลือก แทรก (Insert) ชั่วโมงที่ 4 ขั้นสอน(ต่อ)


Click to View FlipBook Version