The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ประโยคในภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ubonrat Somyaprasert, 2020-05-13 11:32:46

ประโยคในภาษาไทย

ประโยคในภาษาไทย

๒ ประโยคในภาษาไทย

ประโยค คือ หน่วยทางภาษาท่ีประกอบดว้ ยคา หรือคาหลายคามาเรียงต่อกนั โดยแต่ละ
คามีความสัมพนั ธ์ทางไวยากรณ์ ประโยคจึงเป็นหน่วยทางภาษาที่สามารถส่ือความไดว้ า่ ใครทา
อะไร เกิดอะไรข้ึน หรืออะไรมีสภาพเป็นอยา่ งไร

ส่ วนประกอบของประโยค

นั ก เ รี ย น ช้ัน มัธ ย ม ศึ ก ษ า ปี ท่ี 1 นั ก เ รี ย น เ ข้า แ ถ ว
ก ร ะ เ ป๋ า นั ก เ รี ย น ก ร ะ เ ป๋ า อ ยู่ บ น โ ต๊ ะ
ร ถ ไ ฟ ฟ้ า ข บ ว น ใ ห ม่ ร ถ ไ ฟ ฟ้ า ม า ช้ า

จะเห็นว่าขอ้ ความทางซ้ายมือ มีความยาวมากกว่าขอ้ ความทางขวามือ แต่ไม่เรียกว่า

“ประโยค” เพราะไม่สามารถบอกไดว้ า่ ขอ้ ความส่ือสารอะไร ส่วนขอ้ ความทางขวามือ แมจ้ ะส้ัน
กว่า แต่เป็ นประโยค เพราะขอ้ ความสมบูรณ์ ทราบไดว้ ่าเกิดอะไรข้ึน อะไรมีสภาพเป็ นอย่างไร
เม่ือนาประโยคมาแยกแยะ ดงั น้ี

๒ ประโยคในภาษาไทย ภาคแสดง

ส่ วนประกอบของประโยค/ต่อ เขา้ แถว
อยบู่ นโตะ๊
ส่ วนประกอบของประโยค มาชา้

ภาคประธาน ภาคแสดง

นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 เขา้ แถว
กระเป๋ านกั เรียนสีดา อยบู่ นโตะ๊
รถไฟฟ้าขบวนใหม่ มาชา้
จิกหนอน
ส่ วนประกอบของประโยค

ภาคประธาน

นกั เรียน ช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1
กระเป๋ า หนงั สีดา
รถไฟฟ้า ขบวนใหม่
นก กางเขน

๒ ประโยคในภาษาไทย

ส่ วนประกอบของประโยค/ต่อ

จะเห็นวา่ ประโยคมีส่วนประกอบสาคญั ๒ ส่วน ดงั น้ี

ภาคประธาน คือ ส่วนที่เป็ นผูก้ ระทา หรือเรียกว่า “นามวลี” ซ่ึงอาจเป็ นคานามคาเดียว
หรือคานามกบั ส่วนขยาย

ภาคแสดง คือ ส่วนท่ีแสดงอาการ บอกสภาพ คุณสมบัติของประธาน หรือเรียกว่า
“กริยาวลี” ซ่ึงในภาคแสดงจะตอ้ งมีคากริยาปรากฏอยเู่ สมอ และอาจมีหน่วยกรรม หน่วยเติมเตม็
หรือหน่วยขยายกไ็ ด้

ส่ วนประกอบของประโยค

ภาคประธาน ภาคแสดง

นกั เรียนช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 1 เขา้ แถวท่ีสนามหญา้
กระเป๋ าหนงั สีดา อยบู่ นโตะ๊ ในหอ้ งนอน
นกกางเขน จิกหนอนตวั จอ้ ย

๒ ประโยคในภาษาไทย

ส่ วนประกอบของประโยค/ต่อ

จะเห็นว่าในประโยคหน่ึงๆ ในภาคแสดงปรากฏคาซ่ึงทาหน้าท่ีเป็ นกรรมในประโยค
หรือไม่ก็ได้ สังเกตประโยค “นกกางเขนจิกหนอนตวั จอ้ ย” ภาคประธาน “นก” เป็นผแู้ สดงกริยา
“กางเขน” ส่วนขยายคานามซ่ึงทาหน้าท่ีเป็ นประธานในประโยค ส่วนภาคแสดง “จิก” เป็ น
กริยาหลกั ในประโยค “หนอน” ทาหนา้ ที่เป็นกรรม หรือผถู้ ูกประธานกระทา “ตวั จอ้ ย” เป็นส่วน
ขยายคานามซ่ึงทาหนา้ ที่เป็นกรรมในประโยค

รูปประโยคความเดยี วทใ่ี ช้ส่ือสารในภาษาไทย

สังเกตรูปประโยคต่อไปน้ี ซ่ึงใช้สื่อสารจริงในชีวิตประจาวนั จะพบข้อสังเกตบาง
ประการ

“หิวจงั ” “เจบ็ นะ” “ฉนั ซ้ือเส้ือสีฟ้าตวั น้ีมาจากตลาด”
“เส้ือสีฟ้าตวั น้ีฉนั ซ้ือมาจากตลาด”
“อยา่ ส่งเสียงดงั ” “ต่ืนไดแ้ ลว้ ”

๒ ประโยคในภาษาไทย

รูปประโยคความเดยี วทใี่ ช้ส่ือสารในภาษาไทย

ขอ้ สงั เกตที่พบได้ คือ

• การสื่อสารจริง บางคร้ังผสู้ ่ือสารอาจละบางส่วนของประธาน หากมีบริบทหรือ
สถานการณ์ท่ีช่วยทาใหเ้ ขา้ ใจประโยคน้นั

• ประโยคในภาษาไทยจะมีประธานอยู่หน้าภาคแสดง แต่ในกรณีที่ผูส้ ่ือสาร
ตอ้ งการเนน้ กรรม หน่วยเติมเต็ม หน่วยเสริมความ กริยา วิเศษณ์ บุพบท ก็ยา้ ย
หน่วยขา้ งตน้ มาไวห้ นา้ ประธานได้

ทาใหเ้ กิดรูปแบบประโยคความเดียวที่ใชส้ ่ือสารในภาษาไทย ดงั น้ี
ประโยคเนน้ ผกู้ ระทา คือ ประโยคท่ีข้ึนตน้ ดว้ ยประธาน หรือมีประธานอยหู่ นา้ ภาคแสดง
เป็นรูปแบบประโยคปกติที่ใชส้ ่ือสารในชีวติ ประจาวนั

“ฝนตกแต่เชา้ ”
“นกบินบนทอ้ งฟ้า ”

๒ ประโยคในภาษาไทย

รูปประโยคความเดยี วทใี่ ช้ส่ือสารในภาษาไทย

ประโยคเน้นผ้ถู ูกกระทำ คือ ประโยคท่ีข้ึนตน้ ดว้ ยกรรม แลว้ ตามดว้ ยภาคแสดง
“บา้ นน้ีไฟไหม”้
“การบา้ นฉนั ลืมหยบิ มา”

ประโยคเน้นกริยำ คือ ประโยคท่ีข้ึนตน้ ดว้ ยคากริยา ซ่ึงผูส้ ่งสารตอ้ งการเน้น รูปแบบ
ประโยคเช่นน้ีปรากฏไม่มาก โดยจะใชค้ าวา่ “เกิด มี ปรากฏ” ข้ึนตน้ ประโยค

“เกิดเหตุเพลิงไหมท้ ี่จงั หวดั สมุทรปราการ”
“เช่น มีฝนฟ้าคะนองเกิดข้ึนท้งั จงั หวดั ชุมพร”

ประโยคคำสั่ง หรือขอร้อง ประโยคชนิดน้ีจะละประธานไวใ้ นฐานที่เขา้ ใจ แลว้ ข้ึนตน้
ประโยคดว้ ยคากริยาที่ผสู้ งั่ หรือผขู้ อร้องตอ้ งการใหผ้ ฟู้ ังปฏิบตั ิ

“ปิ ดไฟทุกคร้ังหลงั ใชง้ าน”

๒ ประโยคในภาษาไทย

ประโยคในภาษาไทยสามารถแบ่งไดห้ ลายวิธี เช่น แบ่งตามโครงสร้าง แบ่งตามเจตนา
ของผสู้ ่งสาร

ชนิดของประโยคในภาษาไทย

ชนิดของประโยคแบ่งตำมเจตนำ คือ ประโยคที่แบ่งโดยพิจารณาความหมายตามเจตนา
ของผพู้ ดู ดงั น้ี

• ประโยคแจง้ ใหท้ ราบ คือ ประโยคท่ีผพู้ ูดมีเจตนาตอ้ งการบอกกล่าว อธิบายเรื่อง
ต่างๆ ให้ผูฟ้ ังทราบว่าใคร ทาอะไร หรือใครมีสภาพอย่างไร ซ่ึงจะอยู่ในรูป
ประโยคบอกเล่า หรือปฏิเสธกไ็ ด้

“คุณยายชอบกินขนมไทย”
“คุณยายไม่ชอบกินขนมไทย”

“ฝนตกมาหลายวนั แลว้ ”
“ฝนไม่ตกมาหลายวนั แลว้ ”

๒ ประโยคในภาษาไทย

ชนิดของประโยคในภาษาไทย/แบ่งตำมเจตนำ

• ประโยคถามใหต้ อบ คือ ประโยคท่ีผพู้ ูดมีเจตนาถามผูฟ้ ัง ประโยคชนิดน้ีจะมีคา
แสดงคาถาม ใคร อะไร อยา่ งไร ไหน เท่าไร ทาไม เหตุใด เมื่อไร เช่น

“ทาไมคุณยายชอบกินขนมไทย”

“ใครมาหนา้ บา้ น” “ทาไมเธอมาโรงเรียนสาย”

• ประโยคบอกให้ทา คือ ประโยคท่ีผูพ้ ูดมีเจตนาส่ัง หรือขอร้องให้ผูฟ้ ังปฏิบตั ิ
หรือไม่ปฏิบตั ิบางส่ิง ซ่ึงประโยคชนิดน้ีจะมีเพียงภาคแสดง โดยละประธานไว้
แต่ผรู้ ับสารกเ็ ขา้ ใจไดว้ า่ ตนถูกสงั่ หรือขอร้องใหท้ า หรือไม่ทาอะไร

“หยดุ ร้องไหเ้ ด๋ียวน้ีนะ” “หา้ มขีดเขียนตามผนงั ”

“วานไปซ้ือของท่ีร้านปากซอยใหท้ ีซิ”

๒ ประโยคในภาษาไทย

ชนิดของประโยคในภาษาไทย/แบ่งตำมเจตนำ

• ประโยคนาให้คิด หรือประโยคชกั ชวน คือ ประโยคท่ีผูพ้ ูดมีเจตนาชวนใหผ้ ูฟ้ ัง
ทาตามความคิดของตน ซ่ึงอาจปรากฏคาวเิ ศษณ์ กนั คาลงทา้ ย นะ เถอะ เถอะนะ
ปรากฏอยู่

“เราไปเที่ยวสยามกนั ดีกวา่ ” “คุณเช่ือผมเถอะแลว้ จะปลอดภยั ”

“คุณลองทบทวนเร่ืองน้ีใหม่อีกคร้ังเถอะ”

ชนิดของประโยคแบ่งตำมโครงสร้ำง คือ ประโยคที่แบ่งโดยพิจารณาจากลกั ษณะเฉพาะ
ของส่วนประกอบ ลกั ษณะการเช่ือมประโยคใหเ้ ป็นประโยคเดียวกนั

• ประโยคความเดียว มีลกั ษณะ ดงั น้ี
- มีใจความสาคญั เพียงใจความเดียว

- มีส่วนประกอบสาคญั 2 ส่วน คือ ภาคประธาน ภาคแสดง

๒ ประโยคในภาษาไทย

ชนิดของประโยคในภาษาไทย/แบ่งตำมโครงสร้ำง

• ประโยคความเดียว มีลกั ษณะ ดงั น้ี
- มีส่วนขยายในแต่ละภาคหรือไม่กไ็ ด้

ภาคประธาน ส่ วนประกอบ
ประธาน ส่วนขยายประธาน
คน ภาคแสดง
คน แก่ กริยา ขยายกริยา กรรม ขยายกรรม ส่วนเติมเตม็ บทขยาย
นก ขา้ ม ไม่ได้ ถนน
นก สีขาว ขา้ ม ไม่ได้ ถนน
กิน ปลา
กิน อยา่ ง ปลา ตวั เลก็ ในหนองน้า

เอร็ดอร่อย

๒ ประโยคในภาษาไทย

ชนิดของประโยคในภาษาไทย/ประโยคความเดียว

ทุกประโยคที่ถูกแยกแยะส่วนประกอบต่างเป็นประโยคความเดียว เพราะมีใจความสาคญั
เพียงใจความเดียว เช่น นกสีขาวกินปลาตวั เล็กอย่างเอร็ดอร่อยในหนองน้าแห้งขอด ใจความ
สาคญั ของประโยคสามญั หรือประโยคความเดียวน้ี คือ นกกินปลา แต่เมื่อนาคาวิเศษณ์มาขยาย
เพื่อสร้างความชดั เจนใหแ้ ก่ประโยค ประโยคจะมีความยาวมากข้ึน นอกจากจะมีความยาวแลว้ คา
วเิ ศษณ์ยงั ช่วยใหผ้ ฟู้ ังมีภาพที่ชดั เจน หรือเรียกวา่ จินตนาการถึงสภาพของนก ปลา และหนองน้า
ได้ ดงั น้นั ความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกบั ชนิด หนา้ ที่ของคา และประโยคจึงมีความสาคญั อยา่ งมาก
ต่อทกั ษะการเขียนเรียบเรียงเรื่องราวต่างๆ

• ประโยคซอ้ น มีลกั ษณะ ดงั น้ี
- ประโยคท่ีประกอบดว้ ยประโยคหลกั หรือประโยคสาคญั (มุขยประโยค) และ
ประโยคยอ่ ย (อนุประโยค)

- ประโยคยอ่ ยเป็นประโยคความเดียวที่ซอ้ นอยภู่ ายในประโยคหลกั โดยท่ีประโยค
ยอ่ ย หรืออนุประโยคจะทาหนา้ ท่ีต่างกนั เช่น

๒ ประโยคในภาษาไทย

ชนิดของประโยคในภาษาไทย/ประโยคซอ้ น

“ที่เธอคิดไม่ถูกเสมอไปหรอกนะ”
“ฉนั อยากซ้ือหนงั สือที่แนะนาการท่องเท่ียวเชิงวฒั นนธรรม”

“อนงคด์ ีใจที่สอบเขา้ มหาวทิ ยาลยั ได”้ “เราอยากจะบอกนายว่าเราไม่คิด
อยา่ งน้นั เลย”

“พงศธรกลบั บา้ นเม่ือเลิกเรียน”

• ประโยครวม มีลกั ษณะ ดงั น้ี

- ประโยคที่รวมประโยคต้งั แต่ ๒ ประโยคข้ึนไป เขา้ ไวใ้ นประโยคเดียวกนั โดยมี
คาเช่ือม หรือสนั ธานทาหนา้ ท่ีเช่ือมประโยค

- ประโยครวมจะตอ้ งประกอบดว้ ยประโยคความเดียวท่ีมีครบถว้ นท้งั ภาคประธาน
ภาคแสดงต้งั แต่ ๒ ประโยคข้ึนไป มีคาเชื่อม หรือสนั ธานเป็นส่วนประกอบสาคญั

๒ ประโยคในภาษาไทย

ชนิดของประโยคในภาษาไทย/ประโยครวม

ประโยค สุนขั เป็นสตั วเ์ ล้ียง, แมวเป็นสตั วเ์ ล้ียง

เม่ือจะแต่งประโยคท้งั สองน้ีใหเ้ ป็นประโยครวมที่มีเน้ือความคลอ้ ยตามกนั

จะตอ้ งใชส้ นั ธานที่เหมาะสมคือ และ
จึงไดป้ ระโยควา่ สุนขั และแมวเป็นสตั วเ์ ล้ียง

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ประโยค เกษตรกรนิยมทานา, เกษตรกรนิยมเล้ียงปลาท่ีกินวชั พชื ในนา
เม่ือจะแต่งประโยคน้ีใหเ้ ป็นประโยครวมท่ีมีเน้ือความคลอ้ ยตามกนั
จะตอ้ งใชส้ นั ธานที่เหมาะสมคือ และ
จึงไดป้ ระโยควา่ เกษตรกรนิยมทานาและเล้ียงปลาที่กินวชั พชื ในนา

ซ่ึงประโยครวมน้ีเกิดจากการนาประโยคความเดียวมารวมกบั ประโยคซอ้ น

๒ ประโยคในภาษาไทย

ชนิดของประโยคในภาษาไทย/ประโยครวม

ประโยค หลงั คาท่ีรั่วซ่อมเสร็จแลว้ , น้าฝนซึมลงมา
เมื่อจะแต่งประโยคน้ีใหเ้ ป็นประโยครวมที่มีเน้ือความแยง้ กนั

จะตอ้ งใชส้ นั ธานท่ีเหมาะสมคือ แต่
จึงไดป้ ระโยควา่ หลงั คาท่ีรั่วน้นั ซ่อมเสร็จแลว้ แต่น้าฝนยงั ไหลซึมลงมา
ซ่ึงประโยครวมน้ีเกิดจากการนาประโยคซอ้ นมารวมกบั ประโยคความเดียว

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ประโยค คุณชอบดนตรีไทย, คุณชอบดนตรีสากล
เมื่อจะแต่งประโยคน้ีใหเ้ ป็นประโยครวมท่ีมีเน้ือความใหเ้ ลือก

จะตอ้ งใชส้ นั ธานท่ีเหมาะสมคือ หรือ
จึงไดป้ ระโยควา่ คุณชอบดนตรีไทยหรือดนตรีสากล

๒ ประโยคในภาษาไทย

ชนิดของประโยคในภาษาไทย/ประโยครวม

ประโยค เขามีความเพียรมาก, เขาประสบผลสาเร็จ

เม่ือจะแต่งประโยคน้ีใหเ้ ป็นประโยครวมที่มีเน้ือความเป็นเหตุเป็นผลแก่กนั

จะตอ้ งใชส้ นั ธานท่ีเหมาะสมคือ เพราะฉะน้นั จึง

จึงไดป้ ระโยควา่ เขามีความเพยี รมาก เพราะฉะน้นั เขาจึงประสบผลสาเร็จ

ดงั จะเห็นไดว้ ่า ประโยครวม คือ การรวมกนั ของประโยคต้งั แต่ ๒ ประโยคข้ึนไป ซ่ึง
ประโยคที่นามารวมกนั น้นั อาจเป็ นการรวมกนั ของประโยคสามญั กบั สามญั ประโยคสามญั กบั
ประโยคซ้อน ประโยคซ้อนกบั ประโยคซ้อน วิธีการนามาประโยคมารวมกนั จะตอ้ งใชส้ ันธาน
เป็ นตวั เชื่อม ทาให้เกิดประโยครวมท่ีมีเน้ือความต่างกนั ๔ แบบ คือ ประโยครวมท่ีมีเน้ือความ
คลอ้ ยตามกนั ประโยครวมท่ีมีเน้ือความขดั แยง้ กนั ประโยครวมที่มีเน้ือความใหเ้ ลือกอยา่ งใดอยา่ ง
หน่ึง และประโยครวมที่เป็นเหตุเป็นผลกนั

๒ ประโยคในภาษาไทย

• ในวิธีการสื่อสารของมนุษย์ ไม่ว่าดว้ ยวิธีการพูด หรือการเขียน “ประโยค” จะเป็ นหน่วย
ทางภาษาท่ีทาใหม้ นุษยส์ ามารถส่ือสารกนั ไดเ้ ขา้ ใจ

• ประโยคเกิดจากการเรียงตวั ของคาชนิดต่างๆ ในภาษาไทยตามโครงสร้างทางภาษา
• ประโยคหน่ึงๆ จึงสะทอ้ นให้เห็นว่า คาท่ีเรียงตวั ต่อกนั น้ัน เป็ นคาชนิดใด มีหน้าที่ใดใน

ประโยค

การสื่อสารด้วยประโยคนอกจากประกอบด้วยเจตนาแล้ว ประโยคยงั ส่ือแสดง
ความคิด โดยผสู้ ่งสารสื่อความคิดดว้ ยถอ้ ยคา เม่ือเลือกใชค้ าต่างกนั ความหมายของประโยคก็
จะต่างกนั คาเชื่อมบางคาอาจใช้แทนกนั ไดใ้ นบางประโยค รวมถึงความคิดแบบเดียวกนั ผู้
สื่อสารสามารถแสดงเป็นประโยคต่างชนิดกนั ได้ สงั เกตประโยค

“นิดซ้ือเส้ือนอ้ ย” “ฉนั ไปดูหนงั หลงั จากกินขา้ วเยน็ ”
“นอ้ ยขายเส้ือนิด ” “ฉนั กินขา้ วเยน็ แลว้ กไ็ ปดูหนงั ”

“นิดผสมน้าใส่อ่าง” “นิดใส่น้าท่ีผสมในอ่าง”

๒ ประโยคในภาษาไทย

บทสรุป

• ประโยคที่ใช้สื่อสารกนั ทวั่ ไป จะตอ้ งมีส่วนประกอบพ้ืนฐานครบถ้วน จึงจะ
สามารถส่ือความไดบ้ ริบูรณ์

• ตอ้ งประกอบดว้ ย ภาคประธาน ซ่ึงเป็นผกู้ ระทากริยาน้นั ๆ หรือเป็นผแู้ สดงสภาพ
และภาคแสดง ซ่ึงเป็นส่วนที่แสดงอาการ บอกสภาพ หรือคุณสมบตั ิของประธาน

• ภาคประธานและภาคแสดง อาจประกอบดว้ ยคาเพียงคาเดียว หรือกลุ่มคากไ็ ด้

สังเกตประโยค
“ดวงจนั ทร์ลอยบนทอ้ งฟ้า

“ดวงจนั ทร์สีเหลืองนวลลอยบนทอ้ งฟ้าสีหม่น”
“นอ้ งของฉนั เป็นเดก็ น่ารัก จึงไดร้ ับความเอน็ ดูอยา่ งมากจากคุณยาย”

• ประโยคชนิดต่างๆ อาจมีขนาดส้นั หรือยาวก็ได้ ท้งั น้ีข้ึนอยกู่ บั ความตอ้ งการของ
ผสู้ ่งสาร

๒ ประโยคในภาษาไทย

• ประโยคชนิดต่างๆ อาจมีขนาดส้นั หรือยาวข้ึนอยกู่ บั ความตอ้ งการของผสู้ ่งสาร

• ประโยคยาวข้ึนกเ็ พราะมีการขยายส่วนต่างๆ ของประโยคเพ่อื ใหเ้ น้ือความชดั เจน
• การขยายอาจใชค้ า กลุ่มคา หรือประโยค เป็นส่วนขยายได้

• การขยายประโยคให้ยาวออกไปน้ี เกิดข้ึนเพราะการสื่อสารดว้ ยประโยคส้ันๆ
อาจไม่ชดั เจน รวมถึงถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกไดไ้ ม่ลึกซ้ึง

• การขยายประโยคนอกจากจะทาให้ประโยคมีความยาวออกไปแลว้ ยงั ทาให้
ประโยคมีส่วนประกอบท่ีซบั ซอ้ นมากยงิ่ ข้ึน

ดงั น้นั เมื่อจะส่ือสารผสู้ ื่อสารตอ้ งมีเจตนาในการส่ือสารที่ชดั เจน ประกอบประโยค
ใหถ้ ูกตอ้ งตามหลกั ไวยากรณ์ มีส่วนประกอบของประโยคครบถว้ น บ่งบอกไดว้ า่ เกิดอะไรข้ึน
ใครทาอะไร หรืออะไรมีสภาพเป็ นอย่างไร หากจะให้รายละเอียดต้องเพ่ิมส่วนขยายใน
ประโยค ซ่ึงเป็นความรู้ที่ตอ้ งศึกษาในระดบั ต่อไป


Click to View FlipBook Version