The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลโครงการปฐมนิเทศ1.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g_shock_33, 2021-09-17 11:41:16

รายงานผลโครงการปฐมนิเทศ1.64

รายงานผลโครงการปฐมนิเทศ1.64

1

2

คำนำ

เอกสารสรุปผลการดำเนนิ งานฉบับน้ี ได้จดั ทำขน้ึ เพือ่ รายงานผลการประเมินการดำเนินงานโครงการ
พัฒนาศักยภาพผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ศูนย์การศึกษานอกระบบและ
การศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ปีงบประมาณ 2564 และใช้เป็นข้อมูลประกอบการพิจารณา
จัดทำแผนดำเนนิ งานกิจกรรมตา่ ง ๆ ในปีตอ่ ไป

การดำเนินงาน และการจัดทำเอกสารฉบบั น้ี สำเรจ็ และเปน็ รูปเลม่ ได้ด้วยความร่วมมอื จากบุคลากร
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ขอขอบคุณบุคลากร ทุกท่าน
โดยเฉพาะอยา่ งยิ่ง ผอู้ ำนวยการศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งนราธิวาส ทไ่ี ด้
ให้คำแนะนำ จนการจัดกิจกรรมดังกล่าวสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังว่าเอกสารฉบับน้ี จะใช้เป็นข้อมูล
อา้ งองิ ตอ่ ไป

ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส
21 มิถนุ ายน 2564

สารบัญ 3

บทท่ี ๑ บทนำ หนา้
- ความเป็นมาและความสำคัญของโครงการ
- วัตถปุ ระสงค์ 3
- เปา้ หมาย 3
- งบประมาณ 3
- ผูร้ ับผิดชอบโครงการ 4
- เครือขา่ ยที่เกีย่ วข้อง 4
- โครงการทเี่ ก่ยี วข้อง 4
- ผลลพั ธ์ 4
4
บทที่ ๒ เอกสารทเ่ี กีย่ วข้อง 5 - 12
บทที่ ๓ วธิ ดี ำเนินการ 13 – 14
บทที่ ๔ ผลการศึกษา 15 - 24
บทท่ี ๕ สรุปผลการศกึ ษา 25
บรรณานุกรม 26
ภาคผนวก 27

*******************************************

4

บทท่ี ๑

บทนำ

1. ความเป็นมาและความสำคญั

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 เป็นหลักสูตรที่
มีความเหมาะสมสอดคล้องกับสภาพปัญหา และความต้องการของบุคคลที่อยู่นอกระบบโรงเรียน ซ่ึงเป็นผู้มี
ความรู้และประสบการณ์จากการทำงาน และการประกอบอาชีพ โดยการกำหนดสาระการเรียนรู้ มาตรฐาน
การเรียนรู้ การจัดการเรียนรู้ การวัดผลประเมินผล ใหค้ วามสำคัญกับการพัฒนากลุ่มเป้าหมาย ด้านจิตใจ ให้มี
คุณธรรม ควบคู่กับการพัฒนาการเรียนรู้ สร้างภูมิคุ้มกัน สามารถจัดการกับองค์ความรู้ ทั้งภูมิปัญญาท้องถ่ิน
และเทคโนโลยี เพ่ือให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวอยู่ในสังคมท่ีมีการเปล่ียนแปลงตลอดเวลา สร้างภูมิคุ้มกันตาม
แนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง รวมท้ังคำนึงถึงธรรมชาติการเรียนรู้ของผู้ท่ีอยู่นอกระบบ และสอดคล้องกับ
สภาพ เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การปกครอง ความเจริญก้าวหน้าของเทคโนโลยีและการส่ือสาร โดยการ
จัดการเรียนรู้ ใช้รูปแบบวิธีการ ท่ีหลากหลาย และมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถในการเรียนรู้ ตาม
ปรัชญาพ้ืนฐานของการศึกษานอกโรงเรียน “ คิดเป็น” โดยเน้นพัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ ประยุกต์ใช้
ความรู้ และสร้างองค์ความรู้สำหรับตนเอง และชุมชน สังคม อีกท้ังนักศึกษาใหม่ส่วนใหญ่ยังขาดความรู้
ความเข้าใจ ในกระบวนการเรียนการสอนหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน พทุ ธศกั ราช
2551

ดังนัน้ ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งนราธิวาส เลง็ เหน็
ความสำคัญดังกล่าว จึงจัดโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ขึ้น เพ่ือให้นักศึกษาทราบถึงนโยบายด้านการศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ัน
พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ระเบียบ ข้อบังคับ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ และ จะทำให้ผู้เรียนเกิดแรงบันดาลใจ มี
ความพร้อมในการศึกษา เข้าใจในการปฏิบัติตน สร้างทัศนคติที่ดี และเป็นการแนะนำแนวทางในการเรียน
การปฏิบัตติ นทถ่ี กู ตอ้ งเหมาะสม ทั้งนี้เพอ่ื ให้นักศกึ ษาได้รับข้อมูลพนื้ ฐานในการดำเนินชีวติ ในสถานศึกษา เป็น
การช่วยให้นักศึกษาเกิดความพร้อมอนั เป็นรากฐานสำคัญท่ีจะเตรียมตัวเผชิญกับสถานการณ์ใหม่ ๆ ท้ังในด้าน
การเรียนและความเป็นอยู่ในชมุ ชนและสงั คม

2. วตั ถปุ ระสงค์
2.๑ เพ่ือให้กลุ่มเป้าหมาย ได้ทราบถงึ นโยบาย วตั ถุประสงค์ ของสถานศกึ ษา
2.๒ เพื่อให้กล่มุ เป้าหมาย มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจ เรอ่ื ง หลักสตู รโครงสรา้ งของหลักสูตร
กระบวนการเรียนการสอน การวดั และประเมินผล
2.๓ เพื่อให้กลุ่มเปา้ หมาย นำความรมู้ าประยุกตใ์ ชใ้ นการเรียนร้กู ารศึกษานอกระบบ ระดับ
การศึกษาข้นั พ้ืนฐานได้

3. เป้าหมาย

เชิงปริมาณ
- นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส จำนวน 300 คน

เชงิ คณุ ภาพ
กลุ่มเปา้ หมาย ได้ทราบถึงนโยบาย วัตถุประสงค์ของสถานศกึ ษา และมคี วามรคู้ วามเข้าใจ

เรื่อง หลักสูตรโครงสร้างของหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และสามารถนำ
ความร้มู าประยกุ ตใ์ ช้ในการเรียนรกู้ ารศกึ ษานอกระบบ ระดับการศกึ ษาข้นั พน้ื ฐานได้

5

4. วงเงินงบประมาณทั้งโครงการ
จากแผนงาน : ยุทธศาสตรส์ รา้ งความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จา่ ยใน

การจัดการศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับ

การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน งบเงินอุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒
43016500225จำนวน 47,60๐ บาท ( สี่หม่ืนเจ็ดพนั หกร้อยบาทถ้วน ) รายละเอยี ดดงั นี้

๗.1 คา่ ใชส้ อย

- ค่าอาหารกลางวนั นกั ศกึ ษา จำนวน 300 คนx ๗๐บาทx1มอ้ื เป็นเงนิ 21,000.-บาท

- ค่าอาหารว่างและเคร่ืองดืม่ จำนวน 300 คน x ๒๐บาท x 2 ม้อื เป็นเงิน 12,000.-บาท

๗.2 ค่าวัสดุ

- ค่าป้าย เปน็ เงิน 3,500.- บาท

- ค่าวัสดดุ ำเนินงาน เป็นเงนิ 11,100.- บาท

รวมเป็นเงินท้ังสิ้น 47,600.- บาท (ส่ีหมนื่ เจ็ดพันหกร้อยบาทถว้ น )

******************หมายเหตุ ค่าใช้จ่ายถัวเฉลย่ี ตามที่จ่ายจริง*********************
5. ผรู้ บั ผดิ ชอบโครงการ

นางสาวปยิ นาถ ยะปา ตำแหนง่ ครูผ้ชู ่วย เบอร์โทร 083-0746869
นายรชต มน่ั คง
นางสาวนเิ มา๊ ะห์ มะสาและ ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลบางนาค เบอร์โทร 094-4412171
นางสาวปารีดะห์ ยโู ซ๊ะ
นางสาวอาสือเมาะ สาแม ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลกะลุวอเหนือเบอรโ์ ทร 089-4573604
นางสาวฮาซามนิ มะเก๊ะ
นางสาวฮามีด๊ะ ดือราแม ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลกะลุวอ เบอร์โทร 096-8258252
นางสาวกรกวี นวลมาก
ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลมะนังตายอ เบอร์โทร 089-8702407

ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลโคกเคยี น เบอร์โทร 081-0974945

ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลบางปอ เบอร์โทร 087-9692708

ตำแหนง่ ครู กศน.ตำบลลำภู เบอรโ์ ทร 091-4301919

6. เครือข่าย
๑๐.๑ เทศบาลเมอื งนราธวิ าส
10.2 องคก์ ารบริหารสว่ นทอ้ งถน่ิ 6 ตำบล
๑๐.3 โรงพยาบาลนราธิวาสราชนครนิ ทร์
10.4 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สุขภาพชุมชนประจำตำบล

7. โครงการท่เี ก่ียวข้อง
7.๑ โครงการจดั การศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชวี ิต

7.๒ โครงการจดั การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน

8. ผลลัพธ์
กลุม่ เป้าหมาย ทราบถึงนโยบายวตั ถปุ ระสงค์ของสถานศึกษาและมีความรู้ความเข้าใจ เรื่องหลักสตู ร

โครงสร้างของหลักสูตร กระบวนการเรียนการสอน การวัดและประเมินผล และสามารถนำความรู้มา

ประยกุ ตใ์ ช้ในการเรยี นรกู้ ารศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้

6

บทที่ ๒
เอกสารท่เี กย่ี วขอ้ ง
1. เร่ือง ความเป็นมาของปรัชญาคดิ เปน็
คิดเป็น (khit pen) เป็นปรัชญาพื้นฐานของการศึกษานอกโรงเรียน เป็นกระบวนการคิดที่เกิดขึ้นจาก
หลักการและแนวคิดของนักการศึกษาไทย ผู้ก่อตั้งทฤษฎีการคิดเป็นคือ ดร.โกวิท วรพิพัฒน์ ท่านผู้นี้เป็นผู้นำ
แนวคิดเรื่องการคิดเป็น และนำมาเผยแพร่จนได้รับการยอมรับ ท้ังในประเทศและต่างประเทศซึ่งคร้ังแรกได้
นำมาใช้ในวงการศึกษานอกโรงเรียนเม่ือราว พ.ศ. 2513 ดร.โกวิท วรพิพัฒน์และคณะได้ประยุกต์
แนวความคิด คิดเปน็ มาใชใ้ นการจัดการศึกษาผู้ใหญ่แบบเบ็ดเสร็จขน้ั พ้ืนฐานระหว่างปี พ.ศ. 2518 – 2524
โครงการรณรงค์เพื่อการรู้หนังสือ เป็นต้น ซ่ึงถือว่าแนวคิด คิดเป็น เป็นปรัชญาที่นำมาใช้กับการพัฒนางาน
การศึกษาผู้ใหญ่ และต่อมาได้นำมากำหนดเป็นจุดมุ่งหมายที่สำคัญของการศึกษาไทยทุกระดับ และใช้เรื่อยมา
จนถงึ ปัจจุบัน ที่วา่ “การจดั การศึกษาต้องการสอนคนให้ คดิ เป็น ทำเป็น แกป้ ญั หาเปน็ ”

ปรัชญาคิดเป็น อยู่บนพ้ืนฐานความคิดท่ีวา่ ความต้องการของแต่ละบคุ คลไม่เหมือนกันแต่ทุกคนมีจุด
รวมของความต้องการท่ีเหมือนกัน คือ ทุกคนต้องการความสุข คนเราจะมีความสุขเม่ือเราและสังคม
สิ่งแวดล้อมประสมกลมกลืนกนั ได้โดยการปรบั ปรุงตัวเราให้เข้ากับสังคมหรอื ส่ิงแวดล้อม หรอื โดยการปรับปรุง
สงั คมและส่ิง แวดล้อมให้เข้าตัวเราหรือปรับปรงุ ท้ังตัวเราและสังคมส่ิงแวดล้อมให้ประสมกลมกลนื กัน หรือเข้า
ไปอยู่ในสิ่งแวดล้อมท่ีเหมาะสมกับตน คนท่ีสามารถทำได้เช่นนี้ เพ่ือให้ตนเองมีความสุขนั้น จำเป็นต้องเป็นผู้มี
ความคิดสามารถคิดแก้ปัญหา รู้จักตนเองและธรรมชาติส่ิงแวดล้อม จึงจะเรียกได้ว่า ผู้นั้นเป็นคนคิดเป็น หรือ
อีกนัยหนึ่งปรัชญาคิดเป็น มาจากความเช่ือพ้ืนฐานตามแนวพุทธศาสนา ท่ีสอนให้บุคคลสามารถพ้นทุกข์ และ
พบความสุขได้ด้วยการค้นหาสาเหตุของปัญหา สาเหตุของทุกข์ ซึ่งส่งผลให้บุคคลผู้น้ันสามารถอยู่ในสังคมได้
อยา่ งมคี วามสขุ

7

เรือ่ งท่ี 2 หลกั สูตร กศน. 2551

การลงทะเบียนการเรียนรายวิชา

การลงทะเบยี นเรียนตามโครงสรา้ งหลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน
พทุ ธศักราช 2551 ให้ลงทะเบียนเรยี นเป็นรายวชิ าและตามจานวนหนว่ ยกิต ในแต่ละภาคเรียน ดงั นี้

1. ระดบั ประถมศึกษา ลงทะเบียนทง้ั หมด ไม่น้อยกวา่ 48 หน่วยกิต ให้ลงทะเบยี นเรยี นไดภ้ าคเรยี น
ละ ไม่เกนิ 14 หน่วยกติ

2. ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนตน้ ลงทะเบยี นทั้งหมด ไม่นอ้ ยกว่า 56 หนว่ ยกิต ใหล้ งทะเบียนเรียนไดภ้ าค
เรียนละ ไมเ่ กิน 17 หนว่ ยกิต

3. ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ลงทะเบยี นท้ังหมด ไมน่ อ้ ยกวา่ 76 หนว่ ยกติ ให้ลงทะเบียนเรียนได้
ภาคเรยี นละ ไมเ่ กิน 23 หน่วยกิต

การเทียบโอนผลการเรยี น

สถานศึกษาต้องจัดให้มีการเทียบโอนผลการเรียนหรือเทียบโอนความรู้และประสบการณ์ของผู้เรียน
ให้เป็นส่วนหน่ึงของผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 โดยสถานศกึ ษาตอ้ งจัดทาระเบียบหรือแนวปฏิบตั ิการเทียบโอนใหส้ อดคล้องกบั แนวทางการเทียบโอน
ทีส่ านกั งาน กศน.กำหนด

8

วิธีการจัดการเรียนรู้

วิธกี ารเรียนรตู้ ามหลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 จะมวี ธิ ี
เดียวคือ วิธีเรียน กศน. ที่สามารถจัดการเรียนรู้ได้หลายรูปแบบ เช่น การเรียนรู้แบบพบกลุ่ม การเรียนรู้ด้วย
ตนเอง การเรียนรู้แบบทางไกล การเรียนรู้แบบชั้นเรียน และการเรียนรู้แบบอื่น ๆ ซ่ึงในแต่ละรายวิชา ผู้เรียน
สามารถเลือกเรียนรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง หรือหลายรูปแบบก็ได้ แต่ท้ังนี้ต้องขึ้นอยู่กับความพร้อมของ
สถานศึกษาดว้ ย

กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวติ

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต ( กพช. ) เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีจัดขึ้นตามเงื่อนไขการจบหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือให้ผู้เรียนได้พัฒนาตนเอง ครอบครัว
ชุมชน สังคม และกาหนดให้ผู้เรียนทุกระดับการศึกษาต้องเรียนรู้และปฏิบัติกิจกรรมจานวนไม่น้อยกว่า 200
ช่ัวโมง

หลักการ
1. สถานศึกษาจัดให้มีการลงทะเบียนกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตในภาคเรียนแรก เพื่อทาความเข้าใจ

ให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับความรู้พ้ืนฐานของกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต จนเกิดความตระหนัก
และเหน็ ความสำคญั ของกิจกรรมพฒั นาคุณภาพชีวติ สามารถเขียนโครงการ และดาเนินการตามโครงการได้

2. สถานศึกษาให้ผู้เรยี นเสนอโครงการกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต และวางแผนการเรียนรู้รว่ มกับครู
และทำกิจกรรม 200 ช่ัวโมง โดยให้ผู้เรียนเสนอโครงการได้ตลอดเวลาในทุกภาคเรียน เม่ือมีการวางแผน
ประสานงาน และมคี วามพรอ้ มจะจดั ทาโครงการ ทงั้ นใ้ี ห้เปน็ ไปตามแนวทาง ข้นั ตอนทส่ี ถานศึกษากำหนด

3. กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตเป็นกิจกรรมที่มีเจตนารมณ์ให้มีการพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเองอยู่
ตลอดเวลาอย่างหลากหลายใหส้ อดคล้องกับการเปลีย่ นแปลงของสงั คม ส่งิ แวดลอ้ ม ซ่ึงจะมีอยู่ในวถิ ีการดำเนิน
ชีวิตของตนตลอดเวลา จึงเล็งเห็นคุณค่าและความสำคัญของประสบการณ์จากการทำกิจกรรมของผู้เรียน
ดังน้นั จงึ อนญุ าตให้นำประสบการณ์การทากจิ กรรมพฒั นาตนเอง ชุมชน สงั คม และกจิ กรรมจิตอาสาชว่ ยเหลือ
สงั คมมาเทียบโอนเป็นกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เข้าสู่หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศกึ ษา
ขัน้ พ้ืนฐาน พุทธศกั ราช 2551 ได้ (ประกาศสำนกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธกิ าร เรื่อง ปรับปรุง แกไ้ ข เพิ่มเติม
คู่มือการดำเนินงาน หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับท่ี 2)
พ.ศ. 2560 ลงวนั ที่ 13 กนั ยายน 2560)

4. ผ้เู รียนมอี ิสระในการเลือกทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิตตามความพร้อม ความถนัดหรอื ตามความ
สนใจ

5. การทำกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ จะปฏิบตั เิ ปน็ กลุม่ หรือเป็นรายบคุ คลก็ได้
6. การประเมินค่ากจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต ใหป้ ระเมนิ จากการทำกิจกรรมทผี่ ูเ้ รียนเสนอโครงการ
ไวใ้ นแต่ละภาคเรียน โดยเน้นการประเมินแบบมีสว่ นร่วม
7. กิจกรรมท่ไี ด้รับการประเมินค่าแลว้ หากผู้เรียนประสงค์จะทำกิจกรรมในลักษณะเดิมอีก ต้องเสนอ
โครงการใหม่ทช่ี ใ้ี หเ้ หน็ พัฒนาการของกิจกรรม

9

องค์ประกอบกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชวี ิต
กจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชีวิต ประกอบดว้ ย
1. ความรู้พ้ืนฐาน เป็นกิจกรรมการเรียนรู้ที่มีขอบข่ายเนื้อหาเกี่ยวกับโครงสร้างและประโยชน์ของ

กิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต แนวทางการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม กระบวนการกลุ่ม
กระบวนการคิดเป็น ทำเป็น แก้ปัญหาเป็น และการนำไปใช้ในการดำเนินชีวิต การประสานเครือข่าย การเป็น
ผนู้ ำ ผ้ตู าม การวางแผน และประโยชนข์ องการวางแผน มนษุ ย์สัมพนั ธ์ การเขยี นโครงการ

2. กจิ กรรมโครงการ เป็นกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ีให้ผูเ้ รียนได้ลงมอื ปฏบิ ัตจิ ริงในการทำกิจกรรมโครงการ
ทีเ่ กีย่ วกับการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม

ลักษณะกจิ กรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ิต (กพช.)
ลกั ษณะการจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ แบง่ เปน็ 2 ประเภท ดงั น้ี
1. กิจกรรมการเรียนรู้ทม่ี ุ่งเน้นการพัฒนาทักษะชีวิตของตนเอง และครอบครัว โดยใช้กระบวนการ

เรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของผู้เรียน เช่นกิจกรรม ด้านสุขภาพกายและสุขภาพจิต ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
ด้านเศรษฐกิจพอเพียง ด้านการพัฒนาตนเอง ด้านการป้องกันภัยจากยาเสพติด ด้านเพศศึกษา ด้านความ
ปลอดภยั ในชวี ติ และทรัพย์สนิ ฯลฯ

2. กิจกรรมการเรียนรู้ที่มุ่งเน้นการพัฒนาชุมชนและสังคม โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน
เช่นกิจกรรมด้านการพัฒนาชุมชนและสังคม เช่น โครงการอาสาสมัคร ลูกเสือ ยุวกาชาด ด้านการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม ด้านศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรมและประเพณี ด้านภูมิปัญญาท้องถิ่นและ
แหล่งเรียนรู้ ดา้ นประชาธปิ ไตย ด้านการสนับสนนุ สง่ เสรมิ งานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ฯลฯ

10

โครงงาน
การเรียนรู้ทเี่ กดิ จากการสนใจของผเู้ รียน ทต่ี ้องการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกบั ส่ิงใดสงิ่ หนึ่งหรือหลายๆ ส่งิ ท่ี

สงสัยและต้องการรู้คาตอบให้ลึกซ้ึง ชัดเจนหรือต้องการเรียนรู้ในเรื่องน้ันๆ ให้มากข้ึนกว่าเดิม โดยใช้ความรู้
หลายๆ ด้าน และทักษะกระบวนการท่ีต่อเน่ือง มีการวางแผนในการศึกษา และรับผิดชอบปฏิบัติตามแผน จน
ได้ข้อสรุป หรอื คาตอบเก่ียวกับเร่อื งนั้นๆ อย่างเป็นระบบ เรือ่ งท่ีจะทาโครงงานควรเป็นเรอื่ งท่ีผู้เรียนสนใจและ
สอดคล้องตามสาระการเรียนรตู้ ามรายวิชานัน้

แฟม้ สะสมงาน
นักศึกษาต้องจัดทาแฟ้มสะสมงานเพ่ือเป็นการเก็บรวบรวมตัวอย่าง หรือ หลักฐานท่ีแสดงถึง

ผลสัมฤทธ์ิความสามารถ ความพยายาม ความถนัดของบุคคลหรือประเด็นท่ีต้องจักทาแฟ้มสะสมงานไว้อย่าง
เปน็ ระบบ

การวัดและประเมินผล
การวัดและประเมนิ ผลมี 2 ระดบั คอื
1. การประเมินผลในระดับสถานศึกษา เป็นการดำเนินการวัดและประเมินผลการเรียนเป็นรายวิชา

ประเมินกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ และประเมินคุณธรรม
2. การประเมินคุณภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ สถานศึกษาต้องจัดให้ผู้เรียนเข้ารับการ

ประเมนิ ในภาคเรยี นสดุ ทา้ ยกอ่ นสอบปลายภาคของภาคเรยี นนั้น ๆ โดยไมม่ ผี ลต่อการได้หรือตกของผู้เรยี น

หลักการ
1. สถานศกึ ษาและหนว่ ยงานต้นสงั กัดเป็นผรู้ ับผดิ ชอบในการวัดและประเมินผลการเรยี นของผู้เรียน
2. เปิดโอกาสให้ผูเ้ กี่ยวข้องมสี ว่ นร่วมในการวดั และประเมินผลการเรยี น
3. ใหม้ ีการประเมนิ ผลการเรียนเปน็ รายวชิ าตามโครงสรา้ งหลักสูตร
4. การวัดและประเมินผลการเรียนร้ใู ห้ดำเนินการควบคู่ไปกับกระบวนการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ โดย

ตอ้ งดำเนนิ การด้วยวิธีการและเครอ่ื งมือทหี่ ลากหลายให้สอดคลอ้ งกับระดับการศึกษา และธรรมชาตริ ายวชิ า
5. สถานศึกษาต้องเปดิ โอกาสให้มกี ารเทยี บโอนผลการเรยี นระหว่างสถานศึกษาและรปู แบบการศกึ ษา

ตา่ งๆ
6. การวดั และประเมนิ ผลจะตอ้ งได้มาตรฐานและมคี ุณภาพตามทห่ี นว่ ยงานตน้ สังกัด กำหนด

11

กรอบการวดั และประเมินผล
กรอบการวัดและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา ขั้นพ้ืนฐาน

พุทธศักราช 2551 มีดังนี้
1. การวัดและประเมินผลการเรียนเป็นรายวิชา เป็นการประเมินเพื่อทราบสภาพและความก้าวหน้า

ท้ังด้านความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมจริยธรรม อันเป็นผลมาจากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของ
สถานศึกษาในแต่ละรายวิชา ด้วยวิธีการที่หลากหลาย เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์ ประเมินจากแฟ้มสะสม
งาน ประเมินการปฏิบัติตามมาตรฐานการเรียนรู้ (Performance Evaluation) ประเมินการปฏิบัติจริง
(Authentic Assessment) ทดสอบย่อย (Quiz) ประเมินจากกิจกรรม โครงงาน หรือแบบฝึกหัด เป็นต้น โดย
เลือกใหส้ อดคลอ้ งและเหมาะสมกับธรรมชาตขิ องรายวิชา ควบคู่ไปกับกจิ กรรมการเรยี นรขู้ องผู้เรยี น

การกำหนดคะแนนระหว่างภาคเรยี นและปลายภาคเรียนใหเ้ ปน็ ไปตามเกณฑท์ ่สี านกั งาน กศน.
กำหนด โดยการวดั ผลระหว่างภาคเรยี นสถานศึกษาเป็นผูด้ าเนินการ สาหรับการวดั ผลปลายภาคเรยี น ให้
เป็นไปตามที่สำนักงาน กศน. กำหนด

2. การประเมินกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต (กพช.) เป็นเงื่อนไขหน่ึงในการจบหลักสูตร ในแต่ละ
ระดับการศึกษา ซ่ึงผู้เรียนทุกคนต้องทำกิจกรรมพัฒนาคุณภาพชีวิต เพ่ือการพัฒนาตนเอง ครอบครัว ชุมชน
และสังคม จำนวนไม่น้อยกว่า 200 ช่ัวโมง ตามเกณฑ์การประเมินท่ีสถานศึกษากำหนด โดยประเมินจาก
โครงการ หรอื กิจกรรมพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และใหผ้ เู้ ก่ียวขอ้ งมีส่วนร่วม ในการประเมิน

12

3. การประเมินคุณธรรม เป็นเงื่อนไขหน่ึงท่ีผู้เรียนทุกคนต้องได้รับการประเมินตามเกณฑ์ท่ี
สถานศึกษากำหนด จึงจะได้รับการพิจารณาให้จบหลกั สูตรในแต่ละระดับการศึกษา โดยคณะกรรมการการวัด
และประเมินผลของสถานศึกษาพิจารณาคณุ ธรรมเบอ้ื งต้น ท่สี ำนักงาน กศน. กำหนด ทั้งนสี้ ถานศึกษาสามารถ
กำหนดเพิ่มเติมได้ โดยเสนอขอความเห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาและประกาศให้ผู้เก่ียวข้องได้รับ
ทราบและมสี ว่ นรว่ มในการประเมนิ คุณธรรม

4. การประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ สถานศกึ ษาจะต้องจัดให้ผู้เรียนทกุ คนท่ีเรยี น
ในภาคเรียนสดุ ท้ายของทุกระดบั การศึกษา ไดเ้ ข้ารบั การประเมินคณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ ตามที่
สำนกั งาน กศน. กำหนด

การจบหลกั สตู ร
เกณฑก์ ารจบหลักสูตร
ผ้เู รียนทัง้ ระดบั ประถมศึกษา ระดับมธั ยมศึกษาตอนต้น และระดบั มธั ยมศึกษาตอนปลาย มีเกณฑก์ าร

จบหลักสตู รในแต่ละระดบั การศึกษา ดังน้ี
1. ผา่ นเกณฑ์การประเมินการเรยี นรูแ้ ละไดห้ น่วยกิตในรายวิชา แต่ละระดับการศึกษา ตามโครงสรา้ ง

หลกั สตู ร คือ
1.1 ระดับประถมศกึ ษา ไมน่ ้อยกวา่ 48 หน่วยกิต แบ่งเป็นวิชาบังคบั 36 หนว่ ยกิต และวิชาเลอื กไม่

น้อยกวา่ 12 หน่วยกิต
1.2 ระดับมัธยมศกึ ษาตอนต้น ไมน่ อ้ ยกว่า 56 หน่วยกิต แบง่ เป็นวชิ าบังคบั 40 หนว่ ยกิต และวิชา

เลือกไมน่ ้อยกว่า 16 หน่วยกติ
1.3 ระดบั มัธยมศึกษาตอนปลาย ไมน่ ้อยกว่า 76 หน่วยกิต แบง่ เปน็ วิชาบงั คับ 44 หนว่ ยกิต และ

วชิ าเลือกไมน่ ้อยกว่า 32 หน่วยกิต
2. ผา่ นเกระบวนการประเมินกจิ กรรมพัฒนาคุณภาพชวี ิต (กพช.) ไมน่ ้อยกวา่ 200 ชั่วโมง
3. ผ่านกระบวนการประเมนิ คณุ ธรรม ในระดับพอใช้ข้นึ ไป
4. เขา้ รับการประเมนิ คณุ ภาพการศึกษานอกระบบระดับชาติ

การรักษาสถานภาพนักศกึ ษา
1. นกั ศกึ ษาท่ีไมล่ งทะเบียนในภาคเรยี นใด ต้องลงทะเบียนรกั ษาสถานภาพ
2. นกั ศึกษาที่ไม่ลงทะเบียนรักษาสถานภาพตดิ ต่อกนั 6 ภาคเรยี นให้พน้ จากสถานภาพนักศกึ ษา
3. นกั ศึกษาสามารถลงทะเบยี นรักษาสถานภาพยอ้ นหลังได้

การขอรบั หลักฐานการศึกษา
เพื่อนักศึกษาผ่านการประเมินและได้รับการตัดสินผลการเรียนตามเกณฑ์ท่ีสถานศึกษากาหนด ทั้ง 5

สาระการเรียนรู้ และได้ตามจานวนหน่วยกิตท่ีกาหนดตามโครงสร้างหลักสูตร ให้นักศึกษายื่นคาร้องขอรับ
หลักฐานการจบหลกั สตู ร โดยแบบหลักฐาน ดงั นี้

1. รูปถา่ ยหน้าตรงไม่สวมหมวก – แว่นตาดา ขนาด 2 น้ิว จานวน 2 รูป ถ่ายไว้ไมเ่ กิน 6 เดือน และ
ไมใ่ ช้รูปถ่ายประเภทโพลาลอยด์(รปู ดว่ น)

2. สาเนาทะเบียนบา้ น
3. หลักฐานการเปลยี่ นแปลง อ่นื ๆ (ถา้ ม)ี

13

การเตรยี มตัวเขา้ สอบ
นกั ศกึ ษาจะตอ้ งเขา้ สอบปลายภาคเรยี น ควรเตรยี มความพร้อมดังนี้
1. รบั ทราบกาหนด วัน เวลา สถานท่ี และรายวิชา ท่ีต้องเข้าสอบตามตารางสอบ
2. เขา้ รับฟังการช้ีแจงการปจั ฉิมนิเทศของสถานศึกษาเพื่อรับทราบกาหนดการและแนวปฏิบัตใิ นการ

สอบ
3. ศึกษาและทบทวนบทเรยี นเน้อื หาสาระรายวชิ าที่ลงทะเบียนเรียนใหม้ ากที่สดุ
4. จัดเตรยี มอุปกรณ์ทีใ่ ชใ้ นการสอบให้พร้อม เช่น ดินสอ 2 B ยางลบดินสอ ปากกา
5. แสดงบัตรประจาตัวนักศึกษา ให้กรรมการกากับห้องสอบได้ตรวจสอบ ก่อนเข้าห้องสอบ หากบัตร

ประจาตัวนักศกึ ษาสูญหาย ให้แจ้งความที่สถานีตารวจ แล้วยื่นคาร้องขอทาบัตรใหม่ พร้อมแบบรปู ถ่าย ขนาด
1 นิ้ว ขนาด 1 รูป

6. ควรไปดูสถานทสี่ อบล่วงหน้าว่าอยู่ท่ีใด ต้องเดนิ ทางอยา่ งไร และเมอ่ื ถงึ วนั สอบควรไปถึง สนาม
สอบก่อนเวลาสอบไมน่ อ้ ยกวา่ 15 นาที

7. แต่งกายสุภาพเรียบร้อย สุภาพสตรีควรสวมกระโปรง และเส้ือเชิ้ตสีขาว เก็บชายเสื้อเข้าใน
กระโปรง สวมรองเท้าหุ้มส้น สุภาพบุรุษ กางเกงขายาว เสื้อเช้ิตสีขาว เก็บชายเสื้อเข้า ในขอบกางเกง สวม

รองเท้าห้มุ ส้น

กฎระเบยี บของสถานศึกษา
1. นกั ศึกษายดึ ม่นั ในสถาบนั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ และระบอบประชาธปิ ไตย
2. นกั ศกึ ษาตั้งใจศึกษาเลา่ เรียน และเอาใจใสต่ อ่ การเรยี น
3. ปฏบิ ตั ิตนตามกฎระเบียบ ของสถานศึกษาอย่างเคร่งครัด
4. รักในศักด์ศิ รี เกยี รตยิ ศชือ่ เสยี ง ของสถานศกึ ษา
5. นักศึกษาต้องแต่งกายสุภาพ ตามระเบียบทสี่ ถานศกึ ษากาหนด
6. มาพบกลุ่มตรงเวลาและเข้าร่วมกจิ กรรมท่สี ถานศึกษาจัดขนึ้
7. นกั ศึกษาต้องเปน็ ผู้มีวนิ ยั คุณธรรม จริยธรรม ปฏิบัตติ นใหถ้ ูกต้องตามกฎระเบียบของสถานศึกษา

และรจู้ กั คุณค่าของวฒั นธรรมไทย
8. นกั ศกึ ษาไมท่ ะเลาะววิ าท มคี วามสามัคคซี ่ึงกนั และกัน
9. นักศึกษาต้องไมเ่ กยี่ วข้องกับส่ิงเสพติด ไม่ดมื่ ของมนึ เมา ไม่เล่นการพนัน ไม่กอ่ เหตุวิวาททั้งต่อหน้า

และลับหลัง ท้ังในและนอกสถานศึกษา

14

บทท่ี ๓
วิธดี ำเนินการ

โครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ข้ึน เพ่ือให้
นักศกึ ษาทราบถึงนโยบายดา้ นการศกึ ษา หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 ระเบยี บ ขอ้ บังคับ กฎเกณฑต์ ่าง ๆ และ จะทำใหผ้ ู้เรยี นเกดิ แรงบันดาลใจ มคี วามพรอ้ มในการศกึ ษา
เข้าใจในการปฏิบัติตน สร้างทัศนคติที่ดี และเป็นการแนะนำแนวทางในการเรียน การปฏิบัติตนท่ีถูกต้อง
เหมาะสม โดยมีขัน้ ตอนในการดำเนนิ งาน ดงั นี้

ขนั้ ท่ี ๑ ข้ันการเตรยี มการ
๑.๑ สำรวจสภาพ ปญั หาและความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย
๑.๒ ประชุมวางแผนการดำเนนิ โครงการ
๑.๓ เขยี นโครงการเพือ่ เสนอขออนมุ ตั งิ บประมาณในการดำเนินโครงการ
1.4 ประสานงานผู้ท่ีเกยี่ วขอ้ ง/วิทยากร

ขั้นที่ ๒ ขน้ั ดำเนินการ
ดำเนินการจัดกิจกรรมโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน

พทุ ธศกั ราช 2551

ขั้นที่ ๓ นเิ ทศตดิ ตามผล และรายงานผล / ประเมนิ ผล

๓.๑ การนิเทศตดิ ตามผลการดำเนินโครงการ
๓.๒ การประเมนิ ผลและสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการ
๓.๓ การรายงานและเผยแพร่ผลการดำเนนิ โครงการ

ดชั นชี ้วี ดั ผลสำเร็จของโครงการ (Key Performance Indicator: KPI)

ตวั ชว้ี ัดความสำเรจ็ สอดคลอ้ งกับ วิธกี ารประเมนิ เครอ่ื งมอื ท่ีใช้
มาตรฐาน กศน.ท่ี การสงั เกต แบบบันทึกการสงั เกต

ผลผลิต (outputs) นักศึกษาอำเภอเมือง

นราธิวาส ท่ีเข้าร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพ ๑,๒,3

ผู้ เรี ย น ต า ม ห ลั ก สู ต ร ก า ร ศึ ก ษ า ข้ั น พื้ น ฐ า น
พทุ ธศกั ราช 2551 จำนวน 300 คน

ผ ล ลั พ ธ์ (outcomes) ร้ อ ย ล ะ 85 ข อ ง ๑,๒,3 ประเมนิ ความพงึ แบบประเมนิ ความพงึ
กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจ เรื่อง พอใจของผเู้ ขา้ รว่ ม พอใจ
หลกั สูตรโครงสร้างของหลักสูตร
กระบ วน การเรียน การสอน การวัดและ กิจกรรม
ป ระ เมิ น ผ ล แ ล ะ ส าม ารถ น ำค ว าม รู้ม า
ประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้การศึกษานอกระบบ
ระดบั การศึกษาขนั้ พนื้ ฐานได้

15

สำหรบั เกณฑ์การให้คะแนนสำหรับแบบสอบถามในการสรปุ ผลการดำเนนิ งานของโครงการพฒั นา

ศกั ยภาพผ้เู รียนตามหลักสูตรการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยแบง่ ค่าในการประเมินออกเป็น 5

ระดับ ตามแบบของ ลเิ คิรต์ (Likert’s five point rating scale) ดงั นี้

นำ้ หนักคะแนน ๕ หมายถึง มคี วามเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด

นำ้ หนกั คะแนน ๔ หมายถงึ มีความเหน็ อยู่ในระดับมาก

นำ้ หนกั คะแนน ๓ หมายถึง มีความเห็นอยู่ในระดับปานกลาง

นำ้ หนกั คะแนน ๒ หมายถึง มคี วามเหน็ อยู่ในระดับนอ้ ย

นำ้ หนักคะแนน ๑ หมายถงึ มีความเหน็ อยู่ในระดับนอ้ ยท่ีสดุ

ในส่วนของการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาข้ัน

พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 และระดับความคิดเห็นของผู้เข้าร่วมโครงการถือว่าเป็นค่าเฉล่ียของคะแนนท่ีได้

จากการตอบแบบสอบถาม ทั้งน้ีผู้จัดกิจกรรมได้กำหนดการวิเคราะห์ตามแนวคิดของ เบสท์ (อ้างถึงใน พวง

รัตน์ ทวรี ัตน์, ๒๕๔๓ : ๓๐๓) ดงั นี้

ค่าเฉลี่ย ความหมาย

๑.๐๐ – ๑.๔๙ นอ้ ยทส่ี ุด

๑.๕๐ – ๒.๔๙ น้อย

๒.๕๐ – ๓.๔๙ ปานกลาง

๓.๕๐ – ๔.๔๙ มาก

๔.๕๐ – ๕.๐๐ มากท่สี ุด

16

บทท่ี ๔
ผลการศกึ ษา
ผ ล การศึ กษ าคว ามพึ งพ อใจ ขอ งผู้ เข้าร่วม โคร งก ารพั ฒ น าศัก ย ภ าพผู้ เรี ย น ต ามห ลั กสู ต ร
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการจำนวน 300 คน ผู้ศึกษาแบ่งผล
การศึกษาออกเปน็ 2 ส่วน ดงั น้ี
สว่ นที่ 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปเก่ียวกบั สถานภาพของผูต้ อบแบบสอบถาม
ส่วนท่ี 2 ข้อมูลเกยี่ วกบั ผลการศกึ ษาระดับความพึงพอใจของผู้เขา้ ร่วมโครงการพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี น
ตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ผลการศึกษาในแต่ละส่วนจะนำเสนอข้อมูลในรูปแบบ
ตารางแจกแจงเป็นคา่ เฉลี่ย และคา่ รอ้ ยละจากขอ้ มลู ท่ีได้เป็นสำคัญ ซึง่ มรี ายละเอยี ดของผลการศกึ ษา ดังน้ี
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไปเกีย่ วกบั สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม
ผู้ตอบแบบสอบถามในการศึกษาในคร้ังน้ี เป็นนักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ในพ้ืนที่
อำเภอเมืองนราธิวาส ท่ีเข้าร่วมโครงการพฒั นาศักยภาพผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาขนั้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551 โดยใชค้ ่ารอ้ ยละดงั ปรากฏ ดังน้ี
รปู ภาพที่ 1 จำนวนและรอ้ ยละของผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการจำแนกตามตำบล

จากรูปภาพท่ี 1 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการท้ังหมด 300 คน แบ่งเป็นตำบล 7 ตำบล ตำบลท่ี
เข้าร่วมมากที่สุดลำดับท่ี 1 ตำบลบางนาค ตำบลกะลุวอ ตำบลกะลุวอเหนือ ตำบลโคกเคียน คิดเป็นร้อยละ
66.80 รองลงมา ตำบลบางปอ คิดเป็นร้อยละ 13.30 ตำบลมะนังตายอ และ ตำบลลำภู คิดเป็นร้อยละ
20.00

17

รูปภาพท่ี 2 จำนวนและรอ้ ยละของผูเ้ ข้ารว่ มโครงการจำแนกตามตำบล ตามเพศ ช่วงอายุ
และระดบั การศกึ ษา

จากรูปภาพที่ 2 กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการจำแนกเป็นเพศชาย 160 คน คิดเป็นร้อยละ
53.30 และ เพศหญิง 140 คน คิดเป็นร้อยละ 46.70 ช่วงอายุระหว่าง 15 – 39 ปี จำนวน 267 คน
คิดเป็นร้อยละ 89.00 รองลงมา ช่วงอายุ 40 – 49 ปี จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 8.30 และช่วงอายุ
50 – 59 ปี จำนวน 8 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2.67 ระดับการศกึ ษา แบ่งเป็น ระดบั มธั ยมศึกษาตอนต้น จำนวน
165 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 107 คน คิดเป็นร้อยละ 35.70 และ
ประถมศกึ ษา จำนวน 28 คน คิดเป็นรอ้ นละ 9.30

18

รปู ภาพท่ี 3 จำนวนและร้อยละของผู้เขา้ รว่ มโครงการจำแนกตามอาชีพ

จากรูปภาพท่ี 3 กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการจำแนกเป็นอาชีพ รับจ้าง จำนวน 112 คน
คิดเป็นร้อยละ 37.30 อาชีพอื่นๆ จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อยละ 26.00 ว่างงาน จำนวน 74 คน คิดเป็น
ร้อยละ 24.70 อาชีพค้าขาย จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ 9.00 และอาชีพเกษตรกร จำนวน 9 คน คิด
เปน็ ร้อยละ 3.00

รปู ภาพท่ี 4 ความพึงพอใจในการจดั โครงการ
ด้านการถ่ายทอดความรู้ของวทิ ยากร

จากรปู ภาพ กลุ่มเป้าหมายที่เขา้ ร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในการถา่ ยทอดความรขู้ องวิทยากร
ลำดับท่ี 1 อยใู่ นระดับ มาก คิดเป็นรอ้ ยละ 52.30 รองลงมา อยู่ในระดบั ปานกลาง คิดเป็นรอ้ ยละ 26.70
มากทสี่ ดุ คิดเป็นรอ้ ยละ 18.00 และ ระดบั น้อย คดิ เปน็ ร้อยละ 3.00 ตามลำดับ

19

ดา้ นความสามารถในการอธิบายเน้ือหาของวิทยากร

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในการอธิบายเน้ือหาความรู้ของ
วทิ ยากร ลำดับที่ 1 อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 44.70 รองลงมา อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ
33.00 มากที่สุด คิดเปน็ ร้อยละ 17.30 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 4.33 และ ระดับน้อยท่ีสุด คดิ เปน็ รอ้ ยละ
0.66 ตามลำดบั

ดา้ นเทคนคิ การถา่ ยทอดของวิทยากรและการใช้สือ่ ทีเ่ หมาะสม

จากรูปภาพ กลุ่มเปา้ หมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในการเทคนคิ การถา่ ยทอด การใช้สื่อท่ี
เหมาะสม ในอธิบายความรู้ของวิทยากร ลำดับที่ 1 อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 44.70 รองลงมา อยู่ใน
ระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 31.70 มากท่ีสุด คิดเป็นร้อยละ 16.30 ระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 3.66
และ ระดับนอ้ ยท่สี ดุ คดิ เปน็ ร้อยละ 0.66 ตามลำดับ

20

ดา้ นวิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนรว่ มและซักถาม

จากรปู ภาพ กลุม่ เป้าหมายท่เี ขา้ ร่วมโครงการ มีความพงึ พอใจในวทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีสว่ นร่วมและ
ซักถาม ลำดับที่ 1 อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 47.30 รองลงมา อยู่ในระดับ ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ
32.00 มากที่สุด คิดเปน็ รอ้ ยละ 16.30 ระดับน้อย คิดเป็นรอ้ ยละ 3.66 และ ระดับน้อยท่สี ุด คิดเปน็ ร้อยละ
0.66 ตามลำดับ

ดา้ นเน้ือหาตรงกับความต้องการของผ้รู บั การอบรม

จากรูปภาพ กลุ่มเปา้ หมายที่เข้ารว่ มโครงการ มีความพึงพอใจในเนอื้ หาตรงกับความตอ้ งการของผู้รับ
การอบรม ลำดับท่ี 1 อยใู่ นระดบั มาก คิดเป็นร้อยละ 49.00 รองลงมา อยใู่ นระดับ ปานกลาง คิดเปน็ รอ้ ยละ
31.00 มากที่สุด คิดเป็นรอ้ ยละ 17.00 ระดับน้อย คิดเป็นรอ้ ยละ 2.66 และ ระดับน้อยท่สี ุด คดิ เป็นร้อยละ
0.33 ตามลำดับ

21

ด้านเนื้อหาที่เปน็ ประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในในเนื้อหาท่ีเป็นประโยชน์ต่อการ
นำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 163 คน คิดเปน็ ร้อยละ 54.30 รองลงมา ระดบั ปานกลาง 75
คน คดิ เป็นร้อยละ 25.00 ระดับมากท่สี ุด 58 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 19.30 และระดับน้อย 4 คน คิดเป็นรอ้ ย
ละ 1.40 ตามลำดบั

ด้านความรคู้ วามเขา้ ใจก่อนอบรม

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ มีการเตรียมความพร้อมก่อน
อบรม อยู่ในระดบั มาก 125 คน คดิ เป็นร้อยละ 41.70 รองลงมา ระดับปานกลาง 118 คน คดิ เป็นร้อยละ
39.30 ระดับมากที่สุด 35 คน คิดเป็นร้อยละ 11.70 ระดับน้อย 21 คน คิดเป็นร้อยละ 7.00 และระดับ
นอ้ ยทสี่ ดุ 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.3 ตามลำดับ

22

ดา้ นความรู้ความเขา้ ใจหลังการอบรม

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความรู้ ความเข้าใจ หลังการอบรม อยู่ในระดับมาก
149 คน คิดเป็นร้อยละ 49.70 รองลงมา ระดับปานกลาง 98 คน คิดเป็นร้อยละ 32.70 ระดับมากที่สุด
46 คน คิดเป็นร้อยละ 15.30 ระดับนอ้ ย 6 คน คดิ เป็นร้อยละ 2.00 และระดับน้อยทส่ี ุด 1 คน คิดเป็นรอ้ ย
ละ 0.33 ตามลำดับ

ดา้ นระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม

จากรปู ภาพ กลุ่มเปา้ หมายทเ่ี ข้าร่วมโครงการ มคี วามพึงพอใจในระเวลาในการอบรมมคี วามเหมาะสม
อยู่ในระดับมาก 146 คน คิดเป็นร้อยละ 48.70 รองลงมา ระดับปานกลาง 105 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 35.00
ระดับมากท่ีสุด 40 คน คิดเป็นร้อยละ 13.30 ระดับน้อย 7 คน คิดเป็นร้อยละ 2.33 และระดีบน้อยที่สุด
1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.33 ตามลำดับ

23

ด้านการจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปา้ หมาย

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับ
กลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับมาก 156 คน คิดเป็นร้อยละ 52.00 รองลงมา ระดับปานกลาง 91 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 30.30 ระดับมากท่ีสุด 41 คน คดิ เป็นร้อยละ 13.70 ระดบั นอ้ ย 11 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3.66 และ
ระดบั นอ้ ยทสี่ ุด 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.33 ตามลำดบั

ดา้ นวิธกี ารวัดผลประเมนิ ผลเหมาะสมกบั วัตถปุ ระสงค์

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในด้านวิธีการวัดผลประเมินผล
เหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อย่ใู นระดับมาก 144 คน คิดเป็นร้อยละ 48.00 รองลงมา ระดับปานกลาง 101
คน คิดเป็นรอ้ ยละ 33.70 ระดบั มากทส่ี ุด 42 คิดเป็นร้อยละ 14.00 และระดบั น้อย 11 คน คิดเป็นร้อยละ
3.66 ตามลำดับ

24

ด้านการสื่อสาร การสร้างบรรยากาศ เพ่อื ให้เกิดการเรยี นรู้

จากรปู ภาพ กลุ่มเป้าหมายที่เขา้ รว่ มโครงการ มีความพงึ พอใจในดา้ นการส่ือสาร การสร้างบรรยากาศ
เพื่อใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ อย่ใู นระดับมาก 159 คน คิดเป็นร้อยละ 53.00 รองลงมา ระดับปานกลาง 86 คน คิด
เป็นร้อยละ 28.70 ระดับมากที่สุด 48 คน คิดเป็นร้อยละ 16.00 ระดับน้อย 6 คน คิดเป็นร้อยละ 2.00
และระดับน้อยท่สี ุด 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.33 ตามลำดับ

ดา้ นการบรกิ าร การช่วยเหลือ และการแกป้ ญั หา

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในด้านการบริการ การช่วยเหลือ และ
การแก้ปัญหา อยู่ในระดับมาก 147 คน คิดเป็นร้อยละ 49.00 รองลงมา ระดับปานกลาง 97 คน คิดเป็น
ร้อยละ 32.30 ระดับมากที่สุด 47 คน คิดเป็นร้อยละ 15.70 และระดับน้อย 9 คน คิดเป็นร้อยละ 3.00
ตามลำดับ

25

ดา้ นสถานที่ วสั ดุ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในด้านสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์ และสิ่ง
อำนวยความสะดวก อย่ใู นระดับมาก 143 คน คิดเปน็ ร้อยละ 47.70 รองลงมา ระดับปานกลาง 92 คน คิด
เป็นร้อยละ 30.70 ระดับมากท่ีสุด 55 คน คิดเป็นร้อยละ 18.30 และระดับน้อย 10 คน คิดเป็นร้อยละ
3.33 ตามลำดับ

ข้อคิดเหน็ เพมิ่ เต่ิม / ข้อเสนอแนะอนื่ ๆ

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ แสดงข้อคิดเห็นเพ่ิมเติ่มและข้อเสนอแนะอื่นๆ
สว่ นมาก ไม่มี คิดเปน็ รอ้ ยละ 32.50 รองลงมา เปน็ เรียนตอ่ ไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 10.40 ตามลำดบั แผนภูมิ

26

บทท่ี ๕

บทสรปุ ผลการศกึ ษาและขอ้ เสนอแนะ

จากการจดั กจิ กรรมโครงการพฒั นาศักยภาพผเู้ รียนตามหลักสูตรการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานพุทธศกั ราช
2551 ได้จัดทำข้ึน มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ได้ทราบถึงนโยบาย
วตั ถุประสงค์ ของสถานศึกษา มคี วามรคู้ วามเข้าใจ เรื่อง หลกั สตู รโครงสรา้ งของหลักสูตร กระบวนการเรยี นการ
สอน การวัดและประเมินผลและสามารถนำความรู้มาประยุกต์ใช้ในการเรียนรู้การศึกษานอกระบบ ระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานได้ พบว่า กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการท้ังหมด 300 คน แบ่งเป็นตำบล 7 ตำบล
ตำบลท่ีเข้าร่วมมากที่สุดลำดับท่ี 1 ตำบลบางนาค ตำบลกะลุวอ ตำบลกะลุวอเหนือ ตำบลโคกเคียน คิดเป็น
ร้อยละ 66.80 รองลงมา ตำบลบางปอ คิดเป็นร้อยละ 13.30 ตำบลมะนังตายอ และ ตำบลลำภู คิดเป็น
รอ้ ยละ 20.00 จำแนกเปน็ เพศชาย 160 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 53.30 และ เพศหญิง 140 คน คิดเป็นร้อยละ
46.70 ช่วงอายุระหวา่ ง 15 – 39 ปี จำนวน 267 คน คิดเป็นร้อยละ 89.00 รองลงมา ช่วงอายุ 40 –
49 ปี จำนวน 25 คน คิดเป็นร้อยละ 8.30 และช่วงอายุ 50 – 59 ปี จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.67
ระดับการศึกษา แบ่งเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 165 คน คิดเป็นร้อยละ 55.00 มัธยมศึกษา
ตอนปลาย จำนวน 107 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 35.70 และประถมศึกษา จำนวน 28 คน คิดเปน็ ร้อนละ 9.30
จำแนกเป็นอาชีพ รับจ้าง จำนวน 112 คน คิดเป็นร้อยละ 37.30 อาชีพอื่นๆ จำนวน 78 คน คิดเป็นร้อย
ละ 26.00 ว่างงาน จำนวน 74 คน คิดเป็นร้อยละ 24.70 อาชีพค้าขาย จำนวน 27 คน คิดเป็นร้อยละ
9.00 และอาชีพเกษตรกร จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 3.00 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึง
พอใจในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 52.30 อธิบายเนื้อหาความรู้ของ
วทิ ยากร อยู่ในระดับ มาก คิดเป็นร้อยละ 44.70 เนื้อหาตรงกับความต้องการของผู้รับการอบรม อยู่ในระดับ
มาก คิดเป็นร้อยละ 49.00 เน้ือหาที่เป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก คิด
เป็นร้อยละ 54.30 มีการเตรียมความพร้อมก่อนอบรม อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 41.70 มีความรู้
ความเข้าใจ หลังการอบรม อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 49.70 ระเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม อยู่
ในระดับมาก คิดเป็นร้อยละ 48.70 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับมาก คิดเป็นร้อย
ละ 52.00 ความพึงพอใจในด้านวิธีการวัดผลประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมาก คิดเป็น
ร้อยละ 48.00 มีความพึงพอใจในด้านการสื่อสาร การสร้างบรรยากาศ เพอ่ื ให้เกดิ การเรียนรู้ อย่ใู นระดับมาก
คิดเป็นร้อยละ 53.00 ความพึงพอใจในดา้ นการบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแก้ปัญหา อยู่ในระดบั มาก คิด
เป็นรอ้ ยละ 49.00 มีความพึงพอใจในด้านสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์ และส่ิงอำนวยความสะดวก อย่ใู นระดับมาก
คิดเป็นร้อยละ 47.70 กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ แสดงข้อคิดเห็นเพิ่มเต่ิมและข้อเสนอแนะอ่ืนๆ
สว่ นมาก ไม่มี คดิ เปน็ ร้อยละ 32.50 รองลงมา เปน็ เรียนตอ่ ไป คิดเปน็ ร้อยละ 10.40

27

บรรณานุกรม

1. หนังสือเรยี นรายวิชาเลือกสาระทักษะการเรียนรู้ วิชา แกป้ ญั หาด้วยกระบวนการคิดเป็น
2. http://sk.nfe.go.th/msk/คมู่ ือนักศึกษา กศน.สงขลา 2563
3. www.panchalee.files.wordpress.com การจดั กิจกรรมพัฒนาคณุ ภาพชีวติ (กพช.)

4. www.panchalee.files.wordpress.com การวดั และประเมินผล หลกั สูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศกั ราช 2551

28

ภาคผนวก

29

ภาพกิจกรรม
โครงการพัฒนาศกั ยภาพผ้เู รยี นตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551

วันท่ี 17 มิถุนายน 2563
ณ กศน.ตำบล ท้งั 7 แหง่
......................................................................

กศน.ตำบลบางนาค

พิธีเปิดโครงการพฒั นาศกั ยภาพผู้เรียนตามหลักสตู รการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551
กศน.ตำบลบางนาค โดยมี นายศุภศักด์ิ พุฒิไพโรจน์ ประธานกรรมการ กศน.ตำบลบางนาค เป็นประธานใน
พิธีเปิด พร้อมให้โอวาทแก่นักศึกษา กศน.ตำบลบางนาค และ มีนางสาวนาริณีย์ อโนมะศิริ ครูชำนาญการ
พิเศษ ร่วมนิเทศการจัดกิจกรรมพร้อมช้ีแนะแนวทางในการเรียน และพัฒนาผู้เรียน ตามหลักสูตรการศึกษา
ข้นั พน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551

กศน.ตำบลกะลวุ อเหนือ

พิธีเปิดโครงการพัฒนาศักยภาพผู้เรียนตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กศน.
ตำบลกะลุวอเหนือ โดยมีนายสุไฮมี มะเกะ รองนายกเทศมนตรีตำบลกะลุวอเหนือ เป็นประธานในการเปิด
โครงการ และได้ให้แนวคิด เรียนอย่างไร จึงจะจบการศึกษาพร้อมท้ังอวยพรให้นักศึกษาทุกคนจบการศึกษา
ตามหลกั สตู ร พร้อมคณะครู กศน.ใหค้ วามรเู้ ก่ียวกับวธิ ีเรยี น กศน.ตลอดจนจบหลักสูตร

30

ตำบลกะลุวอ

พิธเี ปิดโครงการพัฒนาศักยภาพผเู้ รียนตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พทุ ธศักราช 2551 กศน.
ตำบลกะลุวอ โดยมีนายแวสาแลแม มอื ลี ประธานคณะกรรมการ กศน.ตำบลกะลุวอ เป็นประธานในพธิ เี ปดิ
โครงการฯและมนี ายอซั มงิ ดือราแม ผใู้ หญ่บ้านหมทู่ ี่ 7 มาร่วมเปน็ เกียรติ และคณะครู กศน.ใหค้ วามรเู้ กย่ี วกับ
วธิ ีเรยี น กศน. โครงสร้างหลักสตู รตลอดจนจบหลกั สูตร

ตำบลบางปอ

พธิ ีเปดิ โครงการพัฒนาศักยภาพผเู้ รยี นตามหลกั สูตรการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กศน.
ตำบลบางปอ โดยมนี ายเอาตัร มะแซ ผู้ใหญบ่ ้านหมู่ ท่ี 9 เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ พร้อมให้โอวาทแก่
นักศึกษา และคณะครู กศน.ใหค้ วามรู้เก่ยี วกับวิธีเรยี น กศน. โครงสร้างหลักสตู รตลอดจนจบหลกั สูตร

31

ตำบลลำภู

พิธเี ปดิ โครงการพฒั นาศักยภาพผู้เรียนตามหลกั สูตรการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กศน.
ตำบลลำภู โดยมนี ายนิอมู า วาเต๊ะ เป็นประธานในพิธีเปิดโครงการ พร้อมให้โอวาทแกน่ ักศึกษา และคณะครู
กศน.ใหค้ วามร้เู ก่ยี วกับวธิ ีเรียน กศน. โครงสรา้ งหลกั สตู รตลอดจนจบหลักสูตร

ตำบลมะนังตายอ

พธิ เี ปิดโครงการพฒั นาศักยภาพผ้เู รยี นตามหลักสตู รการศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 กศน.
ตำบลมะนงั ตายอ โดยมี นายนฤสรรค์ อิสลามธรรมธาดา นายกองคก์ ารบรหิ ารส่วนตำบลมะนังตายอ ให้เกีรยติ
มาประธานในพธิ เี ปดิ โครงการ และคณะครู กศน.ใหค้ วามรู้เกี่ยวกับวิธีเรยี น กศน. โครงสร้างหลกั สตู รตลอดจน
จบหลักสูตร

32

ตำบลโคกเคียน

พิธเี ปดิ โครงการพฒั นาศักยภาพผู้เรยี นตามหลกั สูตรการศึกษาข้ันพืน้ ฐาน พทุ ธศักราช 2551 กศน.
ตำบลโคกเคยี น โดยมีนายสญชัย นิลจันทร์ รองนายกองค์การบรหิ ารสว่ นตำบลโคกเคยี น ทีป่ รึกษา
คณะกรรมการ กศน.ตำบลโคกเคยี น เปน็ ประธานในพิธีเปิดโครงการฯ และคณะครู กศน.ใหค้ วามร้เู กี่ยวกับ
วิธีเรยี น กศน. โครงสรา้ งหลกั สตู รตลอดจนจบหลักสูตร


Click to View FlipBook Version