วดั ราชบูรณะ
วดั ราชบรู ณะ ปัจจบุ นั ตงั้ อยใู่ จกลางเมอื งพษิ ณุโลก ตดิ ฝ่ังแม่น้าน่าน
เยอื้ งกบั วดั พระศรรี ตั นมหาธาตุวรมหาวหิ าร (วดั ใหญ)่ ตรงขา้ มกบั วดั นางพญา
โดยมถี นนมติ รภาพตดั ผ่ากลาง ทาใหว้ ดั อยคู่ นละฝ่ังถนน
ไมป่ รากฏหลกั ฐานการกอ่ สรา้ งวา่ เรมิ่ สรา้ งขนึ้ ครงั้ แรกในสมยั ใด “วดั ราชบูรณะ”
เป็ นวดั เกา่ แกโ่ บราณวดั หนึ่ง เขา้ ใจวา่ คงจะมอี ายถุ งึ สมยั สโุ ขทยั กอ็ าจจะเป็ นได ้
วดั แหง่ นีเ้ ดมิ มอี าณาเขตตดิ ต่อกบั วดั นางพญา ในเดอื นเมษายน พ.ศ. 2502
กรมทางหลวงไดต้ ดั ถนนสายพษิ ณุโลก-หลม่ สกั คอื ถนนมติ รภาพ ถนนสายนี้
ไดต้ ดั ผา่ นเขา้ ไปในเนือ้ ทวี่ ดั นางพญาและวดั ราชบูรณะ
ถนนมติ รภาพไดต้ ดั เฉียดพระอโุ บสถไปอย่างใกลช้ ดิ
จนตอ้ งรอื้ ยา้ ยใบเสมามมุ พระอุโบสถดา้ นตะวนั ออกเฉียงเหนือ
วดั ราชบรู ณะเป็ นวดั โบราณ สนั นิษฐานวา่ สรา้ งขนึ้ ในสมยั สโุ ขทยั กอ่ นรชั สมยั พระยาลไิ ท
แตไ่ ม่พบหลกั ฐานทชี่ ดั เจน แตจ่ ากการคน้ ควา้ จากหลกั ฐานดงั ต่อไปนี้ ประวตั วิ ดั บนไมแ้ ผน่ ป้ ายของวดั
มคี วามว่า “วดั ราชบูรณะเดมิ ไม่ปรากฏชอื่ กอ่ สรา้ งมานาน 1,000 ปี เศษ
กอ่ นทพี่ ระยาลไิ ทไดท้ รงบรู ณปฏสิ งั ขรณ์ ดงั นั้นวดั นีจ้ งึ ไดช้ อื่ ว่า “วดั ราชบรู ณะ”
รวมความยาวนานถงึ ปัจจบุ นั ประมาณ 1,000 ปี เศษ พระยาลไิ ททรงสรา้ งพระพุทธชนิ ราช พระพุทธชนิ สหี ์
และพระศรศี าสดาแลว้ ทองยงั เหลอื อยูจ่ งึ ไดห้ ล่อพระเหลอื ขนึ้
และทรงทอดพระเนตรเห็นว่าวดั นีช้ ารดุ ทรดุ โทรมมาก จงึ ไดบ้ รู ณะขนึ้ มาอกี ครงั้ จงึ ไดน้ ามว่า “ราชบรู ณะ”
ประกาศขนึ้ ทะเบยี นโบราณสถาน วนั ที่ 27 กนั ยายน 2479
พระวหิ ารหลวงวดั ราชบรู ณะ อาคารกอ่ อฐิ ถอื ปนู กวา้ ง 18 เมตร ยาว 23 เมตร สูง 13
เมตรหนั ไปทางทศิ ตะวนั ออก ดา้ นหนา้ มที างขนึ้ ลง 3 ทาง ประตู 3 คู่ หนา้ ต่างดา้ นละ 7 คู่
พนื้ วหิ ารยกสูงจากพนื้ ดนิ ประมาณ 1.75 เมตร พระวหิ ารมสี ถาปัตยกรรมทรงโรง 9 หอ้ ง
ศลิ ปะสมยั สโุ ขทยั ดา้ นหนา้ มรี ะเบยี งเสาหาน รว่ มเรยี งในรองรบั 4 เสา มบี วั หวั เสาเป็ นบวั 2 ชนั้ มกี ลบี ยาว
สว่ นหลงั คาสรา้ งแบบเดยี วกนั กบั พระอุโบสถ ตา่ งกนั ทใี่ ชพ้ ญานาคเศยี รเดยี ว
พระอุโบสถเป็ นพญานาคสามเศยี ร บานประตหู นา้ 3 คู่ หลงั 2 คู่ แกะสลกั ลวดลายดอกบวั ตมู เรยี งต่อกนั
เสาในพระวหิ ารมี 2 แถว แถวละ 7 ตน้ เป็ นเสาศลิ าแลงกอ่ อฐิ ถอื ปูนทรงกลมเสน้ ผา่ นศูนยก์ ลาง 80
เซนตเิ มตร ทาสแี ดงฉลสุ ที องทโี่ คนเสาและปลายเสา เพอื่ รองรบั ตวั ขอื่ ทบี่ วั หวั เสา เป็ นบวั กลบี ซอ้ นกนั 5 ชน้ั
ทคี่ านบนมลี ายดอกไมเ้ ขยี นพนื้ ไมส้ ดี าลายฉลทุ อง
ภายในพระวหิ ารหลวง ประดษิ ฐาน หลวงพ่อทองดา พระประธาน
ซง่ึ เป็ นพระพุทธรปู ปูนปนั้ ลงรกั ปิ ดทองปางมารวชิ ยั หนา้ ตกั กวา้ ง 4 เมตร สงู 5.50 เมตร
ศลิ ปะสมยั สโุ ขทยั ทชี่ าวบา้ นเรยี กกนั ว่าหลวงพอ่ ทองดา ทศี่ กั ดสิ ์ ทิ ธิ ์
มคี นกราบไวบ้ ูชาขอพรขอโชคขอลาภลว้ นประสทิ ธผิ ล พระพทุ ธลกั ษณะคลา้ ยพระพุทธชนิ ราชมาก
ประดษิ ฐานอย่บู นฐานชกุ ชี 2 ชน้ั สูง 1.50 เมตร ชนั้ ล่างสงู 1 เมตร เป็ นรปู เทา้ สงิ ห ์ ชนั้ บนสงู 0.5 เมตร
เป็ นฐานบวั คว่าบวั หงาย พระอุโบสถ ขนาด กวา้ ง10 เมตร ยาว 18 เมตร สงู 10 เมตร ลกั ษณะกอ่ อฐิ ถอื ปนู
ผนังหนาราว 50 เซนตเิ มตร มบี นั ไดขนึ้ ทางดา้ นหนา้ สองแห่งและดา้ นหลงั สองแหง่
โครงสรา้ งหลงั คาเครอื่ งไมม้ งุ กระเบอื้ งดนิ เผา
พระอุโบสถวดั ราชบรู ณะเป็ นการวางรปู โบสถแ์ บง่ ออกเป็ นหกหอ้ ง ประตหู นา้ หลงั ดา้ นละสองประตหู ลงั
หลงั คามุขหนา้ หลงั ปี กนกคลุมสองชนั้ ทรงนีเ้ รยี กว่า แบบทรงโรง
ลกั ษณะเป็ นแบบเกา่ สมยั อยุธยาและถกู ซอ่ มแซมมาหลายยคุ สมยั ภายในมเี สาห่านรว่ มในเรยี งอยสู่ องแถว
เพอ่ื รบั ตวั ขอื่ หนา้ จว่ั เป็ นแบบเกา่ คอื แบบภควมั เชน่ เดยี วกบั จว่ั วหิ ารพระพทุ ธชนิ ราช
แปดเหลยี่ มเพอื่ รองรบั รวยระกาทหี่ นาบนั โดยเฉพาะ ลายองจงึ ไมท่ าวงแบบ นาคสะดงุ ้ หางหงสแ์ ละนาคปรก
ทาเป็ นนาคเบอื น ลกั ษณะความแหลมของแนวหลงั คาเป็ นแบบเกา่ ทใี่ ชก้ บั รวยระกา
ตามแบบป้ านลมสมยั สโุ ขทยั ไดอ้ ยา่ งดบี านประตสู ลกั รูปดอกเป็ นสกี่ กลบี แบบดอกลาดวน
ภายในอโุ บสถเป็ นภาพเขยี น เรอื่ งรามเกยี รตแิ ์ ละตอนทดี่ ที สี่ ุดคอื ตอน ทศกณั ฐส์ ง่ั เมอื งทผี่ นังดา้ นทศิ เหนือ
สว่ นดา้ นล่างเป็ นเรอื่ ง กามกรฑี า ซง่ึ ไมพ่ บทใี่ ดมากอ่ น น่าจะเขยี นขนึ้ ในรชั กาลที่ 4
บางตอนถกู นา้ ฝนเสยี หาย และพระประธานก็นับวา่ งดงามมาก
ปัจจบุ นั ทางวดั ไดม้ กี ารบูรณะเปลยี่ นกระเบอื้ งหลงั คาและทาสขี าวใหมท่ ง้ั หลงั ภายในพระอุโบสถ
ประดษิ ฐานพระประธาน พระพุทธรปู ปางมารวชิ ยั (หลวงพ่อทองสุข) ลงรกั ปิ ดทองหนา้ ตกั กวา้ ง 2 เมตร สูง 3
เมตร ศลิ ปะสมยั สุโขทยั ประดษิ ฐานอยู่บนฐานชกุ ชกี อ่ อฐิ ถอื ปนู ชน้ั ลา่ งเป็ นฐานเทา้ สงิ ห ์ 2 ชนั้
ชนั้ บนสุดเป็ นฐานบวั ควา่ บวั หงาย ปิ ดทองประดบั กระจกสี
เจดยี ห์ ลวง ตง้ั อยู่บนฐานกอ่ อฐิ ถอื ปูนขนาดใหญ่ โดยเรยี งซอ้ นเป็ นชน้ั ขนึ้ ไป12 ชนั้ จนถงึ ชน้ั ระเบยี งรอบ
มเี จดยี ท์ รงกลม หรอื เจดยี ท์ รงลงั กาตงั้ อยู่บนลาน ระเบยี งรอบหรอื ลานประทกั ษณิ เป็ นเจดยี ป์ ระธาน
เจดยี เ์ ล็กคลา้ ยองคเ์ จดยี ป์ ระธานตงั้ อยู่ดา้ นล่างรอบองคเ์ จดยี ์ มกี าแพงแกว้ ลอ้ มรอบ
เดมิ ยอดเจดยี ห์ กั ชารดุ สญู หายไป เหลอื แตฐ่ านบลั ลงั กเ์ หนือคอระฆงั
พระเจดยี ว์ ดั ราชบรู ณะองคน์ ีเ้ ป็ นพระเจดยี ท์ มี่ ขี นาดใหญท่ สี่ ดุ และสงู ทสี่ ดุ ในจงั หวดั พษิ ณุโลก ในปี พ.ศ.
2533 กรมศลิ ปากร ไดท้ าการบรู ณปฏสิ งั ขรณร์ ากฐานและกอ่ ยอดพระเจดยี ว์ ดั ราชบรู ณะ
ใหม้ คี วามม่นั คงแข็งแรงและสมบรู ณด์ ี
เมอื่ ปี พ.ศ. 2528 กรมศลิ ปากรไดข้ ดุ คน้ เจดยี ห์ ลวงวดั ราชบูรณะเพอื่ จาทาการบรู ณปฏสิ งั ขรณใ์ หม่
ไดข้ ดุ คน้ พบพระบรมสารรี กิ ธาตุทบี่ รรจไุ วใ้ นคอระฆงั ของเจดยี ห์ ลวงซงึ่ บรรจไุ วใ้ นผอบ และเจดยี จ์ าลองเล็กๆ
ทที่ าจากทองสารดิ ซงึ่ ทางวดั ไดน้ าออกมาใหพ้ ทุ ธศาสนิกชนไดส้ กั การบชู าทศี่ าลาการเปรยี ญ
ปัจจบุ นั วดั ราชบรู ณะกาลงั กอ่ สรา้ งมณฑปบรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตุ จากขอ้ มูลหลกั ฐาน พระไหล่ลาย
ไดน้ อ้ มอญั เชญิ พระบรมสารรี กิ ธาตุประดษิ ฐานไวท้ นี่ ครปฐมแหง่ หน่ึง เดนิ ทางขนึ้ เหนือถงึ เมอื งพษิ ณุโลก
อญั เชญิ พระบรมสารรี กิ ธาตไุ ปประดษิ ฐานไวท้ วี่ ดั สาคญั ๆ 3 แห่ง ดงั นี้ 1. วดั บูรพาตะวนั ออก 2. วดั เสนาสน์
3. วดั มหาเจดยี ห์ รอื วดั มหาสถาน นักโบราณคดสี นั นิษฐานคอื วดั ราชบรู ณะปัจจบุ นั
ซงึ่ ทางวดั ราชบูรณะไดด้ าเนินการกอ่ สรา้ งมณฑป เพอื่ บรรจพุ ระบรมสารรี กิ ธาตดุ งั กลา่ ว
หอไตรเสากลม เป็ นหอไตรคอนกรตี กวา้ ง 6 เมตร ยาว 6 เมตร สงู 11 เมตร มเี สาปูนกลมเรยี ง 4 แถว
แถวละ 4 ตน้ สูงตน้ ละ 4 เมตร มบี วั หวั เสากลบั 2 ชนั้ ชนั้ ลา่ งเป็ นหอระฆงั
ชน้ั บนเป็ นหอไตรเกบ็ รกั ษาพระคมั ภรี ต์ ่างๆ มชี อ่ ฟ้ าใบระกาหางหงสท์ กุ มมุ ทง้ั 8 มมุ
ทศิ เหนือและทศิ ใตม้ ลี ายปูนปั้นรูปพระยาครฑุ จบั พระยานาค ยอดหอไตร
มยี อดเรยี วแหลมคลา้ ยยอดของพระเจดยี ท์ มี่ ยี อดเหลยี่ มย่อมมุ ไมส้ บิ สอง
หอไตรนีถ้ กู สรา้ งขนึ้ เมอื่ ใดไมป่ รากฏหลกั ฐาน
แต่หากพจิ ารณาตามรปู แบบสถาปัตยกรรมแลว้ น่าจะสนั นิษฐานไดว้ า่ สรา้ งขนึ้ ในสมยั สโุ ขทยั
เรอื พระทนี่ ่ังรบั เสด็จสมยั ร.5 ประวตั เิ รอื พระทนี่ ่ังรบั เสด็จสมยั ร.5 ตามคาบอกเล่า
ของอดตี เจา้ อาวาสวดั ราชบูรณะ คนเกา่ คนแกข่ องวดั และชาวพษิ ณุโลก เรอื ลานีเ้ ป็ นเรอื พระทนี่ ่ังรบั เสด็จ
สมยั ร.5ยาว 12 เมตร กวา้ ง 1.7 เมตร สมยั เสด็จขนึ้ มานมสั การพระพทุ ธชนิ ราช เมอื งพษิ ณุโลก
เสด็จไปทตี่ า่ งๆ เพอ่ื มสั การศาสนสถาน และเยยี่ มเยยี นพสกนิกรของพระองค ์
ไดใ้ ชเ้ รอื ลานีเ้ ป็ นเรอื พระทนี่ ่ังแทนเรอื พระทนี่ ่ังทมี่ าจากเมอื งหลวง (บางกอก) ในสมยั ทเี่ สดจ็ มาในคราวนั้น
เมอื่ ปี พ.ศ. 2527 ทหารคา่ ยสฤษดเิ ์ สนา ไดม้ าพฒั นาวดั ราชบูรณะ โดยใชท้ หาร 300 นาย พฒั นา 3 วนั 3
คนื พบเรอื พระทนี่ ่ังรบั เสด็จลานี้ จมดนิ เหลอื แต่ทา้ ยเรอื เท่านั้นทพี่ น้ ดนิ
ไดข้ ดุ เอาเรอื พระทนี่ ่ังรบั เสด็จลานีข้ นึ้ มา ทาการบรู ณะซอ่ มแซม และไดจ้ ดั ตงั้ ไวก้ ลางลานวดั หนา้ พระวหิ าร
ต่อมาเมอื่ ปี พ.ศ.2533 ฉลอง 400 ปี ของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราช
ทางศกึ ษาธกิ ารจงั หวดั พษิ ณุโลกไดม้ าอญั เชญิ เรอื พระทนี่ ่ังรบั เสด็จสมยั ร.5
ลานีไ้ ปทาการบรู ณะซอ่ มแซมอกี ครง้ั และไดน้ าลงแม่นา้ น่านเป็ นครงั้ แรก
ซงึ่ ไมเ่ คยนาลงน้ามาเป็ นเวลานับรอ้ ยปี เพอ่ื ฉลองครบรอบ 400 ปี
ของสมเดจ็ พระนเรศวรมหาราชในนามเรอื “พระยาจนี จตั ตุ” หลงั จากนั้นได ้