The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

205 เนื้อหา ตำรา วิชาการติดต่อสื่อสาร ปี2 2563

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Patiparn Potardee, 2020-09-19 01:15:09

5.วิชาการติดต่อสื่อสาร ปี2 2563

205 เนื้อหา ตำรา วิชาการติดต่อสื่อสาร ปี2 2563

บทที่ วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 103

การส่อื สารประเภทสาย

1. กล่าวท่ัวไป

สายเป็นเคร่อื งมือส่อื สารที่เช่ือถอื ได้มากชนิดหนง่ึ การส่อื สารประเภทสาย
ประกอบดว้ ย การใชส้ ายสนาม การวางสายและอปุ กรณใ์ นการเกบ็ สาย เครอื่ งโทรศพั ท์
สนามท่ใี ช้กำ� ลังหม้อไฟฟ้าและโทรศพั ท์สนามใช้กำ� ลังงานเสยี ง เคร่อื งสลบั สาย เครือ่ ง
โทรพมิ พ์ อปุ กรณป์ ลายทางหรอื สว่ นประกอบอน่ื ๆ การตกลงใจทจี่ ะตงั้ การสอ่ื สารประเภท
สายขน้ึ อยกู่ บั ความตอ้ งการทจ่ี ะใชง้ าน เวลาทมี่ อี ยทู่ จ่ี ะใชใ้ นการตดิ ตงั้ การใชง้ าน และ
ความสามารถในการซอ่ มบำ� รงุ จำ� นวนสายทม่ี อี ยู่ ตลอดจนจำ� นวนทค่ี าดวา่ จะไดร้ บั เพมิ่ เตมิ
พร้อมทั้งความต้องการในอนาคตจะต้องนำ� มาพิจารณาด้วย การส่ือสารประเภทสายเป็น
วธิ กี ารตดิ ตอ่ สอื่ สารทส่ี ามารถปรบั ใชเ้ ขา้ กบั สถานการณท์ ไ่ี มต่ อ้ งเคลอื่ นท่ี แตก่ ส็ ามารถ
จะใช้กบั การปฏบิ ัตทิ างยทุ ธวธิ ไี ด้ทุกสถานการณ์ ถ้าหากได้มกี ารวางแผนอย่างถกู ต้อง

1.1 ขดี ความสามารถของการส่ือสารประเภทสาย
1.1.1 การส่ือสารประเภทสายสามารถอ�ำนวยความสะดวกในการ
สนทนาระหว่างบคุ คลต่อบคุ คลโดยการพูดสวนทางกนั ได้

104 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร 1.1.2 การสื่อสารประเภทสายเป็นวิธีการส่ือสารที่ปลอดภัยกว่าวิทยุ แต่
ก็ไม่พึงเชื่อม่ันในความปลอดภัยในการส่งข่าวเป็นข้อความธรรมดา เนื่องจากการส่ือสาร
ประเภทนเ้ี ป็นจดุ อ่อนต่อการดกั รับฟังของข้าศกึ

1.1.3 การส่ือสารประเภทสายไม่เป็นอันตรายจากสภาพภูมิอากาศ
และสภาพภูมปิ ระเทศเหมอื นวทิ ยุ

1.2 ขีดจ�ำกัดของการส่อื สารประเภทสาย
1.2.1 การส่ือสารประเภทสายใช้เวลาในการติดต้ังมาก แต่อย่างไรก็ตาม
เวลาอาจลดลงได้ถ้าหากใช้บุคคลที่ได้รับการฝึกไว้อย่างดีแล้ว และวางแผนไว้อย่าง
มีประสิทธิภาพก่อนตดิ ต้ัง
1.2.2 การสอื่ สารประเภทสายเปน็ อนั ตรายไดง้ า่ ยจากยานพาหนะและการยงิ
ของปืนใหญ่ ผู้ท�ำสายขาดน้นั ส่วนใหญ่จะเป็นทหารฝ่ายเรามากกว่าการปฏบิ ัตขิ องข้าศกึ
จึงจ�ำเป็นต้องมีการช้ีแจงให้ทหารฝ่ายเดียวกันทราบถึงความส�ำคัญของสายท่ีเห็นอยู่ตาม
ทางเดินหรือถนนว่า เราได้ใช้สายที่เห็นน้ันติดต่อส่ือสารเรื่องเก่ียวกับความเป็นความตาย
ของทหารเอง การลาดตระเวนเส้นทางวางสายและติดตั้งในเส้นทางท่ีเหมาะสมจะท�ำให้
ระบบทางสายเป็นอนั ตรายน้อยลง
1.2.3 การส่ือสารประเภทสายไม่มีความอ่อนตัวโดยธรรมดาจึงไม่ใช้สาย
ในขณะเคล่อื นที่

2. สายโทรศัพทส์ นาม WD - 1/TT

2.1 กล่าวท่วั ไป
เปน็ สายโทรศพั ทส์ นาม ทม่ี คี วามคงทนเปน็ เยย่ี มชนดิ หนงึ่ เปน็ ทนี่ ยิ มกนั มาก
เปน็ สายคไู่ ขวม้ นี �้ำหนกั เบา จงึ เหมาะทจี่ ะใชก้ บั หนว่ ยเลก็ ๆ ในแนวหนา้ เชน่ หมวด เปน็ ตน้
สายชนดิ นมี้ คี วามตา้ นทานไฟสงู และฉนวนหมุ้ สายตา้ นทานตอ่ การขดู ถลอกทำ� ดว้ ยพลาสตกิ
ชนดิ พเิ ศษเรยี กว่า โพลเี อธิลีนและมไี นลอนหุ้มอกี ช้ันหนึ่ง
2.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ
2.2.1 เกณฑก์ ารวดั เสน้ ลวดแบบอเมรกิ นั (AWG) เบอร์ 23 (ตวั นำ� แตล่ ะเสน้ )
2.2.2 มลี วดทองแดงผสมดบี กุ 4 เสน้ และลวดเหลก็ อาบสงั กะสอี กี 3 เสน้
2.2.3 มีฉนวนชั้นในเป็นโพลีเอธิลีน (Polyethylene) ช้ันหน่ึงและฉนวนชั้น
นอกเป็นไนลอนอกี ช้นั หนงึ่

2.2.4 ทนแรงดงึ ได้ประมาณ 200 ปอนด์ (ทัง้ 2 เส้น) วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 105
2.2.5 หนกั 48 ปอนด์ต่อไมล์
2.2.6 ความต้านทานบ่วง (Loop resistance) ต่อกระแสตรงมคี ่าจาก 200
ถึง 234 โอห์มต่อไมล์ ณ อณุ หภมู ิ 70 องศาฟาเรนไฮต์
2.2.7 การสูญเสยี ณ หนงึ่ กโิ ลเฮริ ์ซ ทอ่ี ณุ หภมู ิ 68 องศาฟาเรนไฮต์ มคี ่า 2.5
เดซเิ บลต่อไมล์, เมอ่ื อยู่ในสภาพเปียก และ 1.5 เดซเิ บล ต่อไมล์ในสภาพแห้ง

รูปที่ 1 สายโทรศพั ท์สนาม WD - 1/TT
2.3 ล้อม้วนสายโทรศัพทส์ นาม
สายโทรศพั ท์สนาม WD - 1/TT บรรจอุ ยู่ในล้อม้วนสาย ได้ดังน้ี
2.3.1 ล้อม้วนสาย DR - 4 บรรจสุ าย WD - 1/TT ยาว 1 1/3 ไมล์
2.3.2 ล้อม้วนสาย DR - 5 บรรจสุ าย WD - 1/TT ยาว 2 1/2 ไมล์
2.3.3 ล้อม้วนสาย DR - 8 บรรจสุ าย WD - 1/TT ยาว 1/4 ไมล์
2.3.4 ล้อม้วนสาย DR - 7 บรรจสุ าย WD - 1/TT ยาว 6 ไมล์
2.3.5 ล้อม้วนสาย RL - 159/U บรรจสุ าย WD - 1/TT ยาว 1 ไมล์
2.4 การตัดต่อสายโทรศัพทส์ นาม WD - 1/TT
2.4.1 กล่าวท่วั ไป
การต่อสายสนาม คือ วิธีการที่ใช้ในการต่อสายส่วนที่เป็นตัวน�ำ
เพอื่ ให้กระแสไฟเดนิ ได้ต่อเนอ่ื ง การต่อควรจะต้องให้มแี รงดงึ ความนำ� ไฟฟ้า สามารถป้องกนั
การขดู ลอกและลมฟ้าอากาศและมีความต้านทานของฉนวน เช่นเดยี วกบั ส่วนของสายที่ไม่มี
การตอ่ การตอ่ ทไี่ มด่ จี ะทำ� ใหเ้ กดิ การสญู เสยี ในการสง่ เพม่ิ เสยี งรบกวนและตามปกตคิ ณุ ภาพ
ของวงจรก็จะเสื่อมลงอีกด้วย

106 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร 2.4.2 เคร่ืองมือต่อสาย
เครอื่ งมอื TE - 33 (รปู ท่ี 2) ใชส้ �ำหรบั ตดั ตอ่ สายสนาม จะประกอบดว้ ย
ซอง CS - 34 คมี TL - 13 - A และมีดช่างไฟฟ้า TL - 29 มแี ถบพบั สายฉนวนไฟฟ้า 2 ชนิด
ทใ่ี ชใ้ นการตอ่ สายสนามคอื แถบพนั สายฉนวนไฟฟา้ TL - 636 - /U (โพลเี อธลิ นี สดี ำ� ) ใชใ้ นเขตรอ้ น
และเขตอบอุ่นและแถบพันสายฉนวนไฟฟ้า TL - 600 U (โพลเี อธิลีนสีขาว) ใช้ในเขตอาร์คตคิ
และระหวา่ งอากาศหนาวในเขตอบอนุ่ แถบพนั สาย TL - 38 (ผา้ พนั สาย) ใชป้ อ้ งกนั รอยตอ่ ใหด้ ขี น้ึ
เพอ่ื ทำ� ใหก้ ารตอ่ สายสนามทง้ั ทางกลและทางไฟฟา้ ดขี นึ้ อาจจะใชล้ วดทองแดงออ่ นขนาดเลก็
(ซึ่งเรียกว่าสายลวดมดั ) กไ็ ด้ (สายลวดมดั อาจได้จากตวั น�ำทีเ่ ป็นทองแดงที่อยู่ในสายสนาม)

รปู ที่ 2 เคร่ืองมือ TE - 33
2.4.3 การต่อสายสนาม
2.4.3.1 ขน้ั ตอนในการตอ่ สาย (รปู ที่ 3) การตอ่ สายสนาม ประกอบดว้ ย
ขัน้ ตอนที่สำ� คัญ 4 ข้ัน ดังนี้
1) ตัดสายให้มีความยาวเหล่ือมกันและปอกฉนวนออกจาก
สายแต่ละเส้น
2) ผกู เงอ่ื นแน่นเพอ่ื ให้สายทนแรงดงึ ได้เช่นเดิม
3) มัดเง่ือนแน่นเพ่อื ให้เกิดการน�ำ ทางไฟฟ้าได้ดี
4) พันรอยต่อเพ่ือให้เป็นฉนวนกันไฟฟ้าแก่ตัวน�ำ และเพื่อ
ป้องกันการเสยี ดสีและความเปียกช้นื

รปู ที่ 3 ลำ� ดับขั้น 4 ล�ำดบั ข้นั ในการต่อสายสนาม วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 107
2.4.3.2 การตดั สายให้เหลื่อมกนั ตรงรอยต่อ (รปู ที่ 4) การทำ� ให้สาย
สนามคู่หน่ึงมคี วามยาวเหล่อื มกัน
1) ตดั ปลายสายทง้ั คโู่ ดยตวั นำ� ทง้ั 2 มคี วามยาวเท่ากนั จรงิ ๆ
2) ตดั สายเสน้ หนง่ึ ในแตล่ ะคสู่ ายออกเสยี 6 นว้ิ (หรอื เทา่ กบั
ความยาวของคมี )

รูปท่ี 4 สายทีถ่ กู ตดั ใหเ้ หล่ือมกันเพ่ือท�ำการตอ่

108 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร 2.4.3.3 การปอกฉนวน ปอกฉนวนออกจากตัวน�ำให้เกลี้ยงเพื่อ
ทำ� การตอ่ (รปู ท่ี 5) การปอกฉนวนให้กระท�ำ ดงั นี้

1) ใช้ปากตัดของคีม TL - 13 - A ปอกฉนวนท่เี ป็นไนล่อน
และฉนวนชน้ั ในออกยาว 6 นว้ิ (ปอกคร้งั ละ 2 นิ้ว) รูดฉนวนช่องที่ 3 ทย่ี าว 2 นว้ิ น้นั ออกมา
เพียงแต่ปลายของตวั น�ำ การท�ำเช่นน้กี เ็ พ่อื รวบปลายสายไว้ส�ำหรบั การต่อสายในขัน้ ต่อไป

2) ใช้มดี พับ TL - 29 ขูดฉนวนทีย่ ังเหลอื อยู่ตามสายลวด
เล็ก ๆ ออกให้เกล้ยี ง

รูปที่ 5 การปอกฉนวนออกจากสายสนาม
2.4.3.4 การผกู เงอื่ นแนน่ หลงั จากทไ่ี ดต้ เี กลยี วของสายใหค้ งรปู เดมิ
แล้วกใ็ ห้เอาปลายยาวของคู่หนง่ึ มาต่อกบั ปลายสั้นของอีกคู่หน่งึ เป็นเงื่อนแน่น รปู ท่ี 6 ก.
และ ข. การดงึ เง่ือนแน่นนน้ั ควรให้มีระยะห่างระหว่างเงื่อนกับฉนวนไว้ 1/4 นิ้ว

รูปที่ 6 การผูกเง่ือนแนน่ ของสายสนาม

2.4.3.5 การมัดรอยต่อ วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 109
1) เมื่อใช้ลวดมัดสาย เมื่อมีลวดมัดสาย ให้ใช้สอดลวด
มัดสายท่ียาว 6 ถงึ 8 นว้ิ เข้าไปตรงกลางเงอ่ื นแล้วดึงเง่อื นให้แน่น พับลวดมัดตรงกงึ่ กลาง
ใช้ครึ่งหน่ึงของลวดมัดพันไปทางขวา พันให้ถ่ี ๆ หลาย ๆ รอบทั้งข้างซ้ายและข้างขวา
เพื่อยึดเงื่อนแน่น ตัดปลายสายท่ีเหลือท้ิงเสีย พันลวดมัดต่อไปข้างซ้ายและข้างขวา
ใหเ้ ลยขน้ึ ไปทบั ฉนวนขา้ งละประมาณ 2 รอบ ตดั ปลายทเี่ หลอื ของลวดมดั ออกและกดปลาย
ให้จมลงไปในฉนวน (รปู ท่ี 7)

รปู ท่ี 7 เง่ือนแนน่ และเมื่อใชล้ วดมดั สาย
2) เม่ือไม่ใช้ลวดมัดสาย เม่ือไม่มลี วดมัดจะใช้กใ็ ห้ใช้ลวด
ทองแดงเสน้ เลก็ ๆ ในสายสนามนน้ั เองสำ� หรบั มดั เงอ่ื นแนน่ หลงั จากทผี่ กู เงอื่ นและดงึ ใหแ้ นน่
แลว้ ใหร้ ดู ฉนวนสว่ นที่ 3 ซงึ่ ยาว 2 นว้ิ ออกเสยี แลว้ แยกเสน้ ลวดเหลก็ กลา้ ออกจากลวดทองแดง
(รูปท่ี 8 ก.) (เส้นลวดทองแดงจะยังโค้งงออยู่ได้เม่ือใช้พัน) ให้ตัดสายเส้นลวดเหล็กกล้า
ออกให้เสมอปลายฉนวน (รูปที่ 8 ข.) ไขว้ปลายสายทองแดงทางซ้ายให้ทบั เง่อื น (รปู ท่ี 8 ค.)
พนั สายสว่ นทปี่ อกแลว้ ทางดา้ นขวาใหถ้ ี่ ๆ หลาย ๆ รอบ คงพนั ใหท้ บั ฉนวนตอ่ ไปอกี ประมาณ
2 รอบ ตดั ปลายทเ่ี หลือของลวดทองแดงออก ส่วนการพนั ข้างซ้ายให้ใช้ปลายลวดทองแดง
ข้างขวามาพนั ในท�ำนองเดยี วกนั (รูปที่ 8 ง.)

110 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร รูปที่ 8 เงอ่ื นแน่นท่ีไมใ่ ชล้ วดมัดสาย
2.4.3.6 การใช้แถบพนั สายพนั รอยต่อชนดิ ของแถบพนั สายไดก้ ล่าว
ไว้แล้ว
1) การใช้แถบฉนวนกันไฟฟ้าพันรอยต่อ ลอกแผ่นชั้นนอก
ด้านหลังของแถบพันสายออกแล้วยึดแถบฉนวนกันไฟฟ้าเพื่อให้เกิดคุณสมบัติรัดตัวเองได้ให้
เริ่มพันจากตรงกลางของรอยต่อ (รูปท่ี 9 ก.) ใช้แรงดึงให้สม่�ำเสมอกันและพันเหลื่อมเข้าไป
ที่ฉนวนที่ปลายข้างหน่ึง 1 1/2 น้ิว พันแถบย้อนทางกลับมาผ่านเงื่อนแล้วให้เลยฉนวนของ
ด้านตรงข้ามไปประมาณ 1 1/2 น้ิว แล้วให้พนั กลบั มาจนไปสิ้นสดุ ลงตรงกลางของรอยต่อ
2) การใช้แถบผ้าพนั สายพันรอยต่อ เรมิ่ ต้นจากปลายข้าง
ใดข้างหน่งึ พันทบั แถบฉนวนกนั ไฟฟ้าให้เลยไปข้างละ 1/2 น้ิว (รปู ที่ 9 ข.)

รูปที่ 9 การใชแ้ ถบฉนวนกันไฟฟ้าและแถบผ้าพนั สาย วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 111

3. เคร่ืองโทรศัพทส์ นาม TA - 1/PT

3.1 กลา่ วทั่วไป
เครื่องโทรศพั ท์สนาม TA - 1/PT เป็นเคร่ืองโทรศพั ท์สนามก�ำลังงานเสยี ง
ขนาดเล็ก น�้ำหนักเบา เคลื่อนท่ีง่าย ใช้ได้ทุกสภาพอากาศและพื้นท่ี ส่วนมากใช้กับ
สายโทรศัพท์สนามปฏิบัติงานในพ้ืนที่เขตหน้า ท�ำงานร่วมกับเครื่องโทรศัพท์สนามหรือ
เคร่ืองสลบั สายโทรศพั ท์สนามระบบหม้อไฟ ประจ�ำเครื่อง LB. (LOCAL BATTERY)
3.2 คุณลักษณะทางเทคนคิ
3.2.1 ระยะการตดิ ต่อประมาณ 4 - 6.25 ไมล์ (เมอ่ื ใช้สายโทรศัพท์สนาม
WD - 1/TT)
3.2.2 ขีดจำ� กดั การทำ� งาน 10 dB.
3.2.3 ย่านความถเ่ี สียงประมาณ 300 - 4,000 Hz
3.2.4 สวิตซ์กดพูด (PRESS - TO - TALK) อันเลก็ ด้านข้าง
3.2.5 ผลติ สญั ญาณไฟเรยี กประมาณ 65 - 80 V. 20 Hz
3.2.6 สวติ ซ์กดเรยี ก (GENERATOR) อนั ใหญ่ด้านข้าง
3.2.7 วงจรรับสัญญาณเรียกแบบทัศนะรูปกากบาทปรับไม่ได้ และแบบ
เสียงบสั เซอร์ดงั สามารถปรับได้ จากดังสุดจนไม่มเี สียง
3.2.8 ไม่ต้องใช้แบตเตอร่ีเล้ียงวงจรปากพูด (ใช้หลักการการชักน�ำด้วย
แม่เหล็กไฟฟ้าทำ� ให้เกิดแรงเคล่อื นไฟฟ้าเหน่ียวน�ำขนึ้ ในขดลวดรอบ ๆ อาร์เมเจอร์)
3.2.9 น�ำ้ หนกั หนกั ประมาณ 2.75 ปอนด์
3.2.10 ใช้งานในหน่วยระดบั หมวด

112 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร รูปท่ี 10 เคร่ืองโทรศัพท์สนาม TA - 1/PT

4. เครื่องโทรศัพทส์ นาม TA - 312/PT

4.1 กลา่ วท่ัวไป
เครอ่ื งโทรศพั ทส์ นาม TA - 312/PT เปน็ เครอื่ งโทรศพั ทส์ นามทม่ี นี ำ�้ หนกั เบา
ใช้งานได้ทุกสภาพภูมิประเทศและสถานการณ์ ติดตั้งง่ายสะดวกรวดเร็ว อีกทั้งยังมีท่ีต่อ
ชุดปากพูด - หูฟังภายนอกได้อกี ด้วย เมอื่ ชุดปากพดู หฟู ังของตัวมนั เองเสยี และยังใช้เป็น
REMOTE CONTROL ให้กบั ชดุ วทิ ยไุ ด้
4.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ
4.2.1 เลอื กการทำ� งานได้ 3 ระบบ คอื
4.2.1.1 ระบบหมอ้ ไฟประจำ� เครอ่ื ง LB. (LOCAL BATTERY) ไฟเลย้ี งปาก
พดู ไดจ้ ากแบตเตอรี่ ประจำ� เครอ่ื งไฟเรยี กไดจ้ ากเครอื่ งเรยี กกำ� เนดิ ไฟชนดิ มอื หมนุ ทต่ี วั เครอื่ ง
4.2.1.2 ระบบหม้อไฟร่วม CB. (COMMON BATTERY) ไฟเลีย้ งปาก
พูดและไฟเรียกได้จาก เครอ่ื งสลบั สายกลาง
4.2.1.3 ระบบหม้อไฟร่วมเฉพาะสัญญาณเรียก CBS. (COMMON
BATTERY SIGNALING) ไฟเล้ียงปากพูดได้จากแบตเตอรี่ประจ�ำเครื่องไฟเรียกได้จาก
เครือ่ งสลับสายกลาง

4.2.2 เม่ือเลือกการทำ� งานในระบบ LB. หรอื ระบบ CBS. ไฟเล้ียงปากพูด วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 113
ใช้แบตเตอรี่ BA - 30 จำ� นวน 2 ก้อน 3 V. โดยใส่เอาขั้วบวกลง 1 ก้อน และเอาขั้วบวก
ขน้ึ 1 ก้อน (หรอื ไฟตรง 3 V. DC.จาก ภายนอก)

4.2.3 ระยะการตดิ ต่อประมาณ 14 - 22 ไมล์ (เมอ่ื ใช้สายโทรศัพท์สนาม
WD - 1/TT)

4.2.4 ขดี จ�ำกัดการทำ� งาน 35 dB.
4.2.5 ย่านความถ่เี สียงประมาณ 300 - 3,200 Hz
4.2.6 ผลติ สัญญาณไฟเรยี กประมาณ 90 V. 20 Hz (ระบบ LB.)
4.2.7 สัญญาณไฟเรียกเม่ือเลือกใช้งาน ระบบ CB. หรือระบบ CBS.
ได้ไฟเรียกจากเครอ่ื งสลับสายกลาง
4.2.8 วงจรรับสญั ญาณเรียกเป็นแบบ BUZZER เสียงดัง ปรบั ให้ดังมาก
ดังน้อยได้ตามความต้องการ แต่ไม่ถึงกบั เงยี บ
4.2.9 เมือ่ ชดุ ปากพูด - หูฟังภายใน (H - 60/PT) เสยี ใช้ ชุดปากพดู - หูฟัง
ภายนอก (H - 144/U) มาต่อแทนได้
4.2.10 นำ�้ หนกั หนกั ประมาณ 9.5 ปอนด์
4.2.11 ใช้งานในหน่วยระดบั กองร้อย ขึ้นไป

รูปท่ี 11 เคร่อื งโทรศัพท์สนาม TA - 312/PT

114 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร 5. เคร่อื งสลบั สายโทรศพั ทส์ นาม SB – 993/GT

5.1 กลา่ วทัว่ ไป
เครือ่ งสลับสายโทรศพั ท์สนาม SB - 993/GT เป็นเครื่องสลบั สายโทรศพั ท์
สนามฉุกเฉนิ ทมี่ ีพนักงานประจ�ำนำ�้ หนกั เบา น�ำติดตัวไปมาได้สะดวก ตดิ ตง้ั และเก็บรกั ษา
งา่ ย ออกแบบมาเพอ่ื ใชใ้ นพนื้ ทก่ี ารรบดา้ นหนา้ ตอ้ งใชง้ านรว่ มกบั เครอื่ งโทรศพั ท์ ระบบหมอ้
ไฟประจ�ำเครื่อง และยังสามารถใช้ทดแทนเคร่ืองสลบั สาย ระบบหม้อไฟประจ�ำเครอื่ ง LB.
(LOCAL BATTERY) ใด ๆ กไ็ ด้ เม่อื มเี หตฉุ กุ เฉิน
5.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนิค
5.2.1 รับทางสายได้ 6 ทางสาย
5.2.2 มีปลก๊ั เสยี บทง้ั หมด 7 ตวั (ปลัก๊ ส�ำหรับพนักงาน 1 ตัว)
5.2.3 ไม่มีแหล่งจ่ายกำ� ลงั งานให้กบั ตวั เอง
5.2.4 พนักงานเครื่องสลับสายต้องน�ำเครื่องโทรศัพท์ระบบหม้อไฟ
ประจ�ำเครื่อง LB. (เช่นเคร่ืองโทรศัพท์ TA - 1/PT หรือ TA - 312/PT) มาต่อกับปล๊ัก
ของพนกั งานไว้ 1 เคร่อื ง
5.2.5 สายที่น�ำมาจากเครื่องโทรศัพท์หรือเคร่ืองสลับสายอ่ืน ๆ ให้ต่อ
เข้าตรงรูกลางของตวั ปลัก๊
5.2.6 ตวั ปลั๊กเป็นแบบพลาสตกิ ใส ข้างในตวั ปลัก๊ มีหลอดนอี อนเรอื งแสง
ขนาด 1/25 วตั ต์ อยู่ 1 หลอด เมอ่ื มสี ัญญาณเรียกเข้ามาหลอดไฟข้างในจะสว่าง
5.2.7 อ�ำนวยการติดต่อโดยใช้ตัวปลั๊กของพนักงานเสียบด้านบนของ
ตัวปลั๊กทต่ี ้องการตดิ ต่อ
5.2.8 ไฟเรยี กและไฟเลย้ี งปากพูดได้จากเคร่ืองโทรศพั ท์ของพนักงาน
5.2.9 นำ้� หนกั หนกั ประมาณ 2.5 ปอนด์
5.2.10 ใช้งานในหน่วยระดบั กองร้อย

5.3 การใช้งาน วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 115
5.3.1 เครอื่ งสลบั สายโทรศพั ทส์ นาม SB - 993/GT (รปู ท่ี 12) เปน็ เครอื่ งสลบั
สายชนดิ หมอ้ ไฟประจำ� เครอื่ งซงึ่ หว้ิ ไปมาไดม้ นี ำ้� หนกั เบา ตามปกตใิ ชใ้ นหนว่ ยระดบั กองรอ้ ย
ประกอบดว้ ยทเี่ กบ็ ตวั เสยี บ 1 กลอ่ ง และตวั เสยี บสมาสชนดิ 2 ขา U - 184/GT 7 ตวั ซง่ึ บรรจุ
อยใู่ นซอง และตอ้ งมโี ทรศพั ทส์ นาม 1 เครอ่ื ง สำ� หรบั ใหพ้ นกั งานใชเ้ ครอ่ื งสลบั สาย SB - 993/GT
อาจใชแ้ ทนเครอ่ื งสลบั สายหมอ้ ไฟฟา้ ประจำ� เครอื่ งใด ๆ กไ็ ด้ ในสนามเมอื่ ฉกุ เฉนิ

รปู ที่ 12 เครื่องสลบั สายโทรศัพท์สนาม SB - 993/GT
5.3.2 ตวั เสยี บสมาส U - 184/GT แตล่ ะตวั (รปู ท่ี 13) ประกอบดว้ ยหลอด
นอี อนเรอื งแสง 1 หลอด หมดุ ตอ่ สาย 2 หมดุ ขาเสยี บ 2 ขา และชอ่ งเสยี บ 2 ชอ่ ง ทงั้ หมดนี้
หลอมหลอ่ เขา้ ดว้ ยกนั เปน็ แทง่ พลาสตกิ ใส ขาเสยี บใชเ้ ปน็ หมดุ ตอ่ สายทำ� ปลายไวใ้ หข้ นั เกลยี ว
ไดด้ ว้ ยมอื ซง่ึ จะนำ� สายเขา้ มาตอ่ อาจจะเสยี บตวั เสยี บนเ้ี ขา้ กบั ชอ่ งเสยี บของตวั เสยี บสมาส
U - 184/GT อกี อนั หนงึ่ เพอ่ื ตอ่ ทางสาย 2 ทาง เขา้ ดว้ ยกนั กไ็ ด้
5.3.3 ตวั เสยี บสมาส U - 184/GT หลาย ๆ ตวั สามารถนำ� มาตอ่ เรยี งซอ้ นกนั
ส�ำหรับการต่อประชุมได้ด้วย (คู่สนทนาท่ีอยู่แยกกันหลาย ๆ คู่สามารถจะพูดกันได้
ในเวลาเดยี วกนั )

116 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร 5.3.4 เมอื่ มสี ญั ญาณ สญั ญาณทเ่ี ขา้ มานนั้ จะจดุ หลอดนอี อนในตวั เสยี บ
ของเครอื่ งสลบั สายทต่ี อ่ อยกู่ บั ทางสาย จะไมไ่ ดย้ นิ เสยี งสญั ญาณเมอ่ื หลอดนอี อนกำ� ลงั ตดิ อยู่
เวน้ แตโ่ ทรศพั ทป์ ระจำ� พนกั งานเครอ่ื งสลบั สายจะตอ่ อยกู่ บั ทางสายนนั้ ดงั นน้ั พนกั งานจะตอ้ ง
เฝา้ ดสู ญั ญาณเรยี กอยตู่ ลอดเวลา

รปู ที่ 13 ตวั เสยี บสมาส U - 184/GT

บทที่ วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 117

การสื่อสารประเภทวทิ ยุ

1. กล่าวทั่วไป

วิทยุเป็นมัชฌิมหลักของการส่ือสารในหน่วยทางยุทธวิธี ส่วนมากวิทยุน้ี
จะใช้เพ่ือการบังคับบัญชา ควบคุมการยิง และแลกเปล่ียนข่าวสาร งานธุรการ และ
การตดิ ต่อระหว่างหน่วยต่าง ๆ นอกจากนน้ั ยงั ใช้เพ่อื การส่อื สารระหว่างอากาศยาน
ในขณะบนิ และระหว่างอากาศยานกับหน่วยทางพืน้ ดิน

1.1 ขีดความสามารถของการสือ่ สารประเภทวทิ ยุ
1.1.1 อุปกรณ์การสื่อสารประเภทวิทยุ ตามปกติจะติดต้ังได้รวดเร็ว
กว่าอุปกรณ์ส่ือสารประเภทสาย ฉะนั้นวิทยุจึงมีใช้อย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะ
ในสถานการณ์ทางยทุ ธวธิ ีซ่ึงเคลื่อนท่ีเรว็
1.1.2 เม่ือติดต้ังบนรถแล้ว วิทยุก็พร้อมท่ีจะใช้งานได้ทันที โดย
ไม่ต้องมกี ารติดต้ังใหม่
1.1.3 วิทยุน�ำเคล่ือนท่ีได้ จึงสามารถใช้ด�ำรงการส่ือสารกับหน่วย
ทไ่ี ปในอากาศ หน่วยสะเทนิ น�้ำสะเทินบก หน่วยยานยนต์และหน่วยเดนิ เท้า

118 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร 1.1.4 สิ่งกีดขวางตามธรรมชาติ สนามทุ่นระเบิด และภูมิประเทศ
ท่ีข้าศึกยึดครองอยู่ หรือเม่ือถูกข้าศึกระดมยิง ก็ไม่อาจจ�ำกัดการส่ือสารทางวิทยุ
เหมอื นอย่างมชั ฌมิ การส่อื สารอ่นื ๆ ได้

1.1.5 โดยการใช้เคร่ืองควบคุมระยะไกล พนักงานวิทยุอาจจะอยู่ไกล
ออกไปจากเคร่ืองท่ีตนใช้งานก็ได้ เช่นนี้จะท�ำให้มีความปลอดภัยแก่พนักงาน สถานีวิทยุ
และท่ีบงั คบั การที่สถานีวทิ ยนุ ัน้ ประจ�ำอยู่

1.1.6 การสอ่ื สารทางวทิ ยเุ ปน็ การสง่ สญั ญาณคลน่ื แมเ่ หลก็ ไฟฟา้ แผก่ ระจาย
ออกไปโดยไมต่ ้องอาศยั ตวั น�ำไฟฟา้ เป็นสอื่ สามารถท�ำการส่งขา่ วจากเครอ่ื งส่งเครอื่ งเดยี ว
ไปยังเครื่องรับหลายเคร่ืองพร้อม ๆ กัน จึงสามารถเพิ่มหรือลดจ�ำนวนสถานีวิทยุภายใน
ข่ายได้ตามต้องการ

1.2 ขดี จำ� กดั ของการส่ือสารประเภทวิทยุ
1.2.1 เคร่ืองวิทยุน้ันอาจจะช�ำรุดเสียหายได้ง่าย เน่ืองจากเป็นเครื่องมือ
ทมี่ คี วามละเอยี ดอ่อน และมวี งจรไฟฟ้าอเิ ลก็ ทรอนิกส์ทีส่ ลับซับซ้อน
1.2.2 ถูกรบกวนได้ง่ายท้ังจากธรรมชาติ จากการกระทำ� ของฝ่ายเราและ
ฝ่ายข้าศกึ นอกจากน้นั ยงั อาจถูกก่อกวนจากสงครามอิเลก็ ทรอนิกส์ได้โดยง่าย
1.2.3 เพอื่ ใหส้ ามารถทำ� การสอื่ สารดว้ ยกนั ได้ วทิ ยจุ ะตอ้ งมคี วามถรี่ ว่ มกนั
หรืออย่างน้อยที่สุดเหล่ือมกันบ้าง ทั้งจะต้องรับส่งสัญญาณชนิดเดียวกัน และจะต้องอยู่
ภายในรศั มีการปฏิบัตงิ าน ซง่ึ ขน้ึ อยู่กบั สภาพแวดล้อมทางธรรมชาติ อนั ได้แก่ สภาพของ
ลมฟ้าอากาศ หรอื บรรยากาศ และลักษณะภมู ิประเทศของทีต่ ั้งของสถานวี ทิ ยุ
1.2.4 วทิ ยเุ ปน็ มชั ฌมิ การสอื่ สารทปี่ ลอดภยั นอ้ ยทส่ี ดุ ในแงข่ องความปลอดภยั
ทางการสื่อสารแล้ว ถือว่าการสื่อสารทางวิทยุไม่มีความปลอดภัยเลย แม้จะส่งข่าวท่ีเข้า
การอักษรลบั แล้วก็ตาม และจะต้องถอื ว่ามกี ารดกั รับอยู่ทกุ คร้ังท่เี คร่ืองส่งทำ� งาน เพยี งแต่
ทราบว่าวทิ ยุท�ำงานอยู่กถ็ ือว่าข้าศกึ ได้ข่าวสารไปแล้ว

2. วิทยุ PRC - 624

2.1 กล่าวท่วั ไป
เคร่ืองวิทยุ PRC - 624 เป็นวิทยุมือถือในย่านความถี่ VHF/FM และ
ยังสามารถใช้เป็นวิทยุชนิดสะพายหลังได้ด้วย การท�ำงานของ PRC - 624 อยู่ภายใต้
การควบคมุ ของไมโครคอมพวิ เตอร์ และการใชง้ านกม็ ปี มุ่ ควบคมุ นอ้ ยมาก โดยมปี มุ่ อยู่ 4 ปมุ่
มีจอภาพส�ำหรับแสดงผลการทดสอบตัวเองและการใช้งาน รวมถึงความถี่ท่ีใช้อยู่, แสดง
สญั ญาณทร่ี บั ได้, ระดับของสญั ญาณที่ออกอากาศ และ ระดับไฟในแบตเตอร่ี

2.2 คณุ ลักษณะทางเทคนิค

ระดบั หนว่ ยท่ีใชง้ าน หมู่
ย่านความถ่ี 30.00 - 87.975 MHz.
จ�ำนวนช่องส่อื สาร 2,320 ชอ่ ง (แตล่ ะชอ่ งหา่ งกนั 25 KHz.)
การปรงุ คล่นื FM (F3) simplex
MODE เสยี งและข้อมลู (X-MODE)
ช่องสถานลี ่วงหน้า 10 ช่อง
การโปรแกรมช่อง ปุ่มกด, จากเคร่อื งอนื่ , คอมพวิ เตอร์
การทดสอบตวั เอง อัตโนมัติตลอดเวลา และโดยผู้ใช้
อายกุ ารใช้งาน มากกว่า 6,600 ชั่วโมง
สภาพแวดล้อม มาตรฐานทางทหาร 810-D
ภาคส่ง
ก�ำลงั ออกอากาศ
ภาคสงู 2 วัตต์ (ปรบั ได้ถึง 2.6 วัตต์)
ภาคตำ�่ 1 วัตต์ (ปรับได้ถึง 0.25 วัตต์) วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 119
ความคงท่ขี องความถท่ี ่ี 25 องศา +10 PPM (ปกติ +5)
ความคลาดเคลอ่ื นของความถ่ี 5.6 KHz.
การผสมคล่ืน tone 150 KHz. ความเบีย่ งเบน 3 KHz.
ระดับเสียงไมค์
ปกต ิ 1.4 mV ที่ 150 โอห์ม
เมื่อใช้เสยี งกระซบิ (เลือกใช้ได้) 0.4 mV ที่ 150 โอห์ม
การป้องกนั ภาคเอาท์พทุ ลดั วงจรและเปิดวงจร
การแพร่คล่นื Spurious 90 dB ตำ�่ กว่าคล่ืนพาห์
ที่ 4f >200 KHz.
ความเพย้ี นของเสยี ง ไม่เกิน 5%
การตอบสนองของเสยี ง ย่านกว้าง : 10 ถงึ 8,000 Hz.
(WIDE BAND)
ย่านแคบ : 300 ถงึ 3,000 Hz.

120 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร ภาครบั
ความไว 0.4 V for 10 dB SINAD
สเควลซ์ 150 tone
CW (เผ่อื เลือก)
ระดบั สญั ญาณจากลำ� โพงในตวั 350 mW
ลำ� โพงภายนอก 180 mW
หฟู ังภายนอก 10 mW
ความเพี้ยนของเสยี ง ไม่เกนิ 5%
แหลง่ จา่ ยพลงั งาน
ระดับไฟปกติ 12 VDC.
ระดบั ไฟใช้งาน 10 - 17 VDC.
ระยะเวลาใช้งานแบตเตอรท่ี ่กี �ำลงั ส่ง 2 วตั ต์
แบตเตอรี่ Nicd ประมาณ 14 ชม. ทอี่ ตั ราส่วน
ส่ง/รับ/เฝ้ารอ = 1:2:7
แบตเตอร่ีลเิ ธยี ม ประมาณ 14 ชม. ทอี่ ตั ราส่วน
ส่ง/รบั /เฝ้ารอ = 1:2:7
แบตเตอรอ่ี ลั คาไลน์ ประมาณ 18 ชม. ทอี่ ตั ราส่วน
ส่ง/รับ/เฝ้ารอ = 1:2:7
ขนาด และ น�้ำหนัก
ขนาด (สูง x กว้าง x หนา) 180 x 82 x 44 มม.
นำ้� หนัก (พร้อมแบตเตอร่ลี ิเธียม และเสาอากาศ 70 ซม.) 960 กรมั
2.3 สว่ นประกอบชดุ
เครือ่ งรับ - ส่ง RT - 624 1 เครื่อง
เสาอากาศวปิ 70 ซม. AT - 624 1 ต้น
ซองบรรจุ CW - 624 1 ซอง
ข้ออ่อน 1 ข้อ
ปากพดู -หูฟัง H - 250 1 อัน
เป้สะพาย ST - 624 1 เป้
แบตเตอร่ี BA - 624 1 ก้อน

รปู ที่ 14 ชุดวทิ ยุ PRC - 624

3. ชุดวทิ ยุ AN/PRC - 77 วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 121

3.1 กลา่ วทั่วไป
ชุดวทิ ยุ AN/PRC - 77 เป็นชดุ วทิ ยุ VHF/FM มีลักษณะภายนอกเหมือน
เครอ่ื งวิทยุ AN/PRC - 25 ทกุ ประการ เพียงแต่ AN/PRC - 77 มวี งจรเป็น Transistors ล้วน ๆ
มีการปรับปรุงแก้ไขขีดความสามารถในการส่งต่อให้ดีข้ึน และสามารถส่งข่าวด้วย
เครื่องรกั ษาความปลอดภยั ทางค�ำพดู (X - MODE) ได้ เครอ่ื งวทิ ยุ AN/PRC - 77 ใช้แทน
เครอื่ งวิทยุ AN/PRC - 25
ชดุ วิทยุ AN/PRC - 77 สามารถใช้ร่วมกับอปุ กรณ์อ่นื ๆ ได้ดังนี้
1. ใช้ร่วมกบั ชดุ สายอากาศ RC - 292 เพ่อื เพิ่มระยะการตดิ ต่อ
2. ใช้ร่วมกบั ชดุ บังคับไกล AN/GRA - 39
3. ใช้ร่วมกบั ชดุ ส่งต่อ MK - 456/GRC
4. สามารถใช้สนธวิ ทิ ยสุ ายเมอ่ื ใช้งานร่วมกบั AN/GSA - 7, AN/GRA - 39,
AN/GRA - 6
ระดับหน่วยทใ่ี ช้งาน มว. - พนั .ร.
ส่วนประกอบส�ำคัญ เคร่อื งรับ - ส่ง RT - 841/PRC - 77

ชดุ ขยายแหล่งกำ� ลงั ไฟฟ้า OA - 3633 หรอื AM - 2060
แบตเตอรี่ BA - 386/PRC - 25
หรอื BA - 4386/U หรอื BA - 386/U
หรือ BA - 3386/40
การควบคมุ ระยะไกล ใช้ AN/GRA - 39 หรอื AN/GRA - 6
พร้อมด้วยสาย CX - 7474/U
การส่งต่อ สายรวม MK - 456/GRC
น้�ำหนัก 10.7 กก. พร้อมแบตเตอรี่
เคร่อื งรักษาความปลอดภยั ทางค�ำพูด TSEC/KY - 38
3.2 คณุ ลกั ษณะทางเทคนคิ
แบบของการใช้งาน
ขณะส่ง ค�ำพดู (300-3500Hz) ร่วมกับ
150Hz
ขณะรับ คำ� พูด (ไม่มี SQ), ค�ำพดู (มี SQ)
122 วิชาการติดตอ่ สื่อสาร ย่านความถ่ี 30.00 - 75.95 MHz
ระยะส่อื สารในการวางแผน 8 กม. (AT - 271) 5 กม. (AT - 892)
จำ� นวนช่องการส่อื สาร 920 ช่อง แต่ละช่องห่างกนั 50 KHz.
ก�ำลงั ไฟ 12.5 - 15 V.DC.
แหล่งก�ำเนิดไฟ
สะพายหลงั แบตเตอรี่ BA -386/PRC - 25
หรอื BA - 4386/U
หรอื BA - 398/U หรอื BA - 3386/40
ตดิ ต้งั บนยานยนต์ แบตเตอรยี่ านยนต์ 24 VDC.
ประจำ� ที่ PP - 2953 (แปลงไฟ 115/230 VAC.
เป็น 25.5 VDC.)
กำ� ลังออกอากาศ 1.5 - 4 W.
สายอากาศ AT - 892/PRC - 25 (3 ฟุต)
AT - 271/PRC - 25 (10 ฟุต)
AT - 912 หรือ AS - 1729

ตดิ ตัง้ บนยานยนต์ (10 ฟุต)
AT - 9984 หรอื RC - 292
ตดิ ตง้ั ประจ�ำท่ี
การปรับต้งั ความถ่ี ครง้ั ละ 1 ช่อง
การตดั เสยี งรบกวน 150 Hz.
สามารถต้งั ความถี่ล่วงหน้าได้ 2 ช่อง
3.3 ส่วนประกอบชดุ
เครื่องรบั - ส่ง RT - 841/PRC - 77 1 เคร่ือง
กล่องใส่เคร่อื งรบั - ส่ง 1 กล่อง
กล่องใส่แบตเตอร่ี CY - 2562/PRC - 25 1 กล่อง
ปากพูด - หูฟัง H - 138/U หรอื H - 159/U 1 อนั
เสาอากาศสน้ั AT - 892/PRC - 25 1 อัน
เสาอากาศยาว AT - 271/PRC 1 อนั
ท่อนสปริงเสาอากาศ AB - 591/PRC - 25 1 ท่อน
ถงุ ผ้าใบ CW - 503/PRC - 25 1 ถุง
แผงผ้าใบ ST - 138/PRC - 25 1 แผง วิชาการติดต่อ ื่สอสาร 123

รูปที่ 15 ชุดวิทยุ


Click to View FlipBook Version