The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลติวเข้ม12.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g_shock_33, 2022-06-04 00:16:53

รายงานผลติวเข้ม12.64

รายงานผลติวเข้ม12.64

คำนำ

เอกสารสรุปผลการดำเนินงานฉบับน้ี ได้จัดทำขึ้นเพ่ือรายงานผลการประเมินการดำเนินงาน
โครงการค่ายวิชาการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน N-Net 2/2564 (พี่สอนน้อง)
กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส
ปงี บประมาณ 2565 และใชเ้ ป็นขอ้ มลู ประกอบการพจิ ารณาจดั ทำแผนดำเนินงานกจิ กรรมต่าง ๆ ในปีต่อไป

การดำเนินงาน และการจดั ทำเอกสารฉบบั นี้ สำเรจ็ และเป็นรูปเล่มได้ด้วยความร่วมมือจากบคุ ลากร
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ขอขอบคุณบุคลากร ทุกท่าน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รักษาการผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ
เมืองนราธิวาส ที่ได้ให้คำแนะนำ จนการจัดกิจกรรมดังกล่าวสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังว่าเอกสารฉบับน้ี
จะใชเ้ ป็นข้อมูลอ้างองิ ต่อไป

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อำเภอเมืองนราธวิ าส

31 มีนาคม 2565

สารบัญ หนา้

บทที่ ๑ บทนำ 1
- ความเปน็ มาและความสำคัญของโครงการ 1
- วัตถปุ ระสงค์ 2
- เป้าหมาย 2
- งบประมาณ 3
- ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 3
- เครอื ข่ายท่ีเกย่ี วข้อง 3
- โครงการที่เกีย่ วข้อง 3
- ผลลัพธ์ 4 - 22
23 – 24
บทที่ ๒ เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง 25 – 31
บทท่ี ๓ วธิ ดี ำเนินการ 32
บทท่ี ๔ ผลการศึกษา
บทที่ ๕ สรปุ ผลการศกึ ษา

บรรณานกุ รม

*******************************************

1

บทที่ ๑

บทนำ

1. ความเป็นมาและความสำคัญ

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560 ได้บัญญัติไว้ในมาตรา 54 ว่า “รัฐต้องดำเนินการให้
เด็ก ทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลาสิบสองปี ตั้งแต่ก่อนวัยเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ โดย
ไม่เกบ็ ค่าใช้จา่ ย” และใหจ้ ัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน 15 ปี โดยไมเ่ กบ็ คา่ ใช้จา่ ย “โดยให้ส่วนราชการท่ีเกยี่ วข้องกับ
การจัดการศึกษาข้ันพ้ืนฐานดำเนินการจัดการศึกษาข้ันพื้นฐาน 15 ปี ให้มีมาตรฐานและคุณภาพ โดยไม่เก็บ
ค่าใช้จ่าย” สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ได้ตระหนักถึงภารกิจที่สำคัญในการพัฒนาประชากรของชาติ
ให้เป็น “คนไทยในอนาคตจะต้องมีความพร้อมทั้งกาย ใจ สติปัญญา มีพัฒนาการที่ดีรอบด้านและมีสุขภาวะที่ดี
ในทุกช่วงวัย มีจิตสาธารณะ รับผิดชอบต่อสังคมและผู้อ่ืน มัธยัสถ์ อดออม โอบอ้อมอารี มีวินัย รักษาศีลธรรม
และเป็นพลเมืองดีของชาติ มีหลักคิดที่ถูกต้อง มีทักษะท่ีจำเป็นในศตวรรษท่ี 21 อีกท้ังการยกระดับคุณภาพ
การศึกษา เพื่อให้ผ้เู รยี นได้รบั การส่งเสริมใหม้ ีศักยภาพสงู สู่มาตรฐานสากลและทัดเทียมกับนานาประเทศ
จงึ จำเป็นตอ้ งสรา้ งความพรอ้ มดา้ นวชิ าการ ยกระดบั องค์ความรู้ให้ได้มาตรฐานสากล ซง่ึ ผู้เรยี นสามารถนำความรู้
ทไี่ ด้รบั จากห้องเรยี นไปใชป้ ระโยชนใ์ ห้มากทสี่ ุด

จากผลสัมฤทธิ์การสอบ N - net ของนักศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ภาคเรียนที่ 1
ปีการศึกษา 2564 พบว่า คะแนนเฉล่ีย N – net ทั้ง 5 กลุ่มสาระ 14 รายวิชา ผ่านเกณฑ์ในระดับจังหวัด
แตไ่ ม่ผ่านเกณฑใ์ น ระดับภาค และระดับประเทศ ดงั นัน้

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ตระหนักถึงปัญหาและ
ความสำคัญกับการยกระดับผลสัมฤทธ์ิดังกล่าวเป็นอย่างย่ิง จึงจัดทำโครงการโครงการค่ายวิชาการติวเข้มเติม
เต็มความรู้ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน N-Net 2/2564 (พี่สอนน้อง) กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส เพ่ือ
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และวิจารณญาณมีความคิด
สร้างสรรค์ คิดไตร่ตรองและมีวิสัยทัศน์ มีทักษะท่ีจำเป็นตามหลักสูตร ท้ัง 5 กลุ่มสาระ 14 รายวิชาโดยจัด
กระบวนการในรูปแบบ พี่สอนน้อง รวมท้ังพัฒนาการเรียนให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน ให้สอดคล้องกับ
จุดเน้นของสำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ต้องการยกระดับผลสัมฤทธิ์
ทางการศึกษาและมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดขี น้ึ อันจะนำไปสู่การอยู่ร่วมกันในสงั คมอย่างมีความสขุ

2. วัตถปุ ระสงค์
2.1 เพอื่ ให้กลุม่ เป้าหมาย นักศึกษาขน้ั พื้นฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส มีความรู้ ความเข้าใจ
ในเนอื้ หาสาระ ทง้ั 5 กลุ่มสาระ

2.2 เพ่ือให้กล่มุ เปา้ หมาย นกั ศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน กศน.อำเภอเมอื งนราธิวาส มที ักษะและสามารถ
นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสอบปลายภาคเรยี น และสอบ N-Net ภาคเรยี นที่ 2/2564

2

3. เป้าหมาย

เชิงปรมิ าณ

นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส ( 7 ตำบล ) จำนวน 200 คน แบ่งเป็น

กศน.ตำบลบางนาค จำนวน 30 คน

กศน.ตำบลกะลวุ อเหนอื จำนวน 30 คน

กศน.ตำบลกะลุวอ จำนวน 30 คน

กศน.บางปอ จำนวน 30 คน

กศน.ตำบลโคกเคยี น จำนวน 27 คน

กศน.ตำบลมะนงั ตายอ จำนวน 27 คน

กศน.ตำบลลำภู จำนวน 26 คน

เชิงคณุ ภาพ

กลมุ่ เป้าหมายนักศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส มคี วามรู้ความเข้าใจในเนอ้ื หา

สาระ ทัง้ 5 กลมุ่ สาระ มที ักษะและสามารถนำความรู้ไปประยกุ ต์ใช้ในการสอบปลายภาคเรียน และสอบ N-Net

ได้

4. วงเงนิ งบประมาณทัง้ โครงการ
จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศกึ ษา โครงการสนับสนนุ ค่าใชจ้ ่าย ในการ

จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบ ระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน งบเงินอุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒
43016500154 จำนวน 61,47๐ บาท ( หกหมื่นหนึ่งพันสี่รอ้ ยเจด็ สบิ บาทถ้วน ) รายละเอียดดังน้ี

๗.1 ค่าใช้สอย

- ค่าอาหารกลางวัน จำนวน 200คนx ๗๐บาท x 2มอ้ื เปน็ เงนิ 28,000.-บาท

- ค่าอาหารวา่ งและเคร่ืองดื่ม จำนวน 200คน x ๒0 บาท x 4 ม้ือ เป็นเงนิ 16,000.-บาท

๗.2 ค่าวสั ดุ เป็นเงนิ 500 .-บาท
- คา่ ปา้ ย 1 ผนื × 500 บาท เปน็ เงิน 16,970.- บาท
- ค่าวัสดุดำเนนิ งาน

รวมเปน็ เงินท้งั สน้ิ 61,470.- บาท ( หกหมื่นหนง่ึ พนั สี่ร้อยเจ็ดสบิ บาทถ้วน )

3

5. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ
นางสาวปิยนาถ ยะปา ตำแหนง่ ครูผชู้ ว่ ย เบอรโ์ ทร 083-0746869

6. เครือขา่ ย
ศษิ ยเ์ ก่า และศิษยป์ จั จบุ ัน กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส

7. โครงการทีเ่ กย่ี วข้อง
7.๑ โครงการจดั การศึกษาเพอื่ พฒั นาทักษะชวี ติ
7.๒ โครงการจดั การศกึ ษาข้ันพน้ื ฐาน

8. ผลลัพธ์
กลุ่มเป้าหมายนักศึกษาข้ันพื้นฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส มีความรู้ความเข้าใจในเน้ือหาสาระ

ท้ัง 5 กลุม่ สาระ มที ักษะและสามารถนำความรไู้ ปประยุกตใ์ ช้ในการสอบปลายภาคเรียน และสอบ N-Net ได้

4

บทที่ ๒

เอกสารทีเ่ กยี่ วขอ้ ง

แนวข้อสอบ N-NET
สาระทกั ษะการดำเนนิ ชีวิต : วิชา เศรษฐกิจพอเพียง
1. สภาพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหง่ ชาติได้ตระหนักถึงความสำคัญของปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงท่ีมสี ่วนชว่ ย
ในการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมของประเทศจึงอญั เชญิ มาเปน็ แนวทางในการกำหนดแผนพฒั นาเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ ซง่ึ เร่ิมนำมาใช้ต้งั แต่ฉบบั ท่ีเทา่ ไร

1. ฉบับที่ 7 2. ฉบบั ที่ 8

3. ฉบบั ที่ 9 4. ฉบบั ท่ี 10

2.หลกั การของเศรษฐกิจพอเพียงท่สี ำคัญทสี่ ุด คืออะไร

1. การจดั การ 2.การพง่ึ ตนเอง

3. การรวมกล่มุ ของชาวบ้าน 4. ความเอ้ือเฟ้อื เผ่ือแผ่ และความสามั

3. ข้อใดต่อไปน้ี ควรยึดถือเป็นแบบอย่างในการดำรงชวี ติ ตามหลกั การเศรษฐกิจพอเพยี งในช่วง

ภาวะเศรษฐกจิ ของประเทศตกต่ำ

1. นติ ยา ส่งั จองรถยนต์รุน่ ใหมท่ ่นี ำเขา้ มาจากยโุ รป

2. จันทิมา นง่ั รถประจำทางมาทำงานแทนการขับรถสว่ นตัว

3. สาวติ รี เดินทางไปพกั ผ่อนต่างประเทศเปน็ ประจำทุกเดือน

4. พรรณทิภา สงั่ ซ้ือเคร่ืองสำอางของต่างประเทศทางอนิ เทอรเ์ น็ต

4. บคุ คลใดยึดหลกั การสร้างภูมิคมุ้ กนั ตามปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียง

1. ปอยซ้ือรถคนั ใหม่มาใชข้ ณะทเ่ี กิดภาวะน้ำมันแพง

2. เป้ิลจดั สรรรายจ่ายใหพ้ อดีกับรายได้ในแต่ละเดือน

3. ปุ๊กตดิ ตามขา่ วสารเพื่อใหร้ ู้เทา่ ทันตามกระแสโลกาภวิ ัตน์

4. ปิก๊ ใชจ้ า่ ยเงนิ เดอื นอย่างรอบคอบและออมไว้ใชใ้ นยามจำเปน็

5.ขอ้ ใดแสดงถงึ การร้จู ักพอประมาณมากที่สุด

1. เจ้าแสงคำหมนั่ ศกึ ษาหาความรอู้ ยู่เป็นนิตย์

2. เจา้ น้อยปฏิบัตินตามเบญจศลี อย่างเคร่งครัดและสมำ่ เสมอ

3. เจา้ พัฒนาชอบลงทุนธรุ กิจท่มี ีความเส่ียงมากเพราะเป็นการท้าทายชวี ติ

4. เจ้าหญิงอรสิ าวางแผนการบริหารเมืองอย่างรอบคอบ โปรง่ ใสและเปน็ ธรรม

6. ขอ้ ใดคือหลกั การสร้างความเขม้ แขง็ ของชมุ ชนท้องถ่นิ อย่างยังยืน

1. การสรา้ งกำไรสูงสดุ ในชมุ ชน

2. การรวมกลมุ่ และพลงั ความร่วมมอื

3. การพฒั นาแบบแยกส่วน

4. การพัฒนาแบบก้าวกระโดด

5

7. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ขอบข่ายของความพอเพียง
1. หลักปฏิบัตติ นไปในทางสายกลาง
2. การตดั สินใจอยา่ งรอบคอบและมเี หตุผล

3. ความพอดีที่ไม่น้อยเกินไปและไม่มากเกินไป
4. การเตรียมตัวให้พรอ้ มรับผลกระทบท่ีเกดิ ขึ้นเพียงเฉพาะเวลาอันใกล้
8. อัตราส่วนการแบ่งพ้นื ทีก่ ารเกษตรทฤษฎีใหม่ คือขอ้ ใด

1.10:30:30:30 2.30:10:30:30
3.30:30:10:30 4.30:30:30:10
9. ทฤษฎีใหม่ หมายถึงอะไร

1. หลักการบริหารประเทศแบบใหม่
2. หลักการบริหารจัดการทีด่ ินและน้ำเพื่อการเกษตร
3. หลักการบริหารจัดการด้านอุตสาหกรรมการเกษตร

4. ทฤษฎีที่คน้ พบขึ้นใหม่
10. แนวทางปฏิบัติตนตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ข้อใดท่ีนักเรียนควรยดึ เปน็ แนวทาง
ในการดำเนินชีวติ

1. ประกอบอาชพี ดว้ ยความสุจรติ
2. นำทรัพยากรมาใช้อยา่ งรู้คุณคา่
3. ใช้ความรใู้ นการพฒั นาภูมิปัญญาท้องถ่นิ

4. มคี วามประหยดั ลดความฟุ่มเฟอื ยในการดำรงชีวิต
11. ข้อใดเป็นการปรับเปลยี่ นพฤติกรรมเพื่อปลกู ฝงั แนวคิดหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งต่อตนเอง

1. การนำนำ้ ลา้ งจานไปรดตน้ ไม้

2. เปลี่ยนหลอดไฟเป็นแบบหลอดประหยัดไฟฟา้

3. ไมท่ ้งิ ขยะในทสี่ าธารณะและแหล่งน้ำชุมชน

4. ใชถ้ งุ ผา้ แทนถุงกระดาษแทนและถุงพลาสติกในการซื้อของ

12. คุณธรรมด้านใดทีม่ คี วามสำคัญกบั หลักเศรษฐกิจพอเพียงมากทสี่ ดุ

1. เป็นคนมศี ลี ธรรม 2. มคี วามละอายต่อบาป

3. เปน็ ผู้มีความโอบอ้อมอารี 4. มีความซ่อื สตั ย์ ขยนั หมน่ั เพยี ร

13. การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยใู่ นระดบั พอเพยี งนน้ั ตอ้ งอาศยั สิ่งใดเป็นพื้นฐาน

1. ความชื่อสัตยแ์ ละความรู้ 2. ความรู้และคณุ ธรรม

3. คณุ ธรรมและความเพยี ร 4. ความเพยี รและสตปิ ัญญา

14 โครงการใดต่อไปนี้ไมใ่ ชโ่ ครงการพฒั นาประเทศตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

1. โครงการอนุรักษภ์ ูมิปัญญาท้องถ่นิ 2. โครงการอนรุ กั ษ์ทรัพยากรธรรมชาติ

3. โครงการสง่ เสรมิ ประเพณี วัฒนธรรม 4. โครงการสง่ เสริมสนิ คา้ OTOP

6

15. โครงการเสริมสร้างการเรยี นรตู้ ลอดชวี ิตมีประโยชนแ์ ละความสำคัญอยา่ งไร
1. สรา้ งโอกาสทางการศึกษาอย่างต่อเนอ่ื ง
2. สนบั สนุนการศกึ ษา การจัดทำหลกั สตู ร
3. พัฒนาคณุ ภาพบุคลากรทางการศึกษา
4. ส่งเสริมใหป้ ระชาชนมคี วามเขา้ ใจและตระหนักในการเรียนรู้

รายวชิ าสขุ ศกึ ษา พลศึกษา

๑. โรคท่ีถา่ ยทอดทางพันธุกรรม ซง่ึ ส่งผลต่อพัฒนาการของบุคคลคือข้อใด

1.โรคโปลโิ อ 2.โรคธาลัสซเี มยี

3.โรคผิวหนงั 4.โรคไต

๒. ข้อใดต่อไปน้ีสามารถอธบิ ายได้ถูกต้องทส่ี ุด
1. ไม่มีความจำเป็นจะต้องแสดงฉลากโภชนาการ
2. ผลติ ภณั ฑ์อาหารทุกช้ินจะต้องแสดงฉลากโภชนาการ
3. แสดงฉลากโภชนาการเฉพาะอาหารทน่ี ำเข้าจากต่างประเทศ
4. ผลิตภัณฑ์อาหารบางชนดิ ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งมีฉลากโภชนาการ เพราะรู้อย่แู ล้ว

๓. การออกกำลงั กายจะชว่ ยให้ผู้มีอาการซึมเศรา้ กลับมีอาการดขี นึ้ ไดจ้ ริงหรือไม่
1. จรงิ เพราะการออกกำลงั กายทำให้สนกุ สนานเพลนิ เพลิน
2. จริง เพราะการออกกำลงั กายทีห่ นกั จะทำใหม้ ีการหลัง่ สารเอน็ โดรฟนิ
3. ไมจ่ รงิ เพราะการออกกำลังกายจะทำให้ร่างกายมีการหล่ังกรดแลคติก
4. ไมจ่ ริง เพราะการออกกำลงั กายจะทำใหเ้ สยี เหง่ือมากและเม่อื ยลา้

๔. อาหารชนิดใดทก่ี ่อใหเ้ กิดโรคมะเรง็ 2. อาหารป้ิงย่าง
1. อาหารหมกั ดอง 4. ถูกทกุ ข้อ
3. อาหารทม่ี ีไขมนั สูง
2. เกดิ โรคทางเดินหายใจ
๕. มลพิษทางอากาศ ส่งผลเสยี ต่อสขุ ภาพอย่างไร 4. เกดิ โรคภมู แิ พ้
1. เกดิ โรคปอด
3. เกดิ โรคเครียด

๖. ผทู้ ี่ติดเชือ้ เอดส์ สภาพรา่ งกายจะอยูใ่ นลกั ษณะใด

1. มอี าการแพ้ง่าย 2. ขาดความสามารถในการสรา้ งภมู คิ ุ้มกนั

3. มีความไวต่อการติดเช้อื ไวรัส 4. ปฎกิ ริ ิยาในการต้านเชื้อโรคต่ำ

๗. ส่ิงแวดล้อมใดทีส่ ง่ เสรมิ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของคน

1. สะอาดและปลอดภยั 2. กา้ วหน้าทนั สมัย

3. มเี คร่อื งอำนวยความสะอาด 4. คมนาคมสะดวกรวดเรว็

7

๘. ข้อใดไม่ใชแ่ นวทางในการพฒั นาตนเองให้เจรญิ เตบิ โตสมวยั

1. พักผอ่ นใหเ้ พียงพอ อยา่ งน้อยวันละ ๘-๙ ชัว่ โมง

2. รับประทานอาหารใหห้ ลากหลายรสชาติ เพ่อื คุณคา่ ทางโภชนาการทีด่ ี

3. รับประทานอาหารในแตล่ ะวันให้ครบทง้ั ๓ มื้อ และในแต่ละม้ือครบทั้ง ๕ หมู่

4. หมนั่ ตรวจสอบภาวการณ์เจริญเติบโตทางรา่ งกายของตนเอง อย่างนอ้ ยภาคเรยี นละ๑ คร้งั

๙. ร่างกายของคนเรา มีกระดูกรวมกชี่ น้ิ

1. ๓๒ ชิน้ 2. ๖๒ ช้ิน

3. ๒๐๖ ชนิ้ 4. ๖๐๒ ช้ิน

๑๐. ขอ้ ดขี องสมนุ ไพร คือข้อใด
1. ปลกู ไดเ้ องภายในครัวเรอื นและประหยัด
2. เป็นอาหารและยา
3. ลดการขาดดลุ การคา้ ภายในประเทศ
4. ถกู ทุกข้อ

๑๑. เม่อื ลงเรอื โดยสาร ตอ้ งสังเกตอะไรเปน็ ลำดบั แรก

1. ลกู เรอื 2. อุปกรณช์ ชู ีพ

3. คนขับเรือ 4. ที่นง่ั

๑๒. ของเสยี ต่างๆทเ่ี กิดจากการทำงานของรา่ งกายถูกจำกัดไดโ้ ดยทางใดบ้าง

1. ปอด 2. ไต

3. ผวิ หนัง 4. ถูกทกุ ข้อ

๑๓. ระบบทางเดินอาหารเร่ิมขึ้นทใ่ี ด 2. ในหลอดอาหาร
1. ในชอ่ งปาก 4. ในลำไส้เลก็
3. ในกระเพาะอาหาร

๑๔. ตับมหี นา้ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ระบบทางเดนิ อาหารอยา่ งไร
1. สรา้ งน้ำย่อยอาหารจำพวกแป้ง
2. สร้างนำ้ ดี
3. สรา้ งฮอรโ์ มนกระต้นุ การทำงานของลำไสเ้ ลก็
4. ดดู นำ้ กลโู คส และวิตามินบีที่ถูกสรา้ งจากแบคทีเรียเข้าสู่กระแสเลือด

๑๕. ขอ้ ใดไม่ใชโ่ รคท่ีเกิดจากความผดิ ปกติของระบบทางเดินอาหาร

1. โรคกระเพาะอาหาร 2. โรคอหวิ าตกโรค

3. โรคไตอักเสบ 4. โรครดิ สดี วงทวาร

8

รายวิชา ศลิ ปศึกษา

1. สที ่ีเหมาะสมสำหรบั การกระตุ้นเตือนมากทีส่ ุดคือข้อใด

ก. สีเหลือง ข. สีแดง

ค. สมี ่วง ง. สีดำ

2. ในรัชสมัยใดเป็นยุคทองของนาฏศิลปไ์ ทย

ก. สมยั พระบาทสมเดจ็ พระพุทธยอดฟา้ จุฬาโลกมหาราช

ข. สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลยั

ค. สมยั พระบาทสมเดจ็ พระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว

ง. สมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู้หวั

3. ศิลปะของอนิ เดียทีจ่ ัดวา่ เป็นศลิ ปะยุคสงู สดุ ( classic art ) ของอนิ เดยี ของยุคศิลปะข้อใด

ก. ศิลปะยุคอมราวดี ข. ศลิ ปะยคุ คันธารราษฎร์

ค. ศลิ ปะยุคคุปตะ ง. ศลิ ปะยคุ ปาละ

4. “โอล้ ะหนอ ดวงเดอื นเอย” คำกลอนนี้มีความหมายตรงกบั ข้อใดมากท่ีสดุ

ก. ดวงจนั ทร์ ข. ดวงดาว

ค. พระอาทิตย์ตก ง. ผู้หญิง

5. นาฎศลิ ป์อินโดนเี ซียประเภทใดที่มีความใกลเ้ คียงกับนาฎศิลป์ไทยภาคใต้

ก. นาฎศิลปพ์ กุ าม ข. นาฏศิลปส์ มุ าตรา

ค. นาฏศลิ ปซ์ ุนดา ง. นาฎศิลป์ซรู าการ์ตา

6. องคป์ ระกอบท่สี ำคัญท่ีสดุ ของท่สี ุดของทัศนธาตุคอื ข้อใด

ก. เส้น ข. รูปร่าง

ค. จุด ง. รูปทรง

7. ข้อใดคอื บทบาทของดนตรีทม่ี ตี อ่ สงั คม

ก. การใช้ดนตรีเปน็ สอื่ กลางในการชว่ ยบำบัดผู้ปว่ ย

ข. เพ่ือเป็นส่อื สรา้ งพลงั ให้กับกลมุ่ ชนต่าง ๆ

ค. ดนตรบี อกกล่าวความเปน็ ไปของสงั คม

ง. ถูกทุกข้อ

8. ข้อใดกลา่ วถูกตอ้ งเก่ยี วกับอทิ ธพิ ลของสดี า้ นอารมณแ์ ละความรู้สึกที่มีผลต่อการเปลย่ี นแปลงระยะทาง

ก. สอี ่อน รู้สกึ ระยะใกล้ ข. สีเขม้ ร้สู ึกระยะไกล

ค. สีเข้ม รสู้ ึกกว้างขวาง ง. สีอ่อน รู้สึกสบาย เรียบ สงบ

จ. สีเข้ม รู้สกึ ระยะใกล้

9. การใช้แสง สี สดใส และใชเ้ ทคนคิ ของฝีแปรงตวดั ส้ัน ๆ () อย่างรวดเรว็ เชน่ ในผลงานจติ รกรรมของโมเน

จะให้ ความร้สู กึ อยา่ งไร

ก. สงบนิง่ เยือกเยน็ ข. การเคลอ่ื นไหว

ค. การกา้ วกระโดด ง. อบอ่นุ ผ่อนคลาย

จ. สงบนิ่ง ผอ่ นคลาย

9

10. งานศิลปะไทยมีรปู แบบเฉพาะในเรื่องใด

ก. ไดแ้ รงบนั ดาลใจมาจากความเชื่อ ข. ความอ่อนหวาน

ค. รปู แบบทแ่ี สดงถงึ อำนาจ ง. ความสมั พนั ธข์ องคนและรรมชาติ

จ. ความเขม้ แข็ง

11. ละครนอกและละครในของนาฎศิลป์ไทยเริ่มตน้ ในยคุ สมยั ใด

ก. นา่ นเจ้า ข. สุโขทยั

ค. อยธุ ยา ง. ธนบรุ ี

จ. รตั นโกสนิ ทร์

12. จุดเรมิ่ ต้นของการฝึกฝนแสดงละครสร้างสรรค์ตามธรรมชาติคือขอ้ ใด

ก. ฝึกการฟงั ข. ฝกึ การใชภ้ าษาใบ้

ค. ฝึกเลยี นแบบบุคคลในอาชีพต่าง ๆ ง. ฝกึ การรบั รส

จ. ฝึกการพดู

13. ขอ้ ใดคือวิธีการอนรุ กั ษ์นาฎศลิ ป์ไทย

ก. สามารถแยกแยะและปรับใช้ส่ิงที่ดงี ามใหเ้ หมาะกบั วถิ ีชีวิต

ข. นำนาฎศลิ ปไ์ ทยไปประยุกต์เขา้ กบั นาฎศิลปป์ ระเทศอน่ื

ค. เปดิ ใจรบั วิทยาการใหม่ ๆ

ง. มีการสอนการแสดงและนำไปเผยแพร่ในประเทศอน่ื

จ. ถกู ทกุ ข้อ

14. ลกั ษณะของศิลปะตะวันออกมคี วามเปน็ อุดมคตินน้ั หมายถงึ อะไร

ก. เปน็ ศลิ ปะท่ีไม่ได้ยดึ ถือเอาความจรงิ ตามธรรมชาตเิ ปน็ หลักจนเกนิ ไป

ข. เป็นศิลปะทส่ี ร้างสรรค์งานคลอ้ ยตามสภาวะสังคม

ค. เป็นศลิ ปะทม่ี ีความเพ้อฝันไมไ่ ดอ้ งิ ความจรงิ

ง. เปน็ ศิลปะทย่ี ดึ ถือเอาความจรืงตามธรรมชาตเิ ป็นหลกั

จ. ไมม่ ขี อ้ ใดถูกตอ้ ง

15. ขอ้ ใดคอื ศลิ ปะการจัดวาง (Installation Art)

ก. รูปป้ันวางอยหู่ น้าหอประชุม

ข. โครงสรา้ งเหลก็ าวรวางอยู่หนา้ พพิ ิธภัณฑ์

ค. พระพุทธรปู วางอยู่ในโบสถ์

ง. หนิ กบั ไมไ้ ผว่ างอย่ใู นพิพิธภณั ฑ์

จ. ไม่มขี อ้ ใดถูกต้อง

10

รายวิชา ศาสนาและหนา้ ท่ีพลเมอื ง

๑.ตามพระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแห่งชาติ รฐั ตอ้ งจัดใหบ้ คุ คลมีสทิ ธแิ ละโอกาสในการเข้ารับการศึกษาไมน่ อ้ ย

กว่ากป่ี ี

1. ๖ ปี 2. ๙ ปี 3. ๑๒ ปี 4. ๑๕ ปี

๒.ใครไมป่ ฏิบตั ิตามกฎหมาย

1. แตม้ ไม่ยอมบวชให้แม่ 2. ตม้ั สบู บุหรีท่ กุ วนั 3. แตว๋ แต่งหนา้ ไปโรงเรียน 4.เตมิ ไมไ่ ปเกณฑ์

ทหาร

๓.คุณธรรมสำคัญสำหรับการอยู่รว่ มกันในหมคู่ ณะ คือข้อใด

1. ความใฝร่ ู้ 2. ความสามัคคี 3. ความเอื้อเฟอ้ื 4. การตรงตอ่ เวลา

๔.ขอ้ ใดไมใ่ ชห่ ลักปฏบิ ัติของทุกศาสนา

1. ไม่พดู ปด 2. ไม่ลักทรัพย์ 3. ไม่กนิ เนอื้ สัตว์ 4. ละเว้นการทำชั่ว

๕.การปฏญิ าณตนในศาสนาอิสลาม เปน็ การประกาศศรัทธาตอ่ ผใู้ ด

1. พระพุทธเจา้ 2. พระยะโฮวา 3. พระอัลเลาะห์ 4. พระพรหม

๖.ใครเปน็ มิตร “ร่วมทุกข์ รว่ มสขุ ”

1. กานต์สง่ ของขวัญแสดงความยนิ ดกี ับความสำเรจ็ ของเพ่ือน

2. เขตต์บอกเพือ่ นว่าถา้ มีเวลาว่างให้มาหาจะเลีย้ งข้าว

3. คณิตชว่ ยเพอ่ื นทยี่ ากจนด้วยการหางานให้ทำ

4. จารกึ หา้ มไม่ใหเ้ พื่อนทะเลาะววิ าทกับอันธพาลในซอย

๗.ข้อใดไม่ใช่หลกั ศรัทธา ๖ ประการของศาสนาอสิ ลาม

1. ศรัทธาในวนั สิน้ สดุ ของโลก

2. ศรัทธาในศาสนาทูตว่ามหี ลายท่าน

3. ศรทั ธาในการเกดิ ในภพหนา้ วา่ เป็นผลของกรรม

4. ศรทั ธาในพระเจ้าคอื พระอัลลอฮ์พระองค์เดียว

๘.“นิโรธ”ในหลกั อรยิ สจั 4 ของพระพทุ ธศาสนาสอดคล้องกบั ข้อใด

1. ณเดชเสยี ใจที่สอบตก 2. ณเดชไม่อา่ นหนังสือกอ่ นสอบ

3. ณเดชดีใจทส่ี อบผา่ นได้คะแนนดี 4. ณเดชตั้งใจอา่ นหนงั สือก่อนสอบ

๙.บคุ คลในขอ้ ใดประพฤติฝา่ ฝนื วถิ ีประชา

1. ดนิ แดน 2. ภาษา 3. ประชากร 4. รัฐบาล

๑๐.ประเทศใดมีรูปแบบของรัฐแตกต่างจากประเทศไทย

1. ญีป่ นุ่ 2. ศรลี ังกา 3. อินเดีย 4. สงิ คโปร์

๑๑.พธิ ีทอดกฐนิ ต้องนำผ้ากฐินไปวางไวห้ น้าพระสงฆ์อยา่ งน้อยกี่รปู

1. ๔ รปู 2. ๕ รูป 3. ๖ รูป 4. ๗ รปู

๑๒.ข้อใดนยิ ามความหมายของคำว่า “อสิ ลาม” ไดถ้ ูกตอ้ งทีส่ ดุ

1. บคุ คลที่นอบน้อมต่อพระเจ้า 2. การยอมรบั และบูชาองค์อัลลอฮ์

3. บุคคลท่ีปฏิบตั ิตามบญั ชาของพระเจ้า 4. การนอบนอ้ มตอ่ องค์อัลลอฮ์เพียงองคเ์ ดยี ว

11

๑๓.บคุ คลในขอ้ ใดต้องมบี ตั รประชาชน
1. ผู้มีจติ ฟนั่ เฟอื น 2.พระภิกษุ สามเณร 3.คนตาบอด 4. นักศกึ ษา

มหาวทิ ยาลัยของรัฐ
๑๔.ข้อใดไม่ใชส่ ินสมรส

1. เงินเดือนของสามี
2. เงนิ โบนสั ของภรรยา
3. เงินปันผลจากสหกรณข์ องสามี
4. ของหมั้นที่ฝ่ายชายมอบให้ฝา่ ยหญงิ
๑๕.ลุงแดงมบี ้าน ๑ หลัง แตล่ งุ แดงไม่มีภรรยา และญาติพ่ีน้อง เม่ือลงุ แดงถึงแก่กรรม ทรัพยส์ ินตกเป็นของใคร
1. ผู้ใกล้ชดิ
2. ผู้มนี ามสกลุ เดยี วกนั
3. ตกเป็นของแผน่ ดนิ และสาธารประโยชน์
4. ใครกไ็ ดท้ ่ีไปจดทะเบียนทรัพย์น้นั ก่อน

รายวชิ าการพัฒนาตนเอง ชมุ ชน สังคม

1. เทคนคิ การบรหิ ารท่ีมุ่งประสทิ ธิภาพสงู สุด คือ

1. การบริหารเวลา 2. การบรหิ ารแบบ Q.C.C

3. การบรหิ ารแบบวิทยาศาสตร์ 4. การบรหิ ารแบบยดึ วตั ถปุ ระสงค์

2. การใชศ้ กั ยภาพท้องถนิ่ อย่างเตม็ ท่ีทง้ั ระบบธรรมชาติและวิถชี วี ติ ภูมปิ ญั ญาของมนุษย์นั้น จดั ว่าเป็น

องคป์ ระกอบใด ของหลักเศรษฐกิจพอเพียง

1. ตนเปน็ ท่ีพ่งึ แห่งตน 2. ต้ังอยู่บนพื้นฐานคุณธรรมชมุ ชน

3. ตง้ั อยูบ่ นพืน้ ฐานวัฒนธรรมชมุ ชน 4. ความพอใจในสิ่งที่ตนมี

3. การวเิ คราะห์ศกั ยภาพเพ่ือประเมินสถานภาพการพัฒนาของท้องถน่ิ ในปจั จุบนั โดยใชเ้ ทคนิค SWOT

Analysis ขอ้ ใดเปน็ ปัจจัยภายใน

1. จดุ แขง็ (Strength - S) 2. จุดอ่อน (Weak - W)

3. โอกาส (Opportunity - O) 4. ถูกเฉพาะข้อ 1 และข้อ 2

4. ข้อใดทเ่ี ปน็ ปญั หาทางดา้ นจรยิ ธรรม 2. สามาภรรยาหยา่ ร้างกันมากข้ึน
1. ลกู หลานทอดทง้ิ บิดามารดามากขึ้น 4. ครูสอนกวดวิชามากขน้ึ
3. พอ่ แม่มีเวลาให้ลูกน้อยลง

5. ขัน้ ตอนของการวางแผนที่สำคัญท่ีสุด คือ 2. การปฏบิ ตั ติ ามแผน
1. การทำแผนงานหรอื การเขียนแผน 4. การประเมินผล
3. การตดิ ตาม

12

6. เป้าหมายทำให้เกิดอะไร
1. ช่วยทำให้ทราบไดว้ ่าองค์การน้นั เป็นของธุรกิจเอกชนหรอื เปน็ ของรัฐ
2. บอกถึงปจั จยั นำเขา้ เพื่อดำเนินการผลิต
3. ช่วยสร้างความร่วมมอื ภายในองค์การ
4. บอกถึงวิธีการผลติ สินค้าหรอื บรกิ าร

7. เปา้ หมายขององค์การเกิดข้ึนได้อย่างไร
1. กลุ่มบคุ คลภายในองคก์ ารร่วมกันกำหนด
2. กรรมการบรหิ ารขององค์การกำหนดขน้ึ ตามความต้องการของประชาชน
3. ผู้บรหิ ารองค์การกำหนอข้ึน
4. โดยการเอาเป้าหมายของบคุ คลทกุ คนภายในองค์การมารวมกันเข้า

8. วิธกี ารให้การศึกษาแกช่ าวบ้านท่ีมปี ระโยชนม์ าก ใช้การแพรห่ ลายในงานพัฒนาชมุ ชน

1. การอภิปราย 2. การสาธติ

3. การจัดนทิ รรศการ 4. การเยี่ยมบ้านและไรน่ า

5. การแสดง

9. มาสโลว์ ได้แบง่ ความต้องการของมนุษย์ไว้เปน็ ลำดบั ชัน้ ยกเวน้ ข้อใด

1. Social Needs 2. Self Development

3. Physiological Needs 4. Self – Actualiaztion Needs

5. Esteem Need

10. นาย ก ทำงานวจิ ัยเรอื่ งปัญหายาเสพตดิ ของวัยรุ่นในชมุ ชน โดยใชว้ ธิ สี ังเกต ดงั น้นั ข้อมูลท่ี นาย ก ได้มา

เปน็ ขอ้ มูลประเภทใด

1. ข้อมลู ดบิ 2. ขอ้ มูลทุตยิ ภมู ิ

3. ขอ้ มลู ปฐมภมู ิ 4. ขอ้ มลู ท่วั ไป

5. ข้อมลู พืน้ ฐาน

11. บุคคลใดต่อไปนปี้ ฏิบตั ิไดถ้ ูกต้องตามกาลเทศะ 2. ผู้ใหญล่ ใี สเ่ สือ้ คอกลมเขา้ ประชมุ
1. กำนนั มาแนะนำใหแ้ ดงปลูกผักสวนครวั 4. สมหมายนำขยะออกมาเผาริมทาง
3. อบต.ดีถกู กว่าเพราะส่งแผนงานชา้
5. ชาวบ้านตอ่ ต้านผีแม่หมา้ ย

12. ขอ้ ใดไมใ่ ชป่ ระโยชน์ของการมีบุคลกิ ภาพที่ดี 2. มีความคดิ และเจตคตทิ ่ีดี
1. ได้รบั การยอมรบั นบั ถือ 4. ฐานะ ชาติกำเนิด
3. เปน็ ผ้ทู ่ีมคี วามรู้ รจู้ ักวางตัวทเ่ี หมาะสม
5. ถูกทุกข้อ

13

13. ลักษณะของผทู้ มี่ บี ุคลกิ ภาพทดี่ คี วรเป็นอยา่ งไร 2. มรี ูปรา่ งหน้าตาดี
1. เรยี นเก่ง 4. มลี กู นอ้ งมาขอพ่ึงบารมีเยอะ
3. เป็นท่ียอมรับนับถือของคนในสังคม
5. ถกู ทุกข้อ

14. ข้อใดกลา่ วถงึ ลักษณะของบคุ ลิกภาพได้ถูกต้อง 2. ปรับปรุงและเปลยี่ นแปลงได้
1. มองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปล่า 4. เปน็ สงิ่ ตายตวั เปลยี่ นแปลงได้ยาก
3. ตดิ ตวั มาตั้งแตเ่ กิด
5. ถูกทุกข้อ

รายวิชาทกั ษะการเรียนรู้

1. ปจั จัยสำคญั สำหรับผู้ทเี่ รยี นรู้ดว้ ยตนเองคือข้อใด

1. การมคี รอบครัวทดี่ ี 2. การมเี พ่ือนบ้านท่ีดี

3. การมีเพ่ือนรว่ มงานทดี่ ี 4. การมีความพร้อมในการเรียนรทู้ ด่ี ี

2. การเรียนรู้แบบใดทนี่ กั ศกึ ษาสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชนไ์ ดม้ ากท่ีสดุ

1. การเรียนรโู้ ดยกล่มุ 2. การเรียนรู้ด้วยตนเอง

3. การเรียนรูโ้ ดยบงั เอญิ 4. การเรียนรู้จากสถาบนั การศึกษา

3.การเรียนร้แู บบรว่ มมอื ในกลุ่ม คอื ข้อใด

1. (One-to-one learning) 2. (Learning contracts)

3. (Collaborative learning) 4. (Learning log)

4.การทำสัญญาการเรียน คอื ขอ้ ใด

1. (One-to-one learning) 2. (Learning contracts)

3. (Collaborative learning) 4. (Learning log)

5.การวางแผนการเรียนรู้ดว้ ยตนเอง จะมีกระบวนการใดเป็นขัน้ ตอนแรก

1. กำหนดเนอ้ื หาทต่ี ้องการเรียนรู้ 2. ตง้ั เป้าหมายตัวเองว่าต้องการอะไร

3. จดั ทำแผนการเรียนรู้ 4. จดั ทำฐานข้อมูลแหล่งเรยี นรู้

6.คำกล่าวทีว่ ่า "ทกุ คนมีพรสวรรค์ แต่ความสามารถต้องอาศัยความเพียร" เป็นคำของใคร

1. ไมเคิล จอร์แดน 2. ขงจอ้ื

3. โธมสั เอดิสัน 4. จอห์น ดี รอ็ กกเี้ ฟลเลอร์

7.หลักการของการคิดเปน็ คือข้อใด

1. สังคมเปล่ียนแปลงตลอดเวลา ความตอ้ งการของมนุษย์ก็เปล่ียนแปลงตลอดเวลา

2. มนษุ ยม์ คี วามต้องการตา่ งกัน จงึ ตอ้ งรู้จักวิธีปรบั ตัวเพ่ือให้ตนเองมีชีวติ อยอู่ ยา่ งมีความสุข

3. การคดิ วิเคราะห์ เพื่อการแก้ปัญหา มนุษย์ต้องรู้จักวิธกี ารรวบรวมข้อมลู ประกอบการคิด

4. สงั คมเปลี่ยนแปลงอย่ตู ลอดเวลา การคดิ ตดั สินใจอาจจะต้องเปลย่ี นแปลงปรบั ปรุงใหม่ให้

เหมาะสมกบั สภาพและสถานการณ์ทเี่ ปล่ียนไป

14

8.จากกระบวนการคดิ เป็น หากผลท่ีได้ไมเ่ ป็นที่พอใจ ควรทำตามข้นั ตอนใด

1. เลอื กทางปฏิบตั ใิ หม่ 2. ศกึ ษาข้อมลู ทั้ง 3 ด้านใหม่

3. ยอ้ นกลบั ไปเริม่ ตน้ วิเคราะหป์ ญั หาใหม่ 4. ยอมรับผลท่ีเกิดขึ้นจากการตดั สินใจนน้ั เสยี

5. ปลอ่ ยปญั หาเดมิ ทงิ้ ไว้ แล้วกลับไปศกึ ษาใหม่

9.ขนั้ ตอนใดไมม่ ใี นกระบวนการ "คนคิดเปน็ "

1. การสรุปผล 2. การตัดสินใจ

3. การสำรวจปญั หา 4. การวเิ คราะหป์ ญั หา

5. ศึกษา รวบรวมข้อมลู

10.ขอ้ ใดกลา่ วถูกต้องของคำท่ีว่า "ไมท่ ำไม่รู้"

1. ไมท่ ำอยา่ งจรงิ จังก็ไม่รู้อะไร

2. ไมล่ งมือปฏิบัติย่อมไม่รู้ปัญหา

3. การจดั ความรูห้ ากไมป่ ฏิบัตกิ จ็ ะไม่เข้าใจเรอื่ งการจดั ความรู้

4. การจดั ความรูห้ ากไมป่ ฏิบัตกิ ็จะไมเ่ ข้าใจเรือ่ งการจดั ความรใู้ นทางปฏิบตั ิ

5. การจดั การความร้จู ากความไมร่ ู้

11.การจัดให้มกี ารจำแนกรายการตา่ ง ๆ ของสอ่ื สารสนเทศเพื่อการเผยแพร่ ควรยึดหลักพืน้ ฐานข้อใดเป็น

สำคญั

1. ตามความต้องการของผจู้ ัด

2. ตามความจำเปน็ ในการเรยี นรู้

3. ตามความตอ้ งการของระบบหมวดหมู่

4. ตามความสะดวกและรวดเรว็ ในการใชง้ าน

5. ตามความตอ้ งการในการจัดลำดับ

12.กลมุ่ เกษตรกรบ้านนา ประชมุ กบั สมาชิกโดยผ่านเครอื ชายอินเทฮร์เนีด นกั ศกึ ษาคิดว่าเป็นรพีชุมชนนกั

ปฏบิ ตั ิรปู แบบใด

1. เวทีจรงิ 2. เวทีชาวบ้าน 3. เวทเี สมอื น

4. เวทีประชาชน 5. เวท่ชี าวบ้านนา

13.การสง่ เสริมใหเ้ กิดชมุ ชนแห่งการเรยี นรคู้ วรเริ่มท่ีใครเป็นอันดับแรก

1. ตวั บคุ คล 2. ตวั องค์กร 3. กลุม่ ทีป่ ระกอบด้วยสมาชิก

4. กลุ่มที่ประกอบด้วยคณะกรรมการ 5. สถานที่

14.ความรู้เร่ืองการบรหิ ารจัดการกลุม่ ท่ีดี มีความสำคญั ต่อการพฒั นากลุ่มอย่างไร

1. ทำให้กลุ่มมีผลิตภัณฑ์ท่ที นั สมัย

2. ทำใหก้ ลมุ่ มีผลิตภัณฑ์ทีม่ คี ุณภาพ

3. ทำใหก้ ลุ่มมีรายไดแ้ ละกำไรเพ่ิมขึ้น

4. ทำใหก้ ลุ่มเข้มแข็งและดำรงอยู่ได้ในชุมชนอย่างย่ังยนื

5. ทำให้กลมุ่ มหี ลากหลาย

15

15. การจดั การความรู้ทีด่ ีโดยการนำตวั อยา่ งจากชุมชนนักปฏิบัติมาเปน็ ต้นแบบ สามารถทำให้กลุ่มในชุมชน
เปน็ อย่างไร

1. กลมุ่ ชุมชนทรี่ ่วมมือกนั ทำงานอยา่ งจริงจงั
2. กลุ่มชมุ ชนที่ได้รับมอบหมายใหท้ ำงานอยา่ งใดอย่างหน่ึง
3. กลุม่ ทถ่ี ูกจัดตัง้ โดยองค์กรหรือชุมชน ให้ปฏิบัติภารกจิ ใดภารกิจหนึ่ง
4. กลุ่มคนในชุมชนที่ร่วมมอื กนั ทำงาน โดยมเี ปา้ หมายรว่ มกนั ทจ่ี ะแกป้ ัญหาและพฒั นาตนเอง
5. ความหลากหลายของกล่มุ และชมุ ชน

รายวชิ าช่องทางการพฒนาอาชพี

1. ทา่ นคดิ วา่ สนิ ค้าคืออะไร 2. ผผู้ ลติ -ผู้บริโภค
1. ผลิตภัณฑ์-การตลาด 4. ผูซ้ ้ือ-ผ้ขู าย
3. ผลิตภัณฑ์-การบริการ

2. การเจรจาต่อรองราคาสินค้ากันเองเรียกว่าอะไร

1. การประชาสมั พนั ธ์ 2. การแลกเปลีย่ น

3. การสร้างมูลคา่ 4. การขาย

3. หากเราจะทำธุรกจิ สว่ นตวั ปจั จยั แรกท่คี วรคิดถงึ คอื อะไร

1. ที่ดิน 2. ทุน

3. แรงงาน 4. ความถนดั

4. หวั ใจสำคัญของโครงการคืออะไร 2. งบประมาณ
1. หลกั การและเหตผุ ล

3. ผู้รบั ผดิ ชอบโครงการ 4. วตั ถปุ ระสงค์

5. กจิ กรรมใดควรอยู่ในการประเมินผลก่อนดำเนินโครงการ

1. การพิจารณาถึงแรงงาน 2. การหาแหลง่ วัตถุดบิ

3. การพจิ ารณาปัญหาอปุ สรรค 4. การตดิ ตามผลสำเรจ็

6. องคป์ ระกอบด้านเหตผุ ลสู่ความสำเรจ็ ของการขยายอาชีพประกอบด้วยองค์ประกอบด้านไหนบ้าง
1. ดา้ นการลงทุน ด้านลกู ค้า ดา้ นผลผลิต ด้านการเรยี นรพู้ ัฒนาตนเอง

2. ดา้ นเปา้ หมาย ดา้ นความสำเร็จ ด้านวตั ถปุ ระสงค์ ด้านความต้องการ

3. ด้านปจั จยั นำเข้า ด้านการแปรรูป ด้านการดำเนนิ งาน ด้านผลผลิต

4. ทกุ ขอ้ เป็นปจั จัยด้านเหตผุ ลทัง้ หมด

7. ข้อใดคือข้นั ตอนของการดำเนินงานทีถ่ ูกต้องท่สี ุด

1. ทศิ ทางธุรกิจ - เปา้ หมาย – แผน

2. เปา้ หมาย - แผน - ทศิ ทางธุรกจิ

3. เปา้ หมาย - ทศิ ทางธรุ กจิ – แผน

4. แผน - ทิศทางธรุ กจิ – เป้าหมาย

16

8. การวิเคราะห์ หมายถึงอะไร

1. การแยกแยะสงิ่ ท่ีจะพิจารณาออกเปน็ ส่วนยอ่ ย ทม่ี ีความสัมพนั ธ์กัน

2. การรวบรวมสว่ นประกอบยอ่ ย ๆ หรือสว่ นใหญ่ ๆ เขา้ ด้วยกันเพือ่ ให้เป็นเรื่องราวอันหนง่ึ อนั

เดยี วกนั

3. ความเขา้ ใจในเรื่องบางเรื่องหรือบางสิ่ง ซึง่ อาจจะรวมไปถึงความสามารถในการนำสง่ิ น้นั ไปใช้เพ่ือ

เป้าหมาย

4. เปน็ ความสามารถในการนำความรู้ ความเข้าใจหรือความคิดรวบยอดในเรื่องใด ๆ ท่ีมีอยู่เดมิ ไป

แก้ไขปญั หาท่ีแปลกใหมข่ องเรอ่ื งนั้น

9. องคป์ ระกอบข้อใดท่ีทำให้การรับส่งข้อมลู ระหว่างหน่วยตา่ ง 1 ในระบบคอมพวิ เตอร์รวดเร็วและได้ปริมาณ

มาก

1. แรม 2. บสั

3. หน่วยประมวลผลกลาง 4. จอภาพ

10. ครอบครัวของหนปู ้อมเลี้ยงกงุ้ และอยากจะเพิ่มมลู ค่าก้งุ โดยสามารถเกบ็ ไว้ขายได้นานท่สี ุด หนูป้อมควร

ทำอย่างไร

1. แปรรูปเปน็ ลกู ชน้ิ 2. แปรรูปเป็นน้ำพริก
3. แปรรูปเป็นข้าวเกรยี บดบิ 4. นำไปลวกแล้วทำกุ้งแชแ่ ข็ง

11. สว่ นประกอบท่ีทำให้การดำเนินงานทางการตลาดประสบความสำเร็จคือขอ้ ใด

1. ราคา, สถานท่ี, โฆษณา 2. ผลติ ภณั ฑ์, ราคา, สถานท่ี

3. ผลติ ภณั ฑ์, สถานท,ี่ โฆษณา 4. ผลติ ภัณฑ์, ราคา, สถานท่ี, โฆษณา

12. วงลอ้ (PDCA Cycle) ประกอบไปด้วยกี่ขั้นตอน อะไรบ้าง

1.2 ขน้ั ตอน ไดแ้ ก่ วางแผน การปฏบิ ัติ

2. 3 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ วางแผน การตรวจสอบ การปรบั ปรงุ

3. 4 ข้ันตอน ไดแ้ ก่ การวางแผน การปฏิบตั ิ การตรวจสอบ การปรับปรุง

4.5 ขัน้ ตอน ได้แก่ การวางแผน การปฏบิ ัติ การตรวจสอบ การปรบั ปรุง การบำรงุ รักษา

13. ส่วนประสมทางการตลาด หรือ 4 P's คือข้อใด

1. Product, Price, Place, People 2. Product, Price, Place, Promotion

3. Perfect, Price, Playful, Phone 4. Perfect, People, Place, Promotion

14 "เป็นคนทีม่ ีความรบั ผิดชอบสงู ละเอียดรอบคอบ ซ่ือสัตย"์ จากคุณลักษณะท่ีกล่าวมาคอื บุคคลทปี่ ระกอบ

อาชพี ใด

1. พนกั งานฝ่ายอาคารสถานที่ 2. พนกั งานฝ่ายฝกึ อบรม

3. พนกั งานฝา่ ยการเงิน 4. พนกั งานพิสจู น์อกั ษร

15. จรรยาบรรณของพนักงานขายทล่ี กู คา้ พึงประสงคม์ ากทีส่ ุดคือข้อใด

1. ความรบั ผิดชอบ 2. ความซอ่ื สตั ย์

3. มวี าทศลิ ปท์ ่ีดี 4. ให้บรกิ ารทด่ี ี

17

รายวิชา ทกั ษะการพัฒนาอาชีพ

1. การทจ่ี ะสรา้ งความพงึ พอใจให้แก่ลูกค้าไดน้ น้ั ผู้ประกอบธรุ กิจตอ้ งคำนึงถงึ ปจั จยั เร่ืองใด
1. การพฒั นาสินค้าให้ตรงตามความต้องการของผู้ประกอบธุรกิจ
2. สินคา้ มรี าคาแพงมากเป็นพเิ ศษ
3. สนิ คา้ ตรงตามความต้องการของลูกค้า
4. จำกดั จำนวนสินค้าท่ีจะขายใหแ้ ก่ลูกค้า

2. องค์ประกอบด้านเหตุผลสู่ความสำเรจ็ ของการขยายอาชีพประกอบดว้ ยองค์ประกอบด้านไหนบา้ ง
1. ด้านการลงทนุ ดา้ นลกู คา้ ด้านผลผลิต ดา้ นการเรยี นรู้
2. ดา้ นเป้าหมาย ด้านความสำเร็จ ด้านวัตถปุ ระสงค์ ด้านความต้องการ
3. ดา้ นปจั จัยนำเขา้ ดา้ นการแปรรูป ดา้ นการดำเนินงาน ด้านผลผลติ
4. ทกุ ขอ้ เป็นปจั จยั ดา้ นเหตุผลทงั้ หมด

3.ซอ้ื และใชจ้ ากของทผ่ี ลติ ได้ในท้องถ่นิ ไม่ก่อหนี้ มีชวี ิตทเี่ รียบงา่ ย ไม่ฟุง้ เฟ้อฟุ่มเฟอื ยเป็นลกั ษณะของข้อใด

1. การพัฒนาระบบเศรษฐกจิ 2. การเกษตรเพ่ือชีวิต

3. เศรษฐกจิ พอเพียง 4. หลักของการจดั การ

4.ในชมุ ชนของท่านมีพน้ื ที่อดุ มสมบูรณด์ ้วยทรัพยากรดนิ น้ำ สงิ่ แวดล้อมทีด่ ี ท่านจะสามารถประกอบอาชีพใด

เหมาะสมทสี่ ดุ

1. คา้ ขาย 2. พนักงานเสริ ฟ์

3. เกษตรกรรม 4. พนกั งานขายสนิ ค้า

5.การทำบันทึกรายการบัญชีรายรบั - รายจ่าย มีจดุ ประสงคเ์ พื่ออะไร

1. เพื่อสรปุ ยอดกำไร – ขาดทนุ 2. เพ่อื วางแผนการทำงาน

3. เพือ่ วางผงั การเพาะปลกู /การเลี้ยงสตั ว์ 4. เพ่ือเลอื กปลูกพืชที่เหมาะสม

6.ขอ้ ใดเป็นสาเหตสุ ำคัญที่สุดท่ที ำให้การแกป้ ัญหาในการพัฒนาอาชพี ไม่ประสบผลสำเร็จ

1. มองปัญหาไม่เป็น 2. มขี อ้ มลู ไม่เพียงพอ

3. ไม่ทราบสาเหตุ และทีม่ าของปัญหา 4. ไม่มีความชำนาญในการประกอบอาชีพ

7.การวางแผนกอ่ นการปฏบิ ัติงานใหป้ ระโยชน์ตอ่ การทำงานขอ้ ใดมากทสี่ ุด

1. ได้ผลงานคุณภาพ 2. งานสำเร็จทมี่ ีตามเป้าหมาย

3. ควบคมุ งบประมาณการใชจ้ า่ ยได้ 4. ฝกึ การทำงานใหเ้ ป็นระบบ และกระบวนการ

18

รายวิชาทกั ษะการขยายอาชีพ

1.ทศั นคตขิ ้อใดของพนักงานที่ประโยชนต์ ่อองค์กรมากทสี่ ุด

1. องคก์ รดีเดน่ 2. สวสั ดิการดีเด่น 3. ชน่ื ชมองคก์ ร

4. เปน็ เจ้าขององค์กร 5. ไมม่ ขี ้อใดถูก

2.หลักการออกแบบและพัฒนาผลิตภัณฑ์/งานบรกิ รจะต้องคำนงึ ถึงข้อใด

1. ความแขง็ แรง ทนทาน 2. มีอปุ กรณ์เสริมและเปล่ยี นได้ 3. การบำรุงรักษาง่าย

4. ไม่สร้างปัญหาใหก้ บั สงั คม 5. ถูกทกุ ข้อ

3."การขายตดั ราคา" ขัดกบั จรรยาบรรณของผปู้ ระกอบการขอ้ ใด

1. จรรยาบรรณต่อผถู้ อื หุ้น 2. จรรยาบรรณต่อลกู คา้

3. จรรยาบรรณต่อค่แู ข่งขนั 4. จรรยาบรรณตอ่ พนกั งาน

5. จรรยาบรรณตอ่ รัฐบาล

4."กาแฟลดนำ้ หนักเพรียว สามารถลดนำ้ หนักได้ 5 กิโลกรัม ภายใน 1 สปั ดาห์" ขัดกับจรรยาบรรณของ

ผ้ปู ระกอบการข้อใด

1. จรรยาบรรณตอ่ ผถู้ อื ห้นุ 2. จรรยาบรรณตอ่ ลกู ค้า

3. จรรยาบรรณตอ่ คู่แข่งขัน 4. จรรยาบรรณตอ่ พนกั งาน

5. จรรยาบรรณต่อรฐั บาล

5. ข้อใดตอ่ ไปนี้เปน็ "จริยธรรมของผู้ประกอบการท่ีมตี ่อสิ่งแวดล้อม"

1. การบำบัดนำ้ เสียก่อนการปลอ่ ยลงสูแ่ ม่นำ้ ลำคลอง

2. การใหค้ วามรว่ มมอื ในการแขง่ ขนั ในทางทเี่ ปน็ ประโยชน์

3. การปฏิบตั ิตามขอ้ กำหนดของกฎหมาย

4. การเอาใจใสใ่ นสวสั ดกิ ารของบุคลากรในองค์กร

5. การละเว้นการติดสินบนเจ้าพนกั งานเพื่ออำนวยความสะดวก

6.ขายสนิ คา้ และบริการในราคาทีย่ ุตธิ รรม เปน็ จรยิ ธรรมของใคร

1. จริยธรรมของนกั ธุรกจิ ตอ่ คแู่ ข่งขนั 2. จริยธรรมของนักธุรกิจตอ่ ลกู คา้

3. จริยธรรมของนกั ธรุ กจิ ต่อพนกั งาน 4. จรยิ ธรรมของนกั ธุรกิจตอ่ สังคม

5. จรยิ ธรรมของนักธรุ กจิ ตอ่ ผปู้ ระกอบธรุ กิจ

7.องคป์ ระกอบธรุ กิจขอ้ ใดเป็นหัวใจสำคัญในการดำเนินธรุ กจิ

1. การเงิน 2. การผลติ 3. การตลาด

4. การค้าปลกี 5. การคา้ สง่

8. ข้อใดตอ่ ไปนเี้ ปน็ การประกอบธรุ กจิ แบบเจา้ ของคนเดยี ว

1. นางสาววนั ดขี ายข้าวมนั ไก่ 2. นายฝนั ดีขายไก่ยา่ งห้าดาว

3. นางสาวแอนขายกว๋ ยเตี๋ยวชายสีบ่ ะหมเี่ ก๊ยี ว 4. จ๋มุ ขายก๋วยเต๋ยี วลูกชิน้ แชมป์

5. ธนากรเปน็ เจ้าของเซเว่น อีเลฟเวน่

19

รายวชิ าพัฒนาอาชีพให้มคี วามเขม้ แข็ง

1. การพัฒนาอาชีพ หมายถึงขอ้ ใด

1. การทำอาชพี ใหด้ ขี ้นึ

2. การเลอื กประกอบอาชีพที่ประสบผลสำเรจ็

3. การรวมกลุ่มผปู้ ระกอบอาชพี เขา้ ด้วยกัน

4. กระบวนการท่หี น่วยงานจัดข้ึนเพื่อช่วยเหลอื พัฒนางานอาชพี

๒. ทำไมผปู้ ระกอบการจะต้องทำการวเิ คราะห์ศักยภาพทางธุรกจิ

1. ให้ทราบข้นั ตอนของธุรกิจ

2.เพ่อื ทราบแนวทางของคู่แข่งในตลาด

3. เตรียมการประกอบธรุ กจิ อย่างมัน่ ใจ

4. เพ่อื ใหเ้ หน็ ทศิ ทางเชิงกลยทุ ธข์ องธรุ กจิ

3. ในการประกอบธรุ กจิ จำเป็นตอ้ งมีการวเิ คราะหง์ าน ความหมายของ "การวิเคราะห์งาน"หมายถงึ ข้อใด

1. ใหท้ ราบทุกขนั้ ตอนของงาน

2. เปน็ นโยบายหลกั ในการทำธรุ กจิ

3. เปน็ การเกบ็ ข้อมลู ทุกเรื่องของการทำงาน

4. ใหผ้ ู้ปฏบิ ัติงานเขา้ ใจกระบวนการของงาน

๔. ในการวิเคราะห์งานควรมีข้อพิจารณาใดบา้ ง

1. มาตรฐานของงาน 2. กจิ กรรมทั่วไปในการทำงาน

3. กิจกรรมท่เี กี่ยวข้องกับงาน 4. การปฏิบัตงิ านของบุคลากร

5. ในการประกอบธุรกิจนัน้ จำเปน็ ต้องเขา้ ใจตลาด ปจั จุบันการตลาดไม่ได้มุ่งไปทีผ่ ลกำไร อย่างเดียวแต่มี

ทศิ ทางดา้ นใด

1. ส่งเสรมิ การขายแบบเจาะลกึ 2. ปรับตวั สนิ คา้ ใหเ้ ขา้ ยคุ สมัย

3. ขจดั คู่แข่งในตลาดให้ลดน้อยลง 4. สร้างความพึงพอใจให้กับผู้บรโิ ภค

๖. การจัดทำแผนปฏิบตั ิการมีวตั ถุประสงค์อะไร

1.เพือ่ ใหม้ ีมาตรฐานในธุรกจิ 2. เพื่อสรา้ งภมู ิคุม้ กนั ให้กับโครงการ

3.เพือ่ ใหก้ ารดำเนินธรุ กิจผิดทิศทาง 4. เพ่ือสร้างความมัน่ ใจและลดความเส่ียง

๗. ในการเขยี นโครงการพัฒนาอาชพี ควรมีการวิเคราะห์ความเปน็ ไปไดข้ องโครงการด้านใดบา้ ง

1. ด้านการตลาด 2. ด้านการตลาด ด้านการลงทุน

3. ดา้ นผลิตภณั ฑ์ ด้านการลงทนุ 4. ดา้ นการลงทนุ การตลาด และผลิตภัณฑ์

๘. ข้อใดเป็นลำดบั แรกของการเขยี นโครงการ

1. ชือ่ โครงการ 2. เป้าหมายของโครงการ

3. หลักการและเหตุผล 4. วตั ถปุ ระสงค์โครงการ

๙. เพือ่ ใหท้ ราบผลของโครงการในการนำไปปรับปรงุ พัฒนา ผูเ้ ขยี นโครงการจะต้องกำหนดขอ้ ใด ไวท้ ุก

โครงการ

1. การดำเนินงาน 2. ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั

3. การประเมินโครงการ 4. ระยะเวลาการดำเนินงานโครงการ

20

๑๐. ปัจจัยในการผลิตมีองคป์ ระกอบทีส่ ำคัญใดบ้าง

1. ทุน แรงงาน 2. ทุน แรงงาน ผปู้ ระกอบการ

3. ทุน แรงงาน ผ้ปู ระกอบการ เครอื่ งมือ 4. ทนุ แรงงาน ผู้ประกอบการ สิ่งปลูกสร้าง

๑๑. ข้อใดคือการกำหนดเปา้ หมายของการผลติ และบรกิ าร

1. การประเมนิ ตลาด 2. การเลอื กส่วนตลาด

3. ถูกทง้ั ข้อ 1 และข้อ 2 4. ผิดทกุ ขอ้

๑๒. กลยทุ ธ์ของสงครามตลาดเชิงรกุ หมายถงึ

1. การปอ้ งกันตลาดไม่ใหม้ ีการแขง่ ขัน

2. การคดิ กระบวนในตลาดเพื่อลม้ คแู่ ขง่

3. การชงิ ความได้เปรยี บในตลาดตอ่ คแู่ ข่ง

4. การประเมินจดุ อ่อนจุดแข็งในการตลาดของคู่แขง่

๑๓. ขอ้ ใดไม่ถกู ต้องเกีย่ วกับการวางแผน

1. การวางแผนช่วยทำใหก้ ารใชท้ รพั ยากรมีประโยชนส์ งู สุด

2. การไมว่ างแผนอาจทำให้การทำงานไมต่ รงกับวัตถุประสงค์

3. การไม่วางแผนจะทำให้การทำงานไมส่ ามารถบรรลุวัตถุประสงค์

4. การวางแผนชว่ ยให้ผ้ปู ฏิบตั ิงานไม่เกิดความสบั สนวา่ ต้องทำอะไร ท่ีไหน เม่ือใด อยา่ งไร

14. การจดั แบง่ ประเภทการวางแผนเป็นแผนแม่บท ถอื ว่าเปน็ การจัดแบง่ ประเภทด้วยวิธใี ต

1. แบ่งตามระยะเวลา

2. แบ่งตามลักษณะของการใช้

3. แบ่งตามขอบขา่ ยของการใช้แผน

4. แบ่งตามขอบเขตของการวางแผน

15. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของแผนทด่ี ี

1. ตอ้ งมีความยืดหยุน่ พอสมควร

2. ตอ้ งปฏบิ ัตติ ามแผนโดยเครง่ ครดั

3. ตอ้ งครอบคลุมภาระงานท่ีทำทั้งหมด

4. ตอ้ งปฏิบัตใิ หอ้ ยู่ในระยะเวลาของแผน

รายวิชาสงั คม

1. ภูมภิ าคใดมีปา้ ไม้มากท่ีสดุ ในโลก

1. อเมรกิ าเหนอื 2. อเมริกาใต้

3. แอฟริกา 4. ออสเตรเลยี

2. ภัยพิบตั ิใดเปน็ ผลจากการกระทำของมนุษย์มากที่สุด

1. ภูเขาไฟระเบดิ 2. แผ่นดินไหว

3. ไฟไหมป้ า่ 4. นำ้ ท่วม

3. ประเทศใดไมไ่ ดอ้ ยู่ในอาเชียน+6

1. จีน เกาหลใี ต้ 2. รัสเซีย เกาหลีเหนือ

3. ญ่ปี ุ่น ออสเตรเลีย 4. ออสเตรเลีย อนิ เดีย

21

4. ขอ้ ใดตอ่ ไปน้เี ป็นการปกครองท้องถน่ิ ทใี่ ช้อยู่ในปัจจุบันทง้ั หมด

1. เทศบาลเมือง องค์การบริหารส่วนท้องถิ่น สุขาภบิ าล

2. เทศบาลนคร องค์การบรหิ ารส่วนจังหวัด กรงุ เทพมหานคร

3. เทศบาลเมอื ง สภาตำบล สุขาภบิ าล

4. เทศบาลอำเภอ องค์การบริหารส่วนจงั หวดั หมบู่ ้าน

5. วฒั นธรรมในข้อใดที่เป็นวัฒนธรรมทางสังคม

1. โทรศพั ท์มอื ถอื 2. เครื่องคอมพวิ เตอร์

3. การถวายสงั ฆทาน 4. การใสช่ ดุ ไทยทุกวนั องั คาร

6. วิทยาการและเทคโนโลยกี ่อใหเ้ กิดผลกระทบตอ่ สังคมมนุษยใ์ นปัจจุบันอยา่ งไร

1. วธิ ีการดำเนินชวี ติ ของมนุษยย์ ากลำบากมากข้ึน

2. เกดิ ปญั หาด้านศลี ธรรม จรยิ ธรรม และอาชญากรรม

3. มนุษยส์ ูญเสียอำนาจทางเศรษฐกจิ และศักดศ์ิ รีความเป็นมนษุ ย์

4. รัฐบาลจะมบี ทบาททางเศรษฐกจิ น้อยลง

7. เผดจ็ การอำนาจนยิ มและเผด็จการเบ็ดเสร็จนยิ มมีความแตกต่างกันในเรื่องใด

1. ทมี่ าของผ้ปู กครอง

2. อำนาจของผู้ปกครอง

3. ความเสมอภาคของประชาชน

4. สทิ ธแิ ละเสรภี าพของประชาชน

8. แม่นำ้ สายใดของไทยไม่ได้ไหลลงสู่อ่าวไทย

1. แมน่ ำ้ แม่กลยง 2. แมน่ ้ำบางปะกง 3. แมน่ ้ำท่าจนี

4. แมน่ ำ้ ป่าสกั 5. แมน่ ำ้ เจ้าพระยา

9. โครงการใดในพระราชดำริท่ีต้องการแก้ปัญหาดินเค็ม

1. โครงการแกลง้ ดิน 2. โครงการปลูกพชื หมุนเวียน 3. โครงการแก้มลิง

4. โครงการชัยพฒั นา 5. ขอ้ 1 และขอ้ 2 ถูกต้อง

10. ขอ้ ใดไมจ่ ดั ว่าเปน็ วิถีชาวบ้านของสังคมไทย

1. การกราบพระพุทธรปู หรือกราบพระสงฆต์ ้องกราบ 3 คร้ัง

2 การทนี่ ักเรยี นทำความคารพครูอาจารย์

3.คนไทยต้องทำความเคารพเพลงชาตแิ ละธงชาติ

4. ของหมั้นจะตกเป็นสนิ สว่ นตวั องฝา่ ยหญิงเม่ือสมรสแลว้

5. ไมม่ ขี อ้ ใดถูกต้อง

11. ในปจั จุบนั การบรหิ ารราชการส่วนภูมภิ าคมกี ีจ่ งั หวดั

1. 73 จังหวดั 2. 74 จังหวัด 3. 75 จังหวัด

4. 76 จังหวัด 5. 77 จงั หวัด

22

12.ข้อใดคือความหมายทถี่ ูกต้องของหลักนติ ธิ รรม

1. การยดึ ถือกฎหมายเป็นหลักในการปกครองประเทศ

2. การยดึ ถือว่าทุกคนเท่าเทยี มกันในทุกตา้ น

3. การตัดสินปัญหาตา่ ง ๆ ด้วยเสียงขา้ งมาก

4. ทุกคนมีสทิ ธิการเขา้ รบั ราชการและดำรงตำแหน่งทางการเมือง

5. ไมม่ ขี ้อไตถกู ต้อง

13. ขอ้ ใดเปน็ สทิ ธคิ วามเป็นพลเมืองของรัฐ

1. สิทธใิ นการประกอบอาชีพ 2. สิทธใิ์ นชีวติ และร่างกาย

3. สิทธใ์ิ นการเลือกต้งั 4. สทิ ธใิ นการปฏิบตั ติ ามประเพณี

5. สทิ ธิ์ในการรบั รู้ข่าวสารทางการเมือง

14.คนไทยเรม่ิ มเี สรภี าพในการเลือกนบั ถือศาสนาเปน็ ครง้ั แรกเม่ือใด

1. สมัยพ่อขุนรามคำแหง

2. สมัยพระบรมไตรโลกนาถ

3. สมยั พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยหู่ วั

4. สมยั พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจ้าอยู่หวั

5. สมยั พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจา้ อยูห่ ัว

15. บคุ คลใดถือวา่ เป็นข้าราชการประจำ

1. ปลดั กระทรวงศึกษาธกิ าร 2. กำนัน 3. คณะกรรมการ

เลอื กตงั้

4. โฆษกนายกรฐั มนตรี 5. ผู้ใหญบ่ า้ น

16.ข้อใดเปน็ การกระทำนิติกรรมทีถ่ ูกตอ้ งสมบรู ณ์

1. สมชายนำเคร่อื งจักรของโรงงานไปจดจำนองกบั ธนาคาร

2. สมศรที ำพินัยกรรมโดยท่ีพยานทง้ั 2 คนได้สว่ นแบ่งในพินัยกรรม

3. ประภาศรใี หเ้ พื่อนกู้เงินไป 50,000 บาท โดยทำสญั ญาคดิ ดอกเบ้ยี ร้อยละ 15 ตอ่ เดือน

4. สมหมายจดทะเบยี นสมรสครัง้ ที่ 3 กับภรรยาคนที่ 3

5. ถูกต้องทุกข้อ

23

บทที่ ๓

วธิ ีดำเนินการ

โครงการ ค่ายวิชาการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน N-Net

2/2564

(พี่สอนน้อง) กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส เพื่อให้นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส มีความรู้ความเข้าใจและ

มีทักษะในเน้ือหาสาระความรู้รวมท้ังสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสอบปลายภาคเรียน สอบ N-Net

ตลอดจนมผี ลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นทีด่ ีขึ้นโดยมีขัน้ ตอนในการดำเนนิ งาน ดงั น้ี
ข้นั ท่ี ๑ ขั้นการเตรียมการ

๑.๑ สำรวจสภาพ ปัญหาและความต้องการของกลุ่มเปา้ หมาย

๑.๒ ประชุมวางแผนการดำเนินโครงการ

๑.๓ เขียนโครงการเพ่อื เสนอขออนมุ ัติงบประมาณในการดำเนินโครงการ

1.4 ประสานงานผู้ท่เี กย่ี วขอ้ ง/วิทยากร

ขั้นท่ี ๒ ขัน้ ดำเนินการ
ดำเนินการจดั กจิ กรรมโครงการปันความรู้สวู่ ิชาการ นกั ศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส

ข้นั ที่ ๓ นเิ ทศตดิ ตามผล และรายงานผล / ประเมนิ ผล

๓.๑ การนิเทศตดิ ตามผลการดำเนินโครงการ
๓.๒ การประเมินผลและสรปุ ผลการดำเนินโครงการ
๓.๓ การรายงานและเผยแพร่ผลการดำเนนิ โครงการ

ดชั นีชว้ี ัดผลสำเรจ็ ของโครงการ (Key Performance Indicator: KPI)

สอดคลอ้ งกับ

ตวั ช้วี ัดความสำเรจ็ มาตรฐาน กศน. วธิ ีการประเมิน เครอ่ื งมือที่ใช้

ท่ี

ผลผลติ (outputs) นกั ศกึ ษาอำเภอเมือง

นราธิวาส ทเ่ี ขา้ รว่ มโครงการคา่ ยวิชาการตวิ

เข้มเติมเตม็ ความรู้ ยกระดบั ผลสัมฤทธิ์ ๑,๒,3 การสงั เกต แบบบันทึกการสังเกต
ทางการเรียน N-Net 2/2564 (พ่ีสอนน้อง)
กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส จำนวน 200 คน

ผ ล ลั พ ธ์ (outcomes) ร้ อ ย ล ะ ๘ 5 ข อ ง

กลุ่มเป้าหมาย มีความรู้ความเข้าใจและมี

ทักษะในเน้ือหาสาระความรู้ รวมทั้งสามารถ ประเมินความพงึ แบบประเมินความพึง

นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสอบปลายภาค ๑,๒,3 พอใจของผเู้ ข้ารว่ ม พอใจ
เรียน สอบ N-Net ตลอดจนมีผลสัมฤทธิ์
กิจกรรม
ทางการเรียนทด่ี ขี น้ึ

24

สำหรับเกณฑ์การให้คะแนนสำหรับแบบสอบถามในการสรุปผลการดำเนินงานของโครงการค่าย

วิชาการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน N-Net 2/2564 (พ่ีสอนน้อง) กศน.อำเภอ

เมืองนราธิวาส โดยแบ่งค่าในการประเมินออกเป็น 5 ระดับ ตามแบบของ ลิเคิรต์ (Likert’s five point rating

scale) ดงั น้ี

นำ้ หนักคะแนน ๕ หมายถึง มคี วามเห็นอยู่ในระดับมากที่สดุ

น้ำหนักคะแนน ๔ หมายถงึ มคี วามเห็นอยู่ในระดับมาก

น้ำหนักคะแนน ๓ หมายถงึ มคี วามเหน็ อยู่ในระดับปานกลาง

น้ำหนกั คะแนน ๒ หมายถงึ มคี วามเห็นอยู่ในระดับน้อย

น้ำหนกั คะแนน ๑ หมายถึง มคี วามเหน็ อยู่ในระดับน้อยท่ีสุด

ในส่วนของการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานโครงการค่ายวิชาการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ยกระดับ
ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน N-Net 2/2564 (พ่ีสอนน้อง) กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส และระดับความคิดเห็น
ของผเู้ ข้ารว่ มโครงการถือวา่ เปน็ คา่ เฉล่ยี ของคะแนนทีไ่ ด้จากการตอบแบบสอบถาม ทงั้ นีผ้ จู้ ดั กิจกรรมได้กำหนด
การวเิ คราะหต์ ามแนวคิดของ เบสท์ (อ้างถงึ ใน พวงรัตน์ ทวีรตั น,์ ๒๕๔๓ : ๓๐๓) ดงั น้ี

ค่าเฉลยี่ ความหมาย
๑.๐๐ – ๑.๔๙ นอ้ ยท่ีสดุ
๑.๕๐ – ๒.๔๙ นอ้ ย
๒.๕๐ – ๓.๔๙ ปานกลาง
๓.๕๐ – ๔.๔๙ มาก
๔.๕๐ – ๕.๐๐ มากทีส่ ุด

25

บทท่ี ๔

ผลการศึกษา
ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการค่ายวิชาการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน N-Net 2/2564 (พี่สอนน้อง) กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ
จำนวน 200 คน ผศู้ ึกษาแบง่ ผลการศึกษาออกเปน็ 2 ส่วน ดงั น้ี
สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ท่ัวไปเกี่ยวกับสถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเกี่ยวกับผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการค่ายวิชาการติวเข้ม
เติมเต็มความรู้ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน N-Net 2/2564 (พ่ีสอนน้อง) กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส
ผลการศึกษาในแต่ละส่วนจะนำเสนอข้อมลู ในรูปแบบตารางแจกแจงเป็นค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละจากข้อมูลที่ได้
เป็นสำคัญ ซง่ึ มรี ายละเอียดของผลการศกึ ษา ดงั นี้
สว่ นที่ 1 ข้อมูลท่ัวไปเก่ียวกบั สถานภาพของผ้ตู อบแบบสอบถาม

ผู้ตอบแบบสอบถามในการศึกษาในคร้ังน้ี เป็นนักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ในพื้นที่
อำเภอเมืองนราธิวาส ที่เข้าร่วมโครงการค่ายวิชาการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
N-Net 2/2564 (พสี่ อนนอ้ ง) กศน.อำเภอเมอื งนราธวิ าสโดยใชค้ า่ รอ้ ยละ ดงั ปรากฏในตารางที่ ๑ ดงั นี้

1.ดา้ นจำนวนและร้อยละของผเู้ ขา้ รว่ มโครงการจำแนกตามตำบล

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 200 คน แบ่งเป็นตำบล 7 ตำบล โดยทั้ง 7
ตำบล มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายที่ได้จัดสรรครบถ้วนท้ัง 7 ตำบล โดยแบ่งเป็น ตำบล
บางนาค ตำบลบางปอ ตำบลกะลุวอ และตำบลกะลุวอเหนือ กลุ่มเป้าหมาย ตำบลละ 30 คน รวมทั้งหมด
4 ตำบล จำนวน 120 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 60 ตำบลมะนังตายอ และตำบลโคกเคียน กล่มุ เป้าหมาย ตำบลละ
27 คน รวมทั้งหมด 2 ตำบล จำนวน 54 คน คิดเป็นร้อยละ 27 และ ตำบลลำภู กลุ่มเป้าหมาย จำนวน
26คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 13 ตามลำดบั

26

2. ดา้ นจำนวนและร้อยละของผู้เข้าร่วมโครงการจำแนกตามตำบล ตามเพศ ช่วงอายุ
ระดบั การศึกษาและอาชีพ

กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ จำแนกเป็น เพศหญิง จำนวน 129 คน คิดเป็นร้อยละ 64.5 และ
เพศชาย จำนวน 71 คน คดิ เป็นร้อยละ 35.5

กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ จำแนกเป็น ช่วงอายุระหว่าง 15 – 39 ปี จำนวน 189 คน คิด
เป็นรอ้ ยละ 94.5 รองลงมา ช่วงอายุ 40 – 49 ปี จำนวน 11 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 5.5

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ จำแนกเป็น ระดับการศึกษา แบ่งเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จำนวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ 48 มัธยมศึกษาตอนต้น จำนวน 83 คน คิดเป็นร้อยละ 81.1 และ
ประถมศึกษา จำนวน 21 คน คิดเปน็ ร้อนละ 10.5

กลุ่มเปา้ หมายท่ีเข้าร่วมโครงการ จำแนกเปน็ อาชพี วา่ งงาน จำนวน 75 คดิ เปน็ ร้อยละ37.5 รับจ้าง
จำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 30.5 อ่ืนๆ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ค้ายขาย จำนวน 23 คน
คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.5 และ เกษตร จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1 ตามลำดบั

27

ตอนที่ 2 ความพึงพอใจในการจดั โครงการ
ด้านการถา่ ยทอดความรู้ การอธบิ ายเนอื้ หา เทคนิคการถ่ายทอด การใช้สอื่ การเปิดโอกาสในการ

ซกั ถาม ของวิทยากร

กลุ่มเป้าหมายที่เข้ารว่ มโครงการ มีความพึงพอใจในการถา่ ยทอดความร้ขู องวิทยากร ลำดับที่ 1 อยู่ในระดับ
มาก จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 47.5 รองลงมา อยู่ในระดับ มากท่ีสุด จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 28
ปานกลาง จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5 ระดับน้อย จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.5 และระดับน้อยท่ีสุด
จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.5

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในความสามรถในการอธิบายเนื้อหาระดับมาก จำนวน
91 คน คิดเป็นร้อยละ 45.5 มากที่สุด จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 26 ปานกลาง 29 คิดเป็นร้อยละ 24.5
น้อย จำนวน 7 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 3.5 และน้อยท่ีสดุ จำนวน 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.5

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในวิทยากรมีเทคนิคในการถ่ายทอด ระดับมาก จำนวน
87 คน คิดเป็นร้อยละ 43.5 ปานกลาง จำนวน 55 คน คิดเป็นร้อยละ 27.5 มากท่ีสุด จำนวน 53 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 26.5 นอ้ ย จำนวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 2 และนอ้ ยทสี่ ุด จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในวิทยากรเปิดโอกาสในการซักถาม ระดับมาก จำนวน
98 คน คิดเป็นร้อยละ 49 มากท่ีสดุ จำนวน 49 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 24.5 ปานกลาง 47 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 23.5
และน้อย จำนวน 6 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 3 ตามลำดับ

28

ดา้ นเนือ้ หาตรงกับความต้องการของผ้รู บั การอบรม เนอ้ื หาทเ่ี ปน็ ประโยชนต์ ่อการนำไปใช้ใน
การจดั การเรยี นรู้ ความรูค้ วามเข้าใจก่อน และ หลัง อบรม

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในเน้ือหาตรงกับความต้องการของผู้รับการอบรม ลำดับที่
1 อยใู่ นระดับ มาก จำนวน 94 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 47 รองลงมา ระดับปานกลาง จำนวน 52 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26
มากท่ีสดุ จำนวน 50 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 25 ระดบั น้อยและนอ้ ยทสี่ ดุ จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2 ตามลำดับ

เนื้อหาท่ีเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 90 คน คิดเป็นร้อยละ 45
รองลงมา ระดับปานกลาง 54 คน คิดเป็นร้อยละ 27 ระดับมากทส่ี ุด 51 คน คิดเป็นร้อยละ 25.5 และระดับน้อย
3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.5 และระดับนอ้ ยทสี่ ดุ 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1 ตามลำดับ

ความรู้ ความเข้าใจ มีการเตรียมความพร้อมก่อนอบรม อยู่ในระดับปานกลาง 103 คน คิดเป็นร้อยละ
51.5 รองลงมา ระดับมาก 66 คน คิดเป็นร้อยละ 33 ระดับมากที่สุด 21 คน คิดเป็นร้อยละ 10.5 ระดับน้อย
10 คน คิดเป็นร้อยละ 5 ตามลำดบั

มีความรู้ ความเข้าใจ หลังการอบรม อยู่ในระดับมาก 108 คน คิดเป็นร้อยละ 54 รองลงมา ระดับปาน
กลาง 46 คน คิดเป็นร้อยละ 23 ระดับมากท่ีสุด 41 คน คิดเป็นร้อยละ 20.5 ระดับน้อย 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2
และระดบั น้อยท่ีสุด 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.5 ตามลำดับ

29

ดา้ นระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม กิจกรรมเหมาะสมกบั กลุ่มเปา้ หมาย วธิ ีการวดั ผล
ประเมินผลเหมาะสมกบั วัตถุประสงค์

กลมุ่ เปา้ หมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในระเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ
มาก 101 คน คิดเป็นร้อยละ 50.5 รองลงมา ระดับปานกลาง 52 คน คิดเป็นร้อยละ 26 ระดับมากท่ีสุด
40 คน คดิ เป็นร้อยละ 20 ระดบั นอ้ ย 6 คน คิดเป็นร้อยละ 3 และระดับน้อยทสี่ ุด 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 0.5
ตามลำดับ

การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับมาก 108 คน คิดเป็นร้อยละ 54 รองลงมา
ระดับปานกลาง 53 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.5 ระดับมากท่ีสดุ 33 คน คิดเป็นร้อยละ 16.5 ระดับน้อย 6 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 3 ตามลำดับ

วิธีการวัดผลประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมาก 115 คน คิดเป็นร้อยละ 57.5
รองลงมา ระดับปานกลาง 52 คน คิดเป็นร้อยละ 26 ระดับมากทสี่ ุด 30 คิดเปน็ รอ้ ยละ 15 และระดับน้อย
2 คน คิดเปน็ ร้อยละ 1 ระดบั น้อยทสี่ ุด 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.5 ตามลำดับ

30

ดา้ นการสื่อสาร การสร้างบรรยากาศ เพอื่ ใหเ้ กิดการเรยี นรู้ การบริการ การชว่ ยเหลือ และ
การแก้ปญั หา สถานที่ วัสดุ อปุ กรณ์ และส่ิงอำนวยความสะดวก

กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในด้านการสื่อสาร การสร้างบรรยากาศ เพื่อให้เกิด
การเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 123 คน คิดเป็นร้อยละ 61.5 รองลงมา ระดับปานกลาง 51 คน คิดเป็นร้อยละ
25.5 ระดับมากท่ีสดุ 25 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 12.5 และระดบั น้อย 1 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.5 ตามลำดบั

การบริการ การช่วยเหลือ และการแก้ปัญหา อยู่ในระดับมาก 119 คน คิดเป็นร้อยละ 59.5
รองลงมา ระดับปานกลาง 52 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26 ระดับมากท่ีสุด 26 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 13 และระดับ
นอ้ ย 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 1.5 ตามลำดับ

สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ และส่ิงอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก 114 คน คิดเป็นร้อยละ 57
รองลงมา ระดับปานกลาง 53 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26.5 ระดับมากท่ีสดุ 30คน คิดเป็นร้อยละ 15 ระดับนอ้ ย
2 คน คดิ เป็นร้อยละ 1 และระดบั น้อยท่ีสดุ 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.5 ตามลำดบั

31

ขอ้ คดิ เหน็ เพ่มิ เต่ิม / ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ แสดงข้อคิดเห็นเพิ่มเติ่มและข้อเสนอแนะอื่นๆ
สว่ นมาก ไมม่ ี คดิ เป็นร้อยละ 29.4 รองลงมา อยากเรยี นเก่ง คิดเปน็ รอ้ ยละ 5.9 ตามลำดบั แผนภมู ิ

32

บทที่ ๕

บทสรุปผลการศกึ ษาและข้อเสนอแนะ

จากการจัดกิจกรรมโครงการค่ายวิชาการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
N-Net 2/2564 (พ่ีสอนน้อง) กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ได้จัดทำขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษา กศน.
อำเภอเมืองนราธิวาส มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในเน้ือหาสาระความรู้ รวมท้ังสามารถนำความรู้
ไปประยุกต์ใช้ ในการสอบปลายภาคเรียน สอบ N-Net ตลอดจนมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนที่ดีขึ้น พบว่า
มีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 200 คน มีผู้ตอบแบบประเมินความพึงพอใจหลังการอบรม จำนวน 200 คน
โดย ผู้เข้าร่วมการอบรม แบ่งเป็นตำบล 7 ตำบล โดยทั้ง 7 ตำบล มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมตาม
เป้าหมายที่ได้จัดสรรครบถ้วน ทั้ง 7 ตำบล โดยแบ่งเป็น ตำบลบางนาค ตำบลบางปอ ตำบลกะลุวอ และ
ตำบลกะลุวอเหนือ กลุ่มเป้าหมาย ตำบลละ 30 คน รวมทั้งหมด 4 ตำบล จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ
60 ตำบลมะนังตายอ และตำบล โคกเคียน กลุ่มเป้าหมาย ตำบลละ 27 คน รวมท้ังหมด 2 ตำบล จำนวน
54 คน คิดเป็นร้อยละ 27 และ ตำบลลำภู กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 13 ตามลำดับ
จำแนกเป็น เพศหญิง 129 คน คิดเป็น ร้อยละ 64.5 และ เพศชาย 71 คน คิดเป็นร้อยละ 35.5 ช่วงอายุ
ระหวา่ ง 15 – 39 ปี จำนวน 189 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 94.5 รองลงมา ชว่ งอายุ 40 – 49 ปี จำนวน 11 คน
คิดเป็นร้อยละ 5.5 ระดับการศึกษา แบ่งเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 96 คน คิดเป็นร้อยละ
48 มธั ยมศึกษาตอนตน้ จำนวน 83 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 81.1 และประถมศึกษา จำนวน 21 คน คดิ เปน็ ร้อน
ละ 10.5 อาชีพ ว่างงาน จำนวน 75 คิดเป็นร้อยละ37.5 รับจ้าง จำนวน 61 คน คิดเป็นร้อยละ 30.5
อื่นๆ จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 19.5 ค้ายขาย จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 11.5 และ เกษตร
จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 1 ตามลำดับ มีความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ลำดับท่ี 1 อยู่
ในระดบั มาก จำนวน 95 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 47.5 รองลงมา อยใู่ นระดบั มากท่ีสดุ จำนวน 52 คน คิดเป็น
ร้อยละ 28 ปานกลาง จำนวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 22.5 ระดับน้อย จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.5
และระดับน้อยท่ีสุด จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5 ความสามรถในการอธิบายเน้ือหาระดับมาก จำนวน
91 คน คิดเป็นร้อยละ 45.5 มากท่ีสุด จำนวน 52 คน คิดเป็นร้อยละ 26 ปานกลาง 29 คิดเป็นร้อยละ
24.5 น้อย จำนวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 3.5 และน้อยที่สุด จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5 วิทยากร
มีเทคนิคในการถ่ายทอด ระดับมาก จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 43.5 ปานกลาง จำนวน 55 คน คิดเป็น
ร้อยละ 27.5 มากท่ีสดุ จำนวน 53 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 26.5 น้อย จำนวน 4 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 2 และน้อย
ท่ีสุด จำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5 วิทยากรเปิดโอกาสในการซักถาม ระดับมาก จำนวน 98 คน คิดเป็น
ร้อยละ 49 มากท่ีสดุ จำนวน 49 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 24.5 ปานกลาง 47 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 23.5 และนอ้ ย
จำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 3 ตามลำดับ เน้ือหาตรงกับความต้องการของผู้รับการอบรม ลำดับท่ี 1 อยู่ใน
ระดับ มาก จำนวน 94 คน คิดเป็นร้อยละ 47 รองลงมา ระดับปานกลาง จำนวน 52 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 26
มากที่สุด จำนวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ระดับน้อยและน้อยที่สุด จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 2
ตามลำดับ เน้ือหาท่ีเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดบั มาก 90 คน คิดเป็นร้อยละ
45 รองลงมา ระดับปานกลาง 54 คน คิดเป็นร้อยละ 27 ระดับมากทสี่ ดุ 51 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 25.5 และ
ระดบั น้อย 3 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 1.5 และระดับน้อยท่ีสุด 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1 ตามลำดับ มีความรู้ ความ
เข้าใจ มีการเตรียมความพร้อมก่อนอบรม อยู่ในระดับปานกลาง 103 คน คิดเป็นร้อยละ 51.5 รองลงมา
ระดับมาก 66 คน คิดเป็นร้อยละ 33 ระดับมากท่ีสุด 21 คน คิดเป็นร้อยละ 10.5 ระดับน้อย 10 คน
คิดเปน็ รอ้ ยละ 5 ตามลำดบั มีความรู้ ความเขา้ ใจ หลงั การอบรม อยใู่ นระดับมาก 108 คน คิดเปน็ ร้อยละ

33

54 รองลงมา ระดับปานกลาง 46 คน คิดเป็นร้อยละ 23 ระดับมากท่ีสุด 41 คน คิดเป็นร้อยละ 20.5
ระดับน้อย 4 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 2 และระดับนอ้ ยท่ีสุด 1 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 0.5 ตามลำดับ ระเวลาในการ
อบรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก 101 คน คิดเป็นร้อยละ 50.5 รองลงมา ระดับปานกลาง 52 คน
คดิ เป็นร้อยละ 26 ระดับมากท่ีสุด 40 คน คิดเป็นร้อยละ 20 ระดับน้อย 6 คน คิดเป็นร้อยละ 3 และระดับ
น้อยท่ีสุด 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5 ตามลำดับ การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับมาก
108 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 54 รองลงมา ระดับปานกลาง 53 คน คดิ เป็นร้อยละ 26.5 ระดบั มากท่สี ุด 33 คน
คิดเป็นร้อยละ 16.5 ระดับน้อย 6 คน คิดเป็นร้อยละ 3 ตามลำดับ วิธีการวัดผลประเมินผลเหมาะสมกับ
วัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมาก 115 คน คิดเป็นร้อยละ 57.5 รองลงมา ระดับปานกลาง 52 คน คิดเป็นรอ้ ย
ละ 26 ระดบั มากที่สุด 30 คิดเป็นรอ้ ยละ 15 และระดับน้อย 2 คน คิดเป็นร้อยละ 1 ระดับน้อยท่ีสุด 1 คน
คิดเป็นร้อยละ 0.5 ตามลำดับ การสื่อสาร การสร้างบรรยากาศ เพื่อให้เกิดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 123
คน คิดเป็นร้อยละ 61.5 รองลงมา ระดับปานกลาง 51 คน คิดเป็นร้อยละ 25.5 ระดับมากที่สุด 25 คน
คิดเป็นร้อยละ 12.5 และระดับน้อย 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5 ตามลำดับ การบริการ การช่วยเหลือ และ
การแก้ปัญหา อยู่ในระดับมาก 119 คน คิดเป็นร้อยละ 59.5 รองลงมา ระดับปานกลาง 52 คน คิดเป็น
ร้อยละ 26 ระดับมากท่ีสุด 26 คน คิดเป็นร้อยละ 13 และระดับน้อย 3 คน คิดเป็นร้อยละ 1.5 ตามลำดับ
สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ และส่ิงอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก 114 คน คิดเป็นร้อยละ 57 รองลงมา
ระดับปานกลาง 53 คน คิดเป็นร้อยละ 26.5 ระดับมากที่สุด 30 คน คิดเป็นร้อยละ 15 ระดับน้อย 2 คน
คิดเป็นร้อยละ 1 และระดับน้อยท่ีสุด 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.5 ตามลำดับ กลมุ่ เป้าหมายแสดงข้อคิดเหน็ เพ่ิม
เติ่มและข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ส่วนมาก ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 29.4 รองลงมา อยากเรียนเก่ง คิดเป็นร้อยละ 5.9
ตามลำดับแผนภมู ิ

ท้ังนี้เพ่ือให้นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส มีความรู้ความเข้าใจและมีทักษะในเนื้อหาสาระ
ความรู้ รวมทั้งสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการสอบปลายภาคเรียน สอบ N-Net ตลอดจนมีผลสัมฤทธิ์
ทางการเรยี นทด่ี ีขนึ้

บรรณานกุ รม

1.https://sites.google.com/nongbua.nfe.go.th/n-net-test/
2.https://thaipick.com/product/shopee/1042641

ภาคผนวก

ภาพกิจกรรม
โครงการคา่ ยวชิ าการติวเข้มเติมเตม็ ความรู้ ยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน N-Net 2/2564

(พีส่ อนน้อง) กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส
ระหวา่ งวนั ที่ 13 – 14 มกราคม 2565
ณ หอ้ งประชุมชน้ั 3 กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส
......................................................................

พิธีเปิดโครงการค่ายวิชาการติวเข้มเติมเต็มความรู้ ยกระดับผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน N-Net 2/2564
(พ่ีสอนน้อง) กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส โดยมีนางสาวนาริณีย์ อโนมะศิริ ครูชำนาญการพิเศษ รักษาการใน
ตำแหนง่ ผู้อำนวยการ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส เป็นประธานในพธิ ีเปิดพร้อมชี้แนะแนวทางในการศึกษาหา
ความรู้และการยกระดับผลสมั ฤทธทิ์ างการศึกษา

วิทยากร นักศึกษา รุ่นพ่ี ที่ได้รับคะแนนสูงสุดในรายวิชาทักษะการเรยี นรู้ ดำเนินการติวเข้มให้รุ่นน้อง
เพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบ N – Net 2/2564 โดยมีองค์นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส
ดำเนนิ การขับเคลื่อน และเป็นพ่ีเลี้ยง ร่วมกับครูผู้ช่วย ในโครงการคา่ ยวิชาการตวิ เข้มเติมเต็มความรู้ ยกระดับ
ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน N-Net 2/2564

วิทยากร นักศึกษา รุ่นพ่ี ท่ีได้รับคะแนนสูงสุดในรายวิชาช่องทางเข้าสู่อาชีพ การพัฒนาอาชีพให้มี
ความเข็มแข็ง และทักษะการขยายอาชีพ ดำเนินการติวเข้มให้รุ่นน้อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบ N –
Net 2/2564 โดยมีองค์นักศึกษา กศน.อำเภอเมอื งนราธวิ าส ดำเนินการขับเคลื่อน และเปน็ พเี่ ล้ียง ร่วมกับครู
ผู้ช่วย ในโครงการค่ายวชิ าการตวิ เขม้ เติมเตม็ ความรู้ ยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น N-Net 2/2564

วิทยากร นักศึกษา รุ่นพ่ี ที่ได้รับคะแนนสูงสุดในรายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง สุขศึกษาพลศึกษา
ดำเนินการติวเข้มให้รุ่นน้อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบ N – Net 2/2564 โดยมีองค์นักศึกษา กศน.
อำเภอเมืองนราธิวาส ดำเนินการขับเคลื่อน และเป็นพ่ีเลี้ยง ร่วมกับครูผู้ช่วย ในโครงการค่ายวิชาการติวเข้ม
เติมเตม็ ความรู้ ยกระดบั ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน N-Net 2/2564

วิทยากร นักศึกษา รุ่นพี่ ที่ได้รับคะแนนสูงสุดในรายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและหน้าพลเมือง
ดำเนินการติวเข้มให้รุ่นน้อง เพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบ N – Net 2/2564 โดยมีองค์นักศึกษา กศน.
อำเภอเมืองนราธิวาส ดำเนินการขับเคลื่อน และเป็นพ่ีเลี้ยง ร่วมกับครูผู้ช่วย ในโครงการค่ายวิชาการติวเข้ม
เตมิ เตม็ ความรู้ ยกระดบั ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี น N-Net 2/2564

วิทยากร นักศึกษา รุ่นพี่ ที่ได้รับคะแนนสูงสุด ร่วมกับครูพ่ีเล้ียง ร่วมกันถอดบทเรียนให้รุ่นน้อง
เพื่อเตรียมความพร้อมในการสอบ N – Net 2/2564 โดยมีองค์นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส
ดำเนินงานขับเคลื่อนอำนวยความสะดวก ตลอดจนให้คำแนะนำแก่รุ่นน้อง ในโครงการค่ายวิชาการติวเข้ม
เติมเต็มความรู้ ยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น N-Net 2/2564


Click to View FlipBook Version