The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

การแต่งบทร้อยกรอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Ubonrat Somyaprasert, 2020-05-15 03:50:29

การแต่งบทร้อยกรอง

การแต่งบทร้อยกรอง

๕หน่วยการเรียนรู้ที่ การแต่งบทร้อยกรอง

• ร้อยกรอง เป็ นหน่ึงในงานเขียนท่ีผูส้ ื่อสารใช้เป็ น
ช่องทางเพือ่ ถ่ายทอดความรู้ ความคิด ความรู้สึก

• ส่ิงท่ีทาให้ร้อยกรองแตกต่างจากงานเขียนประเภท
อื่นๆ คือ ข้อบงั คบั ที่กาหนดชัดเจน หรือเรียกว่า
“ฉนั ทลกั ษณ์”

• นอกจากความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับฉันทลกั ษณ์
ความสามารถในการเรี ยบเรี ยงแนวคิด ให้เป็ น
ประโยคท่ีมีใจความครบถว้ น สมบูรณ์ กเ็ ป็นพ้ืนฐาน
ท่ีสาคญั ของการแต่งร้อยกรอง

• ร้อยกรองที่มีคุณค่าจะตอ้ งประกอบดว้ ยความถูกตอ้ ง
ดา้ นฉนั ทลกั ษณ์ มีความไพเราะดา้ นวรรณศิลป์ และ
มีแนวคิดที่ส่ือความไดต้ รงตามเจตนาของผูเ้ ขียน ให้
สาระ ขอ้ คิดท่ีเป็นประโยชนต์ ่อผอู้ ่าน

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ร้อยกรอง เป็ นคาท่ีกาหนดข้ึนใช้เรียกงานเขียนท่ีมีลกั ษณะบงั คบั ในการแต่ง เพื่อ
นามาใช้เข้าคู่กับคาว่า “ร้อยแก้ว” เป็ นช่องทางหน่ึงท่ีผูส้ ื่อสารใช้ถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความรู้สึกไปสู่ผรู้ ับสาร ซ่ึงมีการกาหนดฉนั ทลกั ษณ์ไวช้ ดั เจน ตามชนิดของบทร้อยกรอง

ธรรมชาติของร้อยกรอง

• ร้อย หมายถึง การนาคาในภาษาไทยมาเรียบเรียงอยา่ งมีศิลปะ มีจงั หวะ และมี
ความงดงามทางภาษา ส่วนคาว่า “กรอง” หมายถึง การนาคาท่ีมีความหมายมา
เรียบเรียงใหเ้ กิดความไพเราะ เมื่อรวมกนั จึงเป็นคาวา่ “ร้อยกรอง”

• มนุษยใ์ ชภ้ าษาเพื่อติดต่อสื่อสารแลว้ ยงั ใชภ้ าษาเพ่ือสร้างความเพลิดเพลิน นา
ถอ้ ยคามาผูกเป็ นร้อยกรอง แลว้ ใชร้ ้อยกรองน้ีแต่งเป็ นเรื่องราวต่างๆ เป็ นท่ีมา
ของวรรณคดี

• ผอู้ ่านจะเขา้ ใจวรรณคดีเร่ืองหน่ึงๆ ไดอ้ ยา่ งถ่องแท้ จาเป็นจะตอ้ งมีความรู้ ความ
เขา้ ใจเก่ียวกบั ร้อยกรอง เพราะจะทาใหอ้ ่านวรรณคดีไดอ้ ยา่ งมีอรรถรส สุภาพ
บทหน่ึงๆ จะไพเราะไดก้ ด็ ว้ ยสมั ผสั หรือคาคลอ้ งจอง

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

งานเขียนประเภทร้อยกรอง มีช่ือเรียกตามรูปแบบ ขอ้ บงั คบั หรือฉันทลกั ษณ์ เป็ น
ชนิดๆ ไป

ประเภทของร้อยกรอง

โคลง เป็ นร้อยกรองท่ีมีวิธีเรียบเรียงถอ้ ยคาโดยกาหนดคาเอก คาโท และสัมผสั โคลง
แบ่งออกเป็น ๓ ชนิด ไดแ้ ก่

- โคลงสุภาพ
- โคลงด้นั
- โคลงโบราณ

ซ่ึงโคลงสุภาพยงั แบ่งออกเป็นโคลงสองสุภาพ โคลงสามสุภาพ และโคลงสี่สุภาพ โคลง
ส่ีกระทู้ ส่วนโคลงด้นั จะแบ่งเป็นโคลงด้นั บาทกญุ ชร และโคลงด้นั ววิ ธิ มาลี

ฉันท์ เป็ นร้อยกรองที่แต่งยากที่สุด เพราะมีลกั ษณะบงั คบั คาหนกั คาเบา หรือเรียกว่า
คาครุ (หมายถึง หนกั ) และคาลหุ (หมายถึง เบา) จึงตอ้ งอาศยั คาท่ียมื มาจากภาษาสนั สกฤต

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ประเภทของร้อยกรอง

การแต่งฉนั ท์ จะตอ้ งบรรจุคาใหค้ รบตามจานวน ฉนั ทม์ ีหลายชนิด ซ่ึงแต่ละชนิดจะมีลีลา
ท่วงทานองเฉพาะ เหมาะสมที่จะใชถ้ ่ายทอดเน้ือหาต่างกนั

กาพย์ เป็ นร้อยกรองท่ีมีระเบียบบงั คบั คลา้ ยกบั ฉนั ท์ แต่ไม่ไดก้ าหนดบงั คบั คาครุ ลหุ
เหมาะสาหรับบรรยายความ ไม่นิยมใช้ศพั ท์สูง ผูแ้ ต่งยงั ได้นาร้อยกรองประเภทกาพยไ์ ปแต่ง
ร่วมกบั ฉันท์ มีชื่อเรียกว่า “คาฉันท”์ แต่ถา้ นากาพยแ์ ต่งร่วมกบั โคลงสี่สุภาพ มีชื่อเรียกว่า “กาพย์
ห่อโคลง”

กลอน เป็ นร้อยกรองที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เพราะกลอนเกิดจากการ
เรียบเรียงถอ้ ยคาใหค้ ลอ้ งกนั ท้งั ภายในวรรค และระหว่างวรรค เม่ืออ่านจึงเกิดความรู้สึกไพเราะ
เป็นช่วงจงั หวะ ลกั ษณะบงั คบั ของกลอนมี ๓ ประการ ไดแ้ ก่

- คณะ หรือจานวนบท
- จานวนวรรค พยางค์
- สมั ผสั

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ประเภทของร้อยกรอง

ร่าย เป็นร้อยกรองที่บงั คบั คณะ สมั ผสั และบางชนิดยงั บงั คบั คาเอก คาโท ลกั ษณะคณะ
ของร่ายไม่ไดก้ าหนดว่าจะตอ้ งมีบทละก่ีวรรค จะแต่งยาวเท่าไรก็ได้ แต่ตอ้ งให้มีสัมผสั ทุกวรรค
และจบลงตามขอ้ บงั คบั เท่าน้นั ผูแ้ ต่งจึงนิยมใชร้ ่ายบรรยายเน้ือหามากกว่าสื่อแสดงแนวคิด โดย
นิยมแต่งร่วมกบั โคลง ซ่ึงเรียกวา่ ลิลิต ยกเวน้ ร่ายยาวท่ีแต่งตามลาพงั ในวรรณคดีเรื่อง ร่ายยาวมหา
เวสสนั ดรชาดก ร้อยกรองประเภทร่าย แบ่งประเภทยอ่ ย ไดแ้ ก่ ร่ายด้นั ร่ายสุภาพ และร่ายโบราณ

ลิลติ เป็นร้อยกรองที่เกิดจากการแต่งร่วมกนั ระหวา่ งร่ายและโคลง สลบั กนั เป็นเร่ืองราว
โดยมีการร้อยสัมผสั ในวรรณคดีเรื่อง ลิลิตพระลอ ลิลิตตะเลงพ่าย เป็นตน้ ลิลิตแบ่งประเภทยอ่ ย
ไดแ้ ก่ ลิลิตสุภาพ ซ่ึงแต่งดว้ ยโคลงสุภาพสลบั กบั ร่ายสุภาพ และลิลิตด้นั ซ่ึงแต่งดว้ ยโคลงด้นั สลบั
กบั ร่ายด้นั

กลอนเปล่า เป็นงานเขียนประเภทหน่ึง ตรงกบั ภาษาองั กฤษว่า “Blank Verse” หรือ
“Free Verse” ไดร้ ับอิทธิพลมาจากชาติตะวนั ตก ไม่มีขอ้ บงั คบั ทางฉนั ทลกั ษณ์ ผแู้ ต่งมีอิสระในการ
แสดงความคิดและใชค้ า

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ภาษาร้อยกรองเป็นภาษาของกวี เป็นภาษาท่ีอยใู่ นวถิ ีของคนไทย นอกจากฉนั ทลกั ษณ์
แลว้ ร้อยกรองยงั มีลกั ษณะเด่นต่างๆ ดงั น้ี

ความโดดเด่นของร้อยกรอง

สร้างภาพได้ตามจินตนาการ ดว้ ยถอ้ ยคาเพียงไม่ก่ีคา ร้อยกรองบทหน่ึงๆ สามารถ
สร้างภาพอนั ชดั เจนใหแ้ ก่ผูอ้ ่าน กล่าวคือ เม่ือผูแ้ ต่งตอ้ งการจะใชถ้ ่ายทอดภาพของส่ิงใด ก็จะ
บรรจุคาลงในฉันทลกั ษณ์ท่ีกาหนด ซ่ึงโดยส่วนใหญ่จะให้ภาพสมบูรณ์พอดีกบั จานวนบทท่ี
ฉนั ทลกั ษณ์กาหนดไว้ ซ่ึงถอ้ ยคาท่ีนามาบรรจุน้นั จะตอ้ งเลือกสรรเป็นอยา่ งดี คาทุกคาจะตอ้ งมี
ความหมาย และใหภ้ าพ

วนั น้นั จนั ทร มีดารากร เป็ นบริ วาร

เห็นสิ้นดินฟ้า ในป่ าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบกา้ นอรชร

เยน็ ฉ่าน้าฟ้า ช่ืนชะผกา วายพุ าขจร

สารพนั จนั ทน์อิน ร่ืนกล่ินเกสร แตนต่อคลอ้ ร่อน วา้ วอนเวยี นระวนั

กาพยพ์ ระไชยสุริยา : สุนทรภู่

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง

มีเสียงและจังหวะไพเราะดุจดนตรี คาในภาษาไทยส่วนใหญ่เป็ นคาโดด และมีเสียง
วรรณยุกตก์ ากบั คาแต่ละคาจึงมีเสียงสูง ต่า เม่ือนามาร้อยเรียงเป็ นวรรค ประกอบเขา้ กนั ตาม
ฉันทลักษณ์ย่อมทาให้เกิดช่วงจังหวะที่ไพเราะเหมือนเสียงดนตรี เมื่ออ่านก็จะเกิดเป็ น
ท่วงทานอง คนในอดีตจึงนิยมอ่านออกเสียงร้อยกรองเพ่ือสร้างความเพลิดเพลินเหมือนกบั ได้
ฟังดนตรีขบั กล่อม

กลองทองตีครุ่มคร้ึม เดินเรียง

ทา้ ตะเติงเติงเสียง ครุ่มคร้ืน

เสียงที่ปี่ รี่เรื่อยเพียง การเวก

แตร้นแตร่แตรฝรั่งข้ึน หวหู่ วเู้ สียงสงั ข์

กาพยห์ ่อโคลงประพาสธารทองแดง: เจา้ ฟ้าธรรมธิเบศร์

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง

ให้แนวคิด ซ่ึงความคิดที่ผูแ้ ต่งนามาถ่ายทอดตอ้ งเป็นแนวคิดท่ีเป็นจริง มีอยจู่ ริง และ
ผอู้ ่านเคยพบเห็น หรือไม่อยากเกินไปท่ีผอู้ ่านจะจินตนาการตามได้

ความรู้ดูยง่ิ ล้า สินทรัพย์
คิดค่าควรเมืองนบั ยงิ่ ไซร้
เพราะเหตุจกั อยกู่ บั กายอาต มานา
โจรจกั เบียฬบ่ได้ เร่งรู้เรียนเอา
โคลงโลกนิติ : สมเดจ็ กรมพระยาเดชาดิศร

ก่อให้เกิดอารมณ์สะเทอื นใจ คือ การใชค้ านอ้ ยแต่กินความมาก ผูแ้ ต่งจึงตอ้ งเลือกใช้

ถอ้ ยคาท่ีสามารถส่ือความหมายไดค้ รอบคลุม ลึกซ้ึง คาที่ถูกเลือกนามาใชจ้ ึงมีความหมายทุกคา
นอกจากมีความหมายแลว้ ยงั ตอ้ งใหอ้ ารมณ์ความรู้สึก

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง

อุรารานร้าวแยก ยลสยบ
เอนพระองคล์ งทบ ท่าวดิ้น
เหนือคอคชซอนซบ สงั เวช
วายชีวาตยส์ ุดสิ้น สู่ฟ้าเสวยสวรรค์
ลิลิตตะเลงพา่ ย : กรมพระปรมานุชิตชิโนรส

ช่วยให้จาเรื่องราวได้ง่ายยงิ่ ข้ึน ผแู้ ต่งมกั นิยมบรรจุคาภายในวรรคใหส้ ัมผสั กนั ซ่ึงอาจ
เป็นไดท้ ้งั สมั ผสั สระและสมั ผสั อกั ษร แมไ้ ม่ไดก้ าหนดใหเ้ ป็นสมั ผสั บงั คบั เกิดเป็นคาคลอ้ งจอง
มีผลทาใหผ้ อู้ ่านสามารถจดจาเน้ือหาของวรรณคดีไดม้ ากยงิ่ ข้ึน

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย มนั แสนสุดลึกล้าเหลือกาหนด
กไ็ ม่คดเหมือนหน่ึงในน้าใจคน
ความโดดเด่นของร้อยกรอง บิดามารดารักมกั เป็นผล
เกิดเป็ นคนคิดเห็นจึงเจรจา
แลว้ สอนวา่ อยา่ ไวใ้ จมนุษย์
ถึงเถาวลั ยพ์ นั เกี่ยวที่เล้ียวลด พระอภยั มณี : สุนทรภู่
มนุษยน์ ้ีที่รักอยสู่ องสถาน
ท่ีพ่ึงหน่ึงพ่ึงไดแ้ ต่กายตน

การแต่งร้อยกรอง คือ การสื่อสารแนวคิดของผูเ้ ขียนไปยงั ผูอ้ ่าน โดยใช้ภาษาเป็ น
เครื่องมือ ผา่ นรูปแบบร้อยกรองประเภทท่ีเลือก

ความโดดเด่นของร้อยกรอง

แนวคดิ หรือความคิด มีลกั ษณะสาคญั ดงั น้ี

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/แนวคดิ

• เป็ นธรรมชาติของมนุษย์ โดยเรื่องที่คิด วิธีการคิด
ความสามารถในการคิดจะแตกต่างกัน ข้ึนอยู่กับ
ปัจจยั หลายประการ เช่น อายุ ประสบการณ์ เป็นตน้

• แนวคิดในร้อยกรอง หมายถึง สาระสาคัญท่ี
ผเู้ ขียนมุ่งสื่อสารกบั ผูอ้ ่าน เช่น ตกั เตือน ให้ หรือ
นาเสนอแง่คิด มุมมองที่เป็ นประโยชน์ต่อการ
ดารงชีวติ ประจาวนั

• ร้อยกรองบางเร่ืองผูเ้ ขียนก็ไม่ได้มีเจตนาสื่อสาร
แนวคิดใดๆ แต่ผูกเป็ นเรื่ องราวเพื่อสร้างความ
บนั เทิง เพลิดเพลินใจจากเน้ือเรื่อง และศิลปะการ
ประพนั ธ์ สงั เกตร้อยกรอง

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย ท่านท้งั ปวงจงอุตส่าห์หากศุ ล
อายคุ นน้นั ไม่ยนื ถึงหม่ืนปี
ความโดดเด่นของร้อยกรอง/แนวคดิ อิศรญาณภาษิต : หม่อมเจา้ อิศรญาณ

คืนและวนั พลนั ดบั กล็ บั ล่วง
พลนั ชีวติ คิดถึงราพงึ ตน

“แสดงแนวคดิ :ความไม่เทย่ี งแท้ของชีวิต”

ภาษา หรือวรรณศิลป์ ในร้อยกรอง บางกรณีการเขียนส่ือสารดว้ ยขอ้ ความที่เป็ นร้อย
แก้วก็สามารถสื่อความได้ครบถ้วนบริบูรณ์ แต่ในบางกรณีผูเ้ ขียนก็สามารถใช้ศิลปะการ

ประพนั ธ์ช่วยทาใหผ้ รู้ ับสารเกิดความรู้สึกประทบั ใจ ซาบซ้ึง หรือมีอารมณ์ความรู้สึกคลอ้ ยตาม
นอกเหนือไปจากการรับรู้เรื่องราว สงั เกตร้อยกรอง

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย ยามวโิ ยคยากใจใหส้ ะอ้ืน
ถึงส่ีหมื่นสองแสนท้งั แดนไตร
ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ภาษา ไม่มีที่พสุธาจะอาศยั
เหมือนนกไร้รังเร่อยเู่ อกา
มาถึงบางธรณีทวโี ศก
โอพ้ สุธาหนาแน่นเป็นแผน่ พ้นื นิราศภูเขาทอง: สุนทรภู่
เมื่อเคราะห์ร้ายกายเรากเ็ ท่าน้ี
ลว้ นหนามเหน็บเจบ็ แสบคบั แคบใจ

สาร หรือเรื่องราวที่ผูเ้ ขียนตอ้ งการส่งไปยงั ผูอ้ ่าน คือ การบอกเล่าเรื่องราวความทุกข์

ยากลาบากของตน แต่ไดใ้ ชศ้ ิลปะการประพนั ธ์ คือ การคดั เลือกถอ้ ยคามาใชใ้ หเ้ กิดเสียงไพเราะ
และมีความหมายดี ใชค้ าท่ีก่อให้เกิดอารมณ์คลอ้ ยตาม เห็นภาพ และการลาดบั ความคิดท่ีเป็ น

ระเบียบ การใชภ้ าษาในร้อยกรอง เพื่อให้เกิดวรรณศิลป์ หรือศิลปะการประพนั ธ์มีสิ่งที่จะตอ้ ง
คานึงสองประการ

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ภาษา

• การใช้คาให้เกิดเสียง หรือเรียกว่า การเล่นเสียง หมายถึง การเลือกสรรคาให้มี
เสียงที่พิเศษกว่าปกติ เพื่อให้เกิดท่วงทานองเสียง จงั หวะท่ีไพเราะ ซ่ึงเสียงใน
ภาษาไทยที่ก่อให้เกิดความไพเราะทางวรรณศิลป์ หรือศิลปะการประพนั ธ์ คือ
เสียงพยญั ชนะ เสียงสระ และเสียงวรรณยกุ ต์ สงั เกตร้อยกรองต่อไปน้ี

ปลากรายวา่ ยเคียงคู่ เคลา้ กนั อยดู่ ูงามดี
แต่นางเหินห่างพ่ี เห็นปลาเคลา้ เศร้าใจจร
หางไก่วา่ ยแหวกวา่ ย หางไก่คลา้ ยไม่มีหงอน
คิดอนงคอ์ งคเ์ อวอร ผมประบ่าอ่าเอ่ียมไร
กาพยเ์ ห่เรือ : เจา้ ฟ้าธรรมาธิเบศร์
“ผู้แต่งสรรคาให้เกดิ สัมผสั ภายในวรรค เป็ น
คู่ๆ เมื่ออ่านแล้วจะเกดิ เป็ นช่วงจังหวะ”

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ภาษา

พงศกษตั ริยท์ ศั นาดูเงือกนอ้ ย ดูแช่มชอ้ ยโฉมเฉลาท้งั เผา้ ผม

ประไพพกั ตร์ลกั ษณ์ลาลว้ นขาคม ท้งั เน้ือนมนวลเปล่งอกเต่งทรวง

“ร้อยกรองนีโ้ ดดเด่นด้วยเสียงสัมผสั ใน” พระอภยั มณี : สุนทรภู่

• การใช้คาให้เกิดความหมาย ในท่ีน้ี มิได้หมายถึง คาท่ีผูแ้ ต่งเลือกใช้จะตอ้ งมี
ความหมายปรากฏเป็ นท่ีเข้าใจเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึง ทุกคาที่ใช้จะต้องมี
ความสาคญั ต่อร้อยกรองที่แต่ง กล่าวคือ คาที่เลือกใชจ้ ะตอ้ งทาหนา้ ท่ีสื่อความ ไม่

ฟ่ มุ เฟื อย สื่อสาระ เน้ือหาไม่ได้ สงั เกตร้อยกรอง

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ภาษา

ควา้ งควา้ งใบไมป้ ลิว ละลิ่วหล่นลงบนดิน
เอ่ือยเอื่อยธารไหลริน มิรู้สิ้น ณ หนใด
เปรียบดงั ชีวติ น้ี มิมีที่จะพกั ใจ
อา้ งวา้ งร้างฤทยั กวา่ ชีพดบั ลงลบั สูญ
เรียงร้อยถอ้ ยคา : เนาวรัตน์ พงษไ์ พบูลย์

“ผู้แต่งเลือกใช้คาท่ีให้ความหมายด้านภาพ การปลวิ ของใบไม้ การไหลของนา้ ”

ยงู ทองร้องกะโตง้ โห่งดงั เพียงฆอ้ งกลองระฆงั
แตรสงั ขก์ งั สดาลขานเสียง กาพยพ์ ระไชยสุริยา : สุนทรภู่

“ถ้อยคาทเ่ี ลือกใช้ให้ความหมายด้านเสียง คือ เลยี นเสียงร้องของนกยูง

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ภาษา

...แต่แม่เที่ยวเซซงั เสาะแสวงทุกแห่งหอ้ งหิมเวศ ท้งั ประเทศทุกราวป่ าสุดนยั นาที่แม่จะ
ตามไปเลง็ แล สุดโสตแลว้ ที่แม่จะซบั ทราบฟังสาเนียง สุดสุรเสียงที่แม่จะร่าเรียกพไิ ล
ร้อง สุดฝีเทา้ ที่แม่จะเย้อื งยอ่ งยา่ งลงเหยยี บดิน กส็ ุดสิ้นสุดปัญญาสุดหาสุดคน้ สุดคิด

มหาเวสสนั ดรชาดก : เจา้ พระยาพระคลงั (หน)

“การซ้าคา” เพ่ือยา้ ความ ทาให้ผ้อู ่านเกดิ อารมณ์ความรู้สึกคล้อยตาม เพราะ
รับรู้อารมณ์ของตวั ละครได้ละเอยี ด ลกึ ซึ้ง

ฉันทลักษณ์ คือ ลกั ษณะแบบแผนของร้อยกรองประเภทหน่ึงๆ ท่ีผูแ้ ต่งจะตอ้ งจดจา
เพ่ือใหแ้ ต่งร้อยกรองน้นั ๆ ได้ ถูกตอ้ ง โดยส่ิงที่ปรากฏในฉนั ทลกั ษณ์

• คณะ หมายถึง การจดั หมวดหมู่ของถอ้ ยคาในแต่ละวรรค แต่ละบาท แต่ละบท
ซ่ึงฉันทลกั ษณ์ของร้อยกรองแต่ละประเภทมีความแตกต่างกนั เช่น ร้อยกรอง
ประเภทกาพยย์ านี 11 กาหนดให้ 1 บท มี 2 บาท 1 บาท มี 2 วรรค

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ฉันทลักษณ์

• พยางค์ หรือคาในร้อยกรอง หมายถึง เสียงที่เปล่งออกมาคร้ังหน่ึงๆ จะไดค้ วาม
หรือไม่กต็ าม ซ่ึงร้อยกรองแต่ละประเภทกจ็ ะกาหนดจานวนคาแตกต่างกนั เช่น

- ร้อยกรองประเภทกาพยย์ านี 11 กาหนดใหว้ รรคหนา้ มี 5 คา หลงั มี 6 คา รวม 1
บาท มีจานวนคาท้งั สิ้น 11 คา

• สัมผสั คือ ความคลอ้ งจองของถอ้ ยคา ซ่ึงช่วยใหร้ ้อยกรองเกิดท่วงทานองเสียงท่ี
ร้อยเรียงเก่ียวเน่ืองโดยแบ่งลกั ษณะยอ่ ยได้ ดงั น้ี

- สมั ผสั ใน ไม่กาหนดเป็นสมั ผสั บงั คบั แต่ผแู้ ต่งนิยมบรรจุคาใหภ้ ายในวรรคเกิด
สัมผสั ในเพ่ือความไพเราะ เป็ นไดท้ ้งั สัมผสั สระ คือ สัมผสั ท่ีใช้สระเดียวกัน
มาตราเดียวกนั เช่นคาวา่ กาง, ราง, ปาง เป็นตน้ และสมั ผสั อกั ษร คือ สัมผสั ที่ใช้
พยญั ชนะเสียงเดียวกนั

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ฉันทลักษณ์ ตะลึงแลปูเป้ี ยวเท่ียวไสว
ฤทยั ไหวแวว่ วา่ พะงางาม
จะเหลียวซา้ ยแลขวากป็ ่ าแสม ขา้ งฝั่งฟากหวั ตะเขม้ ีมะขาม
ระหริ่งเรื่อยเฉ่ือยเสียงเรไรไพร กระดานสามแผน่ พิงไวบ้ ูชา
ถึงชะแวกแยกคลองสองชะวาก
เขาสร้างศาลเทพาพยายาม นิราศเมืองแกลง : สุนทรภู่

สุวรรณหงส์ทรงภู่หอ้ ย งามชดชอ้ ยลอยหลงั สินธุ์
เพยี งหงส์ทรงพรหมินทร์ ลินลาศเล่ือนเตือนตาชม
เรือไชยไววอ่ งวง่ิ รวดเร็วจริงยง่ิ อยา่ งลม
เสียงเสา้ เร้าระดม ห่มทา้ ยเยนิ่ เดินคู่กนั

กาพยเ์ ห่เรือ : เจา้ ฟ้าธรรมาธิเบศร์

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ฉันทลักษณ์

- สมั ผสั นอก สมั ผสั ชนิดน้ีกาหนดใหเ้ ป็นสมั ผสั บงั คบั เพราะถา้ ไม่มีสมั ผสั นอก
จะเป็นร้อยกรองไม่ได้ ตาแหน่งของสัมผสั นอกจะเกิดข้ึนระหวา่ งวรรค และบท
บงั คบั ใหเ้ ป็นสมั ผสั สระ โดยร้อยกรองแต่ละประเภทจะกาหนดสัมผสั นอก หรือ
สมั ผสั บงั คบั ในตาแหน่งต่างกนั ดงั น้นั คุณสมบตั ิพ้ืนฐานประการแรกของผแู้ ต่ง
ร้อยกรอง คือ จดจาฉนั ทลกั ษณ์ รวมถึงตาแหน่งสมั ผสั บงั คบั ของร้อยกรองแต่ละ
ประเภทได้

โฉมควรจกั ฝากฟ้า ฤๅดิน ดีฤๅ
เกรงเทพไทธ้ รณินทร์ ลอบกล้า
ฝากลมเลื่อนโฉมบิน บนเล่า นะแม่
ลมจะชายชกั ช้า ชอกเน้ือเรียมสงวน

นิราศนรินทร์คาโคลง

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ฉันทลกั ษณ์

- คาครุ ลหุ คาครุ หมายถึงคาท่ีมีเสียงหนกั ไดแ้ ก่ คาท่ีประสมดว้ ยสระเสียงยาวใน
แม่ ก กา คาท่ีมีตวั สะกดในแม่กง กน กม เกย เกอว กก กด และกบ โดยจะประสม
ดว้ ยสระเสียงส้ันหรือยาวก็ได้ รวมถึงคาที่ประสมดว้ ยสระ อา ไอ ใอ เอา เขียน
แทนดว้ ยเครื่องหมาย ส่วนคาลหุ หมายถึง คาที่มีเสียงเบา ไดแ้ ก่ คาที่ประสมดว้ ย
สระเสียงส้นั ที่ไม่มีตวั สะกดท้งั หมด เขียนแทนดว้ ยเครื่องหมาย

• คาเอก คาโท โดยคาเอก หมายถึง คาท่ีมีรูปวรรณยุกต์เอกกากบั หากผูแ้ ต่งไม่
สามารถสรรคามาบรรจุให้ตรงตาแหน่งได้ อนุโลมให้ใชค้ าตายแทน ส่วนคาโท
หมายถึง คาที่มีรูปวรรณยุกต์โทกากับ หากผู้เขียนไม่สามารถหาคาท่ีมีรูป
วรรณยุกต์ตรงกับตาแหน่ง อนุโลมให้ใช้คาเอกโทษ โทโทษ ซ่ึงคาเอกโทษ
หมายถึง คาที่เปลี่ยนรูปวรรณยุกต์โทเป็ นรูปวรรณยุกต์เอก ส่วนคาโทโทษ
หมายถึง คาที่เปลี่ยนรูปวรรณยกุ ตเ์ อกเป็นรูปวรรณยกุ ตโ์ ท

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ฉันทลกั ษณ์

• คาเป็น คาตาย โดยคาเป็น หมายถึง คาที่ประสมดว้ ยสระเสียงยาวในแม่ ก กา และ
คาที่มีตวั สะกดในแม่กง กน กม เกย และเกอว รวมไปถึงคาท่ีประสมดว้ ยสระ อา
ไอ ใอ เอา ส่วนคาตาย หมายถึง คาท่ีประสมดว้ ยสระเสียงส้นั ในแม่ ก กา และคา
ที่มีตวั สะกดในแม่กก, กด, กบ

• เสียงวรรณยกุ ต์ คาในภาษาไทยมีเสียงวรรณยกุ ตท์ ุกพยางค์ ไม่วา่ คาน้นั ๆ จะมีรูป
วรรณยุกต์กากบั อยู่หรือไม่ก็ตาม คาในภาษาไทยจึงเป็ นเสมือนเสียงดนตรีท่ีมี
ความสูง ต่า และเม่ือนาคาเหล่าน้นั มาร้อยเรียงให้ต่อเนื่องกนั เป็ นร้อยกรอง ก็จะ
เกิดความไพเราะท่ีเป็ นเอกลกั ษณ์ ผูแ้ ต่งจึงตอ้ งให้ความสาคญั กบั เสียงของคา
เทียบเท่ากบั ความหมาย

• คาข้ึนตน้ ลงทา้ ย ร้อยกรองบางชนิดมีเพียงคาข้ึนตน้ คือ กลอนบทละคร นิยมใช้
คาข้ึนตน้ วา่ “เมื่อน้นั บดั น้นั มาจะกล่าวบทไป” กลอนเสภา นิยมใช้คาข้ึนตน้ วา่
“คราน้นั จะกล่าวถึง”

๑ ร้อยกรองในภาษาไทย

ความโดดเด่นของร้อยกรอง/ฉันทลกั ษณ์

• ขณะที่ร้อยกรองบางชนิดมีท้งั คาข้ึนตน้ และคาลงท้าย คือ กลอนสักวา ใช้คา
ข้ึนตน้ วา่ “สกั วา” ลงทา้ ยดว้ ยคาวา่ “เอย”กลอนดอกสร้อย ข้ึนตน้ วรรคโดยใชค้ า
๔ คา คือ นาคา ๒ คา มาต้งั ตน้ แลว้ เขียนคาหน้าซ้า ๒ คร้ัง แทรกคาว่า เอ๋ย ไว้
ตรงกลาง “เด็กเอ๋ยเด็กดี” คาลงทา้ ยบทใชว้ ่า “เอย” และกลอนนิราศ ข้ึนตน้ ดว้ ย
วรรครับ ลงทา้ ยดว้ ยคาวา่ “เอย”

• คาสร้อย คือ คาที่ลงทา้ ยวรรค ทา้ ยบาท หรือทา้ ยบท พบในร้อยกรองประเภท
โคลงและร่าย เพื่อให้เกิดความไพเราะ หรือเสริมความให้เต็มเม่ือความยงั ไม่
สมบูรณ์ ส่ือความไม่ครบถว้ น

จะเห็นไดว้ า่ ฉนั ทลกั ษณ์เป็นแบบแผนที่ผูแ้ ต่งร้อยกรองตอ้ งปฏิบตั ิอยา่ งเคร่งครัด
ฉนั ทลกั ษณ์ของร้อยกรอง มีท้งั ส่วนท่ีเป็นลกั ษณะบงั คบั ใหต้ อ้ งปฏิบตั ิ ลกั ษณะเสริม เพ่ือช่วย
ใหส้ ื่อความสมบูรณ์ หรือมีเสียงเสนาะ และลกั ษณะนิยม ที่ช่วยให้ร้อยกรองมีความไพเราะ
ยงิ่ ข้ึน

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

ผทู้ ่ีจะสามารถแต่งร้อยกรองได้ จาเป็นตอ้ งมีความรู้ความคิด จินตนาการ และทกั ษะใน
การแสดงออกซ่ึงความรู้ ความคิด และจินตนาการ ออกมาเป็นภาษาเพ่ือส่ือความหมาย บอกเล่า
เรื่องราวไปยงั ผูอ้ ่าน โดยการอ่าน การฟัง การสังเกต การฝึ กฝนอย่างสม่าเสมอซ่ึงในช้นั แรก
อาจเริ่มตน้ จาก “แต่งได”้ เมื่อชานาญก็จะ “แต่งเป็ น” และเมื่อฝึ กสังเกต ฝึ กคิด ฝึ กใชค้ า ก็จะ
ถ่ายทอดเรื่องราวต่างๆ ไดอ้ ยา่ งมีวรรณศิลป์ และสาระ หรือเรียกวา่ “แต่งดี

กาพย์ เป็ นร้อยกรองชนิดหน่ึงท่ีแต่งไดง้ ่าย และมีความไพเราะไม่ต่างจากร้อยกรอง
อ่ืนๆ มีลกั ษณะบงั คบั ๓ ประการ ไดแ้ ก่ คณะ พยางค์ สัมผสั แต่ก็มีขอ้ สังเกตบางประการ
เก่ียวกบั เสียงวรรณยุกต์ท่ีผูแ้ ต่งตอ้ งให้ความสาคญั เพราะเป็ นส่วนเพิ่มท่วงทานอง จงั หวะท่ี
ไพเราะ

กาพย์ยานี ๑๑

ธรรมชาติของกาพย์ยานี ๑๑ มีลกั ษณะดงั น้ี

• เป็นกาพยท์ ี่แต่งง่าย ท่วงทานองเนิบชา้ อ่อนหวาน

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

กาพย์ยานี ๑๑/ธรรมชาติของกาพย์ยานี ๑๑

• มกั ใชแ้ ต่งพรรณนาชมความงดงามของธรรมชาติ ส่ิงแวดลอ้ ม

• หากนาไปแต่งคู่กบั ร้อยกรองประเภทโคลง โดยนาโคลงข้ึนตน้ ก่อน และแต่งตาม
ดว้ ยกาพย์ จะเรียกวา่ “กาพยห์ ่อโคลง”

ลกั ษณะบงั คบั กาพย์ยานี ๑๑ มีดงั น้ี

• คณะ กาพยย์ านี บทหน่ึงมี ๒ บาท บาทท่ี ๑ เรียกว่า บาทเอก บาทท่ี ๒ เรียกว่า
บาทโท แต่ละบาทที ๒ วรรค คือ วรรคแรก และวรรคหลงั

• พยางค์ หรือคา ในวรรคกาหนด ๕ คา วรรคหลงั กาหนด ๖ คา แบบเดียวกนั ท้งั
บาทเอก และบาทโท จึงนบั จานวนคาไดบ้ าทละ ๑๑ คา ดงั น้นั เลข ๑๑ ที่เขียนไว้
หลงั ชื่อกาพยย์ านีกเ็ พ่ือบอกจานวนคา

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

กาพย์ยานี ๑๑/ลักษณะบงั คบั กาพย์ยานี ๑๑

• สมั ผสั แบ่งเป็นสมั ผสั ระหวา่ งวรรค และระหวา่ งบท ดงั น้ี

สมั ผสั บงั คบั ระหวา่ งวรรค ๒ แห่ง
- คาทา้ ยของวรรคแรก สมั ผสั กบั คาท่ี ๑,๒ หรือ 3 ของวรรคหลงั ในบาทเอก
- คาทา้ ยของวรรคหลงั ในบาทเอก สมั ผสั กบั คาทา้ ยของวรรคแรกในบาทโท

สัมผสั ระหว่างบท คือ คาทา้ ยของวรรคหลงั ในบาทโทของบทแรก สัมผสั กบั คาทา้ ย
ของวรรคหลงั ในบาทเอกของบทต่อไป สมั ผสั ระหวา่ งบท ไม่วา่ แต่งกาพยก์ ่ีบท ตอ้ งมี
สมั ผสั คู่น้ี

• เสียงวรรณยกุ ต์ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพยย์ านี ๑๑ คาสุดทา้ ยของวรรคหลงั
ในบาทโท นิยมใชเ้ สียงสามญั และจตั วา

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

กาพย์ยานี ๑๑

มสั มนั่ แกงแกว้ ตา หอมยห่ี ร่ารสร้อนแรง
ชายใดไดก้ ลืนแกง แรงอยากใหใ้ ฝ่ฝันหา
ยาใหญใ่ ส่สารพดั วางจานจดั หลายเหลือตรา
รสดีดว้ ยน้าปลา ญี่ป่ ุนล้าย้ายวนใจ

“คาทเ่ี ป็ นสีแดง คือ “สัมผสั ใน ปรากฏในบทท่ี ๑ บาทเอก วรรคแรก มสั -
สัมผสั นอก หรือ มั่น, แกง-แก้ว วรรคหลงั หร่า-รส-ร้อน-แรง บาทโท
สัมผสั บงั คบั ” วรรคแรก ใด-ได้ วรรคหลงั ให้-ใฝ่ , ใฝ่ -ฝัน, ให้-หา
ในบทที่ ๒ บาทเอก วรรคแรก ใหญ่-ใส่ วรรคหลงั
จาน-จดั , หลาย-เหลือบาทโท วรรคแรก ดี-ด้วย วรรค
หลงั ญ่ี-ยา้ -ยวน, ลา้ -ยา้ ”

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

กาพย์ฉบงั 16

ธรรมชาติของกาพย์ฉบงั ๑๖ มีลกั ษณะดงั น้ี

• มีจงั หวะเหมาะสมบรรยายเน้ือความท่ีรวดเร็ว ท่วงทานองคึกคกั ไพเราะ นิยม
นาไปแต่งร่วมกบั ร้อยกรองประเภทฉนั ทใ์ นวรรณคดีเร่ือง สามคั คีเภทคาฉนั ท์

ลกั ษณะบงั คบั กาพย์ฉบงั ๑๖ มีดงั น้ี

• คณะ กาพยฉ์ บงั ๑๖ บทหน่ึงมี ๑ บาท หรือ ๓ วรรค ไดแ้ ก่ วรรคตน้ วรรคกลาง
และวรรคทา้ ย

• พยางค์ จานวนคาในวรรคตน้ มี 6 คา วรรคกลางมี 4 คา และวรรคทา้ ยมี ๓ คา
รวมท้งั บทจึงมี ๑๖คา เลข ๑๖ ท่ีเขียนไวห้ ลงั ชื่อกาพยฉ์ บงั กเ็ พอื่ บอกจานวนคา

• สัมผสั แบ่งเป็ นสัมผสั ระหว่างวรรค และระหว่างบท โดยกาหนดสัมผสั บงั คบั
ระหวา่ ง 1 ตาแหน่ง คือ คาทา้ ยของวรรคตน้ สมั ผสั กบั คาทา้ ยของวรรคกลาง ส่วน
สัมผสั ระหว่างบทบงั คบั ๑ ตาแหน่ง คือ คาทา้ ยของวรรคหลงั ในบทแรกสัมผสั
กบั คาทา้ ยของวรรคตน้ ในบทต่อไป

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

กาพย์ฉบงั ๑๖/ลกั ษณะบังคบั

• เสียงวรรณยกุ ต์ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพยฉ์ บงั ๑๖ คาสุดทา้ ยของวรรคทา้ ย
ในแต่ละบทนิยมใชเ้ สียงวรรณยกุ ตส์ ามญั และจตั วา

สามสิบสามเศียรโสภา เศียรหน่ึงเจด็ งา

ดงั เพชรรัตนร์ ูจี

งาหน่ึงเจด็ โบกขรณี สระหน่ึงยอ่ มมี

เจด็ กออุบลบนั ดาล

“คาทเี่ ป็ นสีแดง คือ “ในบทท่ี ๑ วรรคต้น สาม-สิบ-สาม-เศียร-โส
สัมผสั นอก หรือ วรรคกลางไม่ปรากฏสัมผสั ใน
สัมผสั บงั คบั ” วรรคหลงั รัตน์-รู

ในบทที่ ๒ วรรคต้น และกลางไม่ปรากฏสัมผสั ใน

วรรคหลงั บล-บัน”

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘

ธรรมชาติของกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ คาว่า สุรางคณ หรือสุรางคนา หมายถึง สวรรค์
เป็นชื่อกาพยช์ นิดหน่ึงมี ๒๘ คา บางคร้ังเขียน ๒๘ ไวเ้ หนือบท เพ่ือแสดงให้รู้วา่ กาพยน์ ้ี ๑ บท มี
๒๘ คา

ลกั ษณะบงั คบั กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ มีดงั น้ี

• คณะ กาพยส์ ุรางคนางค์ ๒๘ หน่ึงบทมี ๗ วรรค วรรคละ ๔ คา รวม ๒๘ คา

• พยางค์ ในแต่ละวรรค มี ๔ คา ๗ วรรค รวมเป็น ๒๘ คา จึงเขียนจานวนคาไวท้ า้ ย
ช่ือกาพย์ หมายถึง ๑ บท มี ๒๘ คา

• สัมผสั กาหนดสัมผสั ระหว่างวรรค ๔ แห่ง ไดแ้ ก่ คาทา้ ยวรรคหนา้ สัมผสั กบั คา
ทา้ ยวรรคสอง คาทา้ ยวรรคสามสัมผสั กบั คาทา้ ยวรรคห้าและวรรคหก คาทา้ ย
วรรคส่ีสัมผสั กบั คาหน่ึงหรือสองวรรคห้า ส่วนสัมผสั ระหว่างบท คือ คาทา้ ย
วรรคเจด็ ของบทแรกสมั ผสั กบั คาทา้ ยวรรคท่ีสามของบทต่อไป

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

กาพย์สุรางคนางค์ ๒๘/ลักษณะบังคบั

• เสียง การแต่งบทร้อยกรองประเภทกาพย์สุรางคนางค์ ๒๘ ไม่บังคับเสียง
วรรณยกุ ต์ แต่ส่วนมากนิยมใชเ้ สียงสามญั และเสียงจตั วา

วนั น้นั จนั ทร มีดารากร เป็ นบริ วาร

เห็นสิ้นดินฟ้า ในป่ าท่าธาร มาลีคลี่บาน ใบกา้ นอรชร

เยน็ ฉ่าน้าฟ้า ช่ืนชะผกา วายพุ าขจร

สารพนั จนั ทน์อิน ร่ืนกลิ่นเกสร แตนต่อคลอ้ ร่อน วา้ วอ่ นเวยี นระวนั

กาพยพ์ ระไชยสุริยา : สุนทรภู่

“คาทเ่ี ป็ นสีแดง คือ “ในบทท่ี 1 สัมผสั ภายในวรรค ได้แก่ วนั -น้ัน-จนั , ดา-
สัมผสั นอก หรือ รา, สิ้น-ดนิ , ป่ า-ท่า, ท่า-ธาร, ล-ี คล่ี
สัมผสั บงั คบั ” ในบทที่ 2 สัมผสั ภายในวรรค ได้แก่ ฉ่า-นา้ , ช่ืน-ชะ, วา-

พา, พนั -จนั ทน์, แตน-ต่อ, ต่อ-คล้อ, ว้า-ว่อน-เวยี น”

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

ผูท้ ่ีมีความสามารถในการประพนั ธ์บทร้อยกรอง ตอ้ งมีพรสวรรค์มาแต่กาเนิด หรือ
เรียกวา่ มีหวั ทางการประพนั ธ์ แต่อยา่ งไรก็ตามการฝึกฝนก็มีส่วนสร้างนกั ประพนั ธ์ร้อยกรอง
ได้ รวมถึงการอ่านวรรณคดี หรือร้อยกรองที่ดีๆ ซ่ึงกวีท่ีมีชื่อเสียงหลายคน ยอมรับว่า
ความสามารถเช่นน้ีเพราะไดอ้ ่านวรรณคดี เช่น ลิลิตพระลอ ขนุ ชา้ งขุนแผน การอ่านช่วยเปิ ด
โลกทศั น์ ทาให้เขา้ ใจโลกและชีวิต มีเน้ือหาที่จะส่ือสารกบั ผอู้ ่าน นอกจากความเป็ นนกั อ่าน
แลว้ “ช่อประยงค”์ ยงั ไดก้ ล่าวถึงคุณสมบตั ิท่ีนกั ประพนั ธ์พงึ มีหลายประการ

คุณสมบัตขิ องนักประพนั ธ์

มีความคิดริเร่ิมสร้ างสรรค์ คือ สามารถเขียน หรือแสดงออกทางการประพนั ธ์ได้
แตกต่างจากกวใี นสมยั อดีต ซ่ึงการแสดงออกน้ี หมายถึง รูปแบบ ภาษาท่ีสร้างสรรค์

มีความเป็ นตัวของตัวเอง คือ ผแู้ ต่งสามารถสร้างสรรคผ์ ลงานการประพนั ธ์ โดยมาลอก
เลียน หรืออา้ งอิงของผใู้ ด ท้งั ในดา้ นรูปแบบ ภาษา และแนวคิด

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

คุณสมบตั ขิ องนักประพนั ธ์

สามารถถ่ายทอดอารมณ์ คือ วิญญาณของกาพยก์ ลอน ใหผ้ อู้ ่าน ผูฟ้ ังเกิดความซาบซ้ึง
ตรึงใจ กินใจ หรือเกิดความรู้สึกร่วม คลอ้ ยตามไปกบั ผปู้ ระพนั ธ์ได้

รู้จักถ้อยคา คือ ร่ารวยถอ้ ยคา มีความสามารถในการใชถ้ อ้ ยคา เลือกศพั ทม์ าใชใ้ นการ
เรียบเรียง ถ่ายทอดความคิดใหต้ รงตามเจตนา และมีความงดงามทางภาษา

รู้จักเลือกประเด็นมาเขียน มีมุมมองต่อชีวิตและโลกอย่างหลากหลาย และเปิ ดกวา้ ง
เลือกนาเสนอมุมมองท่ีน่าสนใจ เป็นประโยชน์ต่อผรู้ ับสาร

จัดลาดับความคิดได้ดี คือ คุณสมบตั ิที่จะช่วยสร้างความเป็ นเอกภาพของร้อยกรอง
เชื่อมโยงสร้างความหมายและความรู้สึกใหเ้ กิดข้ึนได้

มีหูเป็ นนักดนตรี เป็ นคุณสมบตั ิท่ีจะทาให้ร้อยกรองท่ีแตกต่างมีความไพเราะ หรือที่
เรียกวา่ คุณค่าดา้ นวรรณศิลป์ ซ่ึงเกิดจากความสามารถในการเลือกใชถ้ อ้ ยคาใหม้ ีเสียงเสนาะ สูงต่า
เกิดเป็นท่วงทานอง จงั หวะท่ีไพเราะ

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

ผูท้ ่ีมีความสามารถในการแต่งร้อยกรอง จะต้องมีพรสวรรค์ หรือเรียกว่ามีทกั ษะ
ทางการประพนั ธ์ แต่อยา่ งไรก็ตามการฝึกฝนดว้ ยความต้งั ใจ และสม่าเสมอก็มีส่วนทาใหเ้ ป็นผู้
แต่งร้อยกรองที่ดีได้ การอ่าน การฟัง การสงั เกต จึงเป็นจุดเริ่มตน้ ท่ีดีของผฝู้ ึกแต่งร้อยกรอง

แนวทางการแต่งบทร้อยกรอง

กาหนดแนวความคิด ผูเ้ ขียนควรกาหนดแนวคิด หรือสาระที่ต้องการนาเสนอว่า
ตอ้ งการเสนอเรื่องอะไร เพ่ือใชเ้ ป็ นหลกั ในการแต่ง โดยอาจเป็นไดท้ ้งั การกาหนดแนวคิดเฉพาะ
บท ในกรณีเขียนบทเดียว หรือการกาหนดแนวคิดในลกั ษณะภาพรวม ในกรณีเขียนเป็นเรื่องยาว
ซ่ึงจะเป็นโครงเรื่องใหเ้ รียบเรียงโดยไม่ผดิ วตั ถุประสงค์

เรียบเรียงความคดิ หมายถึง การเขียนขยายแนวคิดหลกั ท่ีวางไว้ ท้งั ในกรณีที่แต่ง 1 บท
หรือแต่งหลายบท วา่ จะแต่งประเดน็ ดงั กล่าวไวท้ ี่บทใด ซ่ึงข้นั ตอนของการเรียบเรียงความคิดน้ี ผู้
แต่งจาเป็ นตอ้ งใชค้ วามรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองประโยคมาเช่ือมโยง ผูแ้ ต่งจะตอ้ งเขียนในลกั ษณะ
ความเรียงร้อยแกว้ ท่ีสื่อความครบถว้ นสมบูรณ์

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

แนวทางการแต่งบทร้อยกรอง

บรรจฉุ ันทลกั ษณ์ หมายถึง กระบวนการเรียบเรียงความคิด สรรถอ้ ยคาเพ่ือนาเสนอผา่ น
ร้อยกรอง ในข้นั น้ีผแู้ ต่งตอ้ งจดจาฉนั ทลกั ษณ์ ถูกตอ้ ง เขา้ ใจการจดั วางถอ้ ยคา และสรรหาถอ้ ยคา

จากข้นั ตอนขา้ งตน้ ใหส้ งั เกตร้อยกรองบทต่อไปน้ี

ขาวสุดพดุ จีบจีน เจา้ มีสีนพี่มีศกั ด์ิ
ท้งั วงั เขาชงั นกั แต่พ่ีรักเจา้ คนเดียว

• ผแู้ ต่งเริ่มตน้ ดว้ ยการเกร่ินความ กล่าวถึงดอกพดุ จีบจีน เพ่อื เชื่อมโยงไปสู่นางอนั
เป็ นที่รัก เพราะวรรค ๒ จะปรากฏคาว่า “เจา้ ” ซ่ึงหมายถึง คน ดงั น้นั ผูอ้ ่านจึง
เขา้ ใจไวว้ า่ ผแู้ ต่งจะกล่าวถึงหญิงอนั เป็นท่ีรัก

• ขยายความจากวรรคแรก เพอ่ื ส่ือสารวา่ นางเป็นผมู้ ง่ั คงั่ ขณะท่ีผแู้ ต่งมีศกั ด์ิ

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

แนวทางการแต่งบทร้อยกรอง

• ฉีกความจากวรรค ๒ เพ่ือสื่อสารวา่ แมน้ างอนั เป็นท่ีรักของกวีจะร่ารวย แต่กลบั
ไม่เป็นท่ีรักของผอู้ ่ืน เม่ือมาสู่วรรคสุดทา้ ยที่สรุปจบ จึงไดค้ วามสมบูรณ์

• สรุปความจากวรรค ๓ เพอ่ื สื่อสารวา่ มีแต่กวี หรือผแู้ ต่งเท่าน้นั ทรี่ ักนางมากท่ีสุด

เม่ือนาแต่ละวรรคมาผูกกนั ให้เป็ นความเรียงร้อยแกว้ จะไดว้ ่า “เจา้ เปรียบไดด้ งั กบั
ดอกพดุ จีบจีนที่มีสีขาวบริสุทธ์ิ ท้งั ยงั มีฐานะมงั่ คง่ั ร่ารวย ตรงกบั พี่ที่มีเพียงยศศกั ด์ิ แมค้ นอ่ืนจะ
ไม่รักใคร่ เกลียดชงั เจา้ แต่พ่กี ลบั รักเจา้ มากที่สุด”

จากตวั อยา่ งขา้ งตน้ หากนกั เรียนจะลองแต่งคาประพนั ธ์ประเภทกาพยย์ านี ๑๑โดยมี
การกาหนดความคิดใหเ้ ก่ียวขอ้ งกบั การศึกษาเล่าเรียน ดงั น้ี

• กาหนดแนวคิด ให้ต้ังใจศึกษาเล่าเรี ยน เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อตัวเองและ
ประเทศชาติ

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

แนวทางการแต่งบทร้อยกรอง

• เรียบเรียงความคิด แบ่งออกเป็น ๒ ส่วน คือ ใหต้ ้งั ใจศึกษาเล่าเรียนเพ่ือประโยชน์
ตน บทหน่ึง และเพ่อื ประเทศชาติอีกบทหน่ึง ดงั น้ี

บทที่ ๑ วรรค ๑ เกริ่นความ ใหน้ กั เรียนมีความมุ่งมนั่ ใฝ่ใจในการศึกษา

บทท่ี ๑ วรรค ๒ ขยายความ ใหเ้ รียนรู้สรรพวชิ าการ และศิลปศาสตร์

บทที่ ๑ วรรค ๓ ฉีกความ เปรียบวา่ วชิ าความรู้ มีค่าเหมือนแกว้ สารพดั นึก

บทที่ ๑ วรรค ๔ สรุปความในส่วนแรกวา่ หากเป็นคนมีวชิ าความรู้ กจ็ ะมีคนยก
ยอ่ ง แมต้ กในที่ลาบาก กอ็ าจยกตนใหพ้ น้ จากความลาบากน้นั ได้

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

แนวทางการแต่งบทร้อยกรอง/เรียบเรียงความคิด

บทท่ี ๒ วรรค ๑ เกริ่นความ ท่ีรับต่อเนื่องจากบทแรกวา่ ยงั มีประเทศชาติ
ถ่ินกาเนิด

บทที่ ๒ วรรค ๒ ขยายความ ยงั รอใหน้ กั เรียนไปพฒั นา

บทที่ ๒ วรรค ๓ ขมวดความคิด เพ่ือใหช้ าติพฒั นา ยงั คงความเป็นชาติไดอ้ ยา่ ง
สมเกียรติ สมศกั ด์ิความเป็นรัฐเอกราช

บทท่ี ๒ วรรค ๔ สรุปความส่งท้ายว่า หวงั ให้ประเทศชาติมีคนที่มีความรู้
ความสามารถ มาช่วยกนั บริหาร และบารุงสุขใหป้ ระชาชน

เมื่อนาแต่ละวรรคมาผูกกนั ใหเ้ ป็ นความเรียงร้อยแกว้ จะไดว้ า่ “ขอใหเ้ จา้ จงต้งั ใจศึกษา
หาความรู้ต่างๆ ท่ีเปรียบเหมือนแกว้ สารพดั นึก เพราะช่วยใหห้ ลุดพน้ จากความทุกขย์ าก ลาบาก
นอกจากจะศึกษาหาความรู้เพื่อตนเองแลว้ ตอ้ งนึกถึงประเทศชาติ ที่ยงั รอใหเ้ จา้ นาความรู้มาใช้
พฒั นา สร้างสรรค์ ใหเ้ กิดประโยชน์ และสุขแก่ประชากร”

๒ การแต่งร้อยกรองประเภทกาพย์

แนวทางการแต่งบทร้อยกรอง

• บรรจุฉนั ทลกั ษณ์ จากการเรียบเรียงความคิดดงั กล่าว สามารถบรรจุฉนั ทลกั ษณ์
ได้ ดงั น้ี

เจา้ เอยใฝ่ศึกษา สรรพวชิ าสง่าศิลป์
เปรียบค่ามณีจินด์ ชูศกั ด์ิเจา้ พน้ เศร้าหมอง
หวงั เจา้ เชิดแผน่ ดินทอง
อีกชาติถ่ินกาเนิด อารุงรัฐประชาไทย
สงวนศกั ด์ิไผทครอง

การจะแต่งคาประพนั ธ์ใหด้ ี ตอ้ งอาศยั การฝึกฝน ประสบการณ์ และมุมมองต่อเรื่องราว
ท่ีตอ้ งการนาเสนอ รวมถึงฉันทลกั ษณ์ตอ้ งแม่นยา สามารถสรรคาไดค้ รบถว้ นกระบวนความ
หรือสื่อความไดส้ มบูรณ์ จึงจาเป็นตอ้ งอ่านใหม้ าก และหมน่ั ฝึกฝนใหค้ วามความชานาญ


Click to View FlipBook Version