The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

66 PA 1 ข้อตกลงในการพัฒนางาน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by niramonchaiwong9, 2023-09-11 08:52:48

66 PA 1 ข้อตกลงในการพัฒนางาน

66 PA 1 ข้อตกลงในการพัฒนางาน

เอกสารข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่งครู ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2566 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนสันติวนา สังกัดส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เชียงใหม่ เขต 3 จัดท าข้อตกลงโดย นางสาวนิรมล ไชยวงค์ ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะครูช านาญการ


PA 1/ส แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่งครู วิทยฐานะครูช านาญการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2566 นางสาวนิรมล ไชยวงค์ ต าแหน่งครู วิทยฐานะครูช านาญการ โรงเรียนสันติวนา อ าเภอไชยปราการ จังหวัดเชียงใหม่ ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 กระทรวงศึกษาธิการ


PA 1/ส ค าน า แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่งครู วิทยฐานะครูช านาญการ ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2566 โดยการประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงให้ด าเนินการประเมินตาม องค์ประกอบที่ก าหนด ดังนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานต าแหน่ง ประกอบด้วย 1) การปฏิบัติงานตามมาตรฐานต าแหน่งครู และมีภาระงานตามที่ ก.ค.ศ. ก าหนด 2) ผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานต าแหน่งครู เป็นการประเมินผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่ และความรับผิดชอบของต าแหน่งครู ตามที่ก าหนดไว้ในมาตรฐานต าแหน่ง ทั้ง 3 ด้าน จ านวน 15 ตัวชี้วัด ดังนี้ ด้านที่ 1 ด้านการจัดการเรียนรู้ จ านวน 8 ตัวชี้วัด ด้านที่ 2 ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 4 ตัวชี้วัด ด้านที่ 3 ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ จ านวน 3 ตัวชี้วัด ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของ ผู้เรียน โดยมีระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง ระดับคะแนนและคุณภาพการประเมิน ดังนี้ วิทยฐานะครูช านาญการ ระดับการปฏิบัติที่คาดหวัง แก้ไขปัญหา (Solve the Problem) สามารถแก้ไขปัญหาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน นางสาวนิรมล ไชยวงค์ ต าแหน่งครู วิทยฐานะครูช านาญการ


PA 1/ส สารบัญ ค าน า สารบัญ ข้อมูลทั่วไปของผู้จัดท าข้อตกลง ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานต าแหน่ง 1.ภาระงาน 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น 2.งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งครู 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ 2. ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ 3. ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย 1. สภาพปัญหาของผู้เรียนและการจัดการเรียนรู้ 2. วิธีการด าเนินให้บรรลุผล 3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง ความคิดเห็นของผู้อ านวยการสถานศึกษา ภาคผนวก


PA 1/ส แบบข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่งครู วิทยฐานะครูช านาญการ (ทุกสังกัด) ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ระหว่างวันที่1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2566 ผู้จัดท าข้อตกลง ชื่อ นางสาวนิรมล นามสกุล ไชยวงค์ ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะครูช านาญการ สถานศึกษา โรงเรียนสันติวนา สังกัด ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม่ เขต 3 รับเงินเดือนในอันดับ คศ.2 อัตราเงินเดือน 25,840 บาท ประเภทห้องเรียนที่จัดการเรียนรู้ (สามารถระบุได้มากกว่า 1 ประเภทห้องเรียน ตามสภาพการจัด การเรียนรู้จริง) ห้องเรียนวิชาสามัญหรือวิชาพื้นฐาน ห้องเรียนปฐมวัย ห้องเรียนการศึกษาพิเศษ ห้องเรียนสายวิชาชีพ ห้องเรียนการศึกษานอกระบบ / ตามอัธยาศัย ข้าพเจ้าขอแสดงเจตจ านงในการจัดท าข้อตกลงในการพัฒนางาน ต าแหน่งครู วิทยฐานะครูช านาญการ ซึ่งเป็นต าแหน่งที่ด ารงอยู่ในปัจจุบันกับผู้อ านวยการสถานศึกษา ไว้ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานต าแหน่ง 1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. ก าหนด ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจ านวน 18 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ว14101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ว15101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ว16101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีจ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา ส14102 ประวัติศาสตร์จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ส15102 ประวัติศาสตร์จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ส16102 ประวัติศาสตร์ จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ส21201 หน้าที่พลเมือง จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์


PA 1/ส ซ่อมเสริมวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1-3 จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ ซ่อมเสริมวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 จ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลูกเสือ เนตรนารี จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ชุมนุม จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ แนะแนว จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2566 1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจ านวน 21 ชั่วโมง/สัปดาห์ ดังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รายวิชา ว14101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ว15101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ว16101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ว21101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ว22101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ รายวิชา ว23101 วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม รายวิชา ส23101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ลูกเสือ เนตรนารี จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ ชุมนุม จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ แนะแนว จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จ านวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จ านวน 3 ชั่วโมง/สัปดาห์ 1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จ านวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์


PA 1/ส 2. งานที่จะปฏิบัติตามมาตรฐานต าแหน่งครู (ให้ระบุรายละเอียดของงานที่จะปฏิบัติในแต่ละด้าน ว่าจะด าเนินการอย่างไร โดยอาจระบุระยะเวลาที่ใช้ในการด าเนินการด้วยก็ได้) ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1. ด้านการจัดการเรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึง การสร้างและ หรือพัฒนาหลักสูตร การ ออกแบบการจัดการเรียนรู้ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และ แหล่งเรียนรู้การวัดและ ประเมินผลการจัดการ เรียนรู้ การศึกษา วิเคราะห์ สังเคราะห์เพื่อแก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้การ จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียน และการ อบรมและพัฒนา คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน 1.1 สร้างและหรือพัฒนา หลักสูตร วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 มีการ จัดท ารายวิชาและหน่วยการ เรียนรู้ให้สอดคล้องกับ มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เรียนได้พัฒนา สมรรถนะและการเรียนรู้วิชา วิทยาศาสตร์เต็มตามศักยภาพ โดยมีการพัฒนารายวิชาและ หน่วยการเรียนรู้เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต ให้สอดคล้องกับ บริบทของสถานศึกษา และ สามารถแก้ปัญหาเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับสิ่งมีชีวิตในการจัดการเรียนรู้ ได้ - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีตามที่หลักสูตร ก าหนด - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงขึ้น - ผู้เรียนมีการประเมินผลการ เรียนรู้ที่เป็นไปตามสภาพ จริง/บริบทของสถานศึกษา สามารถแก้ปัญหาของผู้เรียน ตามความแตกต่างรายบุคคล - ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียนเป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนได้รับการแก้ไขปัญหา เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.2 ออกแบบการจัดการ เรียนรู้ - โดยการวิเคราะห์หลักสูตร จัดท าหน่วยการเรียนรู้ จัดท า แผนจัดการเรียนรู้ วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - จัดท าหน่วยการเรียนรู้ เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต เพื่อแก้ปัญหาเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต ที่เน้นผู้เรียนเป็น ส าคัญ เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจ าวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ สมรรถนะ ที่ส าคัญตาม หลักสูตร โดยมีการออกแบบ การจัดการเรียนรู้ ที่สามารถ แก้ไขปัญหาในการจัดการ เรียนรู้ ท าให้ผู้เรียนมี กระบวนการคิดและค้นพบองค์ ความรู้ด้วยตนเอง และสร้าง แรงบันดาลใจ - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีตามที่หลักสูตร ก าหนด - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงขึ้น - ผู้เรียนมีการประเมินผลการ เรียนรู้ที่เป็นไปตามสภาพ จริง/บริบทของสถานศึกษา สามารถแก้ปัญหาของผู้เรียน ตามความแตกต่างรายบุคคล - ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียนเป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีความสุขในการ เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการแก้ไขปัญหา เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ - จัดกิจกรรมการเรียนการสอน แบบกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และ กิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning) - มีการอ านวยความสะดวกใน การเรียนรู้ และส่งเสริม ผู้เรียน ได้พัฒนาเต็มตามศักยภาพ เรียนรู้และท างานร่วมกัน โดยมี การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ สามารถแก้ไขปัญหา ในการ จัดการเรียนรู้ ท าให้ผู้เรียนมี กระบวนการคิดและค้นพบองค์ ความรู้ด้วยตนเอง และสร้าง แรงบันดาลใจ ตามบริบทของ สถานศึกษา - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีตามที่หลักสูตร ก าหนด - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงขึ้น - ผู้เรียนมีการประเมินผลการ เรียนรู้ที่เป็นไปตามสภาพ จริง/บริบทของสถานศึกษา สามารถแก้ปัญหาของผู้เรียน ตามความแตกต่างรายบุคคล - ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียนเป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีความสุขในการ เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการแก้ไขปัญหา เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.4 สร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้ - มีการสร้างและหรือพัฒนาสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีและ แหล่งเรียนรู้สอดคล้องกับ กิจกรรมการเรียนรู้ สามารถ แก้ไขปัญหาในการเรียนรู้ของ ผู้เรียน และท าให้ผู้เรียนมีทักษะ การคิด และสามารถสร้าง นวัตกรรมได้ - จัดท าสื่อที่ส่งเสริมพัฒนา ผู้เรียนโดยใช้เทคโนโลยี ประกอบด้วยสื่อออนไลน์ ใบงาน ใบความรู้ - พัฒนาแหล่งเรียนรู้ห้องเรียน หรือห้องปฏิบัติการ วิทยาศาสตร์ให้พร้อมบริการ - จัดท าสื่อประกอบการเรียนรู้ ใบงาน ใบความรู้ - พัฒนาแหล่งเรียนรู้ ภายในห้องเรียนโดยการจัดท า มุมส่งเสริมการอ่าน/ป้ายนิเทศ - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีตามที่หลักสูตร ก าหนด - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงขึ้น - ผู้เรียนมีการประเมินผลการ เรียนรู้ที่เป็นไปตามสภาพ จริง/บริบทของสถานศึกษา สามารถแก้ปัญหาของผู้เรียน ตามความแตกต่างรายบุคคล - ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียนเป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีความสุขในการ เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการแก้ไขปัญหา เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.5 วัดและประเมินผลการ เรียนรู้ - สร้างแบบวัดและประเมินผล ตรงตามจุดประสงค์การเรียนรู้ ด้วยวิธีที่หลากหลาย - วัดความรู้ (K) ด้วย แบบทดสอบ/แบบฝึกหัด/แบบ ประเมินผล - วัดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ด้วยแบบสังเกต/แบบ ประเมินคุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - วัดสมรรถนะ/ทักษะ (P) ด้วย แบบประเมินสมรรถนะ เพื่อแก้ไขปัญหา - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีตามที่หลักสูตร ก าหนด - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงขึ้น - ผู้เรียนมีการประเมินผลการ เรียนรู้ที่เป็นไปตามสภาพ จริง/บริบทของสถานศึกษา สามารถแก้ปัญหาของผู้เรียน ตามความแตกต่างรายบุคคล - ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียนเป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีความสุขในการ เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการแก้ไขปัญหา เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.6 ศึกษา วิเคราะห์ และ สังเคราะห์ เพื่อแก้ปัญหาหรือ พัฒนาการเรียนรู้ - มีการศึกษา วิเคราะห์และ สังเคราะห์เพื่อแก้ไขปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อ คุณภาพผู้เรียน และน าผล การศึกษา วิเคราะห์และ สังเคราะห์มาใช้แก้ไขปัญหา หรือพัฒนาการจัดการเรียนรู้ เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต - วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล - จัดกลุ่มนักเรียน - วางแผนพัฒนานักเรียนตาม ศักยภาพและความแตกต่าง ระหว่างบุคคล - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีตามที่หลักสูตร ก าหนด - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงขึ้น - ผู้เรียนมีการประเมินผลการ เรียนรู้ที่เป็นไปตามสภาพ จริง/บริบทของสถานศึกษา สามารถแก้ปัญหาของผู้เรียน ตามความแตกต่างรายบุคคล - ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียนเป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีความสุขในการ เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการแก้ไขปัญหา เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.7 จัดบรรยากาศที่ส่งเสริม และพัฒนาผู้เรียน - มีการจัดบรรยากาศที่ เหมาะสม สอดคล้องกับความ แตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ สร้างแรงบันดาลใจ ส่งเสริมและ พัฒนาผู้เรียนให้เกิด กระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการท างาน ทักษะการ เรียนรู้และนวัตกรรม ทักษะ ด้านสารสนเทศ สื่อและ เทคโนโลยี - จัดบรรยากาศห้องเรียนให้ได้ มาตรฐานห้องเรียนคุณภาพ - จัดกระบวนการเรียนรู้เน้นการ มีส่วนร่วมในชั้นเรียน การใช้ ค าถามกระตุ้นความคิด - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีตามที่หลักสูตร ก าหนด - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงขึ้น - ผู้เรียนมีการประเมินผลการ เรียนรู้ที่เป็นไปตามสภาพ จริง/บริบทของสถานศึกษา สามารถแก้ปัญหาของผู้เรียน ตามความแตกต่างรายบุคคล - ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียนเป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีความสุขในการ เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการแก้ไขปัญหา เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 1.8 อบรมและพัฒนา คุณลักษณะที่ดีของผู้เรียน - มีการอบรมบ่มนิสัยให้ผู้เรียนมี คุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์และ ค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม โดยค านึงถึงความแตกต่างของ ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และ สามารถแก้ไขปัญหาผู้เรียนได้ - จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะอันพึง ประสงค์ - ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ทักษะวิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีตามที่หลักสูตร ก าหนด - ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์วิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สูงขึ้น - ผู้เรียนมีการประเมินผลการ เรียนรู้ที่เป็นไปตามสภาพ จริง/บริบทของสถานศึกษา สามารถแก้ปัญหาของผู้เรียน ตามความแตกต่างรายบุคคล - ผู้เรียนมีคุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียนเป็นไปตามที่ หลักสูตรก าหนด - ผู้เรียนมีความสุขในการ เรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการแก้ไขปัญหา เรื่องความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 2. ด้านการส่งเสริมและ สนับสนุนการจัดการ เรียนรู้ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการจัดท า ข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชา การ ด าเนินการตามระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน การ ปฏิบัติงานวิชาการ และงาน อื่น ๆ ของสถานศึกษา และ การประสานความร่วมมือ กับผู้ปกครองภาคีเครือข่าย และหรือสถานประกอบการ 2.1 จัดท าข้อมูลสารสนเทศ ของผู้เรียนและรายวิชา - จัดท าข้อมูลสารสนเทศของ ผู้เรียนและรายวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี ชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 เพื่อใช้ใน การส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหาและพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน 1. วิเคราะห์ผู้เรียนรายบุคคล 2. จัดท าข้อมูลรายบุคคล - จัดท าข้อมูลสารสนเทศและ เผยแพร่ข้อมูลเพื่อเป็นการให้ ข้อมูลย้อนกลับแก่ผู้เรียน/ ผู้ปกครอง 1. ผลการประเมิน ปพ.5 2. ระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียน - ผู้เรียนได้รับการแก้ปัญหา ช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพ วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการประสาน ความร่วมมือในการดูแล ช่วยเหลือจากครู ผู้ปกครอง ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน - ผู้เรียนร้อยละ 100 เข้าสู่ระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 2.2 ด าเนินการตามระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน - มีการใช้ข้อมูลสารสนเทศ เกี่ยวกับผู้เรียนรายบุคคล และ ประสานความร่วมมือกับผู้มี ส่วนเกี่ยวข้อง เพื่อพัฒนา และ แก้ไขปัญหาผู้เรียนเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิต กับสิ่งมีชีวิต 1. จัดท าช่องทางการเผยแพร่ ผลการประเมินผู้เรียนต่อ ผู้ปกครองรายบุคคล เพื่อการ วางแผนพัฒนาผู้เรียนร่วมกัน 2. จัดท าช่องทางเพื่อการ ติดต่อสื่อสาร เช่น ประชาสัมพันธ์/ข่าวสาร/ ประกาศ อื่นๆ ของสถานศึกษา - ผู้เรียนได้รับการแก้ปัญหา ช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพ วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการประสาน ความร่วมมือในการดูแล ช่วยเหลือจาก ครู ผู้ปกครอง ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน - ผู้เรียนร้อยละ 100 เข้าสู่ระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 2.3 ปฏิบัติงานวิชาการ และ งานอื่นๆ ของสถานศึกษา - ปฏิบัติหน้าที่รองหัวหน้างาน บริหารวิชาการ ร่วมปฏิบัติงาน ทางวิชาการ และงานอื่นๆ ของ สถานศึกษา เพื่อยกระดับ คุณภาพการจัดการศึกษาของ สถานศึกษา - ปฏิบัติหน้าที่ครูผู้สอนวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ร่วม กิจกรรมการพัฒนาหลักสูตร สถานศึกษาวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - ร่วมกิจกรรมการจัดท า แผนพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา ที่เกี่ยวข้องกับวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี - ร่วมกิจกรรมการจัดท า SAR - ผู้เรียนได้รับการแก้ปัญหา ช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพ วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการประสาน ความร่วมมือในการดูแล ช่วยเหลือจากครู ผู้ปกครอง ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน - ผู้เรียนร้อยละ 100 เข้าสู่ระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 2.4 ประสานความร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และ หรือสถานประกอบการ - ประสานความร่วมมือกับ ผู้ปกครอง ภาคีเครือข่าย และ หรือสถานประกอบการ เพื่อ ร่วมกันแก้ไขปัญหาและพัฒนา ผู้เรียน -ร่วมกิจกรรมประชุมผู้ปกครอง - จัดให้มีช่องทางในการ ติดต่อสื่อสารกับผู้ปกครองและ ภาคีเครือข่าย - ผู้เรียนได้รับการแก้ปัญหา ช่วยเหลือและพัฒนาคุณภาพ วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการประสาน ความร่วมมือในการดูแล ช่วยเหลือจากครู ผู้ปกครอง ด้านคุณลักษณะอันพึง ประสงค์และสมรรถนะส าคัญ ของผู้เรียน - ผู้เรียนร้อยละ 100 เข้าสู่ระบบดูแล ช่วยเหลือผู้เรียน - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส ลักษณะงานที่ปฏิบัติ ตามมาตรฐานต าแหน่ง งาน (Tasks) ที่จะด าเนินการพัฒนา ตามข้อตกลง ใน 1 รอบ การประเมิน (โปรดระบุ) ผลลัพธ์ (Outcomes) ของงานตามข้อตกลง ที่คาดหวังให้เกิดขึ้น กับผู้เรียน (โปรดระบุ) ตัวชี้วัด (Indicators) ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียน ที่แสดงให้เห็นถึงการ เปลี่ยนแปลงไปในทาง ที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนา มากขึ้นหรือผลสัมฤทธิ์ สูงขึ้น (โปรดระบุ) 3. ด้านการพัฒนาตนเอง และวิชาชีพ ลักษณะงานที่เสนอให้ ครอบคลุมถึงการพัฒนา ตนเองอย่างเป็นระบบ และต่อเนื่อง การมีส่วนร่วม ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ทางวิชาชีพ เพื่อพัฒนาการ จัดการเรียนรู้ และการน า ความรู้ความสามารถ ทักษะที่ได้จากการพัฒนา ตนเอง และวิชาชีพมาใช้ใน การพัฒนาการจัดการ เรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียน และการพัฒนา นวัตกรรม การจัดการ เรียนรู้ 3.1 พัฒนาตนเองอย่างเป็น ระบบและต่อเนื่อง - จัดท าแผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) และเข้าร่วมการอบรม/ สัมมานา/ประชุมทางวิชาการ ต่างๆ อย่างสม่ าเสมอ เพื่อให้มี ความรู้ ความสามารถ ทักษะ และการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อการศึกษา สมรรถนะ วิชาชีพครูและความรอบรู้ใน เนื้อหาวิชา และวิธีการสอน และน าผลการพัฒนาตนเองและ พัฒนาวิชาชีพ มาใช้ในการ จัดการเรียนรู้ที่มีผลต่อคุณภาพ ผู้เรียน 3.2 มีส่วนร่วมในการ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาชีพ เพื่อแก้ไขปัญหาและพัฒนาการ จัดการเรียนรู้เข้าร่วมกิจกรรม แลกเปลี่ยนเรียนรู้ทั้งภายใน และระหว่างสถานศึกษา - ผู้เรียนได้รับการแก้ปัญหา ช่วยเหลือพัฒนาคุณภาพวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี - ผู้เรียนได้รับการแก้ปัญหา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนราย วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี - ผู้เรียนร้อยละ 65 มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีผ่าน เกณฑ์การประเมินของ สถานศึกษา - นักเรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน คุณลักษณะอันพึง ประสงค์เป็นไปตามค่า เป้าหมายที่สถานศึกษา ก าหนด - ผู้เรียนร้อยละ 65 ผ่านเกณฑ์การประเมิน สมรรถนะของผู้เรียน เป็นไปตามค่าเป้าหมาย ที่สถานศึกษาก าหนด


PA 1/ส หมายเหตุ 1. รูปแบบการจัดท าข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบ PA 1 ให้เป็นไปตามบริบทและสภาพการ จัดการเรียนรู้ของแต่ละสถานศึกษา โดยความเห็นชอบร่วมกันระหว่างผู้อ านวยการสถานศึกษาและข้าราชการ ครูผู้จัดท าข้อตกลง 2. งาน (Tasks) ที่เสนอเป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ต้องเป็นงานในหน้าที่ความรับผิดชอบหลักที่ ส่งผลโดยตรงต่อผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน และให้น าเสนอรายวิชาหลักที่ท าการสอน โดยเสนอในภาพรวม ของรายวิชาหลักที่ท าการสอนทุกระดับชั้น ในกรณีที่สอนหลายรายวิชา สามารถเลือกรายวิชาใดวิชาหนึ่งได้ โดยจะต้องแสดงให้เห็นถึงการปฏิบัติงานตามมาตรฐานต าแหน่ง และคณะกรรมการประเมินผลการพัฒนางาน ตามข้อตกลงสามารถประเมินได้ตามแบบการประเมิน PA 2 3. การพัฒนางานตามข้อตกลง ตามแบบ PA 1 ให้ความส าคัญกับผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน (Outcomes) และตัวชี้วัด (Indicators) ที่เป็นรูปธรรม และการประเมินของคณะกรรมการประเมินผลการ พัฒนางานตามข้อตกลง ให้คณะกรรมการด าเนินการประเมิน ตามแบบ PA 2 จากการปฏิบัติงานจริง สภาพ การจัดการเรียนรู้ในบริบทของแต่ละสถานศึกษา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดจากการพัฒนางานตาม ข้อตกลงเป็นส าคัญ โดยไม่เน้นการประเมินจากเอกสาร ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน ของผู้จัดท าข้อตกลง ซึ่งปัจจุบันด ารง ต าแหน่งครู วิทยฐานะครูช านาญการ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะช านาญการ คือ การแก้ไขปัญหา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไป ในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังใน วิทยฐานะที่สูงกว่าได้) ประเด็นท้าทาย เรื่อง การแก้ปัญหาผู้เรียนในการเรียนรู้เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับ สิ่งมีชีวิต โดยใช้การจัดการเรียนรู้เชิงรุกและชุดกิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจและผลสัมฤทธิ์ที่ดีขึ้น 1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต พบว่า ผู้เรียนมีผลการเรียนรู้ต่ ากว่าเกณฑ์ที่ก าหนด เนื่องจากไม่ เข้าใจและไม่มีทิศทางได้เข้าใจเนื้อหาสาระและกระบวนการต่างๆ อีกทั้งผู้เรียนหลายคนขาดทักษะกระบวนการ ทางวิทยาศาสตร์ และมองว่าวิทยาศาสตร์เป็นเรื่องยาก ไม่สามารถน าความรู้ที่เรียนไปแล้วไปประยุกต์ใช้ได้ ส่งผลให้ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในบทนี้ต่ ากว่าเกณฑ์ที่ก าหนด การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์เป็นการ น าความรู้และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการศึกษาค้นคว้าหาความรู้และแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ การคิดอย่างเป็นเหตุผล คิดวิเคราะห์ คิดสร้างสรรค์ และจิตวิทยาศาสตร์ เพื่อให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียน ทุกขั้นตอนและท ากิจกรรมที่มีความหลากหลาย นักเรียนจะเรียนรู้ได้ดีและมีองค์ความรู้จะต้องมีทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์จึงจะสามารถจัดการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ตั้งไว้


PA 1/ส 2. วิธีการด าเนินการให้บรรลุผล การวางแผน (Plan) 1) ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 เพื่อออกแบบหน่วยตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด 2) ศึกษา วิเคราะห์ และสังเคราะห์ข้อมูล แนวคิด ทฤษฎี เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้เชิงรุก ความรู้ที่ ส่งผลต่อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ของผู้เรียน 3) ออกแบบกิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศึกษา ปีที่ 5 เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต 4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้เพื่อตรวจสอบคุณภาพการจัดการเรียนรู้เชิงรุก วิชาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต 5) ปรับปรุง/พัฒนากิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก วิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต การปฏิบัติ (Do) 1) น ากิจกรรมการจัดการเรียนรู้เชิงรุก รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเรื่อง ความสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ที่ผ่านการปรับปรุง/พัฒนาไปจัดกิจกรรมสู่กลุ่มเป้าหมาย การตรวจสอบ (Chek) 1) ศึกษาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้เชิงรุก รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต การปรับปรุงแก้ไข (Act) 1) ปรับปรุงแก้ไขกระบวนการการจัดการเรียนรู้เชิงรุก รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต 2) รวบรวมข้อมูลตอบกลับจากผู้เรียน ต่อกระบวนการการจัดการเรียนรู้เชิงรุก รายวิชา วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต เพื่อแยกประเด็นในการพัฒนา กระบวนการจัดการเรียนรู้ 3) น าประเด็นดังกล่าวเข้าสู่วง PLC เพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลและแนวทางในการพัฒนา 4) ประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ว่ารูปแบบการสอนมีประสิทธิภาพมากน้อยแค่ไหนและมีการ พัฒนาปรับปรุงให้ดีขึ้น


PA 1/ส 3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง 3.1 เชิงปริมาณ ผู้เรียนร้อยละ 70 มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษาก าหนด และมีการพัฒนาทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ดีขึ้น 3.2 เชิงคุณภาพ ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเรื่อง ความสัมพันธ์ระหว่าง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิต ตามค่าเป้าหมายที่สถานศึกษาก าหนด และมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ดีขึ้น ลงชื่อ .................................................... ( นางสาวนิรมล ไชยวงค์ ) ต าแหน่ง ครูวิทยฐานะครูช านาญการ ผู้จัดท าข้อตกลงในการพัฒนางาน 1 / ตุลาคม / 2565 ความเห็นของผู้อ านวยการสถานศึกษา ( ) เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ( ) ไม่เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน โดยมีข้อเสนอแนะเพื่อน าไปแก้ไข และเสนอเพื่อ พิจารณาอีกครั้ง ดังนี้ ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................................................. ................................... ............................................................................................... ................................................................. ............................................................................................................................. ................................... ลงชื่อ .................................................... ( นายวสันต์ หมื่นสอน ) ต าแหน่ง ผู้อ านวยการโรงเรียนสันติวนา ………….. / ……………. / …………..


PA 1/ส ค าชี้แจงการจัดท าข้อตกลงในการพัฒนางาน (PA) ข้อตกลงในการพัฒนางาน” (Performance Agreement : PA) หมายความว่า ข้อตกลงที่ข้าราชการ ครู ได้เสนอต่อผู้อ านวยการสถานศึกษา เพื่อแสดงเจตจ านงว่าภายในรอบการประเมินจะพัฒนาผลลัพธ์การ เรียนรู้ ของผู้เรียน เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจ าวิชา คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และ สมรรถนะ ที่ส าคัญตามหลักสูตร ให้สูงขึ้น โดยสะท้อนให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของต าแหน่งและ วิทยฐานะ ที่ด ารงอยู่ และสอดคล้องกับเป้าหมายและบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและ กระทรวงศึกษาธิการ โดยผู้อ านวยการสถานศึกษาได้เห็นชอบให้เป็นข้อตกลงในการพัฒนางาน ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาที่ด ารงต าแหน่งครูทุกคน ต้องจัดท าข้อตกลงในการพัฒนางาน ตามแบบที่ ก.ค.ศ. ก าหนด ทุกปีงบประมาณ เสนอต่อผู้อ านวยการสถานศึกษา เพื่อพิจารณาให้ความเห็นชอบ โดยข้อตกลงในการพัฒนางาน ประกอบด้วย 2 ส่วน ดังต่อไปนี้ ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานต าแหน่ง 1) การปฏิบัติงานตามมาตรฐานต าแหน่งครู และมีภาระงานตามที่ ก.ค.ศ. ก าหนด 2) ผลการปฏิบัติงาน ด้านการจัดการเรียนรู้ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ และด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เสนอเป็นประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของ ผู้เรียน โดยต้องแสดงให้เห็นถึงการปรับประยุกต์ การแก้ปัญหา ริเริ่ม พัฒนา คิดค้น ปรับเปลี่ยน หรือการสร้าง การเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ ข้อตกลงในการพัฒนางานต้องมีความสอดคล้องกับเป้าหมาย และบริบทสถานศึกษา นโยบายของส่วนราชการและกระทรวงศึกษาธิการ การจัดท าข้อตกลงในการพัฒนางาน ควรก าหนดการด าเนินการในแต่ละกิจกรรมให้ชัดเจน เพื่อให้สามารถประเมินผลการพัฒนางานตามข้อตกลงได้อย่างชัดเจนและเป็นธรรม ทั้งนี้ ในระหว่างการ ด าเนินการตามข้อตกลงในการพัฒนางาน กรณีที่ข้าราชการครูย้าย รักษาการในต าแหน่งผู้อ านวยการ สถานศึกษา ได้รับมอบหมายให้ท าการสอนต่างวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ท าข้อตกลงไว้เดิม ให้ด าเนินการดังนี้ 1. กรณีที่ข้าราชการครูย้ายสถานศึกษาระหว่างปีงบประมาณให้จัดท าข้อตกลงในการพัฒนา งานกับผู้อ านวยการสถานศึกษาคนใหม่ในสถานศึกษาที่ย้ายไปด ารงต าแหน่ง 2. กรณีที่ข้าราชการครูได้รับการแต่งตั้งให้รักษาการในต าแหน่งผู้อ านวยการสถานศึกษา ให้ จัดท าข้อตกลงในการพัฒนางานในต าแหน่งครูกับผู้อ านวยการส านักงานเขตพื้นที่การศึกษา 3. กรณีที่ข้าราชการครูได้รับมอบหมายให้ท าการสอนต่างวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่ท า ข้อตกลงไว้เดิม ให้ข้าราชการครูจัดท ารายละเอียดข้อตกลงในการพัฒนางานในวิชา/กลุ่มสาระการเรียนรู้ตามที่ ได้รับมอบหมายใหม่


เอกสารข้อตกลงในการพัฒนางาน (Performance Agreement : PA) ส าหรับข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ต าแหน่งครู ประจ าปีงบประมาณ พ.ศ.2566 ระหว่างวันที่ 1 เดือนตุลาคม พ.ศ. 2565 ถึงวันที่ 30 เดือนกันยายน พ.ศ. 2566 จัดท าข้อตกลงโดย นางสาวนิรมล ไชยวงค์ ต าแหน่ง ครู วิทยฐานะครูช านาญการ


Click to View FlipBook Version