The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานปันความรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g_shock_33, 2021-09-17 11:49:57

รายงานปันความรู้

รายงานปันความรู้

บนั ทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส
ที………………………………………................................. วนั ท่ี 29 กรกฎาคม 2564
เรอื่ ง รายงานผลการจัดโครงการปันความรู้สู่วิชาการ นกั ศกึ ษา กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส

เรียน ผู้อำนวยศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอำเภอเมอื งนราธวิ าส

๑. เร่อื งเดมิ ตามท่ี สำนักงาน กศน.จังหวดั นราธิวาส ได้จดั สรรงบประมาณ จากแผนงบประมาณ
จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัดการศึกษา
ต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กิจกรรมการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน งบเงิน
อุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒43016500225 เป็นเงิน 46,962.-
บาท ( สี่หมน่ื หกพนั เกา้ ร้อยหกสบิ สองบาทถ้วน) เพือ่ ดำเนินงานตามแผนงานดังกลา่ วขา้ งต้น น้นั

2. ขอ้ เท็จจรงิ ในการนี้ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ไดจ้ ัดโครงการปันความรู้สู่วิชาการ นกั ศกึ ษา กศน.
อำเภอเมืองนราธิวาส เพอ่ื ใหน้ ักศึกษา กศน.อำเภอเมอื งนราธิวาส มีความรู้ความเขา้ ใจและมที ักษะในเนื้อหาสาระ
ความรู้รวมท้ังสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสอบปลายภาคเรียน สอบ N-Net ตลอดจนมีผลสัมฤทธ์ิ
ทางการเรียนท่ีดีขึ้น โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 256 คน ดำเนินการจัดอบรม ใน ระหว่างวันที่ 29
มิถนุ ายน 2564 ณ กศน.ตำบล ท้งั 7 ตำบล

บัดน้ี โครงการดังกล่าวได้ดำเนินการเสร็จส้ินเรียบร้อยแล้ว จึงได้จัดทำสรุปผลการ
ดำเนินงานโครงการฯ จำนวน 3 เล่ม เพ่อื มอบให้ผทู้ ไ่ี ด้รบั มอบหมายต่อไปดังแนบ

๓. ข้อกฎหมาย ระเบยี บ คำสงั่ อาศัยคำสั่ง สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ท่ี ๔๘๙/๒๕๕๑ ลง
วันท่ี ๒๑ เมษายน ๒๕๕๑ ว่าด้วยการมอบอำนาจให้ ผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์การ ศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ และ ผู้อำนวยการสถานศึกษาศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
เขต ปฏิบัตริ าชการแทน ตามข้อ ๘

๔. ข้อเสนอแนะ

-เพื่อโปรดทราบ
-เพ่ือโปรดลงนาม

ความคิดเห็นของผบู้ ริหาร ( นางสาวปยิ นาถ ยะปา )
................................................. ตำแหน่ง ครผู ู้ชว่ ย
.................................................
ลงชอื่ ...................................................
( นายจิรวฒั น์ ไทยเก้ือ )

ผ้อู ำนวยการ กศน.อำเภอเมอื งนราธวิ าส

คำนำ

เอกสารสรุปผลการดำเนินงานฉบับนี้ ได้จัดทำข้ึนเพ่ือรายงานผลการประเมินการดำเนินงานโครงการ
ปันความรู้สู่วิชาการ นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
อำเภอเมอื งนราธิวาส ปีงบประมาณ 2564 และใชเ้ ป็นข้อมูลประกอบการพิจารณาจัดทำแผนดำเนินงานกจิ กรรม
ตา่ ง ๆ ในปตี อ่ ไป

การดำเนินงาน และการจัดทำเอกสารฉบับนี้ สำเร็จและเป็นรูปเล่มได้ด้วยความร่วมมือจากบุคลากร
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ขอขอบคุณบุคลากร ทุกท่าน
โดยเฉพาะอย่างย่ิง ผู้อำนวยการศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองนราธิวาส ที่ไดใ้ ห้
คำแนะนำ จนการจัดกิจกรรมดังกล่าวสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังว่าเอกสารฉบับนี้ จะใช้เป็นข้อมูลอ้างอิง
ต่อไป

ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมอื งนราธวิ าส

5 กรกฎาคม 2564

สารบัญ หน้า

บทที่ ๑ บทนำ 1
- ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ 1
- วัตถปุ ระสงค์ 1
- เป้าหมาย 2
- งบประมาณ 2
- ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ 2
- เครอื ขา่ ยท่ีเกี่ยวข้อง 2
- โครงการที่เกี่ยวข้อง 2
- ผลลัพธ์ 3 - 46
47 – 48
บทท่ี ๒ เอกสารทเ่ี ก่ียวข้อง 49 – 58
บทที่ ๓ วธิ ีดำเนนิ การ 59
บทที่ ๔ ผลการศึกษา
บทที่ ๕ สรุปผลการศกึ ษา
บรรณานกุ รม

*******************************************

1

บทที่ ๑

บทนำ

1. ความเปน็ มาและความสำคัญ

รฐั ธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 54 ว่า “รัฐต้องดำเนินการให้เด็ก
ทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพโดยไม่เก็บ
ค่าใชจ้ ่าย” และคำส่ังหัวหน้าคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 28/2559 เรอ่ื ง ให้จัดการศกึ ษาข้ันพนื้ ฐาน 15 ปี
โดยไม่เก็บค่าใชจ้ ่าย ไดม้ ีคำส่ังไว้ในข้อ 3 วา่ “ให้สว่ นราชการทีเ่ ก่ียวข้องกับการจัดการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐานดำเนินการ
จัดการศึกษาขั้นพื้นฐาน 15 ปี ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย” สำนักงานปลัดกระทรวง
ศึกษาธิการ ได้ตระหนักถึงภารกิจที่สำคัญในการพัฒนาประชากรของชาตใิ ห้เป็น “คนไทยในอนาคตจะต้องมีความ
พร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการท่ีดีรอบด้านและมีสุขภาวะท่ีดีในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อ
สงั คมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม และเป็นพลเมอื งดขี องชาติ มหี ลักคิดท่ีถกู ต้อง
มีทักษะที่จำเป็นในศตวรรษท่ี 21 อีกทั้งการยกระดับคุณภาพการศึกษา เพ่ือให้ผู้เรียนได้รับการส่งเสริมให้มี
ศักยภาพสูงสู่มาตรฐานสากลและทัดเทยี มกับนานาประเทศ จึงจำเป็นต้องสรา้ งความพร้อมดา้ นวิชาการ ยกระดับ
องคค์ วามรใู้ หไ้ ดม้ าตรฐานสากล ซึ่งผเู้ รียนสามารถนำความรู้ที่ได้รบั จากห้องเรยี นไปใช้ประโยชน์ใหม้ ากทสี่ ุด

จากผลสัมฤทธ์ิการสอบ N - net ของนักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2563 พบว่า คะแนนเฉลี่ย N – net ท้ัง 5 สาระ 14 รายวิชา ผ่านเกณฑ์ในระดับจังหวัด แต่ไม่ผ่านเกณฑ์ใน
ระดบั ภาค และระดบั ประเทศ

ดังนั้น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส เห็นความสำคัญ
ดังกล่าว จึงจัดทำโครงการน้ีข้ึนมา เพ่ือพัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดสังเคราะห์
และวิจารณญาณมีความคิดสรา้ งสรรค์ คดิ ไตร่ตรองและมวี สิ ัยทัศน์ มีทักษะท่ีจำเป็นตามหลกั สตู ร ท้งั 5 สาระ 14
รายวิชา รวมท้ังพฒั นาการเรียนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ให้สอดคล้องกับจุดเน้นของสำนกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษา
นอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ท่ีต้องการยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการศึกษาและมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ึนอันจะ
นำไปสกู่ ารอยรู่ ว่ มกันในสงั คมอย่างมีความสขุ

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพอ่ื ให้กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ ความเข้าใจในเน้ือหาสาระความรู้พ้นื ฐาน
2.2 เพื่อให้กลมุ่ เป้าหมาย สามารถนำความรไู้ ปประยุกต์ใช้ในการสอบปลายภาคเรียนและสอบN-Net

3. เป้าหมาย

เชงิ ปริมาณ

นักศึกษา กศน.อำเภอเมอื งนราธวิ าส ( 7 ตำบล ) จำนวน 256 คน แบ่งเป็น

กศน.ตำบลบางนาค จำนวน 50 คน

กศน.ตำบลกะลวุ อเหนอื จำนวน 50 คน

กศน.ตำบลกะลุวอ จำนวน 50 คน

กศน.บางปอ จำนวน 50 คน

2

กศน.ตำบลโคกเคยี น จำนวน 19 คน
กศน.ตำบลมะนังตายอ จำนวน 19 คน
กศน.ตำบลลำภู จำนวน 18 คน

เชงิ คณุ ภาพ
กลมุ่ เปา้ หมายมคี วามรู้ความเขา้ ใจและมที ักษะในสาระความรู้พ้นื ฐานรวมทัง้ สามารถนำความรไู้ ป

ประยุกตใ์ ชใ้ นการสอบปลายภาคเรียน และสอบ N-Net ได้
4. วงเงนิ งบประมาณทงั้ โครงการ

จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด
การศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพื้นฐาน กิจกรรมการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน
งบเงินอุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒43016500225 เป็นเงิน
46,962.- บาท ( ส่ีหมื่นหกพันเกา้ ร้อยหกสบิ สองบาทถ้วน ) รายละเอียดดังนี้

4.๑ ค่าตอบแทนวทิ ยากร เปน็ เงนิ 6,000 .- บาท
จำนวน 5 คน x ๒๐๐ บาท x 6 ชวั่ โมง
เป็นเงนิ 17,920.-บาท
4.๒ ค่าใชส้ อย เป็นเงนิ 10,240.-บาท
- คา่ อาหารกลางวัน จำนวน 256คนx ๗๐บาท x 1มื้อ
- ค่าอาหารว่างและเครื่องดมื่ จำนวน 256คน x ๒0 บาท x 2 มือ้

4.๓ ค่าวสั ดุ เป็นเงนิ 2,500 .-บาท
- คา่ ป้าย 5 ผืน × 500 บาท เปน็ เงิน 10,302.- บาท
- คา่ วัสดุดำเนินงาน

รวมเปน็ เงินทัง้ ส้ิน 46,962.- บาท ( ส่หี มนื่ หกพนั เกา้ ร้อยหกสิบสองบาทถ้วน )

5. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ
นางสาวปยิ นาถ ยะปา ตำแหนง่ ครูผูช้ ่วย เบอร์โทร 083-0746869

6. เครอื ขา่ ย
6.1 โรงเรียนอัตตัรกยี ะหอ์ ิสลามมียะห์
6.2 โรงเรียนโคกสมุ ุ
6.3 โรงเรียนบ้านหวั เขา
6.4 โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครนิ ทร์
6.5 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพประจำตำบล

7. โครงการทเี่ กีย่ วข้อง
7.๑ โครงการพฒั นาทักษะชวี ิต
7.๒ โครงการจดั การศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน

8. ผลลพั ธ์
กลุ่มเปา้ หมายมีความรู้ความเขา้ ใจและมีทักษะในเนื้อหาสาระความรูร้ วมท้ังสามารถนำ

ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ช้ในการสอบปลายภาคเรียน สอบ N-Net ตลอดจนมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนท่ีดขี น้ึ

3

บทท่ี ๒

เอกสารท่เี ก่ียวขอ้ ง

รายวชิ าวิทยาศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นทักษะการคดิ ของนักวิทยาศาสตรท์ ่ีนำมาใชใ้ นการศกึ ษาค้นคว้า
สืบเสาะหาความรู้ และแก้ปัญหาต่างๆ ทกั ษะกระบวนทางวิทยาศาสตร์ ขั้นพื้นฐาน มี 8 ทักษะ ดงั น้ี

1.ทกั ษะการสงั เกต
เป็นการใชป้ ระสาทสมั ผัสท้งั 5 อยา่ งใด อย่างหน่ึงหรอื ใช้หลายอย่างร่วมกัน ไดแ้ ก่ตา หู จมูก ล้นิ และผวิ

กาย เพ่ือคน้ หาและบอกรายละเอียดของสง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ีสังเกต โดยที่ไม่ใสค่ วามคดิ เหน็ ของผู้สังเกตลงไป

2.ทักษะการจำแนกประเภท
เป็นการแบ่งพวก การจัดกลุ่มสิ่งต่าง ๆ หรือการเรียงลำดับ วัตถุ หรือเหตุการณ์ต่าง ๆออกเป็ น

หมวดหมู่ โดยใช้ความเหมือนกันหรือ ความแตกต่างกัน มาเป็นเกณฑใ์ นการจำแนกวัตถุ เหตุการณ์ หรือส่ิงต่าง ๆ
ออกจากกัน

3.ทักษะการวดั
เป็นการเลือกและการใช้เครื่องมือต่าง ๆ เพื่อหาค่าของสิ่งต่าง ๆ ออกมาเป็นตัวเลขได้ถูกต้องและ

เหมาะสม กับสิ่งทต่ี ้องการวดั รวมท้ังบอกหรอื ระบหุ นว่ ยของตัวเลขทไ่ี ด้มาจากการวดั อย่างถูกตอ้ ง

4.ทักษะการใชจ้ ำนวน
เป็นการใช้ความรู้สึกเชิงจำนวนและการคำนวณ โดยการนับจำนวนหรือคิดคำนวณเพื่อบรรยายหรือระบุ

รายละเอียดเชิงปริมาณของสงิ่ ท่สี ังเกตหรอื ทดลองได้

5.ทักษะการลงความเหน็ จากข้อมูล
เป็นการใช้ความคิดเห็นจากความรู้หรือประสบการณ์เดิม เพ่ืออธิบายข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตอย่างมี

เหตุผล โดยอาศยั ขอ้ มลู หรอื สารสนเทศทเี่ คยเกบ็ รวบรวมไวใ้ นอดีต

6.ทกั ษะการจดั กระทำและสื่อความหมายขอ้ มูล
เป็นการนำข้อมูลที่รวบรวมได้จากวิธีการต่าง ๆ มาจัดกระทำให้อยู่ในรูปแบบท่ีมีความหมาย หรือ มี

ความสัมพันธ์กันมากขึ้น รวมท้ังนำข้อมูลมาจัดกระทำในรูปแบบต่าง ๆ เช่น แผนภาพ แผนภูมิ ตาราง กราฟ การ
เขียนบรรยาย สมการ เพื่อให้ผูอ้ ่นื เขา้ ใจความหมายได้งา่ ยข้นึ

7.ทกั ษะการหาความสัมพันธข์ องสเปซกับเวลา แบง่ ได้ 2 แบบคือ
• การหาความสัมพันธ์ระหวา่ งสเปซกบั สเปซ เปน็ การหาความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งพ้นื ท่ีที่วัตถุต่างๆ ครอบครอง
อยู่
• การหาความสมั พนั ธ์ระหว่างสเปซกบั เวลา เปน็ การหาความสัมพันธ์ระหวา่ งพ้ืนที่ท่ีวตั ถุครอบครอง เม่ือ
เวลาผ่านไป

4

8.ทกั ษะการพยากรณ์
เป็นการคาดคะเนผลลัพธ์ของปรากฏการณ์ สถานการณ์ การสงั เกตหรือการทดลองไว้ล่วงหน้า โดยอาศัย

ข้อมูล หรอื ประสบการณข์ องเรอื่ งน้ัน ท่ีเกดิ ซำ้ ๆ เป็นแบบรูปมาช่วยในการคาดการณส์ ่ิงทจี่ ะเกิดข้นึ

โครงงานวทิ ยาศาสตร์

ความหมายของโครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวทิ ยาศาสตร์ หมายถึง การศกึ ษาเพือ่ พบข้อความรู้ใหม่ สิง่ ประดิษฐ์ใหม่ ๆ ทางวิทยาศาสตร์ดว้ ย

ตัวของผู้เรยี นเอง โดยใช้วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาโดยมคี รูอาจารยแ์ ละผู้เชี่ยวชาญเปน็ ผู้ใหค้ ำปรึกษา
ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์

1. โครงงานประเภทการทดลอง
2. โครงงานประเภทการสำรวจรวบรวมขอ้ มูล
3. โครงงานประเภทการสรา้ งสิ่งประดิษฐ์
4. โครงงานประเภทการสร้างทฤษฎแี ละหลักการ
1. โครงงานประเภทการทดลอง
เป็นโครงงานที่มีการสำรวจรวบรวมข้อมูล แล้วนำมาจำแนกเป็นหมวดหมู่ นำเสนอใน แบบต่าง ๆ เพื่อให้
เห็นลักษณะ หรือเป็นโครงงานที่มีการออกแบบการทดลองเพื่อศึกษาผลของตัวแปรอิสระที่มีต่อตัวแปรตาม โดย
ควบคมุ ตวั แปรอื่น ๆ ที่จะมีผลตอ่ การทดลอง ความสมั พนั ธข์ องเรอ่ื งท่ีศึกษาได้ชดั เจนข้นึ
2. โครงงานประเภทการสำรวจรวบรวมขอ้ มลู
การศกึ ษาพฤติกรรมระหว่างมดกบั หนอนชอนเปลอื กตน้ ลองกอง
ศึกษาความสว่างของแสงภายในหอ้ งเรียนของโรงเรยี นปญั ญาวรคุณ
การสำรวจหอยโข่งที่มีพยาธแิ องจิโอสตรองไจรสั บรเิ วณแหล่งนำ้ ชมุ ชน อ.เมอื ง จ.มหาสารคาม

5

3. โครงงานประเภทการสรา้ งสงิ่ ประดิษฐ์
เป็นโครงงานท่ีเก่ียวกับการประยุกต์ทฤษฎี หรือหลักการทางวิทยาศาสตร์มาประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้

หรืออุปกรณ์เพ่ือประโยชน์ใช้สอยต่าง ๆ อาจคิดประดิษฐ์ของใหม่ หรือปรับปรุง ดัดแปลงของเดิมท่ีมีอยู่แล้วให้มี
ประสทิ ธภิ าพสูงขึ้น

ตัวอยา่ งโครงงานประเภทการสรา้ งส่งิ ประดิษฐ์
Digital Counter
เครอ่ื งขจัดคราบน้ำมัน
เครือ่ งตรวจ(pH)ดนิ เพอื่ ปลูกผกั
เครือ่ งกำจัดฝุ่นละอองในโรงงานโม่หิน
กล่องดักจบั แมลงวันไฮเทค (จากพฤติกรรมการบนิ ของแมลงวนั )

4. โครงงานประเภทการสรา้ งทฤษฎี
เป็นโครงงานท่ีได้เสนอทฤษฎี หลักการ หรือแนวความคิดใหม่ ๆ ซ่ึงอาจอยู่ในรูปของสูตร สมการ หรือ

คำอธิบายก็ได้ โดยผู้เสนอได้ต้ังกติกา หรือข้อตกลงนั้น หรืออาจใช้กติกาและข้อตกลงเดิมมาอธิบายปรากฏการณ์
ต่าง ๆ ในแนวใหม่ อาจเสนอหลักการ แนวความคิด หรือจินตนาการที่ยังไม่มีใครคิดมาก่อน อาจเป็นการขัดแย้ง
หรือขยายทฤษฎีเดิม แต่จะต้องมีข้อมูลหรือทฤษฎีอื่นมาสนับสนุน อ้างอิง ตัวอย่างโครงงานประเภทการสร้าง
ทฤษฎี

เนื่องจากโครงงานประเภทน้ี ผู้ทำโครงงานจะต้องมีพื้นฐานความรู้ทางวิทยาศาสตร์เป็นอย่างดี และต้อง
ทำการศึกษาค้นคว้าเรื่องราวที่เกี่ยวข้องเป็นอย่างมาก จนมีความรู้อย่างกว้างขวาง และลึกซึ้งในเรื่องที่เกี่ยวข้อง
ดังนั้นจึงยังไม่เคยมผี ู้ทำโครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทนสี้ ่งเข้าประกวดกับสมาคมวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีศกึ ษา
ไทยเลย

เซลล์

6

1. เซลล์ (Cell) หมายถึง หน่วยพื้นฐานที่เล็กที่สุดของสิ่งมีชีวิต มีรูปร่างลักษณะและขนาดแตกต่างกัน
ข้ึนอยู่กับชนดิ ของสิ่งมชี ีวิตและหน้าท่ีของเซลล์เหล่านน้ั เซลลท์ ่ีมขี นาดเล็กท่ีสุดคือ ไมโครพลาสมา (Mycoplasma)
หรือ PPLO (Pleuropneumonia - like organism) มีขนาดประมาณ 0.1 - 0.25 mเซลล์ที่มีขนาดใหญ่ท่ีสุด
คอื เซลล์ไข่นกกระจอกเทศ

2. เซลล์ของส่ิงมีชีวิต โดยท่ัวไปมีโครงสร้างหลักคล้ายกัน แต่อาจมีลักษณะบางประการแตกต่างอย่าง
เด่นชัด นักชีววิทยาจึงจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็น 2 กลุ่ม ตามลักษณะโครงสร้างเซลล์ คือ โพรแคริโอต
(Prokaryote) ได้แก่ พวกแบคทีเรีย ไมโครพลาสมา และสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงิน ยูแคริโอต (Eukaryote)
ได้แก่ พวกโพรทสิ ต์ พืช และสตั ว์

3. โครงสร้างของเซลล์ยูแคริโอต โดยทั่วไปแบ่งเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ห่อหุ้มเซลล์ ไซโทพลาซึม และ
นิวเคลียส

สว่ นท่ีหอ่ หมุ้ เซลล์ ประกอบด้วย
1) ผนังเซลล์ (Cell wall) พบในเซลล์พืช รา ยีสต์ ไม่พบในเซลล์สัตว์ สร้างความแข็งแรง ทำให้เซลล์คง

รูปร่างอยไู่ ด้ ยอมให้โมเลกลุ ของสารเกือบทกุ ชนดิ ผ่านเข้าออกได้อยา่ งอสิ ระ ประกอบดว้ ยเซลลโู ลสเรยี งกนั เปน็
มดั ๆ เรียกว่า ไมโครไฟบรลิ (Microfibril) โดยมีสารเพกทิน (Pectin) เปน็ ตัวเช่อื ม

ไซโทพลาสซึม (Cytoplasm) เป็นของเหลวภายในเซลล์ที่อยู่รอบ ๆ นิวเคลียสประกอบด้วย คาร์โบไฮเดรต
โปรตนี ไขมนั และแร่ธาตุต่าง ๆ ไซโทพลาซึมมี ออร์แกแนลล์ (Organelle) หลายชนิด ทำหนา้ ทีต่ า่ ง ๆ กัน

1. ไรโบโซม (Ribosome)
- มลี กั ษณะเป็นทรงกลมขนาดเลก็ ประมาณ 20 nm ประกอบด้วย rRNA และโปรตนี
- เซลล์ยูแคริโอตมีไรโบโซม ชนิด 80 S ประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย คือ 40 S และ 60 S ส่วนเซลล์โพร
แครโิ อต มีไรโบโซมชนดิ 70 S ประกอบด้วย 2 หน่วยย่อย คือ 30 S และ 50 S
- พบทั่วไปในไซโทพลาสซึม ไมโทคอนเดรยี คลอโรพลาสต์ หรอื เกาะอยูบ่ นร่างแหเอนโดพลาสซมึ
- มีหน้าทส่ี ังเคราะห์โปรตีนสำหรับใช้ภายในเซลล์และสง่ ออกไปใชน้ อกเซลล์

2. เซนทริโอล (Centriole)
- เป็นท่อกลวง ประกอบด้วยไมโครทิวบูล 9 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ทอ่ เรียงกันเป็นวงกลม เรียกว่า 9 + 0 (ตรง
กลางไม่มีไมโครทิวบลู )
- มีหน้าทีส่ ร้างเสน้ ใยสปินเดลิ (Spindle fiber) ดงึ โครโมโซมในขณะทม่ี ีการแบ่งเซลล์
- ควบคุมการเคลื่อนท่ีของซิเลีย (Cilia) และ แฟลเจลลัม (Flagellum) ซึ่งมีไมโครทิวบูล 9 กลุ่ม กลุ่มละ
2 ทอ่ เรียงเปน็ วงกลม และตรงกลางมีไมโครทิวบลู อกี 2 ทอ่ จึงเรียกวา่ 9 + 2

3.ไมโครทวิ บลู (Microtubule)
- ประกอบดว้ ยโปรตนี พวกทวิ บูลนิ เรยี งต่อกันเป็นวงเห็นเปน็ ท่อ
- มีหน้าทเ่ี ก่ียวข้องกับการเคล่อื นไหวของเซลล์ (เพราะเปน็ ส่วนประกอบของซิเลียและแฟลเจลลัม) การดึง
โครโมโซมขณะมีการแบ่งเซลล์และการเคล่ือนไหวของไซโทพลาสซึม ซ่ึงเรียกว่า ไซโคลซิส (Cyclosis)
ไมโครฟิลาเมนต์

7

- ประกอบดว้ ยโปรตนี พวกแอกทินและไมโอซนิ สานกนั เปน็ รา่ งแหอยรู่ วมกนั เปน็ มัด ๆ ในไซโทพลาสซมึ
- มีหน้าท่ีเกี่ยวกับการคอดของเซลล์ขณะมีการแบ่งไซโทพลาสซึม การหดตัวของเซลล์กล้ามเน้ือและการ
เคลือ่ นทีข่ องเซลล์บางชนดิ เช่น อะมบี า, เม็ดเลอื ดขาว

4.ไลโซโซม (Lysosome)
- พบเฉพาะในเซลล์สัตว์ มกี ำเนดิ จากกอลจิคอมเพลกซ์
- มีเอนไซมส์ ำหรับการยอ่ ยสลายสารตา่ ง ๆ ภายในเซลล์
- ย่อยสลายเนื้อเย่ือหรือเซลล์ที่หมดอายุ เช่น การย่อยสลายคอร์พัสลูเทียมหลังตกไข่ การย่อยสลายหาง
ลกู ออ๊ ดกอ่ นกลายเป็นกบ เรยี กกระบวนการนว้ี ่า ออโตลิซิส (Autolysis)

5. รา่ งแหเอนโดพลาซมึ (Endoplasmic reticulum)
- เป็นเมมเบรนท่ีเช่ือมต่อกับเย่ือหุ้มเซลล์และเยื่อหุ้มนิวเคลียสได้ มองดูคล้ายท่อหรือช่องแคบ ๆ เรียงตัว
ทบไปทบมากระจายทั่วไปในไซโทพลาซึม
- ไม่พบในเซลล์ของโพรแคริโอต (แบคทเี รยี และสาหร่ายสเี ขียวแกมน้ำเงนิ )
- แบ่งออกเปน็ 2 รปู แบบ คือ

- มไี รโบโซมเกาะทีผ่ ิวด้านนอก
- พบมากในเซลล์ทม่ี ีการสงั เคราะห์โปรตีนหรอื เอนไซม์ต่าง ๆ เชน่ เซลลใ์ นตบั อ่อน เปน็ ต้น
- ไมม่ ีไรโบโซมเกาะทผี่ ิวดา้ นนอก
- พบมากในเซลลท์ ี่มีการสังเคราะห์ไขมนั หรือเซลลท์ ี่มหี นา้ ทที่ ่ีขับสเตรอยด์ เช่น เซลล์ในต่อมหมวกไต
เปน็ ตน้ สว่ น SER ในเซลลต์ บั ทำหน้าท่ีขนสง่ ไลกโคเจนและกลูโคส

6.กอลจิคอมเพลกซ์ (Golgi complex)
- เป็นถุงแบนบางเรยี บซ้อนกันเปน็ ตั้ง ๆ 5 - 8 ช้นั ภายในมขี องเหลว ส่วนปลายทง้ั สองข้างยื่นพอง
ออกเป็นถุงเล็ก ๆ เรยี กวา่ เวซิเคิล (vesicle)
- มบี ทบาทในการสร้างไลโซโซม
- เป็นแหล่งสะสมสารต่าง ๆ ก่อนนำไปใช้ในกจิ กรรมของเซลล์
- เก่ียวข้องกับการสังเคราะหเ์ ซลลูโลสเพ่อื สรา้ งผนังเซลล์หลงั การแบ่งเซลล์
- เกยี่ วขอ้ งกับการสร้างสารเมือกในเซลลห์ มวกราก

7. ไมโทรคอนเดรยี (Mitochondria)
- เป็นแทง่ หรอื ก้อนกลมรี เยื่อหุม้ ชั้นนอกควบคุมการผา่ นเข้าออกของสาร เยอ่ื ชนั้ ในพบั ย่นไปมายน่ื
เข้าขา้ งใน เรียกวา่ ครสิ ตี (Cristae) มีของเหลวภายใน เรยี กวา่ แมทรกิ ซ์ (matrix)
- มีหน้าที่สร้างพลงั งานให้แก่เซลล์ (ส่วนใหญ่อยู่ในรูป ATP)
- เชอื่ กนั วา่ ไมโทรคอนเดรยี เป็นโพรแคริโอตที่เขา้ ไปอาศยั ในเซลลย์ ูแคริโอตแบบ Symbiosis จน
กลายเปน็ สว่ นหนง่ึ ของเซลล์

8.พลาสทิด (Plastid)
- พบในเซลล์พืชและเซลลส์ าหรา่ ยท่ัวไป (ยกเวน้ สาหรา่ ยสีเขยี วแกมน้ำเงิน)
- เชอ่ื กนั วา่ พลาสทดิ เพิ่มจำนวนโดยการแบง่ ตัวเองได้

8

9. แวควิ โอล (Vacuole)
- มลี กั ษณะเป็นถงุ มเี ยอื่ หุ้มบาง ๆ เรยี กว่า โทโนพลาสต์ (Tonoplast)
- ภายใต้มีของเหลวหรือสารหลายชนิดบรรจอุ ยู่ แบ่งออกเป็น 3 แบบ คอื

ฟดู แวควิ โอล (Food vacuole) เป็นแวคิวโอลที่มอี าหารอยู่ภายใน พบในสิ่งมชี วี ติ เซลล์เดียวบาง
ชนิด เช่น อะมีบา

คอนแทรก็ ไทลแ์ วควิ โอล (Contractile vacuole) เป็นแวคิวโอลที่ทำหนา้ ที่กำจัดของเสยี หรือน้ำ
ออกจากเซลล์ เพื่อควบคุมสมดุลของสารละลายภายในเซลล์ พบในโพรโทซวั บางชนิด เชน่ พารามีเซียม

แซปแวคิวโอล (Sap vacuole) เป็นแวควิ โอลทีส่ ะสมสารละลายต่าง ๆ เช่น โปรตนี น้ำตาล
เกลอื และรงควัตถุทท่ี ำให้เกิดสตี า่ ง ๆ ไดแ้ ก่ แอนโทไซยานิน ซึ่งทำให้เซลล์กลีบดอกมสี ฟี ้า ม่วงหรือแดง

นิวเคลียส (Nucleus) มีรูปร่างคล้ายทรงกลม โดยท่ัวไปมีเพียง 1 นิวเคลยี สเท่านัน้ แต่ในสิ่งมีชีวิตชั้นต่ำ
บางชนิด มี 2 นิวเคลียส เช่น พารามเี ซียม สำหรบั เซลล์เม็ดเลอื ดแดงของสตั วเ์ ล้ียงลูกด้วยนมเมื่อเจรญิ เตม็ ทจ่ี ะไม่
มนี วิ เคลียสนวิ เคลยี สถอื วา่ เป็นศนู ยก์ ลางควบคุมการทำงานของเซลล์ มอี งคป์ ระกอบที่สำคญั ดังนี้

1) เย่ือหมุ้ นวิ เคลียส (Nuclear membrane)
- เปน็ ยูนติ เมมเบรน 2 ชน้ั ท่ีมสี มบตั เิ ปน็ เยอ่ื เลอื กผ่านเชน่ เดยี วกบั เยื่อหุม้ เซลล์
- เยื่อห้มุ ชน้ั นอกมไี รโบโซมเกาะอยู่
- ผิวของเยื่อหุ้มมีรูเล็ก ๆ (annulus) กระจายท่ัวไปเป็นช่องติดต่อระหว่างของเหลวในนิวเคลียส

กับของเหลวในไซโทพลาสซมึ

2) นวิ เคลียส (Nucleous)
- เหน็ ชดั เจนในภาวะปกติท่ีเซลลย์ งั ไม่มีการแบ่งตวั
- ไม่มีเย่ือหุ้ม เป็นบริเวณท่ีสะสม RNA และสังเคราะห์ไรโบโซม 10 เปอร์เซ็นต์ และ RNA 4

เปอร์เซน็ ต์

3) โครโมโซม (Chromosome)
- เป็นเส้นใยเล็ก ๆ เรียกว่า โครมาทิน (Chromatin) ซึ่งก็คือ โมเลกุลของ DNA ที่มีโปรตีนหุ้ม

น่ันเอง เมื่อมีการแบ่งเซลล์ เส้นใยโครมาทินจะขดพันกันแน่นคล้ายลวดสปริงเห็นเป็นแท่ง เรียกว่า โครโมโซม
(Chromosome)

- โครโมโซมประกอบด้วย 2 โครมาทดิ (Chromatid) เชื่อมกนั ที่ เซนโทรเมียร์ (Centromere)

9

กระบวนการดำรงชีวติ ของพืชและสัตวก์ ระบวนการดำรงชวี ติ ของพืชและสัตว์
ชีวติ พืช

พืช เป็นส่ิงมีชีวิต มีการเจริญเติบโต มีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่แตกต่างกันออกไป การดำรงชีวิตของ
พืชย่อมแตกต่างกันตามขนาดและชนดิ ของพชื แต่ปัจจยั ท่าเอ้ือตอ่ การดำรงชีวติ ของพืชคล้ายกัน

ปัจจัยทจ่ี ำเป็นต่อการดำรงชีวิตของพืช
น้ำ เปน็ ปจั จัยหลักทสี่ ำคัญตอ่ กระบวนการดำรงชีวิตของพชื เพราะนำ้ ช่วยละลายธาตุอาหารของพืชทีอ่ ยู่
ในดิน ช่วยให้รากพืชสามารถดูดธาตุอาหารไปใช้ได้ และน้ำยังช่วยในการลำเลียงอาหารและแร่ธาตุไปใช้ใน
กระบวนการต่างๆ เพ่ือการเจริญเติบโต ดังนั้น เราจึงจำเป็นจะต้องรดน้ำต้นพืชทุกวัน เพ่ือพืชจะได้ดำรงชีวิตอยู่
และเจริญเติบโตได้

แสงแดด พืชต้องการแสงเพ่ือช่วยในกระบวนการสร้างอาหารหรือท่ีเรียกว่าสังเคราะห์แสงน่ันเอง โดยมี
น้ำ คลอโรฟิลล์ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เป็นปัจจัยสำคัญ อาหารท่ีได้จากการสังเคราะห์แสง คือ แป้ง และ
นำ้ ตาล ซึง่ อาหารเหลา่ น้ีจะชว่ ยให้พืชดำรงอยู่ได้ และเจริญเตบิ โต

อาหาร อาหารของพืช คือ แร่ธาตุท่ีอยู่ในดิน ได้จากซากพืช ซากสัตว์ท่ีตายแล้ว สลายผสมอยู่ในดินช้ัน
บน ซ่ึงเรียกว่า ฮิวมัส แร่ธาตุ หมายถึง ปุ๋ยท่ีมีส่วนทำให้พืชเจริญเติบโตเกษตรกรสามารถเพ่ิมอาหารให้แก่พืชได้
โดยการใส่ปุ๋ยให้พืช

อากาศ พืชต้องการก๊าซออกซิเจนสำหรับหายใจ และก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สำหรับสร้างอาหาร พืช
หายใจตลอดเวลาทง้ั กลางวันและกลางคืน

ดิน เป็นส่วนท่ีอยู่อาศัยของพืช ดินแต่ละแห่งจะมีปุ๋ยและแร่ธาตุของพืชที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตที่
แตกต่างกัน พชื จะเจริญเติบโตไดด้ ี ถ้าปลกู ในดนิ ทเ่ี หมาะสมกบั พชื ชนิดน้ันๆ

อณุ หภูมิ พชื ต้องการอณุ หภูมขิ องอากาศท่เี หมาะสม เพอื่ เปน็ องคป์ ระกอบในการเจรญิ เตบิ โต

10

ปจั จัยที่จำเป็นต่อการเจรญิ เตบิ โตของพืช
ไดแ้ ก่ แร่ธาตุในดนิ น้ำ ความชน้ื และแสง
ปุ๋ย เปน็ ธาตุอาหารท่ีพชื ตอ้ งการเพ่ิมจากธาตุอาหารท่ีได้จากดินตามธรรมชาติ ซ่ึงปยุ๋ มี 2 ประเภท คือ ปุ๋ย
อินทรยี ์และปุ๋ยวทิ ยาศาสตร์
ปุ๋ยอินทรีย์ ได้จากการนำเศษอาหาร มูลสัตว์ ใบไม้ก่ิงไม้ มาทับถมเน่าเปื่อยหมักรวมกัน เรียกว่า ปุ๋ย
หมกั สว่ นปุ๋ยทไ่ี ด้มาจากมูลสัตว์ เรียกว่า ปุ๋ยคอก
ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ คอื ปุ๋ยทไ่ี ดจ้ ากการปรงุ แตง่ ด้วยกรรมวิธีทางวทิ ยาศาสตร์ ได้แก่ ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส
และ โพแทสเซยี ม

การดูแลรักษาพืช
น้องๆ มวี ิธีการดแู ลรักษาพืชใหเ้ จริญเตบิ โตและดำรงชวี ิตอยไู่ ด้อยา่ งไร เรามาศึกษาวิธีการดูแลรกั ษาพืชให้
เจริญเติบโตไดด้ ี ตามขนั้ ตอนต่อไปน้ี
- รดนำ้ ต้นพชื อย่างสม่ำเสมอเพ่ือให้ความช่มุ ชื้น
- พรวนดิน เพ่อื ให้ดินรว่ นซุย น้ำจะได้ซมึ ผา่ นได้ดี และอากาศถ่ายเทไดด้ ี จะทำให้รากพืชมกี าร

เจรญิ เติบโตดี
- รู้จกั กำจัดศัตรูพชื เช่น พวกแมลง หนอน หญ้า และวัชพืชต่างๆ ออกจากบริเวณท่ปี ลูกพืช
- ใส่ปุ๋ย เพิ่มธาตุอาหารในดนิ ให้พชื ทำให้พืชเจรญิ เติบโตได้ดียงิ่ ขนึ้
- รู้จักตดั แตง่ ก่งิ พชื เพื่อให้พชื เจรญิ เตบิ โตได้อย่างสมบรู ณ์ (ภาพการดแู ลรักษาพชื )

11

การจำแนกพชื
พชื มหี ลายชนิด การจำแนกพืชก็สามารถทำได้หลายวิธี เช่น

ใช้ลักษณะของใบเป็นเกณฑ์
ใบกลม คือ ใบบวั ใบบัวบก ใบผักแว่น
ใบยาว คือ ใบมะพรา้ ว ใบไผ่ ใบอ้อย

ใช้ลกั ษณะดอกเป็นเกณฑ์
พชื มดี อก เชน่ กหุ ลาบ ดาวเรือง ทานตะวัน
พชื ไม่มีดอก เชน่ สาหร่าย เฟนิ

ประโยชนแ์ ละความสำคัญของพืช
พืช เป็นส่ิงมีชีวิตท่ีสามารถนำมาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น นำมาเป็นอาห าร, ยารักษาโรค,
เครื่องนุ่งห่ม รวมท้ังมีความสำคัญต่อส่ิงมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมอื่นๆ เป็นอย่างมาก นอกจากปัจจัยหลัก นำมาเป็น
อาหาร, ยารักษาโรค, เคร่ืองนุ่งห่ม แล้ว บริเวณท่ีมีพืชปกคลุมหนาแน่น ทำให้มีฝนตก ช่วยกำจัดมลพิษในอากาศ
และพชื ยงั นำมาสรา้ งที่อยู่อาศยั และใช้เปน็ เชือ้ เพลงิ ไดอ้ ีกด้วย

12

เราควรอนรุ ักษ์พืช ดังต่อไปน้ี
- ไมต่ ดั ไมท้ ำลายปา่
- รจู้ กั ปลูกปา่ ทดแทน
- ชว่ ยบำรุงรกั ษาพชื ท่ปี ลูก และหม่นั ขยายพนั ธ์ุพชื

ดงั น้ัน เรา สรปุ ไดว้ ่า
- พชื เป็นสง่ิ มีชวี ิตเชน่ เดียวกนั กับมนุษยแ์ ละสัตว์ จงึ มีความต้องการน้ำ อากาศ อาหาร แสงแดด ใช้ใน
การดำรงชีวิต
- การดูแลรกั ษาพืช หรือการบำรงุ พืชมีวิธดี แู ลโดย รจู้ กั รดนำ้ ต้นไม้อยา่ งสมำ่ เสมอ พรวนดิน กำจดั
ศัตรพู ชื เป็นคร้งั คราว ใสป่ ุ๋ยเพ่ิมธาตุอาหารในดินให้แก่พชื
- พชื ท่ีอยูร่ อบตัวเรา สามารถใช้เกณฑ์การแบ่งพชื ไดห้ ลายอย่าง เช่น แบ่งตามลักษณะของใบ แบง่ ตาม
ลักษณะของดอก หรือขนาดของพืช
- การตอบสนองต่อสง่ิ เร้าของพืช เช่น การหบุ ใบของต้นไมยราบเมือ่ ถกู สัมผัส การงอกของเมล็ด การ
เจรญิ เตบิ โตของต้นหรือกิ่งก้านและใบ
- พชื มีประโยชน์ตอ่ คนและสัตว์ คือ ใชเ้ ป็นเปน็ อาหาร ยารกั ษาโรค สร้างเป็นที่อยู่อาศยั ทำ
เครื่องนุ่งห่ม และของเลน่ ของใชอ้ น่ื ๆ

13

การดำรงชีวิตของสตั ว์

ชวี ติ สตั ว์

สัตว์
เปน็ สงิ่ มีชีวิต ซ่ึงส่งิ มชี ีวิตต้องการปัจจัยตา่ งๆ ที่จะทำใหด้ ำรงชีวติ อยู่ได้ ซ่ึงมีความแตกต่างกันตามปจั จัยใน

ทอ้ งถนิ่ และสภาพแวดล้อมของสัตวน์ ้ันๆ ตอ้ งการน้ำ อาหาร และอากาศในการดำรงชีวติ

ปจั จัยท่มี ีผลตอ่ การดำรงชวี ิตของสตั ว์
อาหาร สัตวต์ ่างๆ ต้องการอาหารเพ่ือช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโตและสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ถ้าสัตว์ขาด

อาหาร หรือไมไ่ ดก้ ินอาหารเปน็ เวลานานๆ จะทำให้สตั วต์ ายได้
น้ำ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดไม่ว่าจะเป็นพืชหรือสัตว์ ก็ต้องการน้ำในการดำรงชีวิตท้ังน้ัน ถ้าสัตว์ขาดน้ำเป็น

เวลานานก็จะทำให้สัตว์ตายได้ นอกจากน้ันสัตว์บางชนิดยงั อาศัยน้ำเป็นท่ีอยู่อาศัย ดำรงชีวิตอยู่ในน้ำ และใช้เป็น
แหล่งอาหาร

อากาศ สัตว์ทุกชนิดต้องการอากาศในการหายใจ เพ่ือให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ ถ้าไม่มีอากาศ หรือขาด
อากาศหายใจกจ็ ะทำใหส้ ัตวต์ ายได้

ท่ีอยู่อาศัย สัตว์ทุกชนิดต้องการที่อยู่อาศัยท่ีแตกต่างกันไป บางชนิดอาศัยอยู่บนต้นไม้ บางชนิดอาศัยอยู่
ในรู บางชนดิ อาศัยอยูบ่ นบก บางชนดิ อาศยั อย่ใู นน้ำ

14

สตั วท์ ี่อาศยั อยบู่ นบก เชน่ สุนัข แมว ชา้ ง ววั ม้า เป็ด ไก่ เป็นต้น

สตั ว์ท่ีอาศยั อยู่ในนำ้ เช่น ปลา ปู กุง้ หอย เป็นต้น
ดังนั้น ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของสัตว์ คือ อากาศ อาหาร น้ำ ท่ีอยู่อาศัย เป็นส่ิงจำเป็นต่อการ

ดำรงชีวิตและเจริญเติบโตของสัตว์ เพอื่ ให้มีชวี ติ อยู่รอด นอกจากนั้น สภาพแวดล้อมก็เป็นสิ่งสำคญั อกี อยา่ งหน่งึ ใน
การดำรงชีวิตของสัตว์ เช่น สภาพความอุดมสมบูรณ์ทางธรรมชาติ ป่าไม้ สายน้ำ อุณหภูมิท่ีเหมาะสม มีความชุ่ม
ชน้ื มีความอบอนุ่ ซ่งึ สัตวแ์ ตล่ ะประเภทกจ็ ะปรับตัวและเจรญิ เติบโตในสภาพแวดลอ้ มทีต่ ่างกัน
การตอบสนองตอ่ สิ่งเร้าของสัตว์

สัตว์เป็นส่ิงมีชีวิต และสามารถตอบสนองต่อส่ิงเร้าที่มากระตุ้นได้ เช่น การโดนกระแทก, รู้สึกร้อนเมื่อมี
วัตถทุ ม่ี คี วามรอ้ นมาสมั ผสั

15

สิ่งเร้า หมายถึง ภาวะแวดล้อมที่มีผลต่อการตอบสนองของสัตว์และปรับตัวให้สามารถดำรงอยู่ได้สัตว์มี
ดวงตาท่ีทำให้มองเห็นเม่ือมีอันตรายมาใกล้ตัว ก็จะแสดงอาการป้องกันตวั หรอื ว่ิงหนีไป เม่ือได้กล่ินอาหารหรือพบ
อาหารก็จะทำให้น้ำลายไหล ควายชอบนอนในหนองน้ำ หรือในโคลน เพื่อป้องกันแสงแดดเผาผิวหนังของมัน กบ
จะอยใู่ นรใู ต้ดินในช่วงฤดูหนาว ไม่ออกไปหาอาหาร เพื่อไม่ให้ร่างกายสัมผัสกับความหนาว เรยี กวา่ กบจำศีล สัตว์
จะพยายามปรบั ตัวใหเ้ ขา้ กับส่งิ แวดลอ้ มที่มนั อาศัยอยู่ เพื่อความอย่รู อด ลักษณะดังกล่าวนี้ เรียกวา่ การตอบสนอง
ต่อส่งิ เรา้ ของสตั ว์

ประเภทของสตั ว์
นอ้ งๆ ทราบหรือไมว่ ่า สัตวท์ ีอ่ ยู่รอบตัวเรานน้ั มีลกั ษณะบางอยา่ งเหมือนกัน และบางอย่างตา่ งกนั เราจึง

สามารถแยกสตั ว์ออกเปน็ ประเภทตา่ งๆ ไดต้ ามลักษณะที่ตา่ งกนั จำแนกออกเป็นกลุม่ ๆ เช่น
- สตั ว์บก
- สัตว์น้ำ
- สัตวป์ กี

หรือ นอกจากนัน้ อาจจะแบง่ ตามลกั ษณะดังนี้
- แบ่งตามขนาด
- แบ่งตามท่ีอยู่อาศยั
- แบ่งตามจำนวนขา เปน็ ต้น

ประโยชน์ของสัตว์
สัตว์แต่ละชนิดมีประโยชน์ท่ีแตกต่างกัน เช่น สัตว์ในท้องถ่ินมีประโยชน์มากมาย สัตว์บางชนิดใช้เป็น

อาหาร เช่น วัว หมู ไก่ เป็ด สัตว์บางชนิดนำมาใช้แรงงาน เช่นใช้ลิงช่วยเก็บมะพร้าว สุนัขตำรวจช่วยงานตำรวจ
ม้าใช้ลากรถ ควายใช้ไถนา สัตว์บางชนิดนำมาเล้ียงเพื่อความสวยงาม หรือแก้เหงา เช่น แมว สุนัข นก กระต่าย
เป็นตน้

16

การดูแลรกั ษาสตั ว์
สัตวท์ ุกชนิดตอ้ งไดร้ ับการดแู ลรักษา เพ่ือช่วยในการเจริญเติบโต และการดำรงไว้ซึง่ เผา่ พันธ์ุ เรามีวธิ ีการ

ดูแลรักษาสัตว์ ดงั น้ี
สัตวป์ ่า หมายถงึ สตั ว์ทอี่ าศยั และหากนิ อยู่ในปา่ ปัจจุบนั จำนวนสัตวป์ า่ ลดนอ้ ยลง เราจึงควรดแู ลรกั ษา

สตั วป์ ่า ดังนี้
- ไม่เผาป่า หรอื ตัดไม้ทำลายป่า ซง่ึ เป็นทอี่ ยู่ของสตั ว์
- รักษาสภาพแวดล้อมของปา่ เพื่อใหเ้ ปน็ แหลง่ ที่อยขู่ องสตั ว์ตลอดไป
- ไมล่ า่ สัตว์ มาเปน็ อาหาร
- ไมจ่ ับสัตว์ หรอื ล่าสัตวใ์ นเขตหวงห้าม
- เมอื่ พบเหน็ บคุ คลอื่นลา่ สตั ว์ป่า หรอื นำสตั ว์ปา่ มาขาย ควรแจ้งเจา้ หน้าที่

สัตว์เลี้ยง หมายถงึ สัตว์ท่ีมนุษยเ์ ลย้ี งไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการดำรงชวี ติ เช่น เล้ียงไว้เปน็ อาหาร เล้ยี งไวใ้ ชง้ าน
เลี้ยงไวด้ ูเลน่ เรามวี ธิ ีดูแลรกั ษาสตั ว์เล้ียงของเรา ใหแ้ ขง็ แรง เจรญิ เตบิ โตได้ดี ดังนี้

- สร้างทอ่ี ยู่อาศยั ทสี่ ะอาดปลอดภยั ให้แก่สตั ว์
- ใหอ้ าหารสตั ว์ตามประเภทของสตั ว์อย่างเพยี งพอ
- ใหค้ วามรักและเอาใจใส่สตั ว์ท่ีเลย้ี งไว้
- ทำความสะอาดสัตว์และท่ีอยู่อาศยั ของสตั วเ์ สมอ
- ฉดี วัคซีนและใหก้ ารรักษาเม่ือยามสัตวเ์ จ็บป่วย

17

สรปุ ชวี ติ สตั ว์ คือ
- ส่ิงจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของสตั ว์ คอื อาหารเพ่ือการเจรญิ เติบโต น้ำ ซ่งึ เปน็ สว่ นประกอบสำคัญของร่างกาย
ทอ่ี ยู่อาศยั เพ่อื ความอบอุ่น และความปลอดภยั จากศัตรู และอากาศเพื่อการหายใจ
- สิง่ จำเปน็ ตอ่ การเจรญิ เติบโตของสตั ว์เพอื่ ชีวิตอยู่รอด คือ อาหาร น้ำ และอากาศ
- สตั ว์มีกลไกปรบั ตวั ให้เข้ากบั สภาพแวดลอ้ ม หรอื เรยี กอีกอย่างหน่งึ ว่า การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของสัตว์
- สัตวม์ ีลักษณะทีแ่ ตกต่างกนั จึงสามารถจำแนกสัตว์ออกเป็นกล่มุ ๆ ต่างๆ ได้
- สตั วม์ ีประโยชนต์ ่อมนษุ ยม์ ากมาย เช่น ใชเ้ ปน็ อาหาร เปน็ พาหนะ เป็นแรงงงาน ให้ความเพลดิ เพลนิ ดังนัน้ เรา
จึงจำเปน็ ต้องให้การดูแลรักษาสตั ว์ได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

18

ระบบนิเวศ
สาระสำคัญ

สิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัวเราประกอบด้วยสิ่งมีชีวติ และสิ่งไม่มีชีวิต สิ่งมีชีวิตมีการพ่ึงพาอาศัยซ่ึงกันและกัน
และสมพันธ์กับส่ิงท่ีไม่มีชีวิต มีการใช้พลังงานและแลกเปลี่ยนสารอาหารซ่ึงดำเนินไปภายใต้ความสมดุลของ
ธรรมชาตเิ รียกวา่ ระบบนิเวศ แต่ถ้าระบบนเิ วศขาดความสมดุลหรอื ถูกทำลาย ยอ่ มเกดิ ผลกระทบต่อการดำรงชีวิต
ของสรรพสง่ิ ในระบบ ทำให้มนษุ ย์เห็นความสำคญั ของระบบนิเวศและรู้จักการนำสิ่งแวดลอ้ มมาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์
และช่วยแก้ไข้ปัญหา ความเส่อื มโทรมของระบบนิเวศ

ความหมายของระบบนเิ วศ
ระบบนิเวศ(ecosystem) หมายถึง ระบบความสัมพันธ์ระหว่างกลุม่ สิ่งมีชีวติ ท่ีอาศัยอยู่ร่วมกันในบริเวณ

น้นั และความสมั พันธ์ระหว่างกลุ่มสิ่งมีชวี ิตกบั สภาพแวดลอ้ มของแหลง่ ท่อี ยู่ ไดแ้ ก่ ดนิ นำ้ แสง ในระบบนิเวศจะมี
การถ่ายทอดพลังงานระหว่างกลุ่มสิ่งมีชีวิตกลุ่มต่างๆ และมีการหมุนเวียนสารต่างๆจากสิ่งแวดล้อมสู่สิ่งมีชีวิตและ
จากสงิ่ มีชวี ิตส่สู ิง่ แวดลอ้ ม
ประเภทของระบบนิเวศ

ระบบนิเวศมีอยู่ทุกหนทุกแห่งท่ัวโลก มีมากมายหลายระบบ แต่ละระบบมีขนาดเล็กใหญ่สลับซับซ้อน
แตกต่างกัน โลกของเราจัดเป็นระบบนิเวศท่ีใหญ่ที่สุด เรียกว่า โลกของส่ิงมีชีวิต (biosphere) ซึ่งเป็นท่ีรวม
ระบบนิเวศหลากหลายระบบ ส่วนที่จัดเป็นระบบนิเวศเล็ก ๆ เช่น ทุ่งหญ้า หนองน้ำ สระน้ำ ริมรั้ว ใต้ขอนไม้ผุ
ระบบนิเวศแบง่ ได้เปน็ 2 ระบบใหญ่ ๆ คือ

19

1. ระบบนิเวศตามธรรมชาติ
ไดแ้ ก่ ระบบนเิ วศบนบก เช่น ป่าไม้ ทุ่งหญา้ ทะเลทราย
ระบบนเิ วศแหล่งนำ้ แบง่ เป็นระบบนิเวศน้ำจดื เช่น แม่นำ้ ลำคลอง หนอง บงึ
ระบบนิเวศน้ำเคม็ เช่น ทะเล มหาสมุทร
ระบบนิเวศน้ำกร่อย เชน่ บริเวณปากแมน่ ำ้

2. ระบบนเิ วศที่มนุษยส์ ร้างข้ึน เช่น ระบบนิเวศชุมชนเมือง แหล่งเกษตรกรรม นิคมอุตสาหกรรม หรอื แม้กระทั่ง
ตู้ปลา อ่างเลี้ยงปลา กจ็ ัดเปน็ ระบบนิเวศทมี่ นษุ ย์สร้างขนึ้
องคป์ ระกอบของระบบนิเวศ

ระบบนิเวศบนโลกถึงแม้จะมีความหลากหลาย แต่ก็มีโครงสร้างท่ีคล้ายคลึงกัน คือ ประกอบไปด้วยส่วน
สำคญั 2 สว่ น คอื

1. ส่วนประกอบท่ไี ม่มชี ีวติ (abiotic component) ประกอบด้วย
- อนินทรยี สาร ได้แก่ ไนโตรเจน คารบ์ อนไดออกไซด์ ออกซิเจน น้ำ และคาร์บอน
- อินทรยี สาร ได้แก่ คาร์โบไฮเดรต โปรตีน ไขมนั ฯลฯ
- สภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ อุณหภูมิ แสง ความเป็นกรด เป็นด่าง ความเค็มและความชื้น
2. สว่ นประกอบทมี่ ีชีวิต (biotic component) ไดแ้ ก่
- ผู้ผลิต (producer)
- ผ้บู รโิ ภค (consumer)
- ผู้ย่อยสลาย (decomposer)
ผู้ผลิต (producer) คือ สง่ิ มชี ีวิตที่สามารถนำพลังงานจากแสงอาทิตย์มาสังเคราะหอ์ าหารข้นึ ได้เองด้วยแร่
ธาตแุ ละสสารทม่ี ีอย่ตู ามธรรมชาติ ได้แก่ พืชสเี ขียว แพลงคต์ อนพชื และแบคทีเรยี บางชนิด

20

ผู้บรโิ ภค (consumer) คือ ส่ิงมชี วี ิตที่กนิ ส่ิงมีชีวิตอ่นื ๆเปน็ อาหาร แบง่ ได้เป็น
– สงิ่ มีชีวิตที่กินพชื เป็นอาหาร (herbivore) เชน่ วัว ควาย กระตา่ ย และปลาทก่ี นิ พชื เลก็ ๆ ฯลฯ
– สงิ่ มีชวี ิตทกี่ ินสตั วอ์ น่ื เปน็ อาหาร (carnivore) เช่น เสอื สุนขั กบ สุนัขจง้ิ จอก ฯลฯ
– สิ่งมีชีวิตท่ี กินทั้งพืช และสัตว์ ซึ่งเป็นลำดับการกินสูงสุด (omnivore) เช่น มนุษย์ ผู้ย่อย

สลาย (decomposer) เป็นพวกยอ่ ยสลายซากสิง่ มีชวี ติ ให้เปน็ สารอินทรยี ์ได้
ความสมั พันธ์ของระบบนเิ วศ มี 2 ลีกษณะคอื

1. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับสภาพแวดล้อมทางกายภาพ ได้แก่ แสง, อุณหภูมิ, น้ำ, อากาศ, ดิน
และแร่ธาตใุ นดิน

แสง เป็นปัจจัยสำคัญท่มี ีอทิ ธิพลตอ่ การดำรงชีวติ ของสิ่งมชี วี ิตหลายชนิด เชน่
1. ในกระบวนการสังเคราะหด์ ว้ ยแสงของพชื
2. การหุบและบานของดอกและใบของพชื หลายชนดิ เชน่ ใบไมยราบ ใบกระถนิ
3. มีอทิ ธิพลต่อเวลาการออกอาหารของสัตว์

อณุ หภมู ิ เป็นปัจยั สำคญั ที่มอี ิธพิ ลต่อการดำรงชีวิตของส่ิงมชี วี ิตหลายประการ เช่น
1. อุณหภูมิมีผลต่อการหุบและบานของดอกไม้บางชนิด เช่น ดอกบัวจะบานตอนกลางวันและจะหุบใน

ตอนกลางคืน
2. อณุ หภูมมิ ีผลต่อพฤตกิ รรมบางประการของสัตว์ เชน่ การจำศีลมนฤดหู นาวของหมขี วั้ โลก
3. อุณหภูมิมีผลต่อลักษณะและรูปร่างของส่ิงมีชีวิต เช่น สัตว์ในเขตหนาวจะมีขนาดตัวที่ใหญ่กว่าสัตว์ใน

เขตรอ้ น หรือสตั วบ์ างชนิดท่อี ย่ใู นเขตหนาวจะมขี นหนากวา่ สัตวใ์ นเขตร้อน
น้ำ เปน็ ปัจจยั สำคัญท่ีมีอิทธพิ ลตอ่ การดำรงชีวติ ของสิง่ มีชีวติ เช่น

1. นำ้ เป็นวัตถุดบิ ในการบวนการสังเคราะห์ดว้ ยแวงของพืช และน้ำยังเปน็ ตวั ทำละลายที่สำคัญทีท่ ำใหแ้ ร่
ธาตุต่างๆทีม่ อี ยู่ในดนิ ละลายและซึมส่พู น้ื ดินเพื่อให้พชื สามารถนำไปใชไ้ ด้

2. น้ำเปน็ ปจั จยั ท่ีมีผลต่อการงอกของเมล็ด
3. น้ำเป็นสว่ นประกอบในเซลลร์ า่ งกายของส่งิ มชี วี ิตทุกชนิด
4. น้ำเปน็ ส่ือกลางในการช่วยขบั ของเสยี ออกจากร่างการของส่งิ มีชวี ติ

21

ดนิ และแร่ธาตใุ นดนิ เป็นปัจจัยสำคญั ที่มอี ิทธพิ ลตอ่ การดำรงชีวติ
1. ดนิ เปน็ แลง่ ทอี่ ยขู่ องพชื อีกท้งั ยังใหแ้ ร่ธาตทุ ี่จำเป็นในการดำรงชีวิต
2. ดนิ ช่วยในการกักเก็บนำ้ และอากาศ
3. ดนิ เป็นที่อยอู่ าศยั ของสิ่งมีชีวติ เกือบทกุ ชนิดบนโลก

อากาศเปน็ ปัจจัยสำคัญทม่ี อี ทิ ธพิ ลตอ่ การดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวติ เช่น
1. อากาศมีแก๊สออกซิเจน ซงึ่ เป็นส่วนประกอบที่จำเปน็ ตอ่ การดำรงชีวิตของสง่ิ มชี ีวติ แทบทกุ ชนดิ
2. อากาศมแี ก๊สออกซเิ จน ทผ่ี สมอยู่ช่วยในการเผาไหม้
3. ความสัมพันธ์ระหวา่ งสางมีชีวติ ท่อี าศยั อยู่ร่วมกนั ในระบบนเิ วศ
4. ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสางมีชวี ิตทอ่ี าศยั อยูร่ ว่ มกนั ในระบบนิเวศ

ความสัมพันธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี วี ิตในสายใยอาหารมหี ลายรูปแบบ ได้แก่

2.1 ภาวะล่าเหยื่อ (Predation) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิตโดยฝ่ายหนึ่งจับอีกฝ่ายหน่ึงเป็น
อาหาร เรยี กว่า ผู้ล่า (predator) ส่วนฝ่ายที่ถูกจับเป็นอาหารหรือถูกล่า เรียกว่า เหย่ือ (prey) เช่น -กบกับแมลง:
กบเป็นผูล้ า่ แมลงเปน็ ผถู้ ูกลา่ และเหยย่ี วกบั หนู: เหยีย่ วเปน็ ผู้ล่าส่วนหนูเปน็ ผ้ถู ูกล่า

2.2 ภาวะพึ่งพา (Mutualism) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิต 2 ชนิดโดยต่างก็ไ ด้รับประโยชน์
ซ่งึ กันและกัน หากแยกกันอย่จู ะไม่สามารถดำรงชวี ิตตอ่ ไปได้ เช่น

– ไลเคนส์ (Lichens): สาหร่ายอยู่ร่วมกับสาหร่าย สาหร่ายได้รับความชื้นและแร่ธาตุจากรา ราได้รับ
อาหารและออกซเิ จนจากสาหร่าย

2.3 ภาวะการได้ประโยชน์ (Protocooperation) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิต2 ชนิด โดยก็
ได้รับประโยชน์ซ่ึงกันและกัน แม้แยกกันอยู่ก็สามารถดำรงชีวิตได้ตามปกติ เช่น – แมลงกับดอกไม้: แมลงได้รับ
น้ำหวานจากดอกไม้ สว่ นดอกไม้ได้แมลงช่วยผสมเกสรทำให้แพร่พันธุ์ไดด้ ขี ้ึน

22

2.4 ภาวะอิงอาศัยหรือภาวะเก้ือกูล (Commensalism) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต2 ชนิด
โดยฝา่ ยหนึง่ ไดป้ ระโยชน์ อกี ฝ่ายหน่ึงไม่ไดแ้ ละไม่เสยี ประโยชน์ เช่น

– ปลาฉลามกับเหาฉลาม: เหาฉลามเกาะติดกับปลาฉลาม ได้เศษอาหารจากปลาฉลามโดยปลาฉลามก็
ไมไ่ ดแ้ ละไมเ่ สียประโยชน์อะไร

– พืชอิงอาศัย (epiphyte) บนต้นไม้ใหญ่: พืชอิงอาศัย เช่น ชายผ้าสีดาหรือกล้วยไม้เกาะอยู่บนต้นไม้
ใหญ่ ไดร้ บั ความชุ่มชื้น ทีอ่ ยู่อาศัยและแสงสวา่ งท่เี หมาะสมโดยตน้ ไม้ใหญ่ไม่ไดแ้ ละไมเ่ สียประโยชน์ใดๆ

– นก ตอ่ แตน ผึ้ง ทำรังบนต้นไม้: สัตว์เหล่านไี้ ดท้ ่ีอยู่อาศัย หลบภัยจากศัตรูธรรมชาตโิ ดยต้นไมไ้ ม่ได้และ
ไมเ่ สยี ประโยชนอ์ ะไร

2.5 ภาวะปรสิต (Parasitism) หมายถึง การอยู่ร่วมกันของสิ่งมีชีวิต 2 ชนิด โดยฝ่ายหน่ึงได้ประโยชน์
เรียกวา่ ปรสิต (parasite) อีกฝา่ ยหน่งึ เสียประโยชนเ์ รียกวา่ ผถู้ กู อาศัย(host) เชน่

– เห็บ เหา ไร หมัด บนร่างกายสัตว์: ปรสิตภายนอก (ectoparasite) เหล่าน้ีดูดเลือดจากร่างกายสัตว์จึง
เปน็ ฝ่ายไดป้ ระโยชน์ สว่ นสัตว์เปน็ ฝ่ายเสยี ประโยชน์

– พยาธิ ในร่างกายสัตว์: ปรสิตภายใน (endoparasite) จะดูดสารอาหารจากร่างกายสัตว์จึงเป็นฝ่ายได้
ประโยชน์สว่ นสตั ว์เปน็ ฝ่ายเสียประโยชน์

2.6 ภาวะมีการย่อยสลาย (Saprphytism) เป็นความสัมพันธ์ที่กลุ่มส่ิงมีชีวิตท่ีเป็นผู้ย่อยสลายอินทรีย
สารได้แก่ แบคทีเรีย, เห็ด, รา จะสร้างสารออกมาย่อยสลายซากสิ่งมชี ีวิตบางส่วนของสารท่ียอ่ ยแลว้ จะดูดกลับไก
ใชใ้ นการดำรงชวี ิต
การหมนุ เวียงของสารในระบบนิเวศ

โดยทว่ั ไปในสภาวะแวดล้อมจะมีแร่ธาตุและสารตา่ ง ๆ เป็นองคป์ ระกอบอยู่แล้วตามธรรมชาติ สิ่งมชี ีวิตไม่
เพียงแต่ใช้ แร่ธาตุและสารจากธรรมชาติ แต่กิจกรรมการดำรงชวี ิตก็มีการปล่อย สารบางอย่างกลับคืนสู่ธรรมชาติ
ดว้ ย วนเวียนกันเปน็ วัฏจักร

23

การหมุนเวียงนำ้ ในระบบนิเวศ

น้ำเป็นส่ิงจำเป็นต่อชีวิตอย่างย่ิง น้ำเป็นตัวกลางของกระบวนการต่าง ๆ ในสิ่งมีชีวิต จากการวิเคราะห์
องค์ประกอบของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต พบว่ามีน้ำเป็นองค์ประกอบในปริมาณมาก บางชนิดมีน้ำเป็นองค์ประกอบใน
เซลล์ถึงร้อยละ 95 สิ่งมีชีวิตจำนวนมากอาศัยน้ำเป็นแหล่งที่อยู่ เพราะผิวโลกเราประกอบด้วยพ้ืนน้ำ
ถึง 3 ใน 4 สว่ น

การหมนุ วยี งไนโตรเจนในระบบนเิ วศ

24

ไนโตรเจนเป็นแร่ธาตุสำคัญท่ีพืชต้องการในปริมาณมาก พืชจะใช้ไนโตรเจนในรูปของ สารประกอบพวก
เกลือแอมโมเนีย เกลือไนไตร เกลือไนเตรต เพ่ือสร้างสารประกอบอ่ืน ๆ ในเซลล์ ส่วนสัตว์จะได้รับสารดังกล่ าว
โดยถ่ายทอดมาในสายใยอาหาร สิ่งมีชีวิตในดิน พวกจุลินทรีย์ เช่น แบคทีเรียไรโซเบียม ในปมรากพืชตระกูลถ่ัว
แบคทีเรียท่ีดำรงชีพอิสระ ในดิน และสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำเงินบางชนิด สามารถตรึงไนโตรเจนจากบรรยากาศ
แล้วเปลี่ยนเป็นสารประกอบของไนโตรเจนท่ีพืชสามารถนำไปใช้ได้ ในขณะเดียวกันก็มี จุลินทรีย์บางชนิดท่ีเป็นผู้
ย่อยสลายอินทรีย์สารย่อยสลายซากพืชและสัตว์ที่ตายลง กลาย เป็นไนโตรเจนอิสระกลับคืนสู่บรรยากาศ และได้
สารประกอบไนโตรเจนในดินท่ีพืชสามารถ นำไปใช้ได้ นอกจากนี้ไนโตรเจนอีกส่วนหน่ึงจะกลับคืนสู่บรรยากาศ
โดยสัตว์ขับถ่ายสาร ประกอบไนโตรเจนในรูปของแอมโมเนีย พืชบางชนิด เช่น – หม้อข้าวหม้อแกงลิง หยาด
นำ้ ค้าง กาบหอยแครง ได้รับสารประกอบไนโตรเจนแตกต่าง จากพชื อืน่ โดยมีส่วนของใบเปล่ียนแปลงไปคลายกับ
ดักแมลง เมอื่ แมลงตกลงไปจะมี เอนไซม์ยอ่ ยเน้อื เยื่อแมลง ได้เป็นสารประกอบไนโตรเจนทเ่ี ข้าสู่เซลล์พชื ได้
การหมนุ เวยี งคาร์บอนในระบบนเิ วศ

คาร์บอนเป็นองค์ประกอบสำคัญอย่างหน่ึงของสารที่พบในส่ิงมีชีวิตทุกชนิด คาร์บอนไดออกไซด์ใน
บรรยากาศถูกพืชนำมาเปลี่ยนแปลงเป็นสารอินทรีย์ท่ีมีคาร์บอน เป็นองค์ประกอบในพืชโดยกระบวนการ
สังเคราะหด์ ้วยแสง สัตวไ์ ด้รบั สารทม่ี ีคาร์บอน เป็นองคป์ ระกอบโดยการกินอาหาร สำหรับกลุ่มผู้ยอ่ ยสลายอินทรยี ์
สาร ก็ได้รับสาร คาร์บอนจากกระบวนการย่อยสลาย ส่งิ มีชีวิตทุกชนิดปลอ่ ยคารบ์ อนกลับคนื สู่บรรยากาศ โดยการ
หายใจออกในรปู ของคาร์บอน ไดออกไซด์ ซึ่งพชื ก็นำมาใช้ในกระบวนการสังเคราะห์ ดว้ ยแสงอกี ในระบบนิเวศ จึง
มีการหมนุ เวียนคารบ์ อนตลอดเวลา

25

วชิ าภาษาไทย
การฟัง
ความหมายของการฟัง

การฟัง หมายถึง การรับรู้ การเข้าใจ จับประเด็นและแปลความหมายจากเสียงที่เป็นคำพูด สัญญาณ
ต่างๆ ทีม่ นษุ ยใ์ ชใ้ นการสือ่ สารไดถ้ ูกต้อง

จดุ ม่งุ หมายของการฟัง
๑. การฟังเพ่ือจับใจความสำคัญ เป็นการฟังเพ่ือจับประเด็นสาระสำคัญของสารที่ได้ยิน ว่ามีอะไรบ้าง
การฟังเพื่อจับใจความสำคัญต้องใช้ความตั้งใจและสมาธิ คิดพิจารณาเร่ืองที่ได้ฟังตลอดระยะเวลาของการฟัง เช่น
การฟงั คำวนิ ิจฉยั โรค การฟงั คำแนะนำของแพทย์ การฟังคำสัง่ ของผ้บู ังคับบญั ชา เป็นต้น

๒. การฟังเพื่อจับใจความรายละเอียด เป็นการฟังเพ่ือประมวลสาระสำคัญของรายละเอียดในส่วน
ใจความสำคญั ว่ามีอะไรบ้าง เพือ่ นำสาระส่วนรายละเอยี ดไปปฏิบตั ิได้อยา่ งถูกตอ้ ง การฟังเพื่อ จบั ใจความโดย
ละเอียด ต้องอาศัยความเข้าใจและสมาธิ ความคิดคล้อยตามไปด้วยในขณะที่ฟัง เช่น การฟังการประชุมเพ่ือแก้ไข
ข้อกำหนด หรือ การกำหนดหลักเกณฑ์ต่างๆ การฟังสาธิตที่มีสิ่งประดิษฐ์ท่ีมีหลายข้ันตอน การฟังการปฏิบัติการ
ผ่าตดั ทางการแพทย์ เปน็ ต้น

๓. การฟังเพื่อหาเหตุผลมาโต้แย้งหรือคล้อยตาม เป็นการฟงั ที่มีผ้มู ีความรู้ ในเร่ืองที่ได้ฟังอยา่ งลกึ ซึ้งเป็น
อย่างดี สามารถอธิบายถึงข้อดี ข้อเสีย ทั้งในด้านบวกและด้านลบ สามารถแนะนำข้อควรปฏิบัติได้เป็นอย่างดีอีก
ดว้ ย เช่น การพิจารณาหลักเกณฑ์และเงอ่ื นไขการกำหนดขั้นเงินเดือน การปรับเปลยี่ นหลักสูตรการเรียนการสอน
การกำหนดระเบียบข้อบังคับของเจ้าหน้าที่และพนกั งานในองค์กร ฯลฯ

๔. การฟังเพื่อให้เกิดความซาบซ้ึง เป็นการฟังเพ่ือความเพลิดเพลิน และความจรรโลงใจผู้ฟังไม่
จำเป็นต้องใช้สมาธิและความต้ังใจมากนักเพียงแต่ปล่อยอารมณ์ให้คล้อยตามเร่ืองที่ฟังได้ เช่น การบรรยายความ
งามของธรรมชาติ ปา่ เขา แมน่ ้ำ ลำธาร ภาพจติ รกรรม ภาพถ่าย บทรอ้ ยกรองของกวี เปน็ ต้น

๕. การฟงั เพ่ือสง่ เสริมจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ เป็นการฟงั เพ่ือนำสารทไ่ี ด้ยนิ ไปสร้างความคิด
ริเรม่ิ สร้างสรรคใ์ นสงิ่ ท่ีผู้ฟังได้วางแผนไวอ้ ยู่แล้วอาจจะอยู่ในรูปของงานประพนั ธ์ บทรอ้ ยกรอง ภาพจิตรกรรม การ
ออกแบบเคร่ืองแต่งกายของตัวละครในประวัติศาสตร์และวรรณคดี การออกแบบก่อสร้าง ตกแต่งอาคารสถานที่
ปราสาทราชวัง หรอื อนื่ ๆ เป็นต้น

ความสำคญั ของการฟงั
๑. การฟังทำให้ได้รับความรู้ การฟังมีความสำคัญในชีวิตประจำวันในทักษะท้ังส่ี คือ การฟัง การพูด
การอ่าน และการเขียน ทักษะในการฟังเป็นทักษะที่ใช้มากท่ีสุด การฟังทำให้ผู้ฟังได้รับความรู้เพิ่มมากขึ้น เช่น
การฟังการบรรยายในชั้นเรียน การฟงั ข่าวสารประจำวนั ทำให้ได้รับความรู้ทันเหตกุ ารณ์ การฟังอาจจะฟังจากผสู้ ่ง
สารโดยตรง หรือ ฟังผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น วิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ วีดิทัศน์ ซีดี-รอม ฯลฯ
๒. การฟังทำให้เกิดความคิดกว้างไกล การสร้างนิสัยการฟังท่ีดี ทำให้เกิดความคิดไปในด้านต่างๆ
สามารถแก้ปัญหา สร้างงาน วิเคราะห์ พิจารณาเร่ือต่างๆที่เกิดข้ึนได้อย่างมีเหตุมีผล เข้าใจเรื่องราวท่ีเกิดขึ้นรอบ
ข้าง และเหตกุ ารณ์ทีเ่ กิดข้ึนรอบโลก เขา้ ใจปัญหาสังคม สามารถปรับตัวให้เข้าไดก้ ับทุกสถานการณ์ และชว่ ยทำให้
เกิดความร่วมมอื ร่วมใจในการทำกิจกรรมต่างๆ อนั เปน็ ประโยชน์แกส่ ังคมและประเทศชาตไิ ด้

26

๓. การฟังทำใหเ้ กิดการพัฒนาตนเอง การฟงั เรอื่ งราวตา่ งๆทำให้ได้รับความรู้มากมาย ผู้ฟังสามารถนำมา
ปรับปรุงและพฒั นาการดำเนินชีวติ ประจำวนั ทั้งในครอบครวั การทำงานรว่ มกบั ผอู้ ื่น รู้จกั แยกแยะสง่ิ ที่ควรกระทำ
และไม่ควรกระทำ รจู้ ักแก้ไขส่ิงท่บี กพร่อง ทำให้เกิดความมัน่ ใจในตนเอง นอกจากนน้ั ยังนำความรู้ ความก้าวหน้า
ทางวทิ ยาการทไี่ ดร้ ับฟังอยู่เป็นประจำมาใช้พัฒนางานในหนา้ ที่ได้อีกดว้ ย

๔. การฟังทำให้เกิดความจรรโลงใจ และซาบซึ้ง การฟังบทร้อยกรอง สุนทรพจน์ คำสอนของ
นักปราชญ์ ผู้นำทางศาสนา การฟังบทเพลง ดนตรีที่มีความหมายลึกซ้ึงกินใจ ทำให้จิตใจสดชื่นแจ่มใส มีชีวิตชีวา
เป็นการรักษาสุขภาพจิตและสุขภาพกาย ให้แข็งแรง มีอายุยืนยาว นอกจากนั้นยังทำให้ผู้ที่อยู่รอบข้างได้รับ
ความสขุ ดว้ ย

๕. การฟังเป็นการสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างกัน การฟงั ในครอบครัวมคี วามสำคัญในระดับแรก ที่ทำ
ให้ครอบครัวมีความสุข ความอบอุ่นการฟังในสังคม ทำให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหว่างผู้บังคับบัญชา เพื่อน
ร่วมงานและผู้ใต้บังคับบัญชา การฟังในระดับ ผู้นำระดับประเทศที่มีการติดต่อสื่อสารเพื่อแลกเปล่ียนข้อคิดเห็น
ข้อปฏิบัติตามกฎ ระเบียบ เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เป็นการลดความขัดแย้งและข้อพิพาท ซ่ึงได้แก่ การ
ล่วงล้ำเขตแดน การทดลองอาวุธท่ีมีอานุภาพร้ายแรงอันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่มนุษย์โลก นอกจากน้ันยัง
กอ่ ใหเ้ กดิ สนธสิ ัญญาความรว่ มมอื ชว่ ยเหลอื ระหว่างประเทศทั่วโลกอีกดว้ ย

ประโยชน์ของการฟงั
๑. การฟังช่วยให้การพูดสมบูรณ์ องค์ประกอบของการพูดที่สำคัญ ได้แก่ ผู้ส่งสาร ตัวสาร สื่อ และจะ
สมบูรณ์ไม่ได้ถ้าหากการพูดนั้นไม่มีผู้ฟัง การฟังที่ดีจะช่วยให้การสื่อสารสัมฤทธ์ิผล และเกิดการตอบสนองได้อย่าง
ถูกตอ้ ง

๒. การฟังทำให้ได้รับความรู้ ความคิด ทัศนคติ การฟังทำให้ได้รบั รเู้ รื่องราวที่แปลกใหม่ของบุคคลท่ีเรา
สนทนารวมท้ังเร่ืองราวต่างๆอีกมากมายที่ยังไม่เคยได้ยินมาก่อน และสามารถนำไปใช้ประยุกต์กับชีวิตประจำวัน
การทำงาน และนำไปขยายผลต่อได้

๓. การฟังทำให้ไดร้ ับความเพลิดเพลนิ การเลือกฟงั ส่ิงที่เป็นประโยชนท์ ำให้มคี วามคิดรเิ ร่ิมสร้างสรรค์ส่ิง
ใหมๆ่ รวมท้ังกอ่ ให้เกิดความสนุกสนานอกี ดว้ ย

๔. การฟังช่วยให้เปลี่ยนทัศนคติ และช่วยยกระดับจิตใจให้สูงขึ้น การฟังมากทำให้ผู้ฟังมองโลกได้กว้าง
ข้ึน ยอมรับความเป็นจริง ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น นอกจากนั้นการฟังคำส่ังสอน คำพูดที่เป็นคติสอนใจ
คำพูดท่ีดีงาม คำพูดท่ีเป็นคติเตือนใจ จะช่วยปลอบประโลมใจ สร้างกำลังใจ และช่วยยกระดับจิตใจให้สูงขึ้นด้วย

๕. การฟังทำให้เกิดวิจารณญาณ การฟังด้วยปัญญาทำให้สามารถรับรู้เรื่องราวได้อย่างละเอียดถูกต้อง
และลึกซึ้งรู้จักแยกเหตุแยกผลได้ สามารถตัดสินเรื่องท่ีได้ฟังว่าเป็นไปได้หรือเป็นไปไม่ได้เพราะอะไร และถ้าหาก
ควรเชื่อหรอื ไม่ควรเชอ่ื เพราะอะไร

๖. การฟังทำให้เกิดปฏิภาณไหวพริบ การฟังมากและฟังด้วยความต้ังใจ รู้จักสังเกตและวเิ คราะห์ ทำให้
สามารถอ่านความรู้สึกนึกคิด และรู้เท่าทันในการกระทำของผู้อื่น รู้จักการวิเคราะห์พฤติกรรม จะช่วยให้การ
ดำเนินชวี ติ เก่ียวกับเรอื่ งการตดั สนิ ใจไมผ่ ิดพลาด

27

ประเภทของการฟัง
๑. การฟังโยมีส่วนรว่ มในกระบวนการสือ่ สาร เปน็ การฟังการส่ือสารระหวา่ งบุคคล เปน็ การฟังข้ันพื้นฐาน
ในการดำรงชีวิตประจำวัน เช่น การทักทาย การปฏิสันถาร การปรึกษาหารือ การสนทนา หรือ เป็นการฟังการ
ส่ือสารระหว่างกลุ่ม ซ่ึงได้แก่การประชุม การอภิปราย การสัมมนา เพ่ือปรึกษาหารือหรือข้อเสนอแนะเพื่อแก้ไข
ปัญหาตา่ งๆ และผ้ฟู งั มสี ่วนร่วมในการส่ือสารตลอดเวลา

๒. การฟงั โดยไม่มสี ่วนร่วมในกระบวนสอ่ื สาร เป็นการฟังทผ่ี ู้ฟังไมม่ ีส่วนรว่ มในกระบวนการสื่อสาร เช่น
การฟังการกล่าวเปิดงาน การกล่าวรายงาน การกล่าวคำปราศรัย คำอวยพร สุนทรพจน์การกล่าวสดุดี การ
บรรยายสรปุ เปน็ ต้น

๓. การฟังโดยผา่ นสอ่ื อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เป็นการฟงั โดยผา่ นสอ่ื อเิ ล็กทรอนิกส์ เช่น การฟังการฟงั รายการ
การกระจายเสยี งของสถานีวิทยุ การฟังและชมรายการจากวิทยุ โทรทัศน์ การฟังจากแถบบนั ทกึ เสยี ง การฟังและ
ชมจากวีดีทัศน์ การฟงั จากซีดี-รอม การชมภาพยนตร์ การชมถ่ายทอด

การอ่าน
การอา่ นทดี่ ีนนั้ เกิดจากทักษะการฝกึ ฝนและการเรียนรู้ การอ่านเปน็ การสอื่ สารระหว่าง ผสู้ ่งสารดว้ ยการเขยี น
กับผู้อ่าน โดยอาศยั ตัวหนังสือเปน็ สื่อ ผูอ้ า่ นจงึ เกิดความรู้ ความคดิ และประสบการณ์ สามารถนำความรู้ความคิด
และประสบการณเ์ หลา่ นั้นไปใชใ้ นชวี ิตประจำวนั ได้ แต่ผลจากการอ่านที่ผู้อา่ นไดร้ ับน้ันย่อมได้รับผลแตกตา่ งกัน
เพราะฉะน้ันการมีความรเู้ กีย่ วกับการอ่านจะช่วยให้เกิดประโยชนต์ ่อผ้อู ่านได้
ความหมายของการอ่าน
การอ่านคือการรับร้คู วามหมายจากถ้อยคำทีต่ ีพมิ พจ์ ากสงิ่ พิมพ์ชนดิ ต่าง ๆ เพื่อรับร้วู ่าผู้เรยี นคดิ อะไรและพูด
อะไร โดยท่ีผอู้ า่ นต้องเริ่มทำความเขา้ ใจวลี ประโยค ซง่ึ รวมอยูใ่ นยอ่ หน้า แต่ละย่อหนา้ แลว้ รวมเปน็ เร่ืองเดียวกัน
สพุ รรณี วราทร กล่าวสรปุ ความหมายของการอ่านว่า การอ่านเปรียบเหมือนการถอดรหสั อันเป็นผลจากการ
เห็นสญั ลกั ษณ์หรือข้อความ การอ่าน เน้นกระบวนการทางสมองทีซ่ ับซอ้ ซ่ึงการอา่ นนน้ั เกี่ยวข้องกบั พฤตกิ รรม 3
ลักษณะ คือ
1. การรบั รู้ ไดแ้ กก่ ารรับรูค้ ำ คอื แปลสัญลกั ษณ์ทเี่ นน้ ลายลกั ษณ์อักษรได้
2. การมคี วามเข้าใจ มี 3 นยั คือ

2.1 การประสานความหมาย คือการกำหนดความหมายให้สญั ลกั ษณท์ ี่เปน็ ลายลกั ษณ์อักษร
2.2 ความเข้าใจทางภาษา หมายถึง เข้าใจข้อความท่อี า่ นซงึ่ ต้องอาศัยทักษะการอ่านบางประการ
2.3 การตีความ เป็นการประมวลความคิดจากเนื้อหาตา่ ง ๆ ในข้อเขยี น รบั ความเขา้ ใจโดยเชอื่ มโยงจาก
สงิ่ ทอี่ า่ นทั้งหมด ทำใหเ้ กิดความเขา้ ใจในสารทน่ี ำเสนอ
3. การมปี ฏกิ ริยาตอ่ สงิ่ ท่อี ่าน เปน็ เรื่องของการประเมนิ ผลซงึ่ หมายถงึ การพจิ ารณา วิเคราะห์ เพ่ือหา
ขอ้ เทจ็ จรงิ จากการอ่าน

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน ให้ความหมายของการอา่ นวา่ “การอ่านตามตัวหนงั สอื การออกเสียง
ตามตวั หนังสอื การดูหรือเข้าใจความจากตวั หนงั สือ : สงั เกต หรือพิจารณาดู เพื่อให้เข้าใจ : คดิ นบั (ไทยเดมิ )”

จากคำจำกดั ความขา้ งต้นนี้ การอา่ นในทน่ี จ้ี งึ หมายถึงการอ่านในใจและการอ่านออกเสียง สมบตั ิ จำปาเงนิ
ให้ความหมายของการอา่ นวา่ เปน็ การเก็บรวบรวมความคิดท่ปี รากฏอยู่ในหนังสอื ท่ีอา่ น และสรปุ วา่ การอ่านทจ่ี ะ
ได้ผลตอ้ งพจิ ารณาจากพฤติกรรมพื้นฐาน 3 ดา้ น คือการแปลความตีความและการขยายคาม

28

การแปลความ คือ การเข้าใจเร่ืองราวอยา่ งตรงไปตรงมา
การตีความ คือ การเขา้ ใจเรอ่ื งราวอยา่ งลกึ ซงึ้ และอาจแยกแยะไปได้อกี หลายแงม่ ุม
การขยายความ คอื การนำเสนอความรคู้ วามเข้าใจท่ีถกู ต้องในรูปของการอธบิ ายเพ่มิ เตมิ

สรปุ การอ่าน หมายถึง การเก็บรวบรวมความคิดทป่ี รากฏในหนังสือท่ีอ่าน ซ่งึ ในการอา่ นผู้อ่านมี
พฤติกรรมในการรับรู้ การแปลความ ความเข้าใจความหมายจากการตีความ โดยตอ้ งอาศัย การขยายความ
ประกอบด้วย

ลกั ษณะของนักอา่ นท่ีดี
การเป็นนักอ่านทีด่ นี นั้ ยอ่ มให้ประโยชนแ์ กบ่ คุ คลน้ันๆอยา่ งสูงสดุ ซ่ึงกอ่ นท่ีจะเปน็ นักอา่ นที่ดีได้ ผู้อ่านควร

มีความรู้เกยี่ วกับการอา่ นเบื้องตน้ ว่าตอ้ งมีความสามารถทางภาษา รู้คำ ร้จู ัก ส่วนต่าง ๆ ของหนังสือ ร้วู า่ หนังสือ
ประเภทใดควรใชก้ ารอ่านอย่างไร รู้จักเลอื กหนงั สืออ่าน และรูแ้ หล่งของหนังสอื อีกดว้ ย การมคี วามรูเ้ รื่องเหล่าน้ี
จะชว่ ยพฒั นาใหเ้ ป็นนกั อ่านท่ีดไี ด้ ซึง่ นกั อา่ นที่ดีน้นั สมบัติ จำปาเงนิ และสำเนียง มณกี าญจน์ (2545 ,
หน้า 6-7) ไดก้ ลา่ วไวด้ ังนี้

1. มคี วามตัง้ ใจ หรือมีสมาธิแนว่ แน่ในการอ่าน
2. มคี วามอดทน หมายถงึ สามารถอ่านหนังสอื ไดใ้ นระยะเวลานานโดยไม่เบอื่
3. อ่านได้เรว็ และเขา้ ใจความหมายของคำ
4. มคี วามรพู้ น้ื ฐานพอสมควร ทงั้ ดา้ นความรูท้ ่ัวไป ถ้อยคำ สำนวนโวหาร ฯลฯ
5. มีนิสยั จดบันทึก รวบรวมความรู้ความคิดท่ีได้จากการอ่าน
6. มคี วามจำดี คือ จำข้อมลู ของเร่ืองได้
7. มีความรู้เร่ืองการหาข้อมูลจากห้องสมดุ เพราะจะชว่ ยประหยัดเวลาในการหาขอ้ มลู
8. ชอบสนทนากับผู้มคี วามรู้และนกั อา่ นดว้ ยกนั
9. หมน่ั ทบทวน ติดตามความรู้ที่ตอ้ งการทราบหรอื ข้อมูลท่ีเปล่ยี นแปลงตลอดเวลา
10. มีวิจารณญาณในการอา่ น คือ แยกเนือ้ หาขอ้ เท็จจริง เพื่อกันสิ่งที่เปน็ ประโยชนไ์ วใ้ ช้ตอ่ ไปใน
อนาคต

ความมุ่งหมายในการอา่ น
การรูค้ วามมุ่งหมายในการอ่าน เป็นองคป์ ระกอบหนึ่งของทักษะการอ่านเร็ว และการอา่ นเพื่อได้รับ

ประโยชน์อย่างเต็มท่ี การทผี่ ู้อ่านรวู้ ่าอ่านเพ่ืออะไร จะทำให้สามารถเลือกสื่อการอา่ นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม
และทำให้การอ่านมสี มาธิ โดยท่ัวไปการอา่ นมีความมุง่ หมายดังน้ี

1. อ่านเพือ่ ความรู้ เนน้ การอา่ นเร่ืองราวตา่ ง ๆ ท่ีตอ้ งการใหเ้ กิดความรู้ ซ่ึงการอ่านเพื่อความรนู้ ้ีมี
หลายลกั ษณะ เชน่

29

1.1 อา่ นเพื่อหาคำตอบ เช่น อ่านกฎ ระเบียบ คำแนะนำ ตำรา หนงั สืออ้างองิ ฯลฯ
1.2 อ่านเพ่อื รู้ข่าวสารและข้อมูล เช่น การอา่ นหนังสอื พิมพ์ นติ ยสาร วารสาร เอกสารโฆษณา และ
ประชาสมั พนั ธ์
1.3 อ่านเพื่อประมวลสาร ได้แก่ อ่านเอกสาร วารสาร หนงั สอื อ่ืน ๆ เพื่อสง่ิ ทตี่ อ้ งการรแู้ ละนำมา
ประมวลสารเขา้ ด้วยกัน
การอ่านเพ่ือความรู้มปี ระโยชนม์ าก เพราะนอกจากจะสนองตอบความต้องการด้านต่างๆ แล้วยังทำให้
ผอู้ า่ นเกดิ ความรูแ้ ละความม่นั ใจอันมผี ลตอ่ บุคลกิ ภาพ ในบางคร้งั สารท่ีอ่านยงั ให้ประโยชนใ์ นการประกอบอาชีพ
อกี ด้วย
2. อ่านเพอ่ื ศึกษา เป็นการอ่านอย่างจรงิ จัง เชน่ การอา่ นตำรา และหนังสือวชิ าการตา่ ง ๆ
3. อา่ นเพ่ือความคิดเปน็ การอ่านเพื่อให้เข้าใจสาระของเนอ้ื เรื่องเป็นแนวทางในการริเริม่ ส่ิงต่าง ๆ ซึ่ง
เปน็ ความคดิ อนั ได้ประโยชนจ์ ากการอา่ น
4. อ่านเพื่อวิเคราะหว์ จิ ารณ์ เป็นการอ่านเพ่ือความรูอ้ ยา่ งลึกซึง้ ทำให้สามารถแสดงความคดิ เห็นจาก
เรื่องที่อ่านได้ เชน่ การอ่านบทความ ขา่ ว เปน็ ต้น
5. อ่านเพ่อื ความเพลดิ เพลนิ เป็นการอ่านเพื่อเปล่ียนแปลงกจิ กรรม เป็นการผ่อนคลาย เพ่ือให้เกิด
ความร่ืนรมย์ การอา่ นชนิดนไ้ี มไ่ ด้จำกัดว่าอา่ นเอกสารชนดิ ใด ขน้ึ อยู่กบั ความพอใจของผู้อา่ นเป็นสำคญั บางคน
อาจชอบอา่ นหนงั สือธรรมะเพื่อความเพลิดเพลิน บางคนอาจชอบอา่ นเร่ืองสน้ั นวนยิ ายก็ได้
6. อา่ นเพอื่ ใช้เวลาอยา่ งสร้างสรรค์ หมายถงึ การอา่ นท่ีไมไ่ ด้มงุ่ หวังส่ิงหนงึ่ สิ่งใดโดยเฉพาะ เป็นการ
อ่านเม่ือมีเวลาวา่ งขณะรอคอยกิจกรรมอ่ืน ๆ เชน่ การนงั่ คอยบคุ คลทีไ่ ปพบ อาจอ่านหนังสือพิมพห์ รือสารคดี
อืน่ ใดก็ได้ การอ่านชนดิ นส้ี ามารถหยุดอ่านได้ทันทีโดยไม่ทำลายความต่อเนื่องหรือสมาธใิ นการอ่าน

องคป์ ระกอบของการอ่าน
การอ่านเป็นกระบวนการทีส่ ำคัญและมีความซบั ซ้อน โดยมอี งค์ประกอบหลายชนดิ ท่ชี ว่ ยใหก้ ารอา่ น

เป็นไปอย่างมปี ระสิทธภิ าพ ดังต่อไปนีค้ ือ
1. การเข้าใจความหมายของคำผู้อ่านต้องมคี วามเข้าใจในความหมายทีถ่ ูกต้องของคำศัพท์ ทุกคำ
2. การเข้าใจความหมายของกลุ่มคำ ความหมายของกล่มุ คำน้ันจะช่วยทำใหผ้ ู้อา่ นเขา้ ใจความหมาย

ของเน้ือความอยา่ งตอ่ เนื่อง
3. การเขา้ ใจประโยค หมายถงึ การนำความหมายของกลุม่ คำแต่ละกลุ่มมาสมั พันธ์กัน จนไดค้ วามหมาย

เปน็ ประโยค
4. การเข้าใจยอ่ หน้า ผู้อ่านตอ้ งเขา้ ใจข้อความในแต่ละย่อหนา้ และสามารถมองเห็นความสัมพันธ์ของ

ย่อหนา้ ทกุ ย่อหน้าอันจะทำให้เขา้ ใจความสำคญั ของเรื่องได้ท้ังหมด

30

เม่อื ทราบเรอ่ื งองค์ประกอบของการอ่านแล้ว ผอู้ า่ นท่ีดีจะต้องพยายามศึกษาข้อมูลต่าง ๆ ให้ชดั เจน ตามองคป์ ระกอบนน้ั
ๆ การอา่ นจงึ จะเกิดประสทิ ธิภาพตามท่ีต้องการ ความสำเร็จของการอ่านประกอบดว้ ยปจั จยั ต่อไปน้ี

1) ความร้เู ก่ยี วกับระบบการเขียน รจู้ กั ย่อหน้า ขอ้ ความทเี่ น้นด้วยการขดี เสน้ หรอื พิมพ์อักษรทบึ
การวรรคตอน ประโยคใจความสำคัญ ประโยคขยาย

2) ความร้เู กยี่ วกับการใชภ้ าษา ในการใช้คำ โวหาร ภาพพจน์ สภุ าษติ
3) ความสามารถในการตีความ หมายถงึ ความเขา้ ใจเน้ือหา เขา้ ใจความสมั พนั ธ์ระหวา่ งประโยค
และติดตามความคิดของผู้เขียนได้
4) ความรู้รอบตัวของผอู้ า่ น ผู้อ่านทม่ี ีความรู้รอบตวั มาก ๆ อาจเกิดจากประสบการณ์ต่างๆ หาก
สัมพนั ธก์ บั เร่ืองที่อ่านแล้ว จะทำใหเ้ ขา้ ใจไดด้ ียง่ิ ขน้ึ
5) เหตผุ ลในการอ่าน ผ้อู า่ นทดี่ ีตอ้ งรเู้ หตุผลในการอา่ นว่าจะอ่านไปทำไมเพอื่ จะได้เลือกวิธีการ
อ่านได้อยา่ งเหมาะสม
เมอื่ ร้อู งคป์ ระกอบของการอ่านข้างตน้ แล้ว ผู้อ่านทมี่ ีความรเู้ ร่ืองพน้ื ฐานในการอ่านจะรูส้ ึกได้วา่ การ
อ่านมีคุณค่าตอ่ ชีวิตอย่างมากมาย ซึ่งสามารถนำมาสรุปได้ดังต่อไปน้ี
1) การอ่านทำใหเ้ กดิ ความพอใจ เชน่ การอา่ นเพ่อื การพักผ่อนหย่อนใจ
2) การอา่ นช่วยสนองความต้องการเรื่องราวต่าง ๆ ของตนได้อยา่ งกว้างขวาง เชน่ การอา่ นเพื่อฆา่
เวลา และยงั ทำใหใ้ ชเ้ วลาว่างได้อยา่ งมปี ระโยชน์
3) การอา่ นทำให้เกิดความคิดสรา้ งสรรค์
4) การอา่ นทำใหร้ ้ทู นั ความคิดของผู้อน่ื ทนั โลก และสามารถดำรงชีวติ ได้อย่างมีคุณภาพ
5) การอ่านชว่ ยพัฒนาคุณภาพชวี ติ เช่น การอ่าน เพ่ือการศกึ ษาเล่าเรียน
6) การอ่านสามารถเสรมิ สรา้ งบคุ ลกิ ภาพของบุคคลได้

31

ความรู้พนื้ ฐานของการเขยี น

ความหมายของการเขียน
การให้คำจำกดั ความแสดงความหมายของการเขียนน้ันอาจมคี วามแตกตา่ งไปได้หลายทางท้ังนี้ขึ้นอยู่กบั ทัศนะและ

เจตนาตามแง่มมุ ของวตั ถุประสงค์และความสำคัญในการเขียนทีแ่ ตกตา่ งกันออกไปของแต่ละบุคคล ดงั ตวั อย่างที่ยกมาตอ่ ไปนี้

“การเขยี น คือ วิธกี ารส่อื ความหมายท่ีเป็นผลผลิตทางความคิด จากความรู้ของผสู้ ง่ สาร แสดงออกมาทางลายลกั ษณ์
อกั ษรภาษาไทย” (ประภาศรี สีหอาไพ, 2527)

“การเขยี น เปน็ ผลผลิตของกระบวนการคดิ การอา่ น การฟัง เชน่ เดียวกับการพดู ฉะนัน้ ผู้ที่จะเขียนได้ดยี ่อมต้อง
รู้จกั คิด มีวจิ ารณญาณในการอา่ นและการฟงั ” (อวยพร พานิช, 2543)

“การเขยี น เปน็ กระบวนการใชภ้ าษาในภาคแสดงออก ซ่งึ ต้องสง่ั สมความรู้และความคดิ นามาเรยี บเรียงเปน็ เรอื่ งราว
ใหผ้ ้อู ่ืนเขา้ ใจได้ เปน็ ทักษะข้ันสดุ ท้ายที่ยากและซับซ้อนที่สุดในกระบวนการสื่อสารทางภาษา” (รังสรรค์ จันต๊ะ, 2441)

จากนิยามของผ้เู ขียน 3 ท่าน ขา้ งต้นนี้ แสดงให้เหน็ ถงึ ความเก่ยี วข้องของทักษะการเขียนในฐานะเปน็ ส่วนหน่งึ ของ
กระบวนการส่ือสารทางภาษาเป็นผลผลติ ทเี่ ปน็ ลายลักษณ์อักษร จากกระบวนการคิด การอ่านและการฟัง ซง่ึ มีความยากและ
ซบั ซ้อน

สำหรับนิยามความหมายของ การเขียน ท่ีใหค้ วามหมายครอบคลมุ คอ่ นขา้ งชัดเจนน้ัน กองเทพ เคลือบพณิชกุล ได้
ประมวลจากนิยามซึง่ ผ้รู ้หู ลายทา่ นไดเ้ ขียนไว้ก่อนแลว้ ความว่า

“การเขยี น คอื ทักษะการใช้ภาษาชนิดหน่งึ เปน็ การถ่ายทอดความรู้ ความคิด จินตนาการ ประสบการณต์ ่าง ๆ
รวมทั้งอารมณแ์ ละความร้สู ึกกับขา่ วสาร เปน็ การส่ือสารหรอื สอื่ ความหมายโดยมตี วั หนังสือตลอดจนเครอ่ื งหมายตา่ ง ๆ เปน็
สญั ลักษณแ์ ทนถ้อยคาในภาษาพดู เพื่อให้ผู้อา่ นเขา้ ใจไดต้ ามความม่งุ หมายของผเู้ ขยี น การเขยี นจงึ เป็นทักษะทมี่ หี ลักฐานถาวร
ปรากฏอยู่นาน และการเขียนจะเกดิ ผลดีหรือผลเสียนั้น ขึ้นอยูก่ ับคณุ ภาพของเนื้อหาและกลวธิ กี ารเขียนของผู้เขยี น” (กองเทพ
เคลือบพณชิ กุล, 2542)

ความสำคัญของการเขียน
ทกั ษะการเขียนเปน็ ทกั ษะการสื่อสารทม่ี บี ทบาทเพอ่ื การสง่ สารเป็นหลัก มีความเกย่ี วข้องกับกระบวนการเรียนรู้

โดยทัว่ ไป ตงั้ แตร่ ะดับประถมศึกษา มธั ยมศกึ ษา จนถึงระดับอดุ มศึกษา นักเรยี น นกั ศึกษาจะต้องได้รบั การพฒั นา
ความสามารถทางด้านการเขียนจนถงึ ข้นั ทเ่ี รียกได้วา่ มีทักษะในการเขยี น อยา่ งจริงจัง สม่ำเสมอและต่อเน่อื ง

กระบวนการเรียนการสอนผูเ้ รยี นจะไดร้ บั มอบหมายงานอนั เป็นส่วนหน่งึ ของกิจกรรมการเรยี นการสอน
จากอาจารยผ์ ู้สอนในแต่ละรายวชิ า ซึ่งลว้ นตอ้ งใชค้ วามรคู้ วามสามารถในทางการเขียนมากมาย อาทิ การเขียน
ตอบคำถามตา่ ง ๆ ทา้ ยคาบเรียนหรือเปน็ การบา้ น การเขยี นตอบแบบทดสอบอตั นัย การเขียนเรียงความ

32

การเขียนบทความ บันทึกการเรยี นรู้ ย่อความ สรปุ ความ ขยายความ งานเขียนประเภทอน่ื ๆ ตามลักษณะเฉพาะ
ของแต่ละสาขาวิชา รวมท้ังท่ีขาดไม่ได้ คือ การเขยี นรายงานการศกึ ษาคน้ คว้าทางวิชาการซง่ึ เปน็ งานประจำภาค
เรียนของแทบทุกรายวชิ าทเี่ รียกว่าภาคนพิ นธ์ (Term Paper) เป็นต้น นอกจากน้แี ลว้ การเขียนยังใช้เปน็
แบบฝึกหดั แบบทดสอบ เพื่อการประเมินผลการเรียนรขู้ องผ้เู รยี น อกี ด้วย

ในอดีต การเขยี นเป็นการเรยี นวิธีการใช้ภาษาเขียนที่สละสลวย เพอ่ื ใช้ในการจูงใจผอู้ า่ น การเขียนจงึ
มุง่ เนน้ ทง่ี านเขยี นในด้านความถกู ต้องในการใช้ถ้อยคำภาษาและการเรียบเรียงเนื้อหาอย่างถกู ต้องละเมียดละไม
แตภ่ ายหลังมแี นวคิดใหมเ่ กย่ี วกับการเขียนเพม่ิ ขึ้นเชน่ แนวความคิดท่วี า่ การเขียนมิใช่เป็นเพียงการบันทกึ คำพูด
เปน็ ลายลักษณ์อกั ษรเทา่ น้ัน แต่เป็นการสะทอ้ นความคิดในเร่ืองตา่ ง ๆ ซ่งึ อยภู่ ายในของแตล่ ะบคุ คลแลว้ ถ่ายทอด
ออกมาเป็นลายลักษณ์อกั ษร แนวความคิดน้ีมุ่งเน้นท่จี ดุ มุ่งหมายของการเขียน ซ่งึ ไดแ้ ก่การสอ่ื ความคิดความเหน็
ของผ้เู ขยี นใหผ้ ู้อ่นื ทราบ และแนวความคดิ วา่ การเขยี นมิได้เป็นเพียงวธิ ีการส่ือสารเทา่ นัน้ แต่เปน็ กระบวนการที่
ตอ้ งใชค้ วามคดิ สตปิ ัญญา ทั้งในด้านการคดิ คน้ เร่ืองราวทจี่ ะนำมาเขยี นและการจดั รปู แบบการนำเสนองานเขยี น
นัน้ แนวความคิดเก่ียวกับการเขียนจึงเปลย่ี นไปเปน็ การมุง่ เน้นที่กระบวนการเขียน

การฝึกฝนให้เกิดพัฒนาการด้านการเขียนได้นัน้ นักศกึ ษาควรมีความรู้ ความเขา้ ใจตลอดจนความตระหนักถงึ ความรู้
ตา่ ง ๆ อันเป็นพ้ืนฐานสำคัญของการเขียนเสียก่อนเพราะจะทาให้การพัฒนาการเขยี นเป็นไปไดด้ ้วยดีมีประสิทธิภาพ

หลกั การใช้ภาษา

หลกั การใช้ภาษาไทย ธรรมชาติและกฎเกณฑข์ องภาษาไทย การใช้ภาษาให้ถูกต้องเหมาะสมกบั โอกาส
และบุคคล การแตง่ บทประพันธป์ ระเภทต่างๆ และอิทธิพลของภาษาตา่ งประเทศในภาษาไทย

ภาษาไทยเป็นภาษาทเี่ ก่าแก่ทส่ี ุดในประเทศเอเชียตะวนั ออกเฉียงใต้ มีรากฐานมาจากออสโตรไทย ซง่ึ มี
ความคล้ายคลึงกับภาษาจีน มีหลายคำทขี่ อยืมมาจากภาษาจนี

พอ่ ขนุ รามคำแหงได้ประดษิ ฐ์อักษรไทยขึน้ เมื่อปี พ.ศ. 1826 มี พยญั ชนะ 44 ตัว (21 เสยี ง), สระ
21 รูป (32 เสียง), วรรณยุกต์ 5 เสยี ง คือ เสยี ง สามญั เอก โท ตรี จัตวา ภาษาไทยดัดแปลงมาจาก บาลี
และ สนั สกฤต

33

คนไทยเปน็ ผู้ท่โี ชคดีทีม่ ีภาษาของตนเอง และมีอักษรไทย เปน็ ตัวอักษร ประจำชาติ อนั เปน็ มรดกลำ้ ค่าทบ่ี รรพ
บรุ ษุ ได้สรา้ งไว้ ซง่ึ เป็นเครื่องแสดงวา่ ไทยเราเปน็ ชาติท่ีมีวัฒนธรรมสูงส่งมาแตโ่ บราณกาลและยงั่ ยืนมาจนปจั จุบัน
คนไทยผู้เปน็ เจ้าของภาษา ควรภาคภูมิใจท่ีชาติไทยใช้ภาษาไทย เปน็ ภาษาประจำชาติมากวา่ 700 ปี และจะ
ย่ังยนื ตลอดไป ถ้าทุกคนตระหนกั ในความสำคัญของภาษาไทย

หากแต่ในปัจจุบันเทคโนโลยกี ารตดิ ต่อสื่อสารผ่านทางอินเตอร์เนต็ ได้เข้ามามบี ทบาทในชวี ิตประจำวัน
ของคนไทยอย่างมาก ความสะดวกรวดเร็วในการตดิ ตอ่ ส่ือสารกลายเป็นส่ิงท่ีสำคญั มากกว่าการใชภ้ าษาไทยซึ่งเป็น
เอกลักษณ์ของชาติให้ถกู ต้อง อกี ทั้งวัยรุ่นกลับมองว่าการใช้ภาษาท่ีผิดกลายเป็นเร่ืองของแฟช่ันทใี่ คร ๆ ก็ทำกันทำ
ให้เกิดภาษาใหมท่ ่ีเป็นทแ่ี พร่หลายบนโลกอนิ เตอร์เนต็ หรือเรยี กว่าภาษาแชท(Chat) ข้ึน และถ้าหากคนใน
สังคมไทยยังคงใชภ้ าษาไทย เขยี นภาษาไทยแบบผิดๆ และไม่คิดใส่ใจท่จี ะใชภ้ าษาไทยให้ถูกต้อง ต่อไปอาจทำให้
เกิดความเคยชนิ จนตดิ นำมาใช้สอื่ สารกนั ในชวี ติ ประจำวนั จนทำให้ภาษาไทยที่เป็นรากเหง้าของคนไทย ความ
ภาคภมู ใิ จในภาษาทบี่ รรพบรุ ุษคิดค้นขึ้นมา ภาษาทีม่ คี วามสวยงาม ก็คงต้องเลอื นหายไป และถูกแทนท่ดี ้วยภาษา
แปลกๆทผี่ ดุ ข้นึ มาบนโลกอินเตอรเ์ นต็ อย่างเช่นในปจั จบุ ัน

ดงั นน้ั คณะผูจ้ ัดทำจึงไดจ้ ัดทำเว็บไซต์ ทเ่ี ป็นแหลง่ รวบรวมข้อมูลการใชภ้ าษาไทยทถี่ กู ต้องในการส่ือสาร
เพ่อื ยำ้ เตือนและให้ความรู้ในการใช้ภาษาไทยทเี่ ป็นภาษาประจำชาติและเป็นความภาคภูมใิ จใหค้ งอยใู่ นสงั คมไทย
สืบไป

หลักการใช้ภาษาไทยเพ่อื การสอ่ื สารในอินเตอร์เน็ต
๑. ใชค้ ำใหถ้ กู ตอ้ งตรงตามความหมาย กลา่ วคือ กอ่ นนำคำไปเรียงเข้าประโยค ควรทราบความหมาย

ของคำคำนัน้ กอ่ น เชน่ คำว่า “ปอก” กับ “ปลอก” สองคำน้มี คี วามหมายไมเ่ หมือนกัน คำว่า “ปอก” เปน็ คำกรยิ า

34

แปลวา่ เอาเปลือกหรอื ส่ิงที่ห่อหมุ้ ออก แตค่ ำวา่ “ปลอก” เป็นคำนาม แปลวา่ สิ่งท่ีทำสำหรบั สวมหรอื รัดของต่างๆ
เปน็ ตน้ ลองพิจารณาตัวอยา่ งตอ่ ไปนี้ “วันน้ีได้พบกบั ท่านอธิการบดี ผมขอฉวยโอกาสอนั งดงามนเ้ี ลี้ยงต้อนรบั ทา่ น
นะครับ” (ทจี่ ริงแล้วควรใช้ ถือโอกาส เพราะฉวยโอกาสใช้ในความหมายที่ไม่ดี

๒. ใชค้ ำให้เหมาะสม เลอื กใช้คำใหเ้ หมาะสมกับกาลเทศะและเหมาะสมกบั บคุ คล เช่นโอกาสที่เปน็
ทางการ โอกาสที่เป็นกนั เอง หรอื โอกาสท่เี ป็นภาษาเขยี น เช่น “ข้าพเจ้าไมท่ ราบวา่ ทา่ นจะคิดยังไง” (คำว่า
“ยังไง” เปน็ ภาษาพูด ถา้ เป็นภาษาเขยี นควรใช้ “อยา่ งไร” “เมือ่ สมชายเห็นรปู ก็โกรธ กระฟัดกระเฟียด มาก (ควร
ใช้ โกรธปงึ ปัง เพราะกระฟัดกระเฟียดใช้กับผหู้ ญงิ )

๓. การใช้คำลักษณนาม ใช้คำท่ีบอกลักษณะของนามต่างๆ ให้ถกู ต้อง เชน่ ปากกา มลี กั ษณนามเป็น
ดา้ ม เลือ่ ย มีลักษณะนามเป็น ปื้น ฤๅษี มลี ักษณะนามเปน็ ตน เป็นต้น

๔. การเรียงลำดบั คำ เปน็ เรือ่ งที่สำคญั มากในภาษาไทย หากเรยี งผดิ ที่ความหมายก็จะเปล่ียนไปด้วย
ท้งั น้ี เพราะคำบางคำอาจมีความหมายไดห้ ลายความหมายซ่ึงขึ้นอยู่กับตำแหน่งทีจ่ ัดเรยี งไว้ในประโยค เชน่ แม่
เกลียดคนใชฉ้ นั ฉันเกลียดคนใชแ้ ม่ คนใชเ้ กลียดแม่ฉนั แม่คนใชเ้ กลยี ดฉนั ฉนั เกลยี ดแม่คนใช้ แมฉ่ ันเกลยี ดคนใช้
ข้อบกพร่องในการเรยี งลำดับคำมักปรากฏดังนี้ - เรียงลำดับคำผิดตำแหน่ง เช่น เขาไมท่ ราบส่ิงทดี่ งี ามน้นั ว่า คือ
อะไร (ควรเรยี งวา่ เขาไมท่ ราบ ว่า สงิ่ ท่ดี ีงามน้นั คืออะไร) - เรยี งลำดับคำขยายผิดท่ี เชน่ ขอขอบคุณมา ณ โอกาส
นด้ี ้วย เปน็ อย่างสูง (ควรเรียงวา่ ขอขอบคณุ เปน็ อยา่ งสูง มา ณ โอกาสนีด้ ว้ ย) - เรยี งลำดับคำไม่เหมาะสม เชน่ จง
ไปเลอื กตงั้ ลงคะแนนเสียง นายกสโมสรนกั ศกึ ษา (ควรเรียงว่า จงไปลงคะแนนเสียงเลอื กต้งั นายกสโมสรนักศึกษา)

๕. แต่งประโยคให้จบกระแสความ หมายถึงแต่งประโยคให้มีความสมบรู ณ์ครบถว้ นทั้งส่วนทเ่ี ปน็ ภาค
ประธานและภาคแสดง ซ่งึ ประโยคทจี่ บกระแสความนัน้ จะตอ้ งตอบคำถามวา่ ใคร ทำอะไร ไดช้ ดั เจน สาเหตุท่ที ำ
ใหป้ ระโยคไมจ่ บกระแสความอาจเกดิ จากขาดคำบางคำหรือขาดส่วนประกอบของประโยคบางสว่ นไป เช่น เมือ่
ตอนยงั เด็กเขาชอบนอนหนนุ ตักแม่ บดั นีเ้ ขาอายุยส่ี ิบกว่าแลว้ (ควรแก้เป็น เม่ือตอนยังเด็กเขาชอบนอนหนนุ ตักแม่
บัดนี้เขาอายุยี่สิบกว่าแล้วก็ยังชอบอยู่เหมือนเดิม)

๖. ใชภ้ าษาให้ชัดเจน ใช้ภาษาท่ใี ห้ความหมายเพียงความหมายเดยี ว เปน็ ความหมายท่ีไม่สามารถจะ
แปลความเป็นอย่างอน่ื ได้ เช่น “คุณแมไ่ มช่ อบคนใช้ฉนั ” อาจแปลได้ 2 ความหมายคือ คณุ แม่ไม่ชอบใครก็ตามท่ี
ใชใ้ ห้ฉันทำโนน่ ทำน่ี หรือคณุ แม่ไมช่ อบคนรับใช้ของฉัน ทง้ั นเ้ี พราะคำว่า “คนใช้” เป็นคำทม่ี ีหลายความหมาย
นั่นเอง

๗. ใชภ้ าษาใหส้ ละสลวย ใชภ้ าษาอยา่ งไพเราะราบรน่ื ฟังไม่ขัดหู และมคี วามกะทัดรดั
- ไม่ใชค้ ำฟุ่มเฟือย หมายถึง การใช้คำทไี่ ม่จำเป็น หรอื ใชค้ ำที่มคี วามหมายซำ้ ซ้อน เช่น “วันน้ี

อาจารย์ไมม่ าทำการสอน” คำว่า “ทำการ” เป็นคำท่ีไมจ่ ำเป็น เพราะแมจ้ ะคงไว้กไ็ มไ่ ด้ช่วยให้ความหมายชดั เจน
ขึ้นกวา่ เดิม หรือถ้าตัดท้งิ ความหมายก็ไม่ไดเ้ สยี ไป ดงั น้นั จึงควรแก้ไขเป็น “วนั นีอ้ าจารย์ไม่มาสอน”

- ใช้คำให้คงท่ี หมายถงึ ในประโยคเดยี วกนั หรือในเนื้อความเดียวกัน ควรใช้คำเดยี วกนั ใหต้ ลอด ดัง
ประโยคตอ่ ไปนี้ “หมอถือวา่ คนป่วยทกุ คนเป็นคนไข้ของหมอเหมือนกนั ” (ควรแกเ้ ป็น : หมอถือว่าคนไข้ทุกคนเป็น
คนไข้ของหมอเหมอื นกัน”

- ไมใ่ ช้สำนวนตา่ งประเทศ เชน่ “มนั เปน็ ความจำเปน็ อย่างย่ิงทีเ่ ขาตอ้ งจากไป” (ควรแก้เปน็ “เขา
จำเป็นอยา่ งยงิ่ ท่ีตอ้ งจากไป)

35

ขอ้ สงั เกตและจดจำในการเขยี นภาษาไทย
๑. หลกั การประวิสรรชนียใ์ นภาษาไทย - คำท่ีข้ึนตน้ ด้วยกระ/กะ ในภาษาไทยให้ประวิสรรชนีย์ เช่น
กระเชา้ กระเซา้ กระแส กระโปรง กระทรวง กระทะ กระพริบ กะปิ เป็นตน้
๒. คำทีเ่ ปน็ คำประสมที่คำหน้าก่อนเป็นเสยี งอะ ให้ประวสิ รรชนีย์ - เชน่ ตาวัน เป็น ตะวนั , ฉนั นั้น
เปน็ ฉะน้นั , ฉันนี้ เป็นฉะนี้, หมากม่วง เป็น มะมว่ ง, สาวใภ้ เป็น สะใภ้, วับวบั เป็น วะวบั , เรื่อยเร่อื ย เปน็
ระเรอื่ ย เป็นต้น
๓. คำที่ยมื มาจากภาษาบาลี สันสกฤต ตวั ทา้ ยทอ่ี อกเสียง อะ ต้องประวสิ รรชนยี ์

- เชน่ ศลิ ปะ มรณะ สาธารณะ วาระ เปน็ ตน้
๔. คำทพี่ ยัญชนะต้น ออกเสียงอะ แตไ่ ม่ใช่อักษรนำ ตอ้ งประวิสรรชณีย์

- เช่น ขะมกุ ขะมอม ขะมักเขม้น ทะเลอ่ ทะลา่ เปน็ ต้น

36

รายวิชา คณติ ศาสตร์
๑. ความสัมพนั ธข์ องระบบจำนวนจริง
โครงสรา้ งของจาํ นวนจรงิ

จาํ นวนจริง ( Real number ) ประกอบด้วยจาํ นวนตรรกยะและจํานวนอตรรกยะ
1. จํานวนตรรกยะ ( Rational number ) ประกอบด้วย จํานวนเต็ม ทศนยิ มซาํ้ และเศษสว่ น

1. จํานวนเต็ม ซึ่งแบง่ เปน็ 3 ชนดิ คอื
1.1 จํานวนเตม็ บวก(I+)หรอื จํานวนนับ (N)
∴ I+ = N = {1, 2, 3, …}
1.2 จํานวนเต็มศนู ย์ มจี าํ นวนเดยี ว คอื {0}
1.3 จาํ นวนเตม็ ลบ (I-)
∴ I- = {-1, -2, -3, …}
2. เศษสว่ น เชน่
3. ทศนยิ มซ้ํา เชน่ 0.6, 0.12, 0.532 เป็นตน้

2. จํานวนอตรรกยะ( irrational number ) คือ จาํ นวนท่ีไมใ่ ชจ่ ํานวนตรรกยะ เขียนไดใ้ นรปู ทศนิยมไมซํา้
เชน่

π มคี ่าเทา่ กบั 3.14159265…
0.1010010001… มคี ่าประมาณ 1.101

37

๒. สมบตั กิ ารบวก การลบ การคณู การหาร

สมบตั ขิ องจํานวนจริง คือ การนําจํานวนจริงใด ๆ มากระทําต่อกนั ในลักษณะ เช่น การบวก การลบ การคณู
การหาร หรือกระทําดว้ ยลกั ษณะพเิ ศษท่กี ําหนดขึน้ แล้วมผี ลลพั ธท์ ี่เกดิ ข้นึ ในลักษณะหรือทํานองเดยี วกัน สมบัติท่ใี ช้
ในการบวก การลบ การคูณ และการหาร มดี ังนี้

2.1 สมบัติการเทา่ กันของจํานวนจรงิ กาํ หนด a, b, c เปน็ จาํ นวนจริงใดๆ

2.2 สมบตั กิ ารบวกและการคณู ในระบบจาํ นวนจริง เมื่อกาํ หนดให้ a, b และ c เปน็ จํานวนจรงิ ใดๆ
2.2.1 สมบัตกิ ารบวก

2.2.2 สมบัติการคูณ

38

จากสมบตั ขิ องจํานวนจริงสามารถใช่พิสจู นท์ ฤษฎบี ทต่อไปน้ีได้
ทฤษฎบี ทท่ี 1 กฎการตดั ออกสาํ หรบั การบวก
เมื่อ a, b, c เปน็ จํานวนจริงใดๆ
ถ้า a + c = b + c แลว้ a = b
ถา้ a + b = a + c แลว้ b = c
ทฤษฎบี ทท่ี 2 กฎการตดั ออกสําหรับการคณู
เมือ่ a, b, c เปน็ จํานวนจรงิ ใดๆ
ถา้ ac = bc และ c ≠0 แลว้ a = b
ถา้ ab = ac และ a ≠0 แล้ว b = c

ทฤษฎีบทที่ 3 เม่ือ a เปน็ จาํ นวนจริงใดๆ
a·0=0
0·a=0

ทฤษฎีบทท่ี 4 เม่ือ a เป็นจํานวนจริงใดๆ
(-1)a = -a
a(-1) = -a

ทฤษฎบี ทท่ี 5 เมื่อ a, b เปน็ จาํ นวนจริงใดๆ
ถา้ ab = 0 แลว้ a = 0 หรอื b = 0

ทฤษฎีบทท่ี 6 เม่ือ a เป็นจํานวนจริงใดๆ
a(-b) = -ab
(-a)b = -ab
(-a)(-b) = ab

การลบและการหารจํานวนจรงิ
• การลบจำนวนจริง
บทนยิ าม เม่ือ a, b เป็นจาํ นวนจริงใดๆ
a -b = a + (-b)
นั่นคือ a -b คือ ผลบวกของ a กับอนิ เวอร์สการบวกของ b
• การหารจํานวนจริง
บทนยิ าม เม่ือ a, b เปน็ จํานวนจรงิ ใดๆ เมอื่ b ≠0
a/b = a (b-1)
นน่ั คอื a/b คือ ผลคูณของ a กับอินเวอร์สการคณู ของ b

39

๓. สมบัตกิ ารไมเ่ ทา่ กัน

40

41

๔. ค่าสมั บรู ณ์

42

วิชาภาษาอังกฤษ

เรอื่ งที่ 1 การทกั ทายและการกลาวลา (Greeting and Leave Taking)

ตามปกติในชีวิตประจาํ วนั เมอ่ื เราพบผูคนในทตี่ าง ๆ เราจะตองมกี ารทกั ทายและกลาวลากนั ให
เหมาะสมตามโอกาส ในภาษาองั กฤษมวี ิธกี ารทักทาย (Greeting) และกลาวลา (Leave taking) กันอยางไรบาง

1. การทักทาย (Greeting) ถาเปนคนที่คนุ เคยและสนิทสนมกนั มกั จะใชคําวา Hello หรอื Hi ซง่ึ
แปลวาสวัสดแี ตการทักทายอยางเปนทางการสําหรับผูไมคุนเคยกนั หรอื อยูในสถานภาพ ทแ่ี ตกตางกนั เชน เจา
นายกบั ลูกนอง ครูกบั ลูกศษิ ยจะใชคําวา Good morning. (สวสั ดตี อนเชา) Good afternoon. (สวสั ดีตอน
กลางวนั ) และ Good evening. (สวัสดตี อนเยน็ ) ตอดวยคําทกั ทายวา How are you? (คณุ สบายดีหรอื ) ซง่ึ คู
สนทนากจ็ ะตอบและถามกลับในทาํ นองเดียวกัน
Situation 1

Suda : Hi, Malee. How are you?
Malee : Fine, thanks. And you?
Suda : Very well, thank you.

Situation 2

A: Hello, my name is Sam. สวสั ดี ชอื่ ของผม คอื แซม (ผมช่อื แซม)

B: Hey, I’m Jane. หวดั ี ฉนั คือ เจน (ฉันช่ือเจน)

A: Nice to meet you. ยนิ ดี ท่ไี ด้ พบ คณุ (ยินดีท่ไี ด้ร้จู กั )

B: Nice to meet you, too. ยินดี ทไี่ ด้ พบ คุณ เช่นกัน (ยินดที ่ีไดร้ ู้จกั เช่นกนั )

สาํ หรบั ชวงเวลาของการกลาวคาํ ทักทายในภาษาอังกฤษ แบงออกไดเปน 3 ชวงดังน้ี ′

Good morning. ใชคาํ ทักทายในตอนเชา ตั้งแตหลังเทยี่ งคืนเวลา00.00 น. ถึงตอนเท่ยี งวนั 12.00

น. Good afternoon. ใชคําทกั ทายในตอนหลังเท่ียงวัน ถึงกอนพระอาทิตยตก ′

Good evening. ใชคาํ ทักทาย หลงั เวลา17.00 น. หรอื หลังดวงอาทิตยตกเปนตนไป

43

สาํ นวนท่ีใชสอบถามทุกขสุขวาเปนอยางไรบางเม่อื พบกนั ในภาษาอังกฤษนิยมใช หลายสํานวนดวยกนั
เชน ′ How are you? ′ How are you today? สบายดีไหม / เปนอยางไรบาง ′

How are you doing? ′ How have you been? สบายดีไหม/เปนอยางไรบาง (ใชในกรณที ่ีไมไดพบ
เจอกันเปนเวลานาน)

นอกจากนี้ ยงั มีสาํ นวนที่ใชกันอีก ดงั นี้ ′ How is it up? (How's it up?) ′ What is up? (What's up?)
สํานวน How are you? ใชทกั ทายอยางเปนทางการ สวนสํานวนอน่ื ๆ ใชทักทาย อยางไมเปนทางการ

สาํ นวนท่ใี ชตอบรบั ถงึ การสอบถามทุกขสขุ วาเปนอยางไรเมื่อพบกนั เชน
Fine, thank you. And how are you? สบายดขี อบคุณ แลวคุณละ
Very well, thanks. How about you? ′ Great, thanks. How about you? ′ So so. ก็เรื่อย ๆ นะ
I'm quite well, thank you. And you? สบายดนี ะขอบคุณ แลวคุณละ ′
Not quite well, I have a cold. And you? ไมสบายนกั เปนหวดั แลวคณุ ละ

การกลาวลาคูสนทนา เพอ่ื แสดงความหวงใยใชสํานวน ดงั น้ี
Take care. ′ Take care of yourself.

การบอกลาคสู นทนาทก่ี ําลงั จะไปงานเลย้ี งหรือไปเที่ยวใชสํานวนดังน้ี ′
Have a good time. ′ Have a nice time. ′ Have a pleasant trip. ′ Have a nice trip. ′
Have a good holiday. ′ Have a nice holiday.

Situation 3

Wichai : Hi, Suda. How are you doing?
Suda : Not so well, thanks, and you?
Wichai : Fine, What's happened?
Suda : I catch a cold. I have to see the doctor now. Goodbye.
Wichai : Take care of yourself, Malee.

เรือ่ งท่ี 2 การแนะนําตนเองและผูอน่ื (Introducing Yourself and Others)

เมอ่ื คนพบกันคร้ังแรกการแนะนําตนเองใหบุคคลอน่ื รูจักเปนสิ่งสาํ คัญและจาํ เปนกอนจะ สนทนาพดู คุย
กนั ในเรอื่ งอื่น ๆ ซ่ึงการแนะนําตนเองและผูอื่นในภาษาอังกฤษมสี ํานวนที่ใชกัน ดงั นี้

1. การแนะนําตนเอง (Introducing Yourself) ในการแนะนําตนเองใหผูอ่นื รูจกั จะเริ่มตน ดวยการ
กลาวทักทายและแนะนาํ ตนเองดวยสํานวนตาง ๆ ดังน้ี
Hello. My name is (ชอ่ื ของผูพดู ) . (สาํ หรับผูที่อยูในสถานะเดยี วกัน เชน เปนนักศึกษาดวยกนั เปนตน)
Hi. I'm (ชอื่ ของผูพดู ). (สาํ หรับผูทีอ่ ยูในวัยเดียวกัน)
Good morning. My name is (ช่ือของผูพูด). สวัสดฉี ัน/ผม/ดิฉันชอ่ื ____
Good morning. I'm (ชื่อของผูพดู ). (สาํ หรบั การพดู คุยอยางเปนทางการ)
หากตองการบอกชือ่ เลนใหทราบดวยกอ็ าจพูดวา ′ Hello. My name is (ชอื่ ของผูพูด) and my nickname is
(ช่ือเลนของผูพดู ).
เม่ือกลาวแนะนาํ ตัวแลวคสู นทนาจะตอบวา ′ It's nice to meet you. ′ Nice to meet you.
I'm glad to meet you. ′ I'm glad to see you. ยินดีทไี่ ดรจู กั คุณ

44

ประโยคภาษาอังกฤษในการแนะนำตวั

ตัวอย่างประโยคภาษาอังกฤษในการแนะนำตัวแบบต่างๆ คำศัพท์แบบงา่ ยๆ เลือกไปใชก้ ันไดเ้ ลยท้ัง
แบบทางการและไม่ทางการ
Let me introduce myself. My name is Mintra. แปลวา่ ฉนั ขออนญุ าติแนะนำตัวเอง ดิฉนั ช่ือมนิ ตรา
My nickname is Gift. แปลวา่ ชื่อเล่นของฉนั คอื กิ๊ฟท์
I am studying at ABC School. แปลว่า ฉนั กำลงั ศกึ ษาอยู่โรงเรียน ABC
I am studying in grade 12. แปลว่า ฉนั กำลังเรยี นอยมู่ ัธยมศกึ ษาปีท่ี 6
My major was art-French. แปลว่า ฉนั เรยี นสายศลิ ป์-ฝรัง่ เศส
I live in Bangkok. แปลวา่ ฉนั อาศยั อย่ทู ่ีกรุงเทพฯ
I live with my parents. แปลวา่ ฉนั อยูก่ บั พอ่ แม่
I have two brother and two sister. แปลว่า ฉนั มนี ้องชาย 2 คน และน้องสาวอีก 2 คน
My hobby is listening to music. แปลว่า งานอดิเรกของฉันคือฟงั เพลง
My favorite sport is yoga. แปลว่า กฬี าทฉี่ ันช่นื ชอบคือ โยคะ

ประโยคการแนะนำตัวแบบเป็นทางการ

Good morning. แปลวา่ สวสั ดียามเช้า เป็นประโยคทักทาย
May I introduce myself? แปลว่า ฉนั ขออนญุ าตแนะนำตัวเองนะคะ เป็นประโยคขออนุญาต
My name is Samorn Jaidee. แปลว่า ฉันชื่อสมร ใจดี
I’m the marketing manager from Macro company. (ขอ้ มูลเพม่ิ เติม) แปลว่า ผมเปน็ ผจู้ ัดการฝ่าย
การตลาดจากบริษทั มาโคร
Nice to meet you. แปลว่า ยนิ ดีทไี่ ด้ร้จู กั ใช้แสดงความยินดที ี่ไดเ้ จอกัน
ประโยคการแนะนำตัวแบบไม่เปน็ ทางการ

Hello. แปลวา่ สวสั ดี เป็นประโยคทกั ทาย
My name’s Tong. แปลวา่ ผมชือ่ ตอง
I’m from Thailand. แปลว่า ผมมาจากประเทศไทย เปน็ การบอกข้อมูลเพิม่ เตมิ
I’m an exchange student. แปลว่า ผมเปน็ นักเรยี นแลกเปลีย่ น เป็นการบอกข้อมลู เพิ่มเตมิ
Glad to meet you. แปลวา่ ดใี จทีไ่ ดเ้ จอกนั นะ ใชแ้ สดงความยินดีทไี่ ดเ้ จอกัน

รปู แบบการแนะตวั แบบทว่ั ไป

My name is Fah Seesod. แปลว่า ฉันช่ือ ฟา้ สีสด
My nickname is Mook. แปลวา่ ช่อื เล่นของฉันคือ มุก
You can call me Mook. แปลวา่ คุณสามารถเรยี กฉันว่ามุก
I’m 25 years old. My birthday is the 20th of December 1992. (บอกวนั /เดือน/ปีเกิด) แปลวา่ ฉัน
อายุ 25 ปี เกิดวันท่ี 20 ธันวาคม 2535
I’m studying at Sirirattanathorn School. I’m in Mathayom 6. แปลว่า ฉันกำลงั ศึกษาอยทู่ ี่ โรงเรยี นสิริ
รตั นาธร ชนั้ ม. 6
My favorite color is green and white. แปลว่า ฉันชอบสเี ขียว และสขี าว

45

I want to visit Japan, Korea, and China. แปลว่า ในอนาคต ฉนั อยากไปเท่ียวต่างประเทศ เชน่ ญป่ี ่นุ
เกาหลี และจนี
My favorite food is Noodle and Pizza. แปลวา่ อาหารทฉ่ี ันชอบ คือ ก๋วยเต๋ยี ว และพิซซ่า

เร่อื งท่ี 3 การใหและสอบถามขอมลู สวนตัว (Sharing Personal Data)

เม่อื คูสนทนาไดทกั ทายแลวก็จะมีการพูดคุยและแลกเปลี่ยนขอมูลซึ่งกันและกันการสอบถามขอมูล สวน
ตัวถือไดวาเปนการทําความรูจักกันใหมากข้ึน ขอมูลสวนตัวจะประกอบดวย ช่ือ นามสกุล ชื่อเลน วัน เดือน ป
เกิด อายุสญั ชาตทิ ีอ่ ยูครอบครัวอาชพี งานอดิเรก ฯลฯ

1. การถามชื่อ
A : What's your name? คณุ ชื่ออะไร
B : My name is (ชื่อผตู อบคาํ ถาม). หรอื I'm (ช่อื ผูตอบคําถาม).

2.การถามชื่อบุคคลท่ี 3
A : Who's that? นั่นใคร B : He/She is (ชอ่ื ของบคุ คลนั้น ๆ).

3.การถามวนั /เดอื น/ปเกดิ
A : When were you born? คุณเกิดเมือ่ ไร
B : I was born on Oct 24, 1987. (กรณีที่บอกวนั เกดิ ดวยใหใชPreposition on) I was born
in June, 1987. (กรณบี อกเฉพาะเดอื นเกิดใหใช้Preposition in)

4.การถามสวนสงู /นํา้ หนัก
A : How tall are you? คณุ สูงเทาไร
B : I'm 175 centimeters tall. ฉันสูง175 ซม.
A : How much do you weigh? คณุ หนกั เทาไหร
B : I weighabout 60 kilograms. ฉนั หนกั 60 กิโลกรมั

5.การถามสัญชาติ
A : What is your nationality? คณุ มีสญั ชาตอิ ะไร
B : I'm Thai. ฉันสัญชาติไทย I'm Canadian. ฉันสัญชาตแิ คนาดา I'm American. ฉันสญั ชาติ
อเมรกิ ัน

6. การถามที่อยู
A : Where do you live? คุณอาศยั อยูท่ีไหน
B : I live on Sukhumvit Road. (ชือ่ ถนนใชPreposition “on”)
I live at 4 Sukhumvit Road. (กรณีมีเลขทข่ี างบานและช่อื ถนนใหใชPreposition “at”)
I live in Chiangmai. (ชื่อจังหวัด ช่ือเมือง I live in Bangkok.
ชือ่ ประเทศใหใชPreposition “in”) I live in Thailand.

7. การสอบถามสถานทท่ี ํางาน
A : Where do you work? คณุ ทํางานท่ไี หน
B : I work in ABC Company. ฉนั ทาํ งานทีบ่ ริษัท ABC
A : What company do you work for?คณุ ทํางานทบ่ี ริษัทไหน
B : I work for ABC Company. ฉันทาํ งานทบี่ ริษัท ABC

46

8. การถามอาชพี การทํางาน
A : What do you do? คุณทําอะไร
B : I'm a teacher. ฉันเปนครู A : I'm a doctor. ฉนั เปนหมอ a คําตอบ คือI'm (ชื่ออาชพี ). An

9. การถามถงึ สมาชิกในครอบครัว
A : How many sisters and brothers do you have? คณุ มพี น่ี องก่คี น
B : I have 2 sisters and a brother. ฉนั มีพี่สาวสองคนและนองชาย1 คน
A : How many persons are there in your family? ในครอบครวั คุณมีกีค่ น
B : There are 5 persons in my family. ในครอบครวั ของฉนั มี5 คน

10. การถามเบอรโทรศัพท/E-mail
A : Do you have any telephone numbers or an e-mail address?
B : Yes, I do. My telephone number is 02-3806871 and my mobile number is
081-8331140. My e-mail is (e-mail address ของแตละบคุ คล).

ขอสังเกต การออกเสยี งอานหมายเลยโทรศัพทจะอานทีละตัว ยกเวนเลขทซ่ี ้าํ กนั จะใชคาํ วา Double ซง่ึ
หมายเลข0 จะใชคาํ วาoh แทนก็ไดเชน
081-8351140 อานวา oh - eight -one - eight - three - five -double one -four -oh
02-3806871 อานวา oh - two - three - eight -oh - six - eight - seven -one


Click to View FlipBook Version