The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานผลโครงงาวิทย์12.64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by g_shock_33, 2022-06-04 00:16:02

รายงานผลโครงงาวิทย์12.64

รายงานผลโครงงาวิทย์12.64

คำนำ

เอกสารสรุปผลการดำเนินงานฉบับน้ี ได้จัดทำข้ึนเพ่ือรายงานผลการประเมินการดำเนินงาน
โครงการอบรมใหค้ วามรู้เร่ืองการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ของศนู ยก์ ารศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ปีงบประมาณ 2565 และใช้เป็นข้อมูลประกอบการ
พิจารณาจดั ทำแผนดำเนินงานกิจกรรมต่าง ๆ ในปีตอ่ ไป

การดำเนินงาน และการจัดทำเอกสารฉบับนี้ สำเรจ็ และเปน็ รูปเลม่ ได้ด้วยความร่วมมอื จากบคุ ลากร
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ขอขอบคุณบุคลากร ทุกท่าน
โดยเฉพาะอย่างยิ่ง รักษาการผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ
เมืองนราธิวาส ที่ได้ให้คำแนะนำ จนการจัดกิจกรรมดังกล่าวสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และหวังว่าเอกสารฉบับนี้
จะใช้เปน็ ข้อมูลอ้างอิงต่อไป

ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมอื งนราธวิ าส

25 มกราคม 2565

สารบัญ หนา้

บทที่ ๑ บทนำ 1
- ความเปน็ มาและความสำคัญของโครงการ 1
- วัตถปุ ระสงค์ 2
- เป้าหมาย 2
- งบประมาณ 3
- ผู้รับผดิ ชอบโครงการ 3
- เครอื ข่ายท่ีเกย่ี วข้อง 3
- โครงการที่เกีย่ วข้อง 3
- ผลลัพธ์ 4 - 14
15 – 16
บทที่ ๒ เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง 17 – 23
บทท่ี ๓ วธิ ดี ำเนินการ 24
บทท่ี ๔ ผลการศึกษา
บทที่ ๕ สรปุ ผลการศกึ ษา

บรรณานกุ รม

*******************************************

1

บทท่ี ๑

บทนำ

1. ความเปน็ มาและความสำคัญ

วิทยาศาสตร์เป็นพ้ืนฐานท่ีสำคัญต่อการพัฒนาประเทศให้เจริญก้าวหน้า การจัดทำโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ เป็นกิจกรรมพื้นฐานท่ีสำคัญสำหรับเยาวชนโดยมีความมุ่งหวังเพ่ือให้นักเรียนรู้จักค้นคว้า รู้จักใช้
ความคิดริเร่ิม สร้างสรรค์เจตคติทางวิทยาศาสตร์และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการตอบปัญหา
ในชีวิตประจำวัน สร้างสรรค์หรือประดิษฐ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ และเข้าใจความเป็นเหตุและผล เพื่อปลูกฝังให้เห็น
ความสำคัญและมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีนับตั้งแต่เยาว์วัย ซึ่งเป็นการปูพ้ืนฐานการพัฒนา
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนการสร้างกำลังคนด้านวิทยาศาสตร์ อันเป็นรากฐานสำคัญต่อความเจริญ
ของชาติท้ังในปัจจุบันและในอนาคต การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมหน่ึงท่ีจะสนับสนุนและ
กระตุ้นให้นักศึกษาได้ฝึกฝนทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ตลอดจนถึงการเผยแพร่ผลงานทาง
วิทยาศาสตร์ การแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์และข้อคิดเห็นกับสาธารณชน เพื่อพัฒนาศักยภาพ
ทางวิทยาศาสตร์ในระยะยาวแก่เยาวชนของชาติ ประกอบกับนักศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส
โดยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ ในทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทำโครงงาน
วทิ ยาศาสตร์ทถี่ กู ตอ้ ง
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองนราธิวาส ได้เล็งเห็นความสำคัญดังกล่าว จึง
จัดทำโครงการอบรมให้ความรู้เร่ืองการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส เพื่อพัฒนา
ผู้เรียนให้มีความรู้ความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ นำไปสู่แนวทางในการจัดทำโครงงาน
วิทยาศาสตร์และการแก้ไขปัญหาโดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพ่ือเป็นพื้นฐานในการดำรงชีวิต และ
สำรวจความถนัด ความสามารถของตนเอง อีกท้ังได้พัฒนาความสามารถสร้างสรรค์ผลงานได้อย่างมีคุณภาพ
และพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใหส้ งู ข้ึน

2. วัตถปุ ระสงค์
1. เพอื่ ให้กลุ่มเปา้ หมาย นักศึกษาข้ันพ้นื ฐาน กศน.อำเภอเมอื งนราธิวาส มีความรู้ ความเข้าใจ
เกย่ี วกับการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้อย่างถกู ต้องและมีคุณภาพ
2. เพื่อให้กลุ่มเป้าหมาย นกั ศึกษาข้นั พน้ื ฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส เกิดทกั ษะกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์ สามารถเขียน และวางแผนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้
3. เพอื่ ให้กลุ่มเป้าหมาย นกั ศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส นำความรทู้ ่ีไดร้ ับ
ไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนินชวี ิตได้

2

3. เปา้ หมาย

เชิงปรมิ าณ

นักศกึ ษาขน้ั พนื้ ฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ( 7 ตำบล ) จำนวน 380 คน 2 รุ่น

รุ่นละ 190 คน แบง่ เปน็

- ตำบลบางนาค จำนวน 30 คน

- ตำบลกะลวุ อเหนือ จำนวน 30 คน

- ตำบลกะลวุ อ จำนวน 30 คน

- ตำบลบางปอ จำนวน 30 คน

- ตำบลโคกเคยี น จำนวน 25 คน

- ตำบลมะนังตายอ จำนวน 23 คน

- ตำบลลำภู จำนวน 22 คน

เชงิ คุณภาพ

กลุ่มเป้าหมายนักศึกษาขั้นพื้นฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส มีความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับการทำ

โครงงานวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถเขียน

และวางแผนการทำโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้ ตลอดจนนำความรทู้ ไี่ ดร้ บั ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนนิ ชวี ิตได้

4. วงเงนิ งบประมาณทั้งโครงการ

จากแผนงาน : ยุทธศาสตร์สร้างความเสมอภาคทางการศึกษา โครงการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการจัด

การศึกษาต้ังแต่ระดับอนุบาลจนจบการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กิจกรรมจัดการศึกษานอกระบบระดับการศึกษา

ขั้นพ้ืนฐาน งบเงินอุดหนุน ค่ากิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียน รหัสงบประมาณ ๒๐๐๐๒43016500154

จำนวน 29,60๐ บาท ( สองหมื่นเก้าพนั หกร้อยบาทถ้วน ) รายละเอียดดังน้ี

1. ค่าวทิ ยากร

จำนวน 1 คน × 200 บาท × 6 ชัว่ โมง× 2 วัน เปน็ เงนิ 2,400.-บาท

2. ค่าใช้สอย

รนุ่ ท่ี 1

- คา่ อาหารกลางวันนกั ศกึ ษา จำนวน 190 คน x ๗๐ บาท x 1 มือ้ เป็นเงนิ 13,300.- บาท

- ค่าอาหารวา่ งและเคร่อื งด่ืม จำนวน 190 คน x ๒๐บาท x 2 มอ้ื เปน็ เงนิ 7,600.- บาท

รวม เปน็ เงิน 20,90๐.- บาท

รุ่นท่ี 2

- คา่ อาหารกลางวันนกั ศกึ ษา จำนวน 190 คน x ๗๐ บาท x 1 ม้อื เปน็ เงนิ 13,300.- บาท

- คา่ อาหารว่างและเคร่ืองด่ืม จำนวน 190 คน x ๒๐บาท x 2 มอ้ื เป็นเงิน 7,600.- บาท

รวม เปน็ เงนิ 20,90๐.- บาท

3. ค่าวสั ดุ

- ค่าป้าย 1 ผืน × 500 บาท เป็นเงิน 500.- บาท

- ค่าวสั ดุดำเนนิ งาน เป็นเงนิ 15,300.- บาท

รวมเปน็ เงินทั้งส้ิน 60,000.- บาท (หกหม่นื บาทถ้วน )

3

5. ผู้รับผดิ ชอบโครงการ ตำแหนง่ ครูผชู้ ่วย เบอรโ์ ทร 083-0746869
- นางสาวปยิ นาถ ยะปา
- ครู อาสาฯ ทกุ ตำบล
- ครู กศน.ตำบล ทกุ ตำบล
- ครู ศรช.
- ครอู าสาฯปอเนาะ ทุกตำบล

6. เครือขา่ ย
ศูนยว์ ทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือการศึกษานราธิวาส

7. โครงการท่เี กยี่ วข้อง
๑๑.๑ โครงการจดั การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ
๑๑.๒ โครงการจัดการศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน

8. ผลลัพธ์

กลุ่มเป้าหมายนักศึกษาขั้นพ้ืนฐาน กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส มีความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับการทำ
โครงงานวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถเขียน
และวางแผนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ ตลอดจนนำความรู้ทไี่ ดร้ บั ไปประยุกตใ์ ช้ในการดำเนนิ ชวี ติ ได้

4

บทท่ี ๒

เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้อง

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (science process skill) หมายถึง ความสามารถ และความ
ชำนาญในการคดิ เพ่ือค้นหาความรู้ และการแก้ไขปัญหา โดยใช้กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ อาทิ การสังเกต
การวัด การคำนวณ การจำแนก การหาความสัมพันธร์ ะหว่างสเปสกับเวลา การจัดกระทำ และส่ือความหมาย
ข้อมูล การลงความคิดเห็น การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน การกำหนดนิยาม การกำหนดตัวแปร การทดลอง
การวิเคราะห์ และแปรผลขอ้ มลู การสรุปผลข้อมูลไดอ้ ยา่ งรวดเรว็ ถูกตอ้ ง และแม่นยำ

ความสำคัญของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์เป็นทักษะสำคัญ
ที่แสดงถึงการมีกระบวนการคิด อย่างมีเหตุ มีผลตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทำให้ผู้เรียน และผู้ปฏิบัติ
เกิดความเข้าใจในเน้ือหาทางวิทยาศาสตร์ สามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเองไปส่กู ระบวนการคิดท่ีซับซอ้ นมาก
ขนึ้

ประเภททักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ เป็นทักษะแสวงหาความรู้
และแนวทางสำหรับการแก้ไขปัญหา เป็นแนวทางที่พัฒนาขึ้นตามหลักสูตร science a process approach
(SAPA) ของสมาคมอเมริกันเพื่อความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์ (The American association for the
advancement of science) ประกอบดว้ ย

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13 ทักษะ แบง่ เป็น 2 ระดบั คอื
1. ระดับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ั้นพืน้ ฐาน 8 ทักษะ เหมาะสำหรับระดบั การศกึ ษาปฐมวัย
2. ระดบั ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ น้ั บรู ณาการ 5 ทกั ษะ เหมาะสำหรับระดบั การศกึ ษามัธยมวยั

1. ระดับทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ้ันพน้ื ฐาน 8 ทักษะ เป็นทกั ษะเพ่ือการแสวงหาความรทู้ ั่วไป
ประกอบดว้ ย

ทกั ษะที่ 1 การสังเกต (Observing) หมายถงึ การใชป้ ระสาทสัมผัสของรา่ งกายอยา่ งใดอยา่ งหนง่ึ หรือ
หลายอยา่ ง ได้แก่ หู ตา จมกู ลนิ้ กายสัมผัส เข้าสมั ผัสกบั วตั ถุหรือเหตุการณเ์ พอ่ื ใหท้ ราบ และรับรู้ขอ้ มูล
รายละเอียดของส่ิงเหลา่ น้ัน โดยปราศจากความคดิ เหน็ ส่วนตน ขอ้ มลู เหล่านจี้ ะประกอบดว้ ย ข้อมลู เชงิ
คณุ ภาพ เชิงปรมิ าณ และรายละเอยี ดการเปล่ยี นแปลงทเ่ี กิดขึน้ จากการสังเกต

ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทกั ษะ
– สามารถแสดงหรือบรรยายคุณลกั ษณะของวัตถไุ ด้ จากการใช้ประสาทสัมผสั อย่างใดอย่างหน่ึงหรอื หลาย
อย่าง
– สามารถบรรยายคุณสมบตั เิ ชิงประมาณ และคุณภาพของวัตถุได้
– สามารถบรรยายพฤติการณ์การเปลีย่ นแปลงของวตั ถุได้

ทักษะที่ 2 การวัด (Measuring) หมายถึง การใช้เคร่ืองมือสำหรับการวัดข้อมูลในเชิงปริมาณของสิ่ง

ต่างๆ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นตัวเลขในหนว่ ยการวัดทถี่ ูกต้อง แม่นยำได้ ท้ังนี้ การใชเ้ ครื่องมือจำเปน็ ต้องเลือกใชใ้ ห้

เหมาะสมกับสิง่ ที่ต้องการวดั รวมถงึ เขา้ ใจวธิ ีการวดั และแสดงขั้นตอนการวดั ไดอ้ ยา่ งถูกต้อง

5

ความสามารถท่แี สดงการเกดิ ทักษะ
– สามารถเลอื กใชเ้ ครื่องมือไดเ้ หมาะสมกบั ส่ิงท่ีวัดได้
– สามารถบอกเหตผุ ลในการเลือกเครื่องมือวัดได้
– สามารถบอกวิธีการ ข้นั ตอน และวธิ ีใช้เครอ่ื งมือได้อย่างถกู ต้อง
– สามารถทำการวดั รวมถึงระบุหน่วยของตัวเลขได้อยา่ งถูกตอ้ ง

ทักษะ ท่ี 3 การคำนวณ (Using numbers) หมายถึง การนับจำนวนของวัตถุ และการนำตัวเลขที่ได้
จากนับ และตัวเลขจากการวัดมาคำนวณด้วยสูตรคณิตศาสตร์ เช่น การบวก การลบ การคูณ การหาร เป็นต้น
โดยการเกิดทักษะการคำนวณจะแสดงออกจากการนับท่ีถูกต้อง ส่วนการคำนวณจะแสดงออกจากการเลือก
สตู รคณติ ศาสตร์ การแสดงวิธคี ำนวณ และการคำนวณท่ีถูกตอ้ ง แม่นยำ

ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทักษะ
– สามารถนับจำนวนของวัตถุไดถ้ ูกตอ้ ง
– สามารถบอกวิธคี ำนวณ แสดงวธิ คี ำนวณ และคิดคำนวณได้ถูกตอ้ ง

ทักษะท่ี 4 การจำแนกประเภท (Classifying) หมายถึง การเรียงลำดับ และการแบ่งกลุ่มวัตถุหรือ
รายละเอียดข้อมลู ดว้ ยเกณฑค์ วามแตกต่างหรือความสัมพันธ์ใดๆอย่างใดอยา่ งหนึ่ง

ความสามารถทีแ่ สดงการเกดิ ทักษะ
– สามารถเรียงลำดบั และแบ่งกลมุ่ ของวตั ถุ โดยใช้เกณฑ์ใดได้อย่างถูกตอ้ ง
– สามารถอธิบายเกณฑ์ในเรียงลำดบั หรือแบง่ กลมุ่ ได้

ทักษะท่ี 5 การหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Using space/Time
relationships) สเปสของวัตถุ หมายถึง ท่ีว่างท่ีวัตถุนั้นครองอยู่ ซึ่งอาจมีรูปร่างเหมือนกันหรือแตกต่างกับ
วัตถุน้ัน โดยทั่วไปแบง่ เป็น 3 มติ ิ คือ ความกว้าง ความยาว และความสงู ความสมั พันธ์ระหวา่ งสเปสกบั สเปสข
องวัตถุ ได้แก่ ความสัมพันธ์ระหว่าง 3 มิติ กับ 2 มิติ ความสัมพันธ์ระหว่างตำแหน่งท่ีอยู่ของวัตถุหน่ึงกับวัตถุ
หน่งึ
ความสัมพันธ์ระหว่างสเปสของวัตถุกับเวลา ได้แก่ ความสัมพันธ์ของการเปลี่ยนแปลงตำแหน่งของวัตถุกับ
ชว่ งเวลา หรือความสัมพันธข์ องสเปสของวตั ถทุ ่เี ปลย่ี นไปกบั ชว่ งเวลา

ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทักษะ
– สามารถอธบิ ายลกั ษณะของวตั ถุ 2 มติ ิ และวตั ถุ 3 มิติ ได้
– สามารถวาดรูป 2 มติ ิ จากวัตถุหรอื รปู 3 มติ ิ ท่กี ำหนดให้ได้
– สามารถอธบิ ายรูปทรงทางเราขาคณิตของวตั ถุได้
– สามารถอธิบายความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งวัตถุ 2 มิติ กบั 3 มิติได้ เช่น ตำแหนง่ หรอื ทิศของวตั ถุ และตำแหน่ง
หรอื ทิศของวัตถตุ อ่ อกี วัตถุ
– สามารถบอกความสัมพนั ธ์ของการเปลี่ยนแปลงตำแหนง่ ของวตั ถุกบั เวลาได้
– สามารถบอกความสัมพนั ธ์ของการเปลีย่ นแปลงขนาด ปริมาณของวัตถุกบั เวลาได้

ทักษะท่ี 6 การจัดกระทำ และสื่อความหมายข้อมูล (Communication) หมายถึง การนำข้อมูลท่ไี ด้
จากการสังเกต และการวัด มาจัดกระทำให้มีความหมาย โดยการหาความถี่ การเรียงลำดับ การจัดกลุ่ม การ
คำนวณค่า เพ่ือให้ผู้อ่ืนเข้าใจความหมายได้ดีขึ้น ผ่านการเสนอในรูปแบบของตาราง แผนภูมิ วงจร เขียนหรือ
บรรยาย เป็นตน้

6

ความสามารถทแ่ี สดงการเกดิ ทกั ษะ
– สามารถเลอื กรูปแบบ และอธบิ ายการเลอื กรูปแบบในการเสนอขอ้ มลู ทเี่ หมาะสมได้
– สามารถออกแบบ และประยกุ ตก์ ารเสนอข้อมลู ให้อยู่ในรูปใหม่ทีเ่ ข้าใจได้ง่าย
– สามารถเปล่ยี นแปลง ปรับปรุงข้อมูลใหอ้ ยใู่ นรปู แบบทเ่ี ข้าใจได้งา่ ย
– สามารถบรรยายลกั ษณะของวัตถุดว้ ยข้อความทเี่ หมาะสม กะทดั รดั และส่ือความหมายใหผ้ อู้ ่ืนเขา้ ใจไดง้ ่าย

ทักษะท่ี 7 การลงความเห็นจากข้อมูล (Inferring) หมายถึง การเพิ่มความคิดเห็นของตนต่อข้อมูลที่
ไดจ้ ากการสงั เกตอย่างมเี หตผุ ลจากพืน้ ฐานความรู้หรอื ประสบการณท์ ม่ี ี
ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถอธิบายหรือสรปุ จากประเด็นของการเพ่ิมความคิดเห็นของตน
ต่อขอ้ มูลทีไ่ ดม้ า

ทักษะที่ 8 การพยากรณ์ (Predicting) หมายถึง การทำนายหรือการคาดคะเนคำตอบ โดยอาศัย
ข้อมูลท่ีได้จากการสังเกตหรือการทำซ้ำ ผ่านกระบวนการแปรความหายของข้อมูลจากสัมพันธ์ภายใต้ความรู้
ทางวิทยาศาสตร์ความสามารถท่ีแสดงการเกิดทักษะ คือ สามารถทำนายผลท่ีอาจจะเกิดข้ึนจากข้อมูลบน
พ้ืนฐานหลักการ กฎ หรือทฤษฎีท่ีมีอยู่ ท้ังภายในขอบเขตของข้อมูล และภายนอกขอบเขตของข้อมูลในเชิง
ปริมาณได้

2.ระดบั ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ้นั บรู ณาการ 5 ทกั ษะ เป็นทักษะกระบวนการขั้นสงู ท่ีมคี วาม
ซับซอ้ นมากขึ้น เพ่ือแสวงหาความรู้ โดยใช้ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขัน้ พืน้ ฐาน เปน็ พืน้ ฐานในการ
พฒั นา ประกอบด้วย

ทกั ษะที่ 9 การต้งั สมมติฐาน (Formulating hypotheses) หมายถงึ การตัง้ คำถามหรือคดิ คำตอบ
ล่วงหน้ากอ่ นการทดลองเพ่ืออธิบายหาความสมั พันธ์ระหว่างตวั แปรต่าง ๆ วา่ มีความสัมพันธอ์ ย่างไรโดย
สมมตฐิ านสร้างขนึ้ จะอาศัยการสงั เกต ความรู้ และประสบการณ์ภายใต้หลกั การ กฎ หรือทฤษฎีท่ีสามารถ
อธิบายคำตอบได้

ความสามารถที่แสดงการเกดิ ทักษะ
– สามารถตั้งคำถามหรือคดิ หาคำตอบลว่ งหนา้ กอ่ นการทดลองได้
– สามารถต้ังคำถามหรือคิดหาคำตอบล่วงหน้าจากความสัมพนั ธ์ระหวา่ งตวั แปรตา่ งๆได้

ทักษะที่ 10 การกำหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ (Defining operationally) หมายถึง การกำหนด และ
อธิบายความหมาย และขอบเขตของคำต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาหรือการทดลองเพื่อให้เกิดความเข้าใจ
ตรงกันระหวา่ งบุคคล
ความสามารถที่แสดงการเกิดทกั ษะ คือ สามารถอธิบายความหมาย และขอบเขตของคำหรอื ตัวแปรต่าง ๆท่ี
เกีย่ วข้องกับการศกึ ษา และการทดลองได้

ทักษะท่ี 11 การกำหนด และควบคุมตัวแปร (Identifying and controlling variables) หมายถึง
การบ่งชี้ และกำหนดลักษณะตัวแปรใดๆให้เป็นเป็นตัวแปรอิสระหรอื ตัวแปรต้น และตัวแปรใดๆให้เป็นตัวแปร
ตาม และตัวแปรใดๆให้เป็นตัวแปรควบคมุ
ตวั แปรต้น คือ สง่ิ ท่ีเปน็ สาเหตุทีท่ ำให้เกดิ ผลหรือส่งิ ที่ต้องการทดลองเพื่อให้ทราบว่าเปน็ สาเหตุของผลทเ่ี กิดข้ึน
หรือไม่
ตวั แปรตาม คือ ผลทเ่ี กิดจากการกระทำของตวั แปรตน้ ในการทดลอง
ตัวแปรควบคุม คือ ปัจจัยอ่นื ๆ นอกเหนอื จากตัวแปรตน้ ท่ีอาจมีผลมีต่อการทดลองทีต่ อ้ งควบคมุ ให้เหมือนกนั
หรือคงท่ีขณะการทดลอง
ความสามารถทแ่ี สดงการเกดิ ทักษะ คือ สามารถกำหนด และอธบิ ายตวั แปรต้น ตัวแปรตาม และตวั แปร
ควบคมุ ในการทดลองได้

7

ทกั ษะท่ี 12 การทดลอง (Experimenting) หมายถงึ กระบวนการปฏิบัติ และทำซ้ำในข้นั ตอนเพ่ือหาคำตอบ
จากสมมติฐาน แบ่งเปน็ 3 ข้ันตอน คือ

1. การออกแบบการทดลอง หมายถึง การวางแผนการทดลองกอ่ นการทดลองจรงิ ๆ เพ่ือกำหนดวธิ กี าร
และขั้นตอนการทดลองที่สามารถดำเนินการได้จริง รวมถงึ วธิ ีการแก้ไขปญั หาอุปสรรคท่ีอาจเกดิ ขน้ึ ขณะทำการ
ทดลองเพอื่ ให้การทดลองสามารถดำเนนิ การให้สำเร็จลลุ ่วงด้วยดี

2. การปฏบิ ตั ิการทดลอง หมายถึง การปฏบิ ัติการทดลองจรงิ
3. การบนั ทกึ ผลการทดลอง หมายถึง การจดบันทึกข้อมลู ที่ไดจ้ ากการทดลองซึง่ อาจเป็นผลจากการ
สงั เกต การวัดและอน่ื ๆ
ความสามารถทแี่ สดงการเกดิ ทกั ษะ
– สามารถออกแบบการทดลอง และกำหนดวิธี ขั้นตอนการทดลองไดถ้ ูกตอ้ ง และเหมาะสมได้
– สามารถระบุ และเลือกใชอ้ ุปกรณ์ในการทดลองอย่างเหมาะสม
– สามารถปฏิบตั ิการทดลองตามขั้นตอนได้อย่างถูกต้อง
– สามารถบนั ทกึ ผลการทดลองได้อย่างถูกต้อง

ทักษะที่ 13 การตีความหมายข้อมูล และการลงข้อมูล (Interpreting data and conclusion)
หมายถึง การแปรความหมายหรือการบรรยายลักษณะและสมบัติของข้อมูลท่ีมีอยู่ การตีความหมายข้อมูลใน
บางคร้งั อาจต้องใชท้ ักษะอืน่ ๆ เช่น ทักษะการสังเกต ทกั ษะการคำนวณ
การลงขอ้ มูล หมายถึง การวิเคราะห์ และการสรุปผลความสัมพนั ธ์ของข้อมูล สรปุ ประเด็นสำคัญของข้อมูลทไ่ี ด้
จากการทดลองหรอื ศึกษา
ความสามารถท่แี สดงการเกดิ ทักษะ คือ
– สามารถในการวเิ คราะห์ และสรุปประเด็นสำคัญ รวมถึงการแปลความหมายหรือบรรยายลกั ษณะของข้อมูล
– สามารถบอกความสัมพันธ์ของข้อมลู ได้

ความหมายโครงงานวทิ ยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์ (Science Project) หมายถึงการศึกษาเรื่องใดเร่ืองหนึ่งเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์
ด้วยตนเอง โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การหาคำตอบภายใต้
คำแนะนำหรือข้อเสนอแนะของครู อาจารย์ หรือ ผู้เช่ียวชาญ ซ่ึงกิจกรรมนี้อาจทำเป็นรายบุคคลหรือทำเป็น
รายบคุ คลหรอื ทำเป็นกลุ่ม และจะทำในเวลาเรยี นหรอื นอกเวลาเรยี นก็ได้ โดยไม่ต้องจำกดั สถานท่ี
หลักการของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
การจดั ทำโครงงานวิทยาศาสตร์มีหลกั การสำคัญ ดงั นี้
1.เป็นกิจกรรมท่ีเกยี่ วข้องกับวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
2.เป็นกิจกรรมที่เน้นการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ตั้งแต่การระบุปัญหาการต้ังสมมติฐาน การ
ดำเนนิ การศึกษา ค้นคว้า ทดลอง เพอื่ หาคำตอบในปัญหาน้นั ๆ จากแหล่งความรู้ ผูช้ ำนาญหรืออน่ื ๆ โดยมคี รู –
อาจารย์ เปน็ ผูแ้ นะนำให้คำปรึกษา
3.เป็นกิจกรรมที่เน้นแสวงหาความรู้โดยใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เริ่มจากการ ระบุปัญหา เลือก
หัวข้อท่ีตนสนใจจะศึกษา ตั้งสมมติฐาน ขั้นสังเกต และการทดลองเพื่อรวบรวมข้อมูล และสรุปผลการศึกษา
ค้นควา้
4.เป็นบกิจกรรมท่ีเน้นให้ผู้เรียน คิดเป็น ทำเป็นและแก้ปัญหาเป็นซึ่งเป็นแนวทางที่นำไปใช้ในการ
ดำเนินชวี ติ ประจำวนั

8

จุดมุง่ หมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
โครงงานวทิ ยาศาสตร์โดยทัว่ ไป มจี ดุ มุ่งหมาย

1.เพื่อนำมาจัดระบบ ระเบียบ และสือ่ ความหมายแลว้ นำเสนอในรปู ต่างๆ เช่นตาราง แผนภูมิ
2.เพอื่ ให้ผเู้ รยี นเรยี นใช้ความรู้และประสบการณเ์ ลอื กทำโครงงานวิทยาศาสตรต์ ามที่ตนใจ
3.เพือ่ ใหผ้ ้เู รียนแสดงความคิดเห็นรเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์
4.เพ่ือให้ผู้เรียนมีเจตคติทางวิทยาศาสตร์และเห็นคุณค่าของการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ใน
การแกป้ ญั หา
5.เพ่ือให้ผู้เรียนมองเห็นแนวทางในการประยุกต์ใช้ความรู้ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในแต่ละ
ทอ้ งถิน่

ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
โครงงานวทิ ยาศาสตรโ์ ดยทว่ั ไป แบ่งเป็น 4 ประเภท คอื

1. โครงงานประเภทสำรวจ เป็นการศึกษารวบรวมข้อมูลจากธรรมชาติประเภทของโครงงาน
วิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์โดยทั่วไปแบ่งเป็น 4 ประเภทคอื และสิ่งแวดล้อมเพอื่ นำมาจัดระบบระเบียบ
และส่ือความหมายและนำเสนอในรูปแบบอน ๆ เช่นตารางแผนภูมิกราฟคำอธิบายประกอบการทำโครงงาน
ประเภทนไ้ี ม่มีการจัดหรือกำหนดตัวแปรตน้ และตวั แปรตามซึง่ ทำไดใ้ นลกั ษณะใดลักษณะหนึง่ ดังน้ี

1.1 การเก็บรวบรวมข้อมูลในธรรมชาติโดยไม่ต้องนำมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการเช่นการสำรวจ
ประชากรของพืชสัตว์ดินในบริเวณที่ต้องการศึกษาการสำรวจลักษณะระบบนิเวศในท้องถ่ินการสำรวจชนิดพืช
ใบเลี้ยงคใู่ บเลย้ี งเดย่ี วในบริเวณโรงเรียน

1.2 การเก็บรวบรวมข้อมูลตัวอย่างมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการเช่นการสำรวจพยาธิในปูเค็มที่
วางขายในตลาดท่ีต้องการศึกษาการสำรวจค่าของความเป็นกรดเป็นเบสของดินหรือน้ำจากแหล่งท่ีต้องก าร
ศึกษาตา่ งประการสำรวจหาปริมาณนำ้ ตาลจากออ้ ยในพ้ืนที่ต่าง ๆ ของท้องถน่ิ

1.3 การจำลองธรรมชาติข้ึนในห้องปฏิบัติการแล้วสังเกตศึกษาเพื่อรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ซึ่งบางครั้ง
การออกไปสำรวจเพื่อรวบรวมข้อมูลในธรรมชาติไม่สะดวกเสียเวลาส้ินเปลืองงบประมาณมากบางครั้ งก็อาจ
จำลองธรรมชาติจำลองนั้นเช่นการศึกษาพฤติกรรมของสัตว์ที่นำมาเล้ียงในห้องปฏิบัติการการศึกษาวงจรชีวิต
ของแมลงทีเ่ ล้ยี งในห้องปฏบิ ัตกิ ารการศกึ ษาพฤติกรรมของมดแดงทนี่ ำมาเลย้ี ง 1 อาณานิคมในห้องปฏบิ ตั กิ าร

2. โครงงานประเภทการทดลอง เป็นการศึกษาหาคำตอบของปัญหาโดยการออกแบบการเพ่ือศึกษา
ผลของตัวแปรต้นตัวแปรตามและควบคุมตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจมีผลต่อตัวแปรท่ีต้องการศึกษาโดยทั่วไปขั้นตอน
การดำเนนิ งานของโครงงานประเภทนี้ประกอบดว้ ย

2.1 การระบุปัญหา (ไดจ้ ากการสังเกต)
2.2 การต้งั สมมติฐานเปน็ การคาดคะเนคำตอบของปญั หา
2.3 การออกแบบการทดลองโดยการกำหนดตัวแปรท่ีเก่ียวข้องกับปัญหาคือตัวแปรต้น (อิสระ) หมายถึง
สิ่งท่ีเป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดผลต่าง ๆ ท่ีต้องการศึกษาตัวแปรตามหมายถึงส่ิงที่เป็นผลมาจากตัวแปรต้นตัวแปร
คุมหมายถงึ สง่ิ อนื่ ๆ ทม่ี ผี ลตอ่ ตวั แปรตามจงึ ตอ้ งควบคุมเพอ่ื มิใหม้ ขี ้อโต้แยง้ ในการสรุปผลการทดลอง
2.5 การดำเนินการทดลองเพือ่ รวบรวมขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทไี่ ดจ้ ากการทดลอง
2.6 การแปลผลและสรปุ ผลการทดลอง

9

3. โครงงานประเภทส่งิ ประดิษฐ์
โครงงานประเภทน้ีเป็นโครงงานที่เกี่ยวกับการประยุกต์ทฤษฎีหรือหลักการทางวทิ ยาศาสตรม์ าประดิษฐ์

เครื่องมือเคร่ืองใช้หรืออุปกรณ์เพื่อประโยชน์ในการใช้สอยต่าง ๆ อาจเป็นสิ่งประดิษฐ์ขึ้นมาใหม่หรืออาจ
ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงของเดิมที่มอี ยู่ให้มีประสทิ ธภิ าพเพิ่มขึ้นหรือให้มีคุณภาพดีคงเดิม แตล่ ดต้นทุนในการผลิต
โครงงานประเภทนี้อาจรวมไปถึงการสร้างแบบจำลองเพื่ออธิบายแนวคดิ ตา่ ง ๆ ตัวอย่างของโครงงานประเภทนี้
เช่น – เครอ่ื งปอกไข่

– หุน่ ยนตช์ ่วยงานบ้าน
– เครือ่ งบินเลก็ ขจัดพ่นยาฆา่ แมลง
4. โครงงานประเภททฤษฎี
เป็นโครงงานที่ไดเ้ สนอทฤษฎีหลักการหรอื แนวคิดใหม่ ๆ ซึ่งอาจอยู่ในรูปของสูตรสมการคำอธบิ าย
โดยผู้เสนอได้ตั้งกฎกติกาหรือข้อตกลงข้ึนมาแล้วเสนอทฤษฎีอ่ืนมาสนับสนุนอ้างอิงโครงงานประเภทน้ีต้องมี
ทกั ษะและประสบการณ์การเรียนรขู้ ้นั สงู

ขั้นตอนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตร์
การทำโครงงานวิทยาศาสตร์เปน็ กิจกรรมทต่ี อ่ เนอื่ งและมีการดำเนินตามขนั้ ตอนต่าง ๆ ดังนี้

1. คิดและเลือกหัวข้อเรื่องที่จะทำโครงงานผู้เรียนจะต้องคิดและเลือกด้วยตนเองซ่ึงมักได้จากการ
สังเกตแล้วเกิดปัญหาคำถามหรือความอยากรู้อยากเห็นเกี่ยวกับเร่ืองต่าง ๆ เช่นจากการอ่านหนังสือวารสาร
ส่ิงพิมพ์จากการไปเย่ียมชมสถานที่ต่าง ๆ เช่นพิพิธภัณฑ์โรงงานอุตสาหกรรมนิทรรศการหน่วยงานวิจัยการฟัง
บรรยายทางวิชาการการเรียนการสอนสนทนากับผู้มีความรู้และประสบการณ์การศึกษาโครงงานที่ผู้ทำไว้แล้ว
หรือการสังเกตปรากฏการณ์ต่าง ๆ รอบตัวเป็นต้นการเลือกท่ีจะทำโครงงานเป็นขั้นตอนที่สำคัญมากถ้าเลือก
เร่ืองเหมาะสมในการทำโครงงานได้ก็เหมอื นกับได้ทำโครงงานเสร็จไปแล้วครึง่ หน่งึ การเลือกทำโครงงานใด ๆ มี
ขอ้ ควรพจิ ารณาดังน้ี

- ผู้ที่มีความร้แู ละทักษะในการใชอ้ ปุ กรณ์พนื้ ฐานในเรื่องท่ีศกึ ษา
- มแี หลง่ ความรูเ้ พยี งพอท่จี ะคน้ คว้าหรือขอคำปรึกษา
- วัสดอุ ปุ กรณท์ ีจ่ ำเป็นสามารถจดั หาหรอื จัดทำข้ึนมาเองได้
- มีเวลาเพียงพอในการทำโครงงานเร่อื งน้นั ๆ ได้
- มผี เู้ ชี่ยวชาญรับเปน็ ทป่ี รึกษามีความปลอดภยั ในการทำโครงงานน้ัน
- มีงบประมาณ
2. การศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวข้องการศึกษาเอกสารที่เก่ียวข้อง รวมถึงการขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิและ
การสำรวจวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องด้วยหลงั จากที่ผู้เรียนได้หัวข้อเร่ืองท่ีกว้างทสี่ นใจจะศึกษาคน้ คว้าแล้ว
ขัน้ ต่อไปที่อาจารย์ทปี่ รกึ ษาควรแนะนำคือแหลง่ ที่ผู้เรียนจะสามารถหาความร้เู พิ่มเติมหรือผู้ทรงคุณวฒุ ทิ ี่ผเู้ รยี น
สามารถขอคำปรึกษาเพ่ือศึกษาหาความรู้เพ่ิมเติมในเรื่องท่ีเขาสนใจนั้นการศึกษาเอกสารต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง
หรือขอคำปรึกษาจากผู้ทรงคุณวุฒิน้ีอาจารย์ท่ีปรึกษาต้องแนะนำให้ผู้เรียนรู้จักจดบันทึกไว้ในสมุดให้เป็น
หลักฐานเรียบร้อยผู้ทำโครงงานทุกคนจำเป็นต้องมีสมุดบันทึกประจำวันซึ่งควรนำแสดงในการแสดงโครงงาน
ด้วยการศึกษาที่เกี่ยวข้องน้ีจะช่วยให้ผู้เรยี นได้แนวความคิดที่จะกำหนดขอบข่ายของเรอ่ื งที่จะศึกษาค้นคว้าให้
เฉพาะเจาะจงมากขึ้นและได้ความรู้ในเรื่องท่ีจะทำการศึกษาเพิ่มเติมมากขึ้นจนสามารถออกแบบและวางแผน
ดำเนินการทำโครงงานน้ันได้อย่างเหมาะสมอาจารย์ที่ปรึกษาไม่ควรอนุญาตให้ผู้เรียนลงมือทำโครงงานโดย
ไมไ่ ด้ศึกษาหาความรู้ในเรือ่ งเหลา่ นัน้ จากเอกสารท่ีเกีย่ วข้องอย่างเพียงพอเสียกอ่ นการศึกษาเอกสารทเี่ กี่ยวข้อง
นี้ผู้เรียนจำเป็นต้องมีความรู้ความชำนาญในการใช้ห้องสมุดและแหล่งวิทยาการต่าง ๆ จึงเป็นหน้าท่ีของ
อาจารย์ท่ีปรึกษาท่ีจะต้องแนะนำเทคนิคและวิธีการต่าง ๆ ในการค้นเอกสารจากห้องสมุดซ่ึงอาจแนะนำให้
ผ้เู รยี นไป

10

ปรึกษากับบรรณารักษ์ห้องสมุดก็ได้นอกจากนั้นอาจารย์ที่ปรึกษาอาจต้องให้ความช่วยเหลือในการติดต่อ
ห้องสมุดอื่น ๆ ในทอ้ งถ่ินให้ผู้เรยี นสามารถเขา้ ไปใช้บริการไดด้ ้วย

2. การจัดทำเค้าโครงงาน ย่อของโครงงานหลังจากท่ีผู้เรียนได้หัวข้อเรื่องทำโครงงานที่เฉพาะเจาะจง
และได้ศึกษาเอกสารอ้างอิงต่าง ๆ อย่างเพียงพอแล้วขั้นต่อไปคือการเขียนเค้าโครงโครงงานเสนอต่อ
อาจารยท์ ี่ปรกึ ษาเพื่อขอความเหน็ ชอบก่อนดำเนินการขัน้ ต่อไปเค้าโครงย่อโครงงานโดยทั่วไปจะเขียน
ขนึ้ เพือ่ แสดงแนวความคดิ แผนงานและข้ันตอนของการทำโครงงานนัน้

4. การลงมือทำโครงการเมื่อเค้าโครงย่อของโครงงานได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ท่ีปรึกษาแล้วต่อไปก็
เปน็ ขั้นลงมือปฏิบัตติ ามข้นั ตอนท่รี ะบุไว้ในโครงงานย่อทีเ่ สนออาจารยท์ ีป่ รึกษาซ่งึ ควรคำนึงถงึ เร่ืองต่อไปนี้

1) เตรยี มวัสดุอุปกรณ์และสถานท่ใี ห้พรอ้ มก่อนลงมือทดลองหรือศึกษาค้นคว้า
2) มีสมุดสำหรับบนั ทึกกจิ กรรมประจำวันวา่ ไดท้ ำอะไรไปไดผ้ ลอยา่ งไรมีปญั หาและข้อคิดเหน็ อย่างไร
3) ปฏบิ ตั ิการทดลองดว้ ยความละเอียดรอบคอบและบันทกึ ขอ้ มลู ไว้เปน็ ระเบยี บและครบถ้วน
4) คำนงึ ถงึ ความประหยดั และความปลอดภัยในการทำงาน
5) พยายามทำตามแผนงานท่ีวางไว้ตอนแรก แต่อาจเปล่ียนแปลงหรือเพิ่มเติมบ้างหลังจากได้เริ่มต้น
ทำงานไปแลว้ ถ้าคิดว่าจะทำใหไ้ ดผ้ ลงานดขี ึ้น
6) ควรปฏบิ ัติการทดลองซำ้ หลาย ๆ ครั้งเพ่ือใหไ้ ดข้ ้อมูลทีเ่ ช่อื ถอื ไดม้ ากขนึ้
7) ควรแบง่ งานเป็นสว่ นยอ่ ย ๆ และทำแตล่ ะส่วนให้สำเร็จกอ่ นทำส่วนอ่ืน ๆ ต่อไป
8) ควรทำงานเป็นสว่ นที่เป็นหลักสำคัญ ๆ ให้เสร็จกอ่ นแล้วจงึ ทำสว่ นทีเ่ ป็นสว่ นประกอบหรอื ส่วนเสริม
เพอื่ ตกแต่งโครงงาน
9) อย่าทำงานตอ่ เน่ืองจนเมื่อยล้าจะทำใหข้ าดความระมดั ระวัง
10) ถ้าเป็นโครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ควรคำนึงถึงความคงทนแข็งแรงและขนาดที่เหมาะสมของ
สง่ิ ประดิษฐ์

ความสำคัญของโครงงานมิได้ขึ้นอยู่กับผลการทดลองท่ีได้ตรงกับความคาดหวังหรือไม่แม้ผลการ
ทดลองท่ีได้จะไม่เป็นไปตามความคาดหวังก็ถือว่ามคี วามสำเร็จในการทำโครงงานนั้นเหมอื นกนั เช่นถ้าพบว่าซัง
ขา้ วโพดยังไม่สามารถใชเ้ พาะเห็ดนางรมได้ดีตามคาดหวงั กส็ ามารถแนะนำให้ใช้ซงั ขา้ วโพดเหมาะหรือไม่เหมาะ
ตอ่ การนำมาเป็นวัสดุเพาะเห็ดอย่างไรก็จะทำใหง้ านสมบูรณ์ย่ิงขึน้ จะเห็นได้จากการทำโครงงานไมว่ ่าจะเป็นไป
ตามท่ีคาดหวังหรือไม่ก็มีคุณค่าท้ังน้ันข้อสำคัญคือผู้เรียนจะต้องทำโครงงานจนเสร็จครบขั้นตอนตามที่ได้
วางแผนไวอ้ ย่าทอ้ ถอยหรือเลกิ กลางคนั

5. การเขยี นรายงาน
เม่ือดำเนินการทำโครงงานจนครบข้ันตอน ได้ข้อมูล ทำการวิเคราะห์ข้อมูลพร้อมท้ังแปลผลและ
สรุปผลแลว้ งานขั้นต่อไปคือการเขยี นรายงาน
การเขียนรายงานท่ีเกี่ยวกับโครงงานเป็นวิธีส่ือความหมายที่มีประสิทธิภาพวิธีหนึ่งเพื่อให้คนอ่ืน ๆ ได้
เข้าใจถึงแนวความคิดวิธีการดำเนินการศึกษาค้นคว้าข้อมูลผลที่ได้ตลอดจนข้อสรุปและข้อเสนอแนะต่าง ๆ
เกีย่ วกบั โครงงานน้ัน
รปู แบบการเขยี นรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์จงึ มลี ำดบั ดงั นี้
1. ปกนอกมชี ่อื เรื่องช่อื คณะท่ีทำงานชื่ออาจารย์ทีป่ รกึ ษาชือ่ โรงเรียน
2. ปกรองจะคล้ายหรือเหมอื นปกนอก
3. คำขอบคุณเป็นการเขียนขอบคุณผู้ที่เก่ียวข้องหรือผู้ให้การสนับสนุนที่ทำให้เราได้รับความสำเร็จจาก
การทำ

11

4. บทคดั ย่อเปน็ การสรุปย่อ ๆ ของสิ่งที่ทำไดโ้ ดยมีข้อความประมาณ 300-500 คำทีเ่ ป็นเนื้อความและ
ควรมีส่วนสำคญั คอื ความมงุ่ หมายวธิ ที ดลองผลการทดลองและสรปุ ผลการทดลองอยา่ งย่อ ๆ (ควรฝกึ เขยี นให้
ถกู ต้องเพราะสว่ นนสี้ ำคญั มาก)

5. สารบญั เรือ่ ง
6. สารบัญตารางผลการทดลอง
7. สารบัญกราฟหรอื รูปภาพ (ถา้ มีในผลการทดลอง)
8. บทที่ 1 ซึ่งมี 2 ส่วนที่สำคญั คือส่วนที่ 1 ประกอบด้วยแนวคดิ ทมี่ าและความสำคัญของเรื่องและสว่ นที่
2 ซง่ึ กล่าวถงึ ความมุ่งหมายของการทดลอง (ดำเนนิ การเหมอื นในเค้าโครงของโครงงานวิทยาศาสตรท์ ีเ่ คย
เสนอ)
9. บทท่ี 2 บทเอกสารที่เก่ียวขอ้ งเปน็ ส่วนท่ผี ู้ทดลองจะตอ้ งไปศึกษาจากเอกสารโดยเปน็ ส่วนทีอ่ าจจะเป็น
หลักการทฤษฎีหรอื รายงานการทดลองในสว่ นทผี่ ู้อ่นื ได้ทดลองคลา้ ย ๆ กบั เร่ืองที่เราศกึ ษา (เปน็ การบอกวา่ เรา
ทำไม่ซ้ำกับของเขา) หากไปศึกษาและคดั ลอกขอ้ ความจากหนงั สืออะไรจะต้องระบุชื่อหนังสอื ไวใ้ นสว่ นท้ายเล่ม
โครงงานทีเ่ รยี กว่าหนังสืออา้ งองิ บรรณานุกรมเพ่อื เป็นการให้เกยี รติแกผ่ ู้ทน่ี ำมาอา้ งองิ
10. บทท่ี 3 วสั ดุอปุ กรณแ์ ละวิธีการทดลอง (ระบุรายละเอียดเหมือนเค้าโครงของโครงงานวทิ ยาศาสตร์)
11. บทท่ี 4 ผลการทดลองโดยจะต้องกำหนดตารางบันทกึ ผลการทดลองหรืออาจทำเปน็ กราฟหรือวาด
ภาพไว้แต่ละส่วนจะมกี ารวเิ คราะห์ผลการทดลองไว้ด้วย
12. บทท่ี 5 สรุปผลการทดลอง (ยอ่ ๆ )
13. ประโยชน์ทไี่ ด้รับจากการทำโครงงานนี้
14. ข้อเสนอแนะ (ถ้ามี) เปน็ การบอกให้ร้วู ่าหากมีผไู้ ปทดลองต่อจะทำอย่างไรจะแก้ไขปรับปรุงสว่ นใดบา้ ง
15. บรรณานกุ รม (หนังสืออ้างอิง) ตอ้ งเขยี นให้ถูกหลกั การใชห้ อ้ งสมุด (สมั พนั ธ์กบั ข้อ 9 หรือบทที่ 2)

6. การแสดงผลงาน
การแสดงผลงานน้ันจัดได้ว่าเปน็ ข้ันตอนสำคญั อีกประการหนึ่งของการทำโครงงานเรียกได้วา่ เป็น

งานขน้ั สุดทา้ ยของการทำโครงงานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยเี ป็นการแสดงผลติ ผลของงานความคิดและความ
พยายามท้ังหมดที่ผู้ทำโครงงานได้ทุ่มเทลงไปและเป็นวธิ ีการทจ่ี ะทำใหผ้ ู้อ่ืนได้รบั รแู้ ละเข้าใจถึงผลงานนนั้ มผี ู้
กลา่ ววา่ การวางแผนออกแบบเพ่ือจัดแสดงผลงานนน้ั มีความสำคัญเท่า ๆ กบั การทำโครงงานนัน่ เองผลงานทท่ี ำ
ขนึ้ จะดแี ละยอดเยี่ยมเพยี งใด แต่ถ้าการจัดแสดงผลงานทำได้ไมด่ ีกเ็ ทา่ กับไม่ไดแ้ สดงความดยี อดเย่ียมของ
ผลงานนั้นออกมาใหผ้ ู้อน่ื ไดเ้ ห็น

การแสดงผลงานนนั้ อาจทำไดใ้ นรูปแบบตา่ ง ๆ กันเชน่ การแสดงในรูปนิทรรศการซึ่งมที ง้ั การจัด
แสดงและอธิบายด้วยคำพดู หรอื ในรปู แบบของการจดั แสดงโดยไม่มกี ารอธิบายประกอบหรอื ในรปู ของรายงาน
ปากเปล่าไม่ว่าการแสดงผลงานจะอยู่ในรูปแบบใดกต็ ามควรจะจัดใหค้ รอบคลุมประเดน็ สำคัญดงั ต่อไปน้ี

1. ชื่อโครงงานชอ่ื ผูท้ ำโครงงานชื่อท่ีปรกึ ษา
2. คำอธิบายยอ่ ๆ ถงึ เหตจุ งู ใจในการทำโครงงานและความสำคัญของโครงงาน
3. วธิ ีดำเนนิ การโดยเลอื กเฉพาะขัน้ ตอนทีเ่ ดน่ และสำคญั
4. การสาธิตหรือแสดงผลงานทไี่ ดจ้ ากการทดลอง
5. ผลการสงั เกตและข้อมูลต่าง ๆ ท่ีไดจ้ ากการทำโครงงาน

12

ในการแสดงผลงานถ้าผู้นำผลงานมาแสดงจะต้องอธิบายหรือรายงานปากเปล่าหรือตอบคำถามต่าง ๆ ต่อผู้ชม
หรือต่อกรรมการตัดสินโครงงานการอธิบายตอบคำถามหรือรายงานปากเปล่านั้นควรได้คำนึงถึงส่ิงต่าง ๆ
ต่อไปนี้

1. ต้องทำความเขา้ ใจกับเรื่องทอ่ี ธบิ ายเป็นอยา่ งดี
2. คำนึงถึงความเหมาะสมของภาษาท่ีใช้กับระดบั ผูฟ้ งั ควรใหช้ ดั เจนและเขา้ ใจง่าย
3. ควรรายงานอย่างตรงไปตรงมาไม่อ้อมค้อม
4. พยายามหลีกเล่ียงการอ่านรายงาน แต่อาจจดหัวข้อสำคัญ ๆ ไว้เพ่ือช่วยให้การรายงานเป็นไปตาม
ขั้นตอน
5. อย่าทอ่ งจำรายงานเพราะทำใหด้ ไู ม่เป็นธรรมชาติ
6. ขณะทรี่ ายงานควรมองตรงไปยงั ผฟู้ งั
7. เตรียมตัวตอบคำถามเก่ยี วกบั เรอ่ื งน้ัน ๆ
8. ตอบคำถามอย่างตรงไปตรงมาไม่จำเปน็ ตอ้ งกล่าวถึงสงิ่ ท่ีไมไ่ ด้ถาม
9. หากติดขดั ในการอธบิ ายควรยอมรับได้โดยดอี ย่ากลบเกลื่อนหรอื หาทางเล่ียงเป็นอย่างอืน่
10. ควรรายงานให้เสรจ็ ภายในระยะเวลาท่ีกำหนด
11. หากเป็นไปได้ควรใช้สื่อประเภทโสตทัศนูปกรณ์ประกอบการรายงานด้วยเช่นแผ่นโปร่งใสหรือสไลด์
เปน็ ต้นการทำแผงสำหรบั แสดงโครงงานแผงสำหรบั แสดงผลงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์ควรทำด้วยไม้อัดติดบาน
พับมีหว่ งรับและขอสบั ทำฉากกบั แผน่ ตวั กลางในการเขยี นรายละเอยี ดบนแผงโครงงานควรคำนึงถึงสงิ่ ต่อไปน้ี
1. ต้องประกอบด้วยชื่อโครงงานช่ือผู้ทำโครงงานชื่อที่ปรึกษาคำอธิบายย่อ ๆ ถึงเหตุจูงใจในการทำ
โครงงานความสำคัญของโครงงานวิธีดำเนินการเลือกเฉพาะขั้นตอนที่สำคัญผลที่ได้จากการทดลองอาจแสดง
เป็นตารางกราฟหรอื รูปภาพก็ไดป้ ระโยชนข์ องโครงงานสรปุ ผลเอกสารอ้างอิง
2. จดั เนือ้ ทีใ่ ห้เหมาะสมไม่แน่นจนเกินไปหรือน้อยจนเกนิ ไป
3. คำอธิบายความกะทัดรัดชดั เจนเข้าใจงา่ ย
4. ใชส้ ีสดใสเนน้ จดุ สำคญั เปน็ การดงึ ดดู ความสนใจ

5. อุปกรณ์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ควรอยู่ในสภาพที่ทำงานได้อย่างสมบูรณ์
การประเมินผลโครงงานวิทยาศาสตร์

การประเมินผลโครงงานวิทยาศาสตร์เป็นกิจกรรมท่ีมีความสำคัญอีกกิจกรรมหนึ่งในกระบวนการจัด
แสดงโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของผู้เรียนตามปกติครูผู้สอนจะเป็นผู้ประเมินโครงงานเพื่อเก็บ
คะแนนเป็นส่วนหน่ึงของการประเมินผลการเรียนวิทยาศาสตร์ตามปกติถ้าได้ กำหนดให้การทำโครงงานเป็น
ส่วนหนึ่งของกิจกรรมการเรียนการสอนตามปกติหรือประเมินโดยคณะกรรมการของโรงเรียนเพ่ือคัดเลือก
โครงงานไปแสดงในโอกาสอ่ืน ๆ ต่อไปส่วนการประเมินโครงงานเพ่ือตัดสินให้รางวัลในวันแสดงโครงงานส่วน
ใหญ่ประเมินโดยกรรมการผ้ทู รงคณุ วฒุ ิจากบุคคลภายนอกท่ีได้รับเชิญการประเมินผลไม่วา่ จะเพ่ือวัตถุประสงค์
ใดจะมีหลักเกณฑ์ใหญ่ ๆ ท่ีคล้ายกันจะแตกตา่ งกันบ้างในรายละเอียดสำหรับเกณฑ์ต่าง ๆ ท่ีใช้ในการพิจารณา
ประเมินโครงงานในแบบประเมนิ ดงั กลา่ วอาจอธบิ ายรายละเอียดได้ดังน้ี

1. ความรู้ความเข้าใจในเรื่องท่ีทำการพิจารณาตัดสินให้คะแนนต้องคำนึงถึงระดับชั้นและอายุของ
ผู้เรียนด้วยซ่งึ อาจพจิ ารณาในด้านตา่ ง ๆ ดังต่อไปนี้

1.1 ใช้ศัพท์เทคนิคได้ถกู ตอ้ งและความเข้าใจในศัพท์เทคนิคทใี่ ช้เพยี งใด
1.2 ได้ค้นหาเอกสารอา้ งอิงไดเ้ หมาะสมและมีความเขา้ ใจในเรื่องทอี่ า้ งองิ มากน้อยเพยี งใด
1.3 มคี วามเข้าใจในหลกั การสำคญั ของเร่ืองท่ที ำมากน้อยเพียงใด

13

1.4 ได้รับความรู้เพิ่มเติมจากการทำโครงงานนี้นอกเหนือจากที่เรียนตามหลักสูตรปกติมากน้อย
เพียงใด

2. การใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการทำโครงงานหรือเทคนิคท่ีใช้ในการประดิษฐ์คิดค้นถ้าเป็น
โครงงานประเภททดลองหรือสำรวจรวบรวมข้อมูลการประเมนิ ในข้อน้คี วรพจิ ารณาในดา้ นต่าง ๆ ดังนี้

1.1 ปัญหาหรือสมมตฐิ านได้แถลงไวช้ ดั เจนเพียงใด
1.2 การออกแบบการทดลองหรอื การวางแผนการเก็บรวบรวมขอ้ มลู ทำได้รัดกมุ เพยี งใด
1.3 การวัดและการควบคุมตวั แปรต่าง ๆ ทำได้ดเี พียงใด
1.4 การจัดกระทำและการนำเสนอข้อมลู ทำได้เหมาะสมเพยี งใด
1.5 การแปลผลเหมาะสมและต้ังบนรากฐานของขอ้ มูลทร่ี วบรวมไดเ้ พยี งใด
1.6 การบันทกึ ประจำวันเก่ยี วกับการทำโครงงานทำไวเ้ รียบร้อยและเหมาะสมใจเพยี งใด
ถ้าเปน็ โครงงานประเภทส่ิงประดษิ ฐก์ ารประเมินโครงงานในหัวขอ้ นพี้ ิจารณาดังนี้
ก. วัสดทุ ่ีใช้มคี วามเหมาะสมเพียงใด
ข. การออกแบบมีความเหมาะสมกับงานที่จะใช้เพียงใดเช่นขนาดรูปร่างตำแหน่งของปุ่มควบคุม
ต่าง ๆ ฯลฯ
ค. มีความคงทนถาวรเพียงใด
ง. ได้คำนึงถึงความปลอดภัยในการใช้งานเพียงใดการออกแบบได้คำนึงถึงการซ่อมบำรงุ รักษามาก
น้อยเพียงใดเช่นส่วนจำเป็นต้องถอดออกเปลี่ยนบ่อย ๆ หรือต้องซ่อมบำรุงบ่อย ๆ อยู่ในตำแหน่งที่เหมาะสม
เพยี งใด
ฉ. ความประณีตเรยี บร้อยสวยงามจงู ใจผใู้ ชเ้ พียงใด
ช. เทคนิควิธีการที่ใชม้ ีความเหมาะสมกับเทคโนโลยีปัจจุบันเพียงใดถ้าเป็นโครงงานเชิงทฤษฎีการ
ประเมินโครงการในหัวขอ้ นี้อาจพจิ ารณาดังน้ี
ซ. แนวความคิดมคี วามตอ่ เนอ่ื งเพยี งใด
ฌ. แนวความคดิ มเี หตุผลและมคี วามเป็นไปได้มากน้อยเพียงใดๆ
ญ. กติกาหรอื ข้อตกลงเบอ้ื งต้นทีใ่ ชม้ ีความเหมาะสมเพยี งใด
ฎ. การอธบิ ายหรือการสรปุ แนวความคดิ ต้ังบนกติกาหรอื ข้อตกลงเบอ้ื งตน้ ที่ต้ังไวห้ รอื ไม่เพียงไร
3. การเขียนรายงานการจัดแสดงโครงงานและการอธิบายปากเปล่าการประเมินโครงงานในหัวข้อนี้เป็นการ
ประเมนิ ในดา้ นตา่ ง ๆ ดงั น้ี
3.1 รายงานท่ีผูเ้ รยี นได้เขยี นขน้ึ ไดเ้ หมาะสมเพยี งใด
3.2 การจดั แสดงโครงงานทำได้เหมาะสมเพียงใด
3.3 การอธบิ ายปากเปล่าอธิบายได้ชัดเจนรดั กมุ เพยี งใด
4. ความคิดสร้างสรรค์การประเมินในข้อน้ตี ้องคำนึงถึงระดับผู้ทำโครงงานคือเป็นความคิดริเร่ิมสร้างสรรค์หรือ
ความแปลกใหม่ในระดับผู้ทำโครงงานไม่ใช่ในระดับของผู้ประเมินโครงงานซึ่งอาจพิจารณาในหัวข้อต่าง ๆ
ดงั ต่อไปนี้
4.1 ปญั หาหรือเรอื่ งท่ที ำมคี วามสำคัญและมคี วามแปลกใหมเ่ พียงใด
4.2 ได้มีการดัดแปลงเปล่ียนแปลงหรือเพ่ิมเติมแนวความคิดทีแ่ ปลกใหม่ไปในโครงงานทีท่ ำมากน้อย
เพยี งใด
4.3 มีการคิดและใช้วิธีการท่ีแปลกใหม่ในการควบคุมหรือวัดตัวแปรหรือเก็บรวบรวมข้อมูลต่าง ๆ
มากนอ้ ยเพยี งใด

14

4.4 มีการประดิษฐค์ ดิ ค้นเคร่ืองมอื ทีแ่ ปลกใหม่ในการทำโครงงานมากนอ้ ยเพยี งใด
4.5 มีการออกแบบประดิษฐ์ดัดแปลงหรือใช้วัสดุอุปกรณ์ที่แปลกใหม่ในการทำโครงงานมากน้อย
เพยี งใด

สรุปได้วา่
โครงงานวิทยาศาสตร์มีความสำคัญและก่อประโยชน์โดยตรงแก่ผู้เรียนโดยตรงเป็นการฝึกให้

ผู้เรียนรู้จักศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเองสรา้ งความสัมพันธ์อนั ดกี ับครูกับเพอ่ื นรว่ มงานรู้จักทำงานอย่างเปน็ ระบบใช้
วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์ในการแกป้ ญั หาและใชเ้ วลาว่างใหเ้ ปน็

15

บทที่ ๓

วธิ ดี ำเนนิ การ

โครงการอบรมใหค้ วามรู้เรื่องการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส เพือ่ ใหน้ ักศึกษา

กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส มีมีความรู้ความเข้าใจ เก่ียวกับการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและมี

คุณภาพ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถเขียน และวางแผนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้

ตลอดจนนำความรทู้ ไ่ี ด้รับไปประยกุ ต์ใชใ้ นการดำเนินชีวติ ได้ โดยมขี น้ั ตอนในการดำเนนิ งาน ดังน้ี

ขั้นท่ี ๑ ข้ันการเตรยี มการ
๑.๑ สำรวจสภาพ ปัญหาและความตอ้ งการของกลุม่ เป้าหมาย
๑.๒ ประชมุ วางแผนการดำเนินโครงการ
๑.๓ เขยี นโครงการเพอื่ เสนอขออนุมตั ิงบประมาณในการดำเนินโครงการ
1.4 ประสานงานผู้ทเ่ี กยี่ วข้อง/วทิ ยากร

ขั้นที่ ๒ ข้ันดำเนินการ
ดำเนินการจดั กิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อำเภอ

เมอื งนราธิวาส

ขั้นท่ี ๓ นิเทศตดิ ตามผล และรายงานผล / ประเมินผล

๓.๑ การนิเทศตดิ ตามผลการดำเนนิ โครงการ
๓.๒ การประเมนิ ผลและสรปุ ผลการดำเนนิ โครงการ
๓.๓ การรายงานและเผยแพร่ผลการดำเนนิ โครงการ

ดัชนชี ี้วดั ผลสำเรจ็ ของโครงการ (Key Performance Indicator: KPI)

ตัวช้ีวดั ความสำเร็จ สอดคล้องกับ วิธีการประเมิน เคร่อื งมือที่ใช้
ผลผลิต (outputs) นักศกึ ษาอำเภอเมือง มาตรฐาน กศน.ที่

นราธิวาส ทเี่ ข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้ ๑,๒,3 การสังเกต แบบบนั ทึกการ
สังเกต
เรือ่ งการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.
อำเภอเมืองนราธวิ าส จำนวน 380 คน
แบง่ เปน็ 2 รุ่น ร่นุ ละ 190 คน

ผลลัพธ์(outcomes) ร้อยละ ๘5

ของกลุ่มเป้าหมาย มีมีความรู้ ความเข้าใจ

เกี่ยวกับการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้อย่าง ประเมนิ ความพงึ แบบประเมนิ ความ

ถกู ต้องและมีคุณภาพ เกิดทักษะกระบวนการ ๑,๒,3 พอใจของ พงึ พอใจ
ผเู้ ข้ารว่ มกิจกรรม
ทางวิทยาศาสตร์ สามารถเขียน และวางแผน
การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ ตลอดจนนำ

ความรู้ที่ได้รับ ไปประยุกต์ใช้ในการดำเนิน

ชวี ิตได้

16

สำหรับเกณฑ์การให้คะแนนสำหรับแบบสอบถามในการสรุปผลการดำเนินงานของโครงการอบรมให้
ความรู้เรื่องการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส โดยแบ่งค่าในการประเมินออกเป็น 5
ระดับ ตามแบบของ ลิเคิรต์ (Likert’s five point rating scale) ดงั นี้

นำ้ หนักคะแนน ๕ หมายถงึ มีความเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด
น้ำหนักคะแนน ๔ หมายถงึ มีความเห็นอยู่ในระดับมาก
นำ้ หนกั คะแนน ๓ หมายถงึ มีความเหน็ อยู่ในระดับปานกลาง
น้ำหนกั คะแนน ๒ หมายถงึ มคี วามเหน็ อยู่ในระดับนอ้ ย
นำ้ หนกั คะแนน ๑ หมายถงึ มคี วามเหน็ อยู่ในระดับน้อยท่ีสุด

ในส่วนของการวิเคราะห์ผลการปฏิบัติงานโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
กศน.อำเภอเมอื งนราธิวาส และระดับความคดิ เห็นของผเู้ ข้ารว่ มโครงการถือวา่ เป็นคา่ เฉลย่ี ของคะแนนทีไ่ ด้จาก
การตอบแบบสอบถาม ท้ังน้ีผจู้ ัดกิจกรรมได้กำหนด การวิเคราะห์ตามแนวคิดของ เบสท์ (อ้างถงึ ใน พวงรัตน์
ทวีรตั น์, ๒๕๔๓ : ๓๐๓) ดังน้ี

คา่ เฉล่ีย ความหมาย
๑.๐๐ – ๑.๔๙ นอ้ ยท่ีสุด
๑.๕๐ – ๒.๔๙ นอ้ ย
๒.๕๐ – ๓.๔๙ ปานกลาง
๓.๕๐ – ๔.๔๙ มาก
๔.๕๐ – ๕.๐๐ มากทส่ี ดุ

17

บทท่ี ๔

ผลการศึกษา
ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้เร่ืองการทำโครงงานวิทยาศาสตร์
กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส โดยมีผู้เข้าร่วมโครงการ จำนวน 380 คน ผู้ศึกษาแบ่งผลการศึกษาออกเป็น
2 ส่วน ดงั นี้
สว่ นท่ี 1 ขอ้ มลู ทว่ั ไปเก่ยี วกบั สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 ข้อมูลเก่ียวกับผลการศึกษาระดับความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้เรื่อง
การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ผลการศึกษาในแต่ละส่วนจะนำเสนอข้อมูลในรูปแบบ
ตารางแจกแจงเปน็ คา่ เฉล่ีย และคา่ ร้อยละจากขอ้ มูลทไี่ ด้เป็นสำคัญ ซ่ึงมรี ายละเอียดของผลการศกึ ษา ดังน้ี
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลท่วั ไปเกีย่ วกบั สถานภาพของผตู้ อบแบบสอบถาม

ผู้ตอบแบบสอบถามในการศึกษาในครั้งน้ี เป็นนักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ในพื้นที่
อำเภอเมืองนราธิวาส ที่เข้าร่วมโครงการอบรมให้ความรู้เรื่องการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อำเภอเมือง
นราธิวาส โดยใช้คา่ รอ้ ยละ ดงั ปรากฏในตารางท่ี ๑ ดงั น้ี

1.ด้านจำนวนและร้อยละของผเู้ ข้าร่วมโครงการจำแนกตามตำบล

กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการทั้งหมด 380 คน แบ่งเป็น 2 รุ่น รุ่นละ 190 คน โดยทั้ง 7 ตำบล
มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายที่ได้จัดสรรครบถ้วนทั้ง 7 ตำบล โดยแบ่งเป็น ตำบลบางนาค
ตำบลบางปอ ตำบลกะลุวอ และตำบลกะลุวอเหนือ กลุ่มเป้าหมาย ตำบลละ 30 คน รวมทั้งหมด 4 ตำบล
จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 63.2 ตำบลโคกเคียน กลุม่ เป้าหมาย จำนวน 25 คน คดิ เป็นร้อยละ 13.4
ตำบลมะนังตายอ กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 12.1 และ ตำบลลำภู กลุ่มเป้าหมาย
จำนวน 22 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 11.3 ตามลำดับ

18

2. ด้านจำนวนและรอ้ ยละของผเู้ ข้าร่วมโครงการจำแนกตามตำบล ตามเพศ ชว่ งอายุ
ระดับการศกึ ษาและอาชีพ

กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการจำแนกเป็น เพศหญิง จำนวน 207 คน คิดเป็นร้อยละ 54.5 และ
เพศชาย จำนวน 173 คน คิดเป็นร้อยละ 45.5

กลุ่มเป้าหมายท่เี ข้าร่วมโครงการ จำแนกเป็น ช่วงอายุระหว่าง 15 – 39 ปี จำนวน 345 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
90.8 รองลงมา ช่วงอายุ 40 – 49 ปี จำนวน 30 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 7.9 และชว่ งอายุ 50 – 59 ปี จำนวน
5 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 1.3

กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ จำแนกเป็น ระดับการศึกษา แบ่งเป็น ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
จำนวน 192 คน คิดเป็นร้อยละ 58.5 มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 168 คน คิดเปน็ ร้อยละ 44.2 และ
ประถมศึกษา จำนวน 20 คน คิดเป็นรอ้ นละ 5.3

กลุ่มเป้าหมายท่ีเขา้ ร่วมโครงการ จำแนกเป็น อาชพี รบั จา้ ง จำนวน 185 คิดเป็นรอ้ ยละ 48.7 อนื่ ๆ
จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 23.4 ว่างงาน จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8 ค้ายขาย จำนวน 23
คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 6.1 และ เกษตร จำนวน 4 คน คดิ เป็นร้อยละ 1.1 ตามลำดบั

19

ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจในการจัดโครงการ
ดา้ นการถ่ายทอดความรู้ การอธบิ ายเนื้อหา เทคนิคการถ่ายทอด การใช้สื่อ การเปดิ โอกาสในการ

ซกั ถาม ของวิทยากร

กลมุ่ เป้าหมายที่เข้ารว่ มโครงการ มีความพงึ พอใจในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ลำดับท่ี 1 อยู่ในระดบั มาก
จำนวน 177 คน คิดเป็นร้อยละ 46.6 รองลงมา อยู่ในระดับ มากที่สุด จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 31.6
ปานกลาง จำนวน 71 คน คิดเป็นร้อยละ 18.7 ระดับน้อย จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 2.6 และระดับน้อยท่ีสุด
จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5

ความสามรถในการอธิบายเน้ือหาระดับมาก จำนวน 198 คน คิดเป็นร้อยละ 52.1 มากที่สุด จำนวน 95 คน
คิดเป็นร้อยละ 25 ปานกลาง จำนวน 77 คน คิดเป็นร้อยละ 20.3 น้อย จำนวน 8 คิดเป็นร้อยละ 2.1 และน้อยที่สุด
จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.5

วทิ ยากรมีเทคนคิ ในการถ่ายทอด ระดับมาก จำนวน 176 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 46.3 มากที่สุด จำนวน 109 คน
คิดเป็นร้อยละ 28.7 ปานกลาง จำนวน 82 คน คิดเป็นร้อยละ 21.6 น้อย จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 2.9 และ
น้อยที่สุด จำนวน 2 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.5

วทิ ยากรเปิดโอกาสในการซักถาม ระดับมาก จำนวน 205 คน คิดเป็นร้อยละ 53.9 มากที่สุด จำนวน 87 คน
คิดเป็นร้อยละ 22.9 ปานกลาง จำนวน 73 คน คิดเป็นร้อยละ 19.2 น้อย จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 32 และ
นอ้ ยท่สี ุด จำนวน 2 คิดเปน็ ร้อยละ 0.5 ตามลำดับ

20

ด้านเนือ้ หาตรงกับความต้องการของผรู้ ับการอบรม เนือ้ หาทีเ่ ปน็ ประโยชน์ต่อการนำไปใชใ้ น
การจัดการเรยี นรู้ ความรู้ความเขา้ ใจกอ่ น และ หลงั อบรม

กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในเนื้อหาตรงกับความต้องการของผู้รับการอบรม ลำดับที่
1 อยู่ในระดับ มาก จำนวน 190 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 50 รองลงมา ระดับมากที่สุด จำนวน 109 คน คิดเป็นรอ้ ยละ
28.7 ปานกลาง จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 18.2 ระดับน้อย จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 2.4และน้อยที่สุด
จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.8

เนื้อหาท่ีเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการจัดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 195 คน คิดเป็นร้อยละ 51.3
รองลงมา ระดบั มากท่ีสุด จำนวน 104 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 27.4 ระดบั ปานกลาง 68 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 17.9 และ
ระดบั น้อย 12 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 3.2

ความรู้ ความเข้าใจ มีการเตรียมความพร้อมก่อนอบรม อยู่ในระดับปานกลาง 172 คน คิดเป็นร้อยละ
45.3 รองลงมา ระดับมาก 148 คน คิดเป็นร้อยละ 38.9 ระดับมากที่สุด 34 คน คดิ เป็นร้อยละ 8.9 ระดับน้อย
24 คน คิดเปน็ ร้อยละ 6.3 และระดับน้อยท่สี ุด 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5

มีความรู้ ความเข้าใจ หลังการอบรม อยู่ในระดับมาก 234 คน คิดเป็นร้อยละ 61.6 รองลงมา ระดับ
ปานกลาง 72 คน คิดเป็นร้อยละ 18.9 ระดบั มากทส่ี ุด 58 คน คดิ เป็นร้อยละ 15.36 ระดับน้อย 13 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 3.4 และระดับน้อยทส่ี ุด 3 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 0.8 ตามลำดับ

21

ด้านระยะเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม กจิ กรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปา้ หมาย วิธกี ารวดั ผลประเมนิ ผล
เหมาะสมกับวัตถุประสงค์

กลุ่มเปา้ หมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในระเวลาในการอบรมมีความเหมาะสม อยู่ในระดับ
มาก 237 คน คิดเป็นร้อยละ 62.4 รองลงมา ระดับปานกลาง 82 คน คิดเป็นร้อยละ 21.6 ระดับมากที่สุด
48 คน คิดเป็นร้อยละ 12.6 ระดบั น้อย 13 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.4

การจดั กจิ กรรมเหมาะสมกับกลุม่ เป้าหมาย อยู่ในระดับมาก 226 คน คิดเป็นร้อยละ 59.5 รองลงมา
ระดับปานกลาง 75 คน คิดเป็น ร้อยละ 19.7 ระดับมากที่สุด 61 คน คิดเป็นร้อยละ 16.1 ระดับน้อย
17 คน คดิ เป็นร้อยละ 4.5 ตามลำดบั

วิธีการวัดผลประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมาก 221 คน คิดเป็นร้อยละ 58.2
รองลงมา ระดับปานกลาง 82 คน คิดเป็นร้อยละ 21.6 ระดับมากที่สุด 62 คน คิดเป็นร้อยละ 16.3 และ
ระดบั น้อย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 3.2 ระดบั น้อยทสี่ ุด 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.8 ตามลำดบั

22

ด้านการส่ือสาร การสร้างบรรยากาศ เพอื่ ใหเ้ กดิ การเรยี นรู้ การบรกิ าร การช่วยเหลือ และ
การแก้ปัญหา สถานท่ี วสั ดุ อปุ กรณ์ และส่ิงอำนวยความสะดวก

กลุม่ เปา้ หมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มคี วามพึงพอใจในด้านการส่ือสาร การสรา้ งบรรยากาศ เพ่ือใหเ้ กดิ
การเรยี นรู้ อยู่ในระดับมาก 227 คน คิดเปน็ ร้อยละ 59.7 รองลงมา ระดับปานกลาง 80 คน คดิ เปน็ ร้อยละ
21.1 ระดับมากทีส่ ดุ 56 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 14.7 และระดบั น้อย 16 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 4.2 ตามลำดบั

การบริการ การช่วยเหลือ และการแก้ปัญหา อยู่ในระดับมาก 235 คน คิดเป็นร้อยละ 61.8
รองลงมา ระดับปานกลาง 76 คน คิดเป็น ร้อยละ 20 ระดับมากท่ีสุด 54 คน คิดเป็นร้อยละ 14.2 และ
ระดบั น้อย 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.2และระดบั นอ้ ยที่สดุ 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.8 ตามลำดับ

สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก 223 คน คิดเป็นร้อยละ 58.7
รองลงมา ระดับปานกลาง 81 คน คิดเป็นร้อยละ 21.6 ระดับมากที่สุด 62 คน คิดเป็นร้อยละ 16.3 ระดับ
น้อย 12 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 3.2 และระดับนอ้ ยท่ีสุด 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.3 ตามลำดับ

23

ขอ้ คดิ เหน็ เพม่ิ เติ่ม / ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ

จากรูปภาพ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ แสดงข้อคิดเห็นเพ่ิมเต่ิมและข้อเสนอแนะอื่นๆ
สว่ นมาก ไมม่ ี คิดเป็นร้อยละ 29.5 รองลงมา กจิ กรรมดีมาก คิดเป็นรอ้ ยละ 4.9 ตามลำดบั แผนภมู ิ

24

บทที่ ๕

บทสรุปผลการศึกษาและขอ้ เสนอแนะ

จากการจัดกิจกรรมโครงการอบรมให้ความรู้เร่ืองการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อำเภอเมือง
นราธิวาส ได้จัดทำขึ้น มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส มีความรู้ความเข้าใจ
เก่ียวกับการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
สามารถเขียน และวางแผนการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ ตลอดจนนำความรู้ท่ีได้รับไปประยุกต์ใช้ในการ
ดำเนินชีวิตได้ พบว่า มีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 380 คน ดยแบ่งเป็น 2 รุ่น รุ่นละ 190 คน มีผู้ตอบแบบ
ประเมินความพึงพอใจหลังการอบรม จำนวน 380 คน โดย ผู้เข้าร่วมการอบรม แบ่งเป็นตำบล 7 ตำบล
โดยทั้ง 7 ตำบล มีกลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมกิจกรรมตามเป้าหมายท่ีได้จัดสรรครบถ้วน ท้ัง 7 ตำบล โดยแบ่งเป็น
ตำบลบางนาค ตำบลบางปอ ตำบลกะลุวอ และตำบลกะลุวอเหนือ กลุ่มเป้าหมาย ตำบลละ 30 คน
รวมท้ังหมด 4 ตำบล จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ 63.2 ตำบลโคกเคียน กลุ่มเป้าหมาย จำนวน 25 คน
คดิ เปน็ ร้อยละ 13.4 ตำบลมะนังตายอ กลมุ่ เปา้ หมาย จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 12.1 และ ตำบลลำภู
กลุม่ เป้าหมาย จำนวน 22 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 11.3 ตามลำดับ กลุ่มเป้าหมายท่ีเขา้ รว่ มโครงการจำแนกเป็น
เพศหญิง 207 คน คิดเป็นร้อยละ 54.5 และ เพศชาย 173 คน คิดเป็นร้อยละ 45.5 ช่วงอายุระหว่าง 15
– 39 ปี จำนวน 345 คน คิดเปน็ ร้อยละ 90.8 รองลงมา ชว่ งอายุ 40 – 49 ปี จำนวน 30 คน คดิ เปน็ รอ้ ย
ละ 7.9 และช่วงอายุ 50 – 59 ปี จำนวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 1.3 ระดับการศึกษา แบ่งเป็น ระดับ
มัธยมศกึ ษาตอนตน้ จำนวน 192 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 58.5 มัธยมศึกษาตอนปลาย จำนวน 168 คน คิดเป็น
ร้อยละ 44.2 และประถมศึกษา จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อนละ 5.3 อาชีพ รับจ้าง จำนวน 185 คิดเป็น
ร้อยละ 48.7 อ่ืนๆ จำนวน 89 คน คิดเป็นร้อยละ 23.4 ว่างงาน จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 20.8
ค้ายขาย จำนวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 6.1 และ เกษตร จำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 1.1 ตามลำดับ
กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในการถ่ายทอดความรู้ของวิทยากร ลำดับที่ 1 อยู่ในระดับ
มาก จำนวน 177 คน คิดเป็นร้อยละ 46.6 รองลงมา อยู่ในระดับ มากท่ีสุด จำนวน 120 คน คิดเป็นร้อยละ
31.6 ปานกลาง จำนวน 71 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 18.7 ระดับน้อย จำนวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 2.6 และ
ระดับน้อยที่สุด จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5 ความสามรถในการอธิบายเน้ือหาระดับมาก จำนวน
198 คน คิดเป็นร้อยละ 52.1 มากท่ีสุด จำนวน 95 คน คิดเป็นร้อยละ 25 ปานกลาง จำนวน 77 คน คิด
เป็นร้อยละ 20.3 น้อย จำนวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 2.1 และน้อยท่ีสุด จำนวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5
วิทยากรมีเทคนิคในการถ่ายทอด ระดับมาก จำนวน 176 คน คิดเป็นร้อยละ 46.3 มากท่ีสุด จำนวน 109
คน คดิ เปน็ ร้อยละ 28.7 ปานกลาง จำนวน 82 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 21.6 น้อย จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อย
ละ 2.9 และนอ้ ยท่สี ดุ จำนวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 0.5 วิทยากรเปิดโอกาสในการซกั ถาม ระดับมาก จำนวน
205 คน คิดเป็นร้อยละ 53.9 มากที่สุด จำนวน 87 คน คิดเป็นร้อยละ 22.9 ปานกลาง จำนวน 73 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 19.2 น้อย จำนวน 12 คน คิดเป็นร้อยละ 32 และน้อยท่ีสุด จำนวน 2 คิดเป็นร้อยละ 0.5
ตามลำดับ กลุ่มเป้าหมายท่ีเข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในเนื้อหาตรงกับความต้องการของผู้รับการอบรม
ลำดบั ที่ 1 อยู่ในระดับ มาก จำนวน 190 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมา ระดับมากท่ีสุด จำนวน 109 คน
คิดเป็นร้อยละ 28.7 ปานกลาง จำนวน 69 คน คิดเป็นร้อยละ 18.2 ระดับน้อย จำนวน 9 คน คิดเป็นร้อย
ละ 2.4และน้อยที่สุด จำนวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 0.8 เน้ือหาท่ีเป็นประโยชน์ต่อการนำไปใช้ในการจัดการ
เรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 195 คน คิดเป็นร้อยละ 51.3 รองลงมา ระดับมากท่ีสุด จำนวน 104 คน คิดเป็น
ร้อยละ 27.4 ระดับปานกลาง 68 คน คิดเปน็ ร้อยละ 17.9 และระดับน้อย 12 คน คิดเปน็ ร้อยละ 3.2

25

มคี วามรู้ความเข้าใจ มีการเตรียมความพร้อมก่อนอบรม อยู่ในระดับปานกลาง 172 คน คิดเป็นร้อยละ 45.3
รองลงมา ระดับมาก 148 คน คิดเป็นร้อยละ 38.9 ระดับมากท่ีสุด 34 คน คิดเป็นร้อยละ 8.9 ระดับน้อย
24 คน คิดเป็นร้อยละ 6.3 และระดับน้อยที่สุด 2 คน คิดเป็นร้อยละ 0.5 มีความรู้ ความเข้าใจ หลังการ
อบรมอยู่ในระดับมาก 234 คน คิดเป็นร้อยละ 61.6 รองลงมา ระดับปานกลาง 72 คน คิดเป็นร้อยละ
18.9 ระดับมากที่สุด 58 คน คิดเป็นร้อยละ 15.36 ระดับน้อย 13 คน คิดเป็นร้อยละ 3.4 และระดับ
น้อยที่สดุ 3 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 0.8 ตามลำดับ กลุ่มเป้าหมายที่เขา้ ร่วมโครงการ มคี วามพงึ พอใจในระเวลาใน
การอบรม มีความเหมาะสม อยู่ในระดับมาก 237 คน คิดเป็นร้อยละ 62.4 รองลงมา ระดับปานกลาง
82 คน คิดเป็นร้อยละ 21.6 ระดับมากที่สดุ 48 คน คิดเปน็ ร้อยละ 12.6 ระดับนอ้ ย 13 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ
3.4 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย อยู่ในระดับมาก 226 คน คิดเป็นร้อยละ 59.5 รองลงมา
ระดับปานกลาง 75 คน คิดเป็นร้อยละ 19.7 ระดับมากที่สุด 61 คน คิดเป็นร้อยละ 16.1 ระดับน้อย
17 คน คิดเป็นร้อยละ 4.5 ตามลำดับ วิธีการวัดผลประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ อยู่ในระดับมาก
221 คน คิดเป็นร้อยละ 58.2 รองลงมา ระดับปานกลาง 82 คน คิดเป็นร้อยละ 21.6 ระดับมากที่สุด
62 คน คิดเป็นร้อยละ 16.3 และระดับน้อย 12 คน คิดเป็นร้อยละ 3.2 ระดับน้อยที่สุด 3 คน คิดเป็นร้อย
ละ 0.8 ตามลำดับ กลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ มีความพึงพอใจในด้านการสื่อสาร การสร้างบรรยากาศ
เพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ อยู่ในระดับมาก 227 คน คิดเป็นร้อยละ 59.7 รองลงมา ระดับปานกลาง 80 คน
คิดเป็นร้อยละ 21.1 ระดับมากที่สุด 56 คน คิดเป็นร้อยละ 14.7 และระดับน้อย 16 คน คิดเป็นร้อยละ
4.2 ตามลำดบั การบรกิ าร การชว่ ยเหลอื และการแก้ปญั หา อยู่ในระดับมาก 235 คน คิดเป็นร้อยละ 61.8
รองลงมาระดับปานกลาง 76 คน คิดเป็น ร้อยละ 20 ระดับมากที่สุด 54 คน คิดเป็นร้อยละ 14.2 และ
ระดบั นอ้ ย 12 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 3.2และระดับนอ้ ยท่สุด 3 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 0.8 ตามลำดับ สถานท่ี วสั ดุ
อุปกรณ์ และสิ่งอำนวยความสะดวก อยู่ในระดับมาก 223 คน คิดเป็นร้อยละ 58.7 รองลงมา ระดับปาน
กลาง 81 คน คิดเป็นร้อยละ 21.6 ระดับมากที่สุด 62 คน คิดเป็นร้อยละ 16.3 ระดับนอ้ ย 12 คน คดิ เป็น
รอ้ ยละ 3.2 และระดับน้อยท่สี ุด 1 คน คิดเป็นร้อยละ 0.3 ตามลำดับ อีกท้ังกลุ่มเป้าหมายที่เข้าร่วมโครงการ
แสดงข้อคิดเห็นเพ่ิมเติ่มและข้อเสนอแนะอ่ืนๆ ส่วนมาก ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 29.5 รองลงมา กิจกรรมดีมาก
คิดเป็นรอ้ ยละ 4.9 ตามลำดับแผนภมู ิ

ท้ังนี้เพ่ือให้นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส มีความรู้ ความเข้าใจ เก่ียวกับการทำ

โครงงานวิทยาศาสตร์ได้อย่างถูกต้องและมีคุณภาพ เกิดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ สามารถเขียน

และวางแผนการทำโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ ตลอดจนนำความรทู้ ไี่ ดร้ บั ไปประยุกต์ใชใ้ นการดำเนนิ ชีวติ ได้

บรรณานกุ รม

1. http://pioneer.netserv.chula.ac.th/~cpornth1/Web_SciProject/a11.htm

2. http://www.chaiyatos.com/M.2_3.htm

3. http://srisamrong-
nfe.online/courses/%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0
%B8%B2%E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%95%E0%B8%A3
%E0%B9%8C/lesson/%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B7%E0%B9%88%
E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%B5%E0%B9%88-2-
%E0%B9%82%E0%B8%84%E0%B8%A3%E0%B8%87%E0%B8%87%E0%B8
%B2%E0%B8%99%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%97%E0%B8%A2%E0
%B8%B2/

ภาคผนวก

ภาพกิจกรรม
โครงการอบรมใหค้ วามรู้เร่ืองการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ กศน.อำเภอเมืองนราธวิ าส

รุ่นที่ 1 – 2 ในระหว่างวันท่ี 18 – 19 มกราคม 2565
ณ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพ่อื การศึกษานราธิวาส
......................................................................

ดร.สุชาติ ถาวระ ผู้อำนวยการ ศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษานราธิวาส เป็นประธาในพิธีเปิด
โครงการอบรมให้ความรู้การทำโครงงานวิทยาศาสตร์กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส เพ่ือให้นักศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส นำแนวคิดการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ ตลอดจนการนำไปใช้ประโยชน์ที่ไดร้ ับจาก
การ ทำโครงงานฯ ณ ศูนยว์ ทิ ยาศาสตร์เพื่อการศึกษานราธวิ าส

นางสาวอาอีซะฮ์ ดือราแม หัวหน้ากลุ่มงานวิชาการและบุคลากรศูนย์วิทยาศาสตร์เพ่ือการศึกษา
นราธิวาส พร้อมด้วยคณะครูจากศูนย์วิทยาศาสตร์เพื่อการศึกษานราธิวาส เป็นวิทยากรให้ความรู้ในเรื่อง
การทำโครงงานวิทยาศาสตร์ อย่างถูกต้องและเกิดทักษะกระบวนการด้านวิทยาศาสตร์ ณ ศูนย์วิทยาศาสตร์
เพ่ือการศกึ ษานราธวิ าส

วิทยากรให้ความรู้ในเรื่องการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ พร้อมแบ่งกลุ่มนักศึกษาให้ฝึกทำ
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เคร่ืองซักผ้าขวดพลาสติก โดยมีองค์นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ดำเนินการ
ขับเคล่ือน และเป็นพ่ีเล้ียง ร่วมกับครูพ่ีเล้ียง ในโครงการอบรมให้ความรู้การทำโครงงานวิทยาศาสตร์กศน.
อำเภอเมอื งนราธวิ าส

วิทยากรแบ่งกลุ่มนักศึกษาให้ฝึกทำโครงงานส่ิงประดิษฐ์เคร่ืองซักผ้าขวดพลาสติก และให้แต่ละกลุ่ม
นำเสนอผลงานพร้อมแลกเปล่ียนเรยี นรู้ และมอี งค์นักศึกษา กศน.อำเภอเมืองนราธิวาส ดำเนินการขับเคลื่อน
และเป็นพ่ีเล้ียง ร่วมกับครูพี่เลี้ยง ในโครงการอบรมให้ความรู้การทำโครงงานวิทยาศาสตร์กศน.อำเภอเมือง
นราธิวาส


Click to View FlipBook Version