The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือนักศึกษา CDE รุ่น 5

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by sirirajcde, 2021-08-18 05:48:01

คู่มือนักศึกษา CDE รุ่น 5

คู่มือนักศึกษา CDE รุ่น 5

ค่มู ือนักศกึ ษา

หลกั สตู รประกาศนยี บตั รผ้ใู ห้ความรเู้ บาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล

รุน่ 5 ปกี ารศกึ ษา 2564

Manual Book for SiCDE's Student 2021
Certified Diabetes Educator Program,
Faculty of Medicine Siriraj Hospital, Mahidol University

Bangkok Thailand

เพอ่ื ประโยชน์ของนักศกึ ษา โปรดใชค้ มู่ ือนกั ศึกษาเลม่ นเ้ี ป็นแนวปฏบิ ตั ิจนกวา่ จะสาเร็จการศกึ ษา



 คมู่ ือนักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบตั รผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผ้ใู หค้ วามรูเ้ บาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล



สารบัญ  คมู่ ือนักศึกษา 2564

เรื่อง หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล
รายละเอยี ดหลักสตู รประกาศนียบตั รผูใ้ ห้ความรเู้ บาหวานฯ
ตารางสอน ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 หนา้
แนวทางการฝึกปฏิบตั ิ DSMES ผา่ นกิจกรรม Workshop: Role-play
แบบประเมนิ การฝึกปฏิบตั ิ DSMES ผ่านกจิ กรรม Workshop: Role-play 1
แนวทางการเขียนรายงานการสะทอ้ นคดิ (Reflective paper) 9
แนวทางการพฒั นานวตั กรรม 17
ตวั อย่างนวัตกรรมของ CDE รุ่น 1 - 4 19
แบบประเมนิ การนาเสนอนวัตกรรม 21
แบบประเมิน รายงานนวัตกรรม 23
การฝึกปฏบิ ัติ Diabetes Self-management Education Support (DSMES) 25
แบบฟอร์มสรุปรายละเอยี ดกรณีศกึ ษาการฝึกปฎิบัติ DSMES 27
29
แบบประเมิน การนาเสนอกรณีศึกษา 33
แบบประเมิน รายงานกรณีศึกษา 37
ภาคผนวก 39
41
43



 คูม่ ือนักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนยี บตั รผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล

หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล

ชอ่ื หลักสูตร
(ภาษาไทย) ประกาศนยี บัตรผู้ใหค้ วามรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล
(ภาษาอังกฤษ) Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital

ชอื่ คุณวฒุ ิ
(ภาษาไทย) ประกาศนยี บัตรผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล
(ภาษาองั กฤษ) Certificate of Certified Diabetes Educator, Faculty of Medicine Siriraj Hospital

หน่วยงานท่รี บั ผิดชอบ
1. ศูนยเ์ บาหวานศริ ริ าช คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล
2. สาขาวชิ าตอ่ มไร้ท่อและเมตะบอลิสม ภาควชิ าอายุรศาสตร์
3. สาขาวชิ าต่อมไร้ท่อและเมตาบอลสิ ม ภาควชิ ากมุ ารเวชศาสตร์
4. ภาควชิ าสตู ศิ าสตร์-นรีเวชวทิ ยา
5. ฝ่ายการพยาบาล
6. ฝ่ายเภสัชกรรม
7. ฝา่ ยโภชนาการ
8. งานการศึกษาระดบั หลังปริญญา

หลักการและเหตุผล
การรักษาโรคเบาหวานให้มีประสิทธิภาพ นอกจากการใช้ยาลดระดับน้าตาลแล้ว การให้ความรู้โดยมุ่งหวัง

ให้ผู้เป็นเบาหวานมพี ฤติกรรมสุขภาพที่ดีขึน มสี ่วนส้าคญั มากในการรักษา โดยในตา่ งประเทศการให้ความรู้และสร้าง
ทกั ษะให้กบั ผ้เู ปน็ เบาหวานเป็นหน้าทขี่ องบุคลากรผู้ใหค้ วามรู้เบาหวานโดยเฉพาะ (Diabetes Educator)

จากการส้ารวจสุขภาพของประชากรครังที่ 5 (พ.ศ. 2557) พบว่า อัตราการเกิดโรคเบาหวานเพ่ิมขึนจาก
6.9% (ในการส้ารวจครังท่ี 4, พ.ศ. 2552) เป็น 8.9% และมีผู้เสี่ยงเบาหวานเพ่ิมขึนจาก 10.7% เป็น 14.2%
นอกจากนีโรคเบาหวานยังเป็นสาเหตุการตายท่ีส้าคัญของประชากร ส่งผลให้ประเทศต่างๆ ท่ัวโลก ใช้จ่าย
งบประมาณจ้านวนมากในการดูแลรักษาโรคเบาหวานและภาวะแทรกซ้อนต่างๆ ที่เกิดขึน การควบคุมระดับน้าตาล
ให้อยใู่ นเกณฑ์ที่เหมาะสม สามารถลดการเกิดภาวะแทรกซอ้ นทังตอ่ หลอดเลือดแดงขนาดเล็ก หลอดเลือดแดงขนาด
ใหญ่ และยังลดอัตราการเสียชีวิตจากโรคเบาหวานทังในผู้เป็นเบาหวานชนิดท่ี 1 และชนิดท่ี 2 ทังนี ในการรักษา
เพื่อควบคุมระดับน้าตาลให้อยู่ในเกณฑ์ท่ีเหมาะสมนัน นอกจากการใช้ยาลดระดับน้าตาลแล้ว ความร่วมมือจาก
ผู้เป็นเบาหวานในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การควบคุมอาหาร ออกก้าลังกาย การรับประทานยาและฉีดยาอย่าง
สมา่้ เสมอ ถือเป็นปัจจยั ส้าคญั ในการรกั ษา

1

 ค่มู อื นักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนียบัตรผูใ้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล

แนวทางเวชปฏบิ ัตสิ ้าหรบั โรคเบาหวานทงั ของไทยและต่างประเทศชีให้เหน็ ว่า การให้ความรู้เพ่ือการจัดการ
ตนเองด้านเบาหวาน (Diabetes Self-management Education and Support, DSMES) โดยมีผู้ให้ความรู้
เบาหวาน (Diabetes Educator) เป็นผู้สอนตังแต่แรกวินิจฉัยและให้ค้าแนะน้าและการสนับสนุนในการดูแลตนเอง
อยา่ งตอ่ เนื่อง เป็นสว่ นส้าคัญในการดูแลผ้เู ป็นเบาหวาน จากการศกึ ษาแบบ Meta-analysis ในต่างประเทศแสดงให้
เหน็ ว่าการได้รบั DSMES สง่ ผลให้ระดับนา้ ตาลสะสมหลงั เข้าร่วมกิจกรรมลดลงประมาณ 0.76% แม้ว่าระดับน้าตาล
สะสมมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึนในภายหลัง และจากการทบทวนวรรณกรรมเก่ียวกับความคุ้มค่าของการให้ DSMES
ในช่วงเวลา 15 ปี ตังแต่ พ.ศ. 2534 – 2549 พบว่า ร้อยละ 70 ของการศึกษาเหล่านี ชีให้เห็นว่าการให้ DSMES
สามารถลดค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาเบาหวานได้ จึงเห็นได้ว่า การให้ความรู้ในการจัดการตนเองด้านเบาหวานมี
สว่ นช่วยในการควบคุมระดบั นา้ ตาลและมคี วามคุ้มคา่ ในด้านเศรษฐกจิ

หลักสูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล (Certified Diabetes
Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital) ได้เริ่มเปิดสอนรุ่นท่ี 1 ในปีการศึกษา 2560 โดย
ศนู ยเ์ บาหวานศิรริ าชร่วมกบั สาขาวชิ าต่อมไร้ท่อและเมตะบอลิสม ภาควิชาอายุรศาสตร์, สาขาวิชาต่อมไร้ท่อและเม
ตาบอลิสม ภาควชิ ากุมารเวชศาสตร์, ภาควชิ าสูติศาสตร์ – นรีเวชวิทยา ฝ่ายการพยาบาล ฝ่ายเภสัชกรรม และฝ่าย
โภชนาการ โดยมี Ms. Anne Belton (RN, CDE, MEd) จาก The Michener institute of Education at UHN,
Canada ร่วมจัดท้าหลักสูตรนี และมีอาจารย์แพทย์และทีมสหสาขาเข้าศึกษาอบรมหลักสูตร Diabetes Educator
Graduate Certificate Program, The Michener Institute, IDF School for Diabetes Educator ทังนี
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาลได้รับการรับรองเป็น International Diabetes Federation Centre of
Education and Diabetes Care ในปี 2560

หลักสตู รนี มงุ่ เน้นให้ผเู้ รียนมีความรู้เบาหวานเชิงลึก (Advance) ที่ได้รับการถ่ายทอดจากคณาจารย์แพทย์
ผเู้ ชีย่ วชาญดา้ นเบาหวานและดา้ นอ่ืนๆ ที่เก่ยี วข้อง รว่ มกับการพัฒนาทักษะในด้านตา่ งๆ เช่น ทักษะการสอน ทักษะ
การฟัง การปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การเป็นพี่เลียง (Coaching & Mentoring, Facilitator, Supporter) ทังนี
มีผูส้ ้าเรจ็ การศกึ ษาแล้ว จ้านวน 4 รุ่น รวมจ้านวน 81 คน

โดยนักศึกษาที่ส้าเร็จการศึกษาหลักสูตรฯ จะต้องน้าความรู้และทักษะไปปฏิบัติงานด้าน DSMES ให้การ
ปรกึ ษาแกผ่ ู้เปน็ เบาหวานและครอบครวั รายเด่ียว/กลมุ่ ยอ่ ย รวมถึงบุคลากรสหสาขาวชิ าชีพที่เก่ียวข้องกับเบาหวาน
มีผลให้ผู้เป็นเบาหวานมีพฤติกรรมการจัดการเบาหวานด้วยตนเองได้ดีขึนอย่างต่อเน่ือง ตามเกณฑ์ที่ก้าหนดเพื่อ
ลงทะเบียนรับใบทะเบียนวิทยฐานะผู้ให้ความรู้เบาหวาน อายุ 5 ปี หรือ 1 ปี เพื่อด้ารงไว้ซึ่งศักยภาพและความ
ช้านาญเฉพาะด้าน ผ่านงานการศึกษาหลังปริญญา (นักวิชาการศึกษาประจ้าหลักสูตรฯ) เพื่อให้คณะกรรมการ
พจิ ารณาการลงทะเบียนวิทยฐานะผู้ให้ความรู้เบาหวานตรวจสอบ โดยก้าหนดส่งชั่วโมงปฏิบัติงานให้เดือนธันวาคม
และเดอื นพฤษภาคมของทกุ ปี

หลักสูตรนี ด้าเนินการโดยศูนย์เบาหวานศิริราช ซึ่งได้รับการรับรองเป็น International Diabetes
Federation Centre of Education and Excellence in Diabetes Care Valid 2018- April 2020 และต่ออายุ
เป็น IDF Centre of Excellence in Diabetes Care 2020-2021

2

 คมู่ อื นักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนียบัตรผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล

อาจารยป์ ระจาหลักสูตรฯ

1. อาจารยภ์ าควิชาอายุรศาสตร์ สาขาตา่ งๆ ดงั นี

- สาขาวิชาตอ่ มไรท้ อ่ และเมตะบอลิสม
- สาขาวิชาวกั กะวิทยา
- สาขาวิชาหทัยวิทยา
- สาขาวชิ าประสาทวทิ ยา
- สาขาวชิ าโภชนศาสตรค์ ลนิ กิ
- สาขาวชิ าโรคระบบหายใจและวณั โรค
- สาขาวิชาอายรุ ศาตรป์ ัจฉิมวยั

2. อาจารย์สาขาวชิ าตอ่ มไร้ท่อและเมตาบอลิสม ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
3. อาจารย์ภาควชิ าสูตศิ าสตร์-นรีเวชวทิ ยา
4. อาจารย์ภาควชิ าจกั ษุวทิ ยา
5. อาจารย์ภาควชิ าศัลยศาสตร์
6. อาจารย์ภาควิชาศัลยศาสตร์ออรโ์ ธปิดคิ สแ์ ละกายภาพบา้ บัด
7. อาจารยภ์ าควิชาเวชศาสตรฟ์ ื้นฟู
8. อาจารยภ์ าควชิ าเวชศาสตรป์ อ้ งกันและสงั คม
9. อาจารยภ์ าควิชาตจวิทยา
10. อาจารยภ์ าควิชาจติ เวชศาสตร์
11. อาจารย์ผเู้ ชีย่ วชาญด้านแพทยศาสตรศ์ ึกษา
12. พยาบาลชา้ นาญการดา้ นเบาหวาน ฝา่ ยการพยาบาล
13. อาจารยท์ นั ตแพทย์ จากงานทนั ตกรรม
14. อาจารย์จากสถานสง่ เสรมิ การวจิ ยั
15. อาจารย์จากสถานการแพทย์แผนไทยประยุกต์
16. อาจารยจ์ ากสถานเทคโนโลยีการศกึ ษาแพทยศาสตร์
17. อาจารย์จากภายนอกผู้เชี่ยวชาญในสาขาทเ่ี กยี่ วข้อง

3

 คู่มอื นักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบัตรผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล

คุณสมบตั ิของผู้เข้ารับการศึกษา
ปริญญาตรี และสาขาที่เก่ียวข้อง ได้แก่ แพทย์ พยาบาล นักโภชนาการ นักก้าหนดอาหาร เภสัชกร

นักสุขศึกษา อ่ืนๆ เป็นต้น ทังนี ผู้มีประสบการณ์ในการดูแลผู้เป็นเบาหวานมาก่อน/หรือผู้ท่ีมีต้นสังกัดจะได้รับ
พิจารณาเปน็ กรณพี เิ ศษ

ระยะเวลาของหลักสตู ร
ระยะเวลา 1 ปี
- ภาคการศึกษาท่ี 1 เดือนสิงหาคม ถึง เดือนพฤศจิกายน 2564
- ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม ถงึ เดือนกรกฎาคม 2565

วตั ถุประสงค์ของหลักสตู ร
เมอ่ื สนิ สดุ การเรยี นการสอนตามหลักสตู รฯ ผสู้ ้าเร็จการศึกษาจะมีคุณสมบัติดังนี
1. มคี วามรูแ้ ละความช้านาญขนั สูงในการถ่ายทอดความรดู้ า้ นเบาหวานและสามารถสร้างทักษะในการ
จัดการตนเองให้กบั ผ้เู ปน็ เบาหวานและครอบครวั
2. สามารถน้าทฤษฎีในการปรบั เปลีย่ นพฤตกิ รรมและทฤษฎดี า้ นการเรียนการสอนมาใชเ้ พ่ือให้ผ้เู ปน็
เบาหวานมีทัศนคติทีด่ จี นนา้ ไปสกู่ ารปรับเปลย่ี นพฤติกรรมในทางทีด่ ีขนึ
3. ความรู้ดา้ นการวจิ ยั เบืองตน้ สามารถสืบค้นความรู้อย่างตอ่ เนือ่ งจากงานวิจยั ตา่ งๆ รวมทังการผลิต
นวตั กรรมสอื่ การสอน เพื่อน้ามาประยุกต์ใช้กบั ผู้เป็นเบาหวานในการจัดการตนเอง
4. มคี ุณธรรม จรยิ ธรรม และจรรยาบรรณท่ีดีแห่งวิชาชีพในการปฏิบัตงิ าน

เน้ือหาสังเขปของหลักสูตร
1. ดา้ นความรู้
Module 1: Advance Knowledge in Diabetes

 Glucose Homeostasis and Pathophysiology of Diabetes
 Classification and Diagnosis of Diabetes
 Acute Diabetes Complications
 Glycemic Target and Cardiovascular Risk Management
 Blood Glucose - Lowering Agents
 Insulin Therapy
 Glucose Monitoring
Module 2: Teaching and Learning Method for Diabetes Self-management and Psychological
Approach
 Role of the Diabetes Educator and DSME
 Patient Teaching and Learning Method

4

 ค่มู ือนักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบตั รผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล

 Psychosocial and Behavioral Approaches in Diabetes
 Concept and Strategies of Behavior Change
 Communication Skill
 Motivational Interviewing
 Tips and Trick in Medical Counseling and Communication Skill for Diabetes Educator
 Health Literacy on Diabetes
 Mindfulness Strategies for Diabetes Educator
 Prince Mahidol’s Philosophy and King RAMA 9: Principles of HM’s Development Works
and Sufficient Economy Theory
Module 3: Advance Nutrition for Diabetes Self-management
 Nutritional Assessment
 Carbohydrate counting
 Nutritional Therapy
 Concept and application of glycemic index
Module 4: Diabetes Complications
 Coronary Artery Disease in Diabetes
 Diabetes Retinopathy
 Diabetes Nephropathy
 Neurological Problem in Diabetes
 Diabetes Foot Assessment and Care
 Skin and Nail Problem in Diabetes
 Peripheral Vascular Disease
 Orthopedic Problem in Diabetes
 Sleep Disorder in Diabetes
 Oral Health and Diabetes
Module 5: Diabetes in Special Population and Special Situation
 Diabetes in Pregnancy
 Type 1 Diabetes in All Age
 Type 2 and Other Type Diabetes in Childhood
 Diabetes in Elderly
 Diabetes in Special Situation
 In-patient Diabetes Management
 Exercise and Diabetes

5

 คู่มอื นักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบตั รผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล

Module 6: Research and Innovation Applications
 R2R Concept and Influencer
 Critical Appraisal of Scientific Papers
 Ethical Aspect of Research

Module 7: Alternative Medicine and Community Awareness
 Community and Public Awareness
 Benefit and Caution of Thai Traditional Medicine in Diabetes
 Diabetes Prevention and Metabolic Syndrome

2. ด้านทักษะ
 ทักษะในการใหค้ วามรู้ในการจดั การตนเองด้านเบาหวาน เชน่
- การฉดี ยาอินซลู นิ
- การตรวจระดับน้าตาลในเลือดดว้ ยตนเอง
- การจดั การดา้ นโภชนาการ
 ทักษะในการตรวจคัดกรอง ป้องกนั โรคเบาหวาน และภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวาน
 ทกั ษะการสอน Adult Teaching and Learning Method
 ทักษะในการปรบั เปลย่ี นพฤติกรรม
 ทักษะการสื่อสารและการฟังอยา่ งลกึ ซึง

3. ด้านเจตคติ
 มคี วามภูมใิ จและรู้ขอบเขตของการเป็นผ้ใู หค้ วามรู้เบาหวานตามค้านิยามของ International Diabetes
Federation และ มาตราฐานสากล
 สามารถท้างานเป็นทีม มีแนวคิดของ Prince Mahidol Philosophy (Altruism) และ หลักการทรงงาน
ของพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวปรมนิ ทรมหาภูมพิ ลอดุยเดช รัชกาลที่ ๙ (Sufficient Economy) และ
นอ้ มนา้ มาประยุกต์ใช้
 มีมนุษยสัมพนั ธ์ทีด่ ีต่อบคุ คลรอบข้าง ได้แก่ ผ้รู ว่ มงาน ผูเ้ ป็นเบาหวาน และครอบครัว
 เปน็ ผูใ้ ฝร่ แู้ ละขยันสนใจในวิทยาการใหมๆ่

วิธีการจัดการเรยี นการสอน
เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-2019) นัน ทางหลักสูตรฯ

จึงปรบั รูปแบบการเรียนการสอนเป็นแบบผสมผสาน ระหว่างออนไลน์รว่ มกบั การเรยี นในชนั เรยี น ตลอดหลกั สูตร
1. การเรยี นออนไลน์
1.1 ผ่านระบบ E-learning ของคณะฯ (SELECx) โดยนกั ศกึ ษาจะตอ้ งศึกษาเนือหาด้วยตนเอง
ภายในสัปดาหท์ ่กี ้าหนด ตามตารางเรียน
1.2 การรว่ มอภิปรายผา่ นระบบออนไลน์ เช่น Zoom Cloud Meetings และอื่นๆ

6

 คู่มอื นักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนียบัตรผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล

2. การเรียนในชันเรียน เชน่ การสอนบรรยาย การฝึกปฏิบัติผ่านกจิ กรรม Role-play, Workshop,

Case discussion และอ่นื ๆ

3. การประเมนิ ผลการเรยี นในชนั เรยี น ไดแ้ ก่ การสอบประเมนิ ผลตาม Modules, การประเมินผลการฝกึ
ปฏบิ ตั ิผา่ นกจิ กรรมข้างตน้ เป็นรายเดยี่ วและรายกลุ่ม

ภาคการศึกษาที่ 1 ระยะเวลา 4 เดือน

 ภาคทฤษฎใี นรายวชิ า ดงั นี้
1. Advance Knowledge in Diabetes
2. Teaching and Learning Method for Diabetes Self-management and Psychosocial
Approach
1) Adult Learning and Teaching Method

2) Psychosocial Approach and Behavioral Change Model
3) Prince Mahidol’s Philosophy and King RAMA 9: Principles of HM’s

Development Works and Sufficient Economy Theory
4) Mindfulness and Applications
3. Advance Nutrition for Diabetes Self-management
4. Diabetes Complications
5. Diabetes in Special Population and Special Situation
6. Research and Inovation Applications
7. Alternative Medicine and Community Awareness
 ภาคปฏิบัติ
o เรียนรผู้ า่ นการทา้ Role-play, Workshop, Case Discussion ตามรายวชิ าขา้ งต้น
o การศึกษาดูงานคลินิกท่ีเกยี่ วข้อง
o การน้าความรู้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นหนว่ ยงานต้นสงั กัด

ภาคการศึกษาที่ 2 ระยะเวลา 7 เดือน

1. ฝึกปฏบิ ัติ DSMES ดว้ ยตนเอง ในหน่วยงานตน้ สังกดั /หน่วยงานท่เี กี่ยวข้อง
2. น้าเสนอ อภิปราย และเขียนรายงานกรณีศึกษา
3. พฒั นาและนา้ เสนอนวตั กรรมหรอื โครงการวิจัย
4. กจิ กรรมพัฒนาทักษะทมี สหสาขาผใู้ หค้ วามรู้เบาหวาน Diabetes Educator Skills

Multi-disciplinary Development Program

** หลกั สตู รอ้างองิ จาก
1. INTERNATIONAL STANDARDS FOR EDUCATION OF DIABETES HEALTH PROFESSIONALS (International Diabetes Federation 2015)
2. INTERNATIONAL CURRICULUM FOR DIABETES HEALTH PROFESSIONAL EDUCATION (International Diabetes Federation 2008)

7

 ค่มู ือนักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบัตรผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล

การประเมนิ ผเู้ ข้ารับการศกึ ษา

การประเมนิ ผล

1) สอบข้อเขียนกลางปี (สัดสว่ นคะแนน 25%)

ครงั ที่ 1 ในช่วงเดือน กันยายน / ตลุ าคม

ครงั ที่ 2 ในชว่ งเดอื น ตลุ าคม / พฤศจิกายน

ครังท่ี 3 ในชว่ งเดือน พฤศจกิ ายน / ธันวาคม

2) ภาคปฏิบตั จิ าก Workshop: Role-play (สัดส่วนคะแนน 20%)

3) สอบปลายปี (สัดสว่ นคะแนน 15%)

4) งานทีม่ อบหมาย

- Case Study (สัดส่วนคะแนน 25%)

- โครงร่างการพัฒนานวัตกรรม (สดั ส่วนคะแนน 15%)

การประเมนิ ผลเพือ่ สาเรจ็ การศึกษา
เกณฑ์การผา่ นหลกั สูตรประกาศนยี บตั รผู้ใหค้ วามรูเ้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล

- เข้าเรียนมากกว่า 80%
- คะแนนประเมินผลรวม รอ้ ยละ 75 ขนึ ไป

สญั ลักษณ์ประจาหลกั สูตร

SI หมายถงึ คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล
CDE หมายถงึ Certified Diabetes Educator
หลอดไฟ เปรียบเหมือน แสงแห่งความรู้และปัญญา
หยดนา้ เปรยี บเหมอื น การให้ความรู้ ทศั นคติ และทักษะ

(Knowledge, Attitude, Skill)

8

 คู่มอื นักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล

หลกั สูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล
Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital

ภาคการศกึ ษาที่ 1 ปีการศกึ ษา 2564 (รุ่น 5)

เวลา หัวข้อ รูปแบบการสอน อาจารยผ์ สู้ อน
Module 1: Advance Knowledge in Diabetes
Module 2: Teaching and learning method
Module 3: Advance Nutrition for Diabetes Self–management

วันพฤหัสบดีที่ 19 สงิ หาคม 2564 (Online)

8.30 – 8.45 พธิ เี ปิดหลักสูตร Zoom ศ.คลนิ กิ พญ.สภุ าวดี ลิขติ มาศกลุ

8.45 – 9.15 ปฐมนเิ ทศหลกั สูตร Zoom พญ.ลักขณา ปรีชาสขุ
9.15 – 11.00 Get to know you รศ.พรศรี ศรอี ัษฎาพร
11.00 – 11.30 แนะนา้ การใช้งาน E–learning
Zoom คุณศราวุธ อุประรัตน์
คณุ ณภาภัส ทรพั ยอ์ ัประไมย

Zoom คณุ ธาวินี วลิ ามาศ

11.30 – 12.00 Q&A Zoom อาจารยป์ ระจา้ หลกั สตู ร

13.00 – 15.30 Glucose homeostasis and pathophysiology Zoom ศ.นพ.สุทิน ศรีอษั ฎาพร
of diabetes

วันศกุ รท์ ี่ 20 สิงหาคม 2564 (Online)

Classification and diagnosis of diabetes (1 ชว่ั โมง) VDO Lecture ศ.นพ.ณฐั เชษฐ์ เปล่งวิทยา

Blood glucose – lowering agents (1.5 ช่ัวโมง) VDO Lecture รศ.นพ.ธาดา คณุ าวศิ รุต

Concept of DSMES + Homework (2 ชัว่ โมง) VDO Lecture ศ.คลินกิ พญ.สภุ าวดี ลขิ ิตมาศกุล

วนั พฤหัสบดีที่ 26 สงิ หาคม 2564 (Online)

9.00 – 10.30 Glycemic target and cardiovascular risk VDO Lecture รศ.พญ.นนั ทกร ทองแตง
10.30 – 12.00 management (1.5 ชั่วโมง) รศ.พญ.อภิรดี ศรีวจิ ติ รกมล
13.00 – 13.30 Hyperglycemic emergency and hypoglycemia VDO Lecture รศ.พญ.อภิรดี ศรวี จิ ติ รกมล
14.00 – 15.00 management (1.5 ชัว่ โมง) รศ.พญ.นันทกร ทองแตง
Hyperglycemic emergency and hypoglycemia Zoom
management Discussion
Glycemic target and cardiovascular risk
management Zoom
Discussion

วันศกุ ร์ 27 สิงหาคม 2564 (Online)

9.00 – 10.00 Concept of DSMES: Discussion Zoom ศ.คลินิก พญ.สุภาวดี ลิขติ มาศกลุ
10.30 – 12.00 Health literacy รศ.พรศรี ศรีอัษฎาพร

Zoom พญ.ลกั ขณา ปรชี าสุข

9

 คมู่ ือนักศึกษา 2564 รูปแบบการสอน อาจารยผ์ ู้สอน
VDO Lecture ผศ.นพ.พรพจน์ เปรมโยธนิ
หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน VDO Lecture
คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล คุณศรวี รรณ ทองแพง

เวลา หวั ขอ้
Nutrition recommendation for diabetes
(2 ชั่วโมง)
Nutritional therapy: theory (1.5 ช่ัวโมง)

วันพฤหสั บดีที่ 2 กนั ยายน 2564 (Online)

9.00 – 10.00 After action review I Zoom ศ.คลนิ กิ พญ.สุภาวดี ลิขิตมาศกุล
พญ.ลักขณา ปรชี าสุข
10.00 – 12.00 Nutritional therapy: glycemic index Zoom รศ.พรศรี ศรีอัษฎาพร
Zoom พว.ยุวรัตน์ มว่ งเงิน
13.00 – 15.00 Nutritional therapy: practice I VDO lecture
Energy calculation รศ.ดร.วนั ทนีย์ เกรยี งสนิ ยศ
คุณพจนรรถ์ รีเรอื งชัย
Diabetes nephropathy (2 ชว่ั โมง) คุณภริตพร เทศดนตรี

ผศ.พญ.ไกรวพิ ร เกียรตสิ นุ ทร

วนั ศุกรท์ ี่ 3 กนั ยายน 2564 (Online)

9.00 – 10.30 แนะนา้ literature review / Zoom ศ.คลินิก พญ.สภุ าวดี ลิขติ มาศกุล
After action review II พญ.ลกั ขณา ปรชี าสขุ
Zoom รศ.พรศรี ศรอี ัษฎาพร
Nutritional advice in CKD VDO Lecture พว.ยุวรัตน์ มว่ งเงนิ
VDO Lecture
DM technology (1 ชั่วโมง) นักโภชนาการ ฝา่ ยโภชนาการ
พญ.ลักขณา ปรชี าสุข
Carbohydrate counting (1 ชัว่ โมง)
คุณศรวี รรณ ทองแพง

วันพธุ ท่ี 8 กนั ยายน 2564 (Online)

10.30 – 12.00 Diabetes nephropathy case discussion Zoom ผศ.พญ.ไกรวิพร เกยี รตสิ ุนทร
Zoom รศ.นพ.ธาดา คุณาวิศรุต
13.00 – 14.30 Blood glucose–lowering agents: Zoom ผศ.พญ.กมลพร วรรณฤทธิ์
case discussion / ให้น้าเสนอ guideline thai

14.30 – 16.00 Concept and strategies of behavior change

วันพฤหัสบดที ่ี 9 กนั ยายน 2564 (Online)

9.00 – 12.00 Concept and workshop on Insulin therapy I Zoom รศ.พญ.ระวีวรรณ เลิศวัฒนารกั ษ์
อ.พญ.สริ นิ าถ สิรินทร์วราวงศ์
13.00 – 15.00 Concept and workshop on glucose
monitoring Zoom พว.อรปรียา สมคั รเขตการณ์
พว.อรุณี สงิ หชาติ

10

เวลา หัวขอ้ รปู แบบการสอน  ค่มู ือนักศึกษา 2564
Nutrition Module 3 (1 ชัว่ โมง) VDO Lecture
1.การชั่งตวงขา้ ว แปง้ และผกั ทมี่ ีแปง้ หลักสูตรประกาศนยี บัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน
2. การนบั คาร์โบไฮเดรตในผลไม้ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล
3. การนับคารโ์ บไฮเดรตในผลิตภัณฑน์ ม เคร่ืองด่ืม
ซอส และการอา่ นฉลากโภชนาการ อาจารยผ์ ู้สอน
4. การนบั คารโ์ บไฮเดรตในอาหารจานเดียว ฟาสตฟ์ ู้ด
5. การนับคาร์โบไฮเดรตในขนมหวานและเบเกอร่ี T1DDAR CN
6. หมวดอาหารท่ไี ม่นับคารโ์ บไฮเดรต
รศ.พญ.ระวีวรรณ เลิศวัฒนารักษ์
วันศกุ ร์ท่ี 10 กันยายน 2564 (On–site) อาจมีการเปลยี่ นแปลง พว.สุภาพร สงวนธา้ มรงค์

9.00 – 12.00 Concept and workshop on Insulin therapy II Zoom

13.00 – 15.00 Examination ครังที่ 1

Module 2: Teaching and Learning Method
Module 4: Diabetes Complications

วนั พฤหัสบดีที่ 16 กนั ยายน 2564 (Online)

9.00 – 10.30 Diabetes retinopathy Zoom รศ.นพ.ณัฐวุฒิ รอดอนนั ต์
13.00 – 15.00 Diabetes during pregnancy Zoom รศ.ดร.นพ.ดฐิ กานต์ บริบูรณห์ ิรญั สาร
VDO Lecture
Peripheral vascular disease (1 ชว่ั โมง) รศ.นพ.ชุมพล วอ่ งวานชิ
Zoom
วันศุกร์ที่ 17 กนั ยายน 2564 (Online) Zoom ผศ.พญ.จรสั ศรี ฬยี าพรรณ
VDO lecture ผศ.นพ.ศุภโชค สงิ หกันต์
8.00 – 9.00 Skin and nail problem in diabetes ผศ.นพ.ทวศี ักดิ์ วรรณชาลี
Zoom
9.00 – 11.00 Motivational interview รศ.พรศรี ศรีอัษฎาพร
Zoom ศ.คลนิ ิก พญ.สภุ าวดี ลขิ ิตมาศกลุ
In–patient diabetes management (1 ชว่ั โมง)
VDO Lecture พญ.ลกั ขณา ปรีชาสขุ
วนั พฤหสั บดที ่ี 23 กันยายน 2564 (Online) VDO Lecture รศ.พรศรี ศรอี ษั ฎาพร
พว.ยวุ รตั น์ มว่ งเงนิ
10.30 – 12.00 Role and responsibility of diabetes educator VDO Lecture ศ.พญ.ธนญั ญา บณุ ยศิรนิ นั ท์
VDO lecture ผศ.นพ.ธีรวฒุ ิ ธรรมวิบูลย์ศรี
14.00 – 15.00 นา้ เสนอ Literature review for innovation
development รศ.พญ.กนกวรรณ บญุ ญพสิ ฎิ ฐ์
ทญ.ฉัตรแกว้ บรบิ รู ณ์หิรัญสาร
15.00 – 16.00 After action review III
11
Heart disease in diabetes (1 ช่ัวโมง)
Orthopedic problem in diabetes (1 ชัว่ โมง)

วันศุกรท์ ่ี 24 กันยายน 2564 (Online)
Neurological problem in diabetes (1 ช่ัวโมง)
Oral health and diabetes (1 ชั่วโมง)

 คมู่ อื นักศึกษา 2564 หวั ขอ้ รูปแบบการสอน อาจารยผ์ สู้ อน
VDO lecture รศ.พญ.กุลภา ศรสี วัสดิ์
หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน อ.พญ.ปัณณกิ า ปราชญโ์ กสนิ ทร์
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล Zoom พว.อัจฉรา สุวรรณนาคินทร์
Zoom และนักกายอุปกรณ์
เวลา Zoom
ผศ.นพ.สุประพฒั น์ สนใจพาณชิ ย์
Concept and workshop on diabetes foot Zoom รศ.นพ.พสิ ิฎฐ์ เลศิ วานชิ
assessment and foot care (1.5 ชวั่ โมง) ผศ.นพ.ทวศี ักด์ิ วรรณชาลี
Zoom
วันพฤหัสบดที ี่ 30 กนั ยายน 2564 (Online) ศ.คลินิก พญ.สุภาวดี ลขิ ิตมาศกลุ
9.00 – 11.00 Patient teaching and learning method Lecture & รศ.พรศรี ศรีอษั ฎาพร
13.00 – 14.00 Exercise and diabetes Discussion พญ.ลักขณา ปรชี าสุข
14.00 – 15.00 In–patient diabetes management Lecture & พว.ยุวรตั น์ มว่ งเงนิ
วันศกุ ร์ที่ 1 ตุลาคม 2564 (Online) Discussion
Lecture & พว.กันยารัตน์ วงษเ์ หมือน
9.00 – 12.00 Workshop: adult learning technique and Discussion ศ.คลินิก พญ.สภุ าวดี ลิขติ มาศกลุ
counseling Workshop
(Communication skill l& DSME session & รศ.พรศรี ศรีอษั ฎาพร
smart goal) Workshop พญ.ลักขณา ปรีชาสุข
พว.ยวุ รัตน์ มว่ งเงนิ
13.00 – 16.00 Workshop: adult learning technique and
counseling (Con.) / After action review IV รศ.พญ.จรี นั ดา สันตปิ ระภพ

วันพธุ ท่ี 6 ตลุ าคม 2564 (On–site) อาจมกี ารเปลีย่ นแปลง คุณธนวัชน์ เกตุวิมตุ
9.00 – 12.00 Type 1 DM in all age
รศ.นพ.สุพจน์ พงศป์ ระสบชยั
13.00 – 16.00 Mindfulness Strategy for diabetes educator I
รศ.พญ.กุลภา ศรสี วัสดิ์
วนั พฤหสั บดที ่ี 7 ตุลาคม 2564 (On–site) อาจมีการเปล่ยี นแปลง อ.พญ.ปณั ณกิ า ปราชญโ์ กสนิ ทร์

9.00 – 12.00 Tips & trick in medical counseling and พว.อจั ฉรา สวุ รรณนาคนิ ทร์
communication skill for diabetes educator และนักกายอุปกรณ์

13.00 – 14.30 Concept and workshop on diabetes foot ศ.คลินกิ พญ.สภุ าวดี ลขิ ิตมาศกุล
assessment and foot care รศ.พรศรี ศรีอัษฎาพร
พญ.ลกั ขณา ปรชี าสขุ
14.30 – 16.30 Workshop: Problem orientate พว.ยุวรัตน์ มว่ งเงนิ
พว.นลนิ นาฏ ธนบุญสทุ ธิ
12
พว.กนั ยารตั น์ วงษเ์ หมอื น

เวลา หวั ข้อ รูปแบบการสอน  คู่มือนักศึกษา 2564
Workshop
วันศุกรท์ ี่ 8 ตลุ าคม 2564 (On–site) อาจมีการเปล่ียนแปลง หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล
8.30 – 10.00 Nutritional therapy: practice II
Basic carb counting & Advance carb counting อาจารยผ์ ู้สอน

Workshop: Stage of change, Workshop คุณพจนรรถ์ รเี รอื งชยั
10.00 – 12.00 Decision balance คุณภรติ พร เทศดนตรี
ศ.คลินิก พญ.สุภาวดี ลิขติ มาศกุล
Practice stage of change รศ.พรศรี ศรีอษั ฎาพร
พญ.ลักขณา ปรีชาสุข
13.30 – 16.30 Examination ครังที่ 2
พว.ยวุ รัตน์ ม่วงเงิน
Module 5: Special Population พว. นลินนาฏ ธนบญุ สุทธิ
Module 6: Research and Innovation Applications
รศ.พญ. วราลักษณ์ ศรนี นทป์ ระเสรฐิ
Module 7: Alternative Medicine and Community Awareness อ.พญ.อรสุดา เลิศบรรณพงษ์

วันพฤหัสบดที ี่ 14 ตลุ าคม 2564 (Online) ศ.เกียรตคิ ุณ พญ.วรรณี นธิ ิยานนั ท์
รศ.นพ.วีรชัย ศรวี ณิชชากร
Diabetes in elderly ; lecture (2 ชว่ั โมง) VDO Lecture ผศ.นพ.ชยั วฒั น์ วชริ ศักดิศ์ ริ ิ

Obesity and T2DM in children and VDO Lecture ศ.คลนิ กิ พญ.สุภาวดี ลขิ ิตมาศกุล
adolescence (1 ช่ัวโมง) รศ.พรศรี ศรอี ษั ฎาพร
พญ.ลักขณา ปรีชาสุข
วันศกุ รท์ ่ี 15 ตุลาคม 2564 (Online) พว.ยวุ รัตน์ มว่ งเงิน

Community and public awareness (1 ชั่วโมง) VDO Lecture อ.พญ.ปวณี า ชณุ หโรจนฤ์ ทธ์ิ
ผศ.ดร.พญ.มยรุ ี หอมสนทิ
Diabetes prevention and metabolic VDO Lecture รศ.นพ.นิธิพัฒน์ เจยี รกลุ
syndrome (1.5 ช่ัวโมง)
ผศ.ดร.พญ.มยุรี หอมสนิท
13.00 – 15.00 Innovation progression I Zoom รศ.พญ.จรี นั ดา สนั ตปิ ระภพ

15.00 – 16.00 Role–play instruction + after action review V Zoom

วนั พฤหัสบดที ่ี 21 ตลุ าคม 2564 (วนั หยุด วนั ออกพรรษา) Zoom
วนั ศกุ ร์ท่ี 22 ตุลาคม 2564 (วนั หยุด ชดเชยวนั ปยิ มหาราช) VDO Lecture
วันพฤหัสบดีท่ี 28 ตุลาคม 2564 (Online) VDO Lecture
13.30 – 15.00 Diabetes in special situation
VDO Lecture
Critical appraisal of scientific papers (2 ช่ัวโมง) Zoom
Sleep disorder (1 ช่ัวโมง)
วนั ศกุ ร์ท่ี 29 ตลุ าคม 2564 (Online)
Ethical aspect of research (2 ชว่ั โมง)
13.30 – 16.00 Case discussion on type 1 diabetes

13

 คมู่ ือนักศึกษา 2564 รปู แบบการสอน อาจารยผ์ สู้ อน

หลักสูตรประกาศนียบัตรผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน รศ.พญ. วราลกั ษณ์ ศรีนนท์ประเสริฐ
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล
พญ.ลักขณา ปรีชาสุข
เวลา หวั ขอ้ ผศ.ดร.พญ.มยุรี หอมสนทิ
วันพฤหัสบดีท่ี 4 พฤศจกิ ายน 2564 (Online)
รศ.นพ.วีรชัย ศรวี ณิชชากร
10.30 – 12.00 Diabetes in elderly ; Discussion Zoom ผศ.นพ.ชัยวฒั น์ วชิรศกั ด์ศิ ริ ิ

13.30 – 15.00 Critical appraisal of scientific papers and Zoom อ.ดร.โสภิตา สวุ ุฒโฑ
Ethical aspect of research ; Discussion
Zoom พญ.เขมรศั มี ขนุ ศกึ เมง็ ราย
วันศกุ รท์ ่ี 5 พฤศจิกายน 2564 (Online) Practice ที่ปรึกษาอาวุโส สปสช.
อาจารยแ์ พทย์แผนไทยประยกุ ต์
11.00 – 12.00 Diabetes prevention and metabolic Practice
syndrome VDO Lecture ผศ.นพ.โรจน์ร่งุ สวุ รรณสุทธิ
ศ.คลินกิ พญ.สุภาวดี ลขิ ิตมาศกุล
13.00 – 16.00 ฝึกปฏบิ ตั ิ DSME / พฒั นาinnovation / ดูงานคลินิก
ศ.คลินิก พญ.สภุ าวดี ลิขติ มาศกลุ
วันพฤหัสบดีท่ี 11 พฤศจิกายน 2564 (Online) พญ.ลักขณา ปรีชาสุข
รศ.พรศรี ศรอี ัษฎาพร
9.00 – 16.00 ฝกึ ปฏบิ ัติ DSME / พัฒนาinnovation / ดูงานคลินิก
พว.กนั ยารตั น์ วงษ์เหมอื น
เทคโนโลยสี ื่อการสอน (1.5 ชั่วโมง) พว.นลินนาฏ ธนบุญสทุ ธิ

วนั ศุกรท์ ี่ 12 พฤศจิกายน 2564 (Online) ศ.คลนิ ิก พญ.สุภาวดี ลขิ ิตมาศกุล
รศ.พรศรี ศรอี ัษฎาพร
10.00 – 12.00 แหลง่ สิทธิประโยชนส์ า้ หรับผเู้ ปน็ เบาหวาน ในไทย Zoom พญ.ลกั ขณา ปรีชาสขุ
พว.ยวุ รตั น์ มว่ งเงนิ
13.00 – 15.00 Benefit and caution of Thai traditional Zoom
medicine in diabetes อ.นพ.อคั รินทร์ นมิ มานนติ ย์
Lecture &
วนั พฤหสั บดที ่ี 18 พฤศจิกายน 2564 (On-site) อาจมีการเปลย่ี นแปลง Discussion
Practice
9.00 – 11.00 Mindfulness Strategy for diabetes educator II

11.00 – 12.00 พฒั นาinnovation / ดงู านคลินกิ

13.00 – 16.00 Workshop: Interactive review of module 1 Workshop
(Body–link, Medication review)

วนั ศกุ รท์ ี่ 19 พฤศจิกายน 2564 (Online) Practice
9.00 – 12.00 ฝกึ ปฏบิ ตั ิ DSME / พัฒนาinnovation / ดงู านคลนิ ิก

13.00 – 15.00 Innovation progression II Zoom

วันพธุ ที่ 24 พฤศจิกายน 2564 (On–site) อาจมกี ารเปลี่ยนแปลง Lecture &
9.00 – 11.00 R2R and influencer Discussion

14

เวลา หัวข้อ รปู แบบการสอน  ค่มู อื นักศึกษา 2564
11.00 – 12.00 หลักการทรงงานพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว Lecture &
Discussion หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล
13.00 – 16.30 Workshop: Role–play I Workshop
อาจารยผ์ ู้สอน
วันพฤหสั บดีที่ 25 พฤศจิกายน 2564 (On–site) อาจมกี ารเปล่ียนแปลง ศ.คลินิก พญ.สภุ าวดี ลขิ ิตมาศกุล

8.30 – 12.00 Workshop: Role–play II Workshop รศ.พรศรี ศรอี ัษฎาพร
ศ.คลนิ กิ พญ.สุภาวดี ลขิ ิตมาศกุล
13.00 – 16.30 Workshop: Role–play III Workshop
รศ.พรศรี ศรอี ัษฎาพร
วันศุกร์ท่ี 26 พฤศจกิ ายน 2564 (On–site) อาจมกี ารเปล่ียนแปลง พญ.ลกั ขณา ปรชี าสุข
9.00 – 12.00 Examination ครังท่ี 3 พว.ยุวรตั น์ ม่วงเงนิ
รศ.ดร.วนั เพญ็ ภญิ โญภาสกุล
13.00 – 15.00 Workshop: Jeopardy Workshop
รศ.นพ.สพุ จน์ พงษป์ ระสบชยั
15.00 – 16.00 การบา้ นกอ่ นปดิ ภาคเรยี นท่ี 1 ศ.คลินิก พญ.สุภาวดี ลขิ ติ มาศกลุ

รศ.พรศรี ศรีอัษฎาพร
พญ.ลักขณา ปรชี าสขุ
พว.ยุวรตั น์ ม่วงเงนิ
ศ.คลินกิ พญ.สภุ าวดี ลิขติ มาศกุล
รศ.พรศรี ศรีอษั ฎาพร
พญ.ลกั ขณา ปรีชาสขุ
พว.ยวุ รตั น์ มว่ งเงนิ

ศ.คลนิ กิ พญ.สภุ าวดี ลขิ ติ มาศกุล
รศ.พรศรี ศรีอัษฎาพร
พญ.ลกั ขณา ปรชี าสุข
พว.อัมพร รอบครบรุ ี
พว.อรณุ ี สิงหชาติ
พว.อมั พร รอบครบรุ ี

หมายเหตุ ตารางเรยี นอาจมีการเปล่ยี นแปลงได้ตามความเหมาะสม

15



 คูม่ ือนักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบตั รผู้ให้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล

แนวทางการฝึกปฏบิ ตั ิ Diabetes Self-management Education and Support (DSMES)
ผ่านกจิ กรรม Workshop: Role-play

 วตั ถุประสงค์

1. เพอื่ ฝึกการประยุกต์ใชค้ วามรู้โรคเบาหวานในการถา่ ยทอดความรู้
2. เพือ่ ฝึกปฏบิ ัติ Diabetes Self-management Education Support (DSMES) ผา่ นกิจกรรม Role-play
3. เพือ่ ฝึกการใช้ Teaching and Listening Skill ผา่ นกิจกรรม Role-play
4. เพอ่ื พฒั นาเจตคติในฐานะผู้ให้ความรู้เบาหวาน

 วิธกี ารจัดการเรยี นการสอน

1. จดั กิจกรรม Role-play จ้านวน 3 ครัง ครังละ 3 - 4 ชวั่ โมง ในภาคการศึกษาท่ี 1

เป็นการฝึกปฏบิ ตั ิ DSMES แบบ Case approach โดยแสดง Role-play เปน็ Diabetes Educator

คนละ 1 ครงั และแสดง Role-play เปน็ คนไขห้ รือญาติ อยา่ งนอ้ ยคนละ 1 ครงั

2. ในกิจกรรมแต่ละครงั จะมีการแสดง Role-play 6 - 7 คู่ (ตามสัดสว่ นจา้ นวนนักศึกษาในแตล่ ะป)ี

1) นกั ศกึ ษาจะไดร้ บั โจทย์ 1 วันก่อนถึงวันกิจกรรม ใหน้ ักศึกษาเตรียมตวั ในการให้ DSMES

2) นักศกึ ษาแสดง Role-play ใชเ้ วลาประมาณ 10 นาที

3) อาจารย์ และเพื่อนนักศึกษาร่วมอภปิ ราย ใช้เวลา 15 - 20 นาที

4) นักศึกษาเขียนรายงานการสะท้อนคดิ (Reflective paper)

ในการแสดงเป็น Diabetes Educator 1 ฉบบั (ตาม Gibbs’ reflective cycle)

และการแสดงเปน็ คนไขห้ รือญาติ 1 ฉบบั (ตามความรสู้ กึ )

 การประเมนิ ผล
คะแนนจากกิจกรรม Role-play คิดเปน็ 20% ของคะแนนทังหมด โดยแบ่งการประเมินเปน็
1. จากการแสดง Role-play เปน็ Diabetes Educator
- พฤติกรรมการให้ความรู้และการสื่อสาร 20%
- ความถกู ตอ้ งเหมาะสมของเนือหา 20%
- ทศั นคติการเปน็ ผใู้ หค้ วามรู้เบาหวาน 20%
- ทกั ษะการฟงั และสรปุ ประเด็นปัญหา 20%
2. การเขยี นรายงาน Reflection 20% (กาหนดสง่ หลงั จากแสดง Role-play 1 สปั ดาห์)

17



 ค่มู อื นักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบัตรผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล

แบบประเมนิ Role-play

19



 คมู่ ือนักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนียบตั รผูใ้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล

แนวทางการเขียนรายงานการสะทอ้ นคดิ ในบทบาท Educator
(Reflective paper)

พญ.ลกั ขณา ปรชี าสขุ
ศูนยเ์ บาหวานศริ ริ าช

การสะทอ้ นคดิ (Reflective thinking) คอื กระบวนการคิดทบทวน และวิเคราะห์ส่ิงต่างๆอย่างรอบคอบ
เป็นวิธีการที่ท้าให้บุคคลได้ทบทวนและสะท้อนการกระท้าของตน ช่วยให้เกิดความเข้าใจและเกิดการเรียนรู้จาก
ประสบการณ์ น้าไปสกู่ ารพฒั นาปรับปรุงตนเอง ปรบั ปรุงงาน และการแก้ปญั หาตา่ งๆได้อยา่ งมีประสทิ ธิภาพมากขนึ

Gibbs’ reflective cycle เป็นกระบวนการท่ีใช้ในการสะท้อนคิด ซ่ึงเสนอไว้ในหนังสือ Learning by
Doing แตง่ โดย Graham Gibbs ในปี ค.ศ. 1988 และได้รับความนิยมอย่างแพร่หลาย เหมาะส้าหรับนักเรียนที่เร่ิม
ฝึกการสะทอ้ นคิดเนื่องจากมกี ารแบง่ ขันตอนอยา่ งชัดเจน ไดแ้ ก่

Reference Gibbs, G. (1988). Learning by Doing: A Guide to Teaching and Learning Methods. Oxford: Oxford Further Education Unit

21

 คมู่ ือนักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนียบตั รผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล

1) Description (การบรรยาย) คือ การบรรยายเหตุการณ์ที่ต้องการสะท้อนคิด ส่ิงส้าคัญคือ ควรบรรยาย
เฉพาะสง่ิ ทจ่ี ้าเปน็ เป็นการบรรยายโดยย่อแต่ควรมีเนือหาที่ส้าคัญครบถ้วน เช่น เหตุการณ์คืออะไร เกิดขึน
ท่ีไหน มีใครเก่ียวข้องบ้าง ท้าไมท่านจึงเข้าไปเก่ียวข้องในเหตุการณ์นัน ท่านท้าอะไรบ้างในเหตุการณ์นัน
และคนอ่ืนๆมีปฏิกิริยาตอบสนองอย่างไร ผลลัพธ์ของเหตุการณ์คืออะไร ในขันตอนนีควรมีเนื้อหาสั้น
กระชบั มากที่สดุ

2) Feeling (ความรู้สึก) คือ ความรู้สึก หรือความนึกคิดท่ีเกิดขึนในขณะเกิดเหตุการณ์นัน หรือภายหลังเกิด
เหตกุ ารณ์ อาจบรรยายเพมิ่ ว่าความรสู้ ึกหรือความคิดนนั มผี ลตอ่ การแสดงออกของท่านหรอื ไม่ อย่างไร

3) Evaluation (การประเมิน) คือ การประเมินว่าอะไรคือข้อดีหรือข้อเสียในเหตุการณ์นัน อะไรคือสิ่งท่ีท่าน
ทา้ ไดด้ ีแล้ว และอะไรยังทา้ ได้ไม่ดี

4) Analysis (การวเิ คราะห์) คือ การวิเคราะห์ว่าท้าไมท่านถึงเกิดความรู้สึกเหล่านันขึน หรือท้าไมท่านยังท้า
ได้ไมด่ ใี นเหตุการณน์ นั ๆ หรือท้าไมทา่ นถงึ ท้าไดด้ ี

5) Conclusion (ข้อสรปุ ) คือ ขอ้ สรุปทท่ี ่านไดจ้ ากเหตุการณท์ ีเ่ กิดขึน สิ่งที่ท่านได้เรียนรู้ หรือสิ่งที่ท่านอยาก
เรียนรูเ้ พม่ิ เตมิ (ไม่ใชข้ ้อสรปุ ในการให้ DSME)

6) Action plan (การวางแผน) คือ การวางแผนว่าหากเกิดเหตุการณ์เช่นเดิมอีก ท่านจะท้าอย่างไร อะไรท่ี

ท่านจะยังท้าเหมือนเดิม และอะไรที่ท่านจะท้าแตกต่างออกไป (ไม่ใช่ Action plan สาหรับผู้ป่วยที่ได้รับ
DSME แตเ่ ปน็ Action plan ของท่านเอง)

22

 คู่มอื นักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนยี บตั รผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล

แนวทางการพัฒนาวิจัยและนวัตกรรม
(Innovation)

1. วตั ถุประสงค์
เพื่อทา้ วจิ ัยด้านเบาหวานทส่ี ง่ เสริมการจดั การตนเองของผ้เู ป็นเบาหวาน หรอื พฒั นาเคร่อื งมอื

อุปกรณ์ รูปแบบ ระบบการให้ความรู้เบาหวาน

2. รปู แบบนวตั กรรม
o การทา้ วจิ ยั ในหัวข้อที่เกี่ยวกับการให้ความรู้เบาหวานหรือพัฒนาทกั ษะการใหค้ วามรู้
o การพฒั นารปู แบบและสื่อการใหค้ วามรู้ หรอื การบริการทีส่ ่งเสรมิ การจดั การตนเองของผู้เป็น
เบาหวาน

3. ขั้นตอนการพัฒนานวัตกรรม
1) กา้ หนดหวั ขอ้ วิจยั หรือ นวตั กรรมทต่ี อ้ งการพฒั นา โดยมาจากปญั หาท่ีพบเจอในงานประจา้
2) ศึกษาขอ้ มูลและทบทวนวรรณกรรมทเ่ี กย่ี วข้อง
3) ปรึกษาอาจารย์ประจ้ากลุ่ม
4) วางโครงรา่ งการพัฒนา
5) ดา้ เนินการจัดท้าวิจัยหรือนวตั กรรม
6) ตรวจสอบคณุ ภาพของเครื่องมอื วิจยั หรอื นวัตกรรมโดยผ้ทู รงคณุ วฒุ ิ (แล้วแต่กรณ)ี
7) การนา้ นวตั กรรมไปทดลองใช้
8) สรปุ เปน็ รายงาน

หมายเหตุ

- ในการท้าวิจัยหรอื พัฒนานวัตกรรมนักศึกษาสามารถท้าเป็นงานกลมุ่ อยา่ งน้อย 3 - 4 คนตอ่ กล่มุ
- ทางหลักสูตรฯ กา้ หนดหัวขอ้ วจิ ยั และนวัตกรรมเบืองตน้ เพ่อื ให้นักศกึ ษาค้นคว้าเพิม่ เติมและนา้ เสนอในคาบ Literature

review ในวนั ที่ 23 กันยายน 2564 ทงั นี นกั ศึกษาสามารถค้นคว้าหวั ข้อวิจยั อ่นื ๆ
ทส่ี นใจเพ่มิ เติมได้
- ใหน้ ักศกึ ษาสง่ หวั ข้อวจิ ยั หรือนวัตกรรมและรายชื่อนักศึกษาในกลมุ่ ใหผ้ ปู้ ระสานงาน
คุณธาวินี ภายในวันที่ 30 กนั ยายน 2564 ทาง e-mail : [email protected]
- คณะกรรมการหลักสตู รจะพิจารณาอาจารย์ทป่ี รึกษาวจิ ัยหรอื นวตั กรรมใหก้ ับนกั ศกึ ษากลุ่มละ 1 ทา่ น
- นกั ศกึ ษาจะตอ้ งจัดสรรเวลาและนดั หมายเพ่อื ปรึกษาอาจารยป์ ระจา้ กลุ่มด้วยตนเอง
(อาจตดิ ตอ่ ผา่ นเลขาหรือเจา้ หนา้ ทป่ี ระจ้าสาขาวิชาหรอื หนว่ ยงาน)
- นักศึกษาต้องนา้ เสนอความก้าวหนา้ การพัฒนานวตั กรรมครง้ั ท่ี 1 ในวันที่ 15 ตุลาคม 2564
และนา้ เสนอครงั้ ที่ 2 ในวันท่ี 19 พฤศจกิ ายน 2564 (กาหนดการนาเสนอแตล่ ะกลุม่ จะแจ้งในภายหลงั )
- นักศึกษาต้องน้าเสนอภาพรวมของการพัฒนานวตั กรรมในภาคการศกึ ษาท่ี 2 ในช่วงเดือนเมษายน 2565

- กา้ หนดส่งรายงานการพัฒนานวตั กรรม ในช่วงเดอื นพฤษภาคม 2565

(การสง่ รายงานช้ากวา่ กาหนด จะถกู หกั คะแนนตามจานวนวนั )

23

 คมู่ อื นักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบตั รผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล

4. ขอบเขตของรายงาน (เมอื่ สินสุดการศกึ ษา)
4.1 การพัฒนานวัตกรรม
1) นักศกึ ษาต้องพฒั นานวัตกรรมอยา่ งน้อยถึงขนั “ด้าเนินการจดั ทา้ นวตั กรรม”
2) องคป์ ระกอบในการเขียนรายงานแบบสมบรูณ์ ประกอบดว้ ย
1) คานา
2) สารบัญ
3) กิตติกรรมประกาศฯ
4) หวั ข้อรายละเอียดรายงานการพฒั นานวตั กรรม ได้แก่
4.1) หลักการ เหตุผล และวัตถปุ ระสงค์ในการพฒั นานวตั กรรม
4.2) การทบทวนวรรณกรรม
4.3) อธบิ ายลกั ษณะของนวตั กรรม
4.4) ขนั ตอนการพัฒนานวัตกรรม
4.5) แนวทางการใชน้ วตั กรรม
4.6) แนวทางในการตรวจสอบคณุ ภาพนวตั กรรม
4.7) ผลส้าเรจ็ ของนวัตกรรมท่ีเกิดขึน
4.8) การประเมินผลการใช้นวตั กรรม
4.9) ผลเบอื งตน้ จากการนา้ นวตั กรรมไปใช้
5) อา้ งอิงและบรรณานุกรม

4.2 งานวิจัย

1) นักศึกษาต้องท้างานวิจยั อยา่ งน้อยถงึ ขนั “เขยี นโครงรา่ งการวิจยั ให้เสรจ็ พรอ้ มสง่ คณะกรรมการ
จรยิ ธรรมการวิจัยในคนฯ”

2) องคป์ ระกอบในการเขยี นรายงานแบบสมบูรณ์ ประกอบด้วย
1) คานา
2) สารบญั
3) กิตตกิ รรมประกาศฯ
4) หวั ข้อรายละเอียดรายงานการ ตามแบบเสนอขอรบั การพิจารณาจากคณะกรรมการ
จรยิ ธรรมการวจิ ยั ในคน คณะแพทยศาสตร์ศริ ิราชพยาบาล download ท่ี
http://www.si.mahidol.ac.th/sirb/#
(ข้อมูลเพ่ือผ้วู ิจัย >> แบบฟอร์ม >> เอกสารยน่ื ขอการรบั รองครงั แรก)
5) ตวั อยา่ งแบบสอบถาม/แนวทางการเกบ็ ข้อมลู (Case record form)
6) อ้างอิงและบรรณานุกรม
7) สรุปผลสา้ เร็จ/ความคบื หน้าของโครงร่างวิจยั

ทงั นี ตอ้ งเขยี นโครงร่างการวิจัยใหเ้ สร็จสนิ พร้อมส่งคณะกรรมการจริยธรรมการวิจัยในคนฯ

24

 คูม่ ือนักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนยี บัตรผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล

ตัวอย่าง
นวัตกรรมและวิจัยของนักศกึ ษาหลักสูตรประกาศนยี บัตรผใู้ ห้ความรเู้ บาหวาน

คณะแพทยศาสตรศ์ ิริราชพยาบาล
ร่นุ ท่ี 1 – 4

25



 คมู่ ือนักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบตั รผูใ้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล

หลักสตู รประกาศนียบตั รผใู้ หค้ วามรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital

รนุ่ ท่ี 5 ปกี ารศึกษา 2564
แบบประเมนิ การนาเสนอนวตั กรรม

ชือ่ นวตั กรรม
ชอ่ื นักศกึ ษา 1.

2.
3.
อาจารย์ผู้ประเมิน

เกณฑก์ ารประเมนิ ดีมาก ดี ปานกลาง พอใช้ ควร
(5) (4) (3) (2) ปรับปรุง
1. ความสา้ คญั และความเปน็ มาของปัญหา
วัตถุประสงค์และเป้าหมายของการพัฒนา (1)
นวตั กรรม หรอื งานวจิ ยั
2. การใช้หลักการ แนวคดิ ทฤษฎี และข้อมลู
ในการพัฒนานวตั กรรม หรอื งานวิจัย
3. กระบวนการพฒั นานวตั กรรม หรืองานวิจัย
4. ความสา้ เร็จของการพฒั นานวัตกรรม
(สื่อ อุปกรณ์ หรอื โครงรา่ งวิจยั )
5. คณุ ภาพของนวัตกรรม การตรวจสอบ และ
การทดลองใช้
6. ประโยชนข์ องนวัตกรรมหรืองานวจิ ยั
7. แนวทางการพฒั นาต่อ

รวมคะแนน (เตม็ 35 คะแนน)

หมายเหตุ
...................................................................................................................................................................................................

27



 คู่มือนักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล

หลักสูตรประกาศนยี บัตรผู้ให้ความรเู้ บาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล
Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital

รนุ่ ท่ี 5 ปีการศกึ ษา 2564
แบบประเมิน รายงานนวัตกรรม

ชอ่ื นวตั กรรม
ช่อื นกั ศึกษา 1.

2.
3.
อาจารย์ผปู้ ระเมนิ

เกณฑ์การประเมนิ ดมี าก ดี ปานกลาง พอใช้ ควร
(5) (4) (3) (2) ปรับปรงุ
1. ความส้าคัญและความเปน็ มาของปัญหา
วัตถปุ ระสงคแ์ ละเป้าหมายของการพฒั นานวัตกรรม (1)
หรอื งานวิจยั
2. หลกั การ แนวคิด ทฤษฎี และข้อมลู ในการ
พัฒนานวัตกรรม หรอื งานวิจยั

3. กระบวนการพัฒนานวตั กรรม หรืองานวจิ ยั

4. ความส้าเร็จของการพฒั นานวัตกรรมหรืองานวิจยั
5. สอื่ หรืออุปกรณน์ วตั กรรมหรือรา่ ’เคร่ืองมอื วจิ ัย
กรณงี านวิจัย
รูปแบบ intervention/Case record form เป็นต้น
6. ประโยชนข์ องนวัตกรรมหรอื งานวจิ ยั
7. การน้าไปใช/้ การพฒั นาต่อ
8. ความสมบูรณข์ องรายงานฯ

รวมคะแนน (เตม็ 40 คะแนน)

หมายเหตุ
...................................................................................................................................................................................................

29



 คู่มอื นักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนยี บตั รผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ริ าชพยาบาล

ภาคเรยี นที่ 2
ปกี ารศึกษา 2564

หมายเหตุ
ตารางสอนภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 แจกกอ่ นเรม่ิ ภาคเรียนท่ี 2 (ประมาณ พ.ย. – ธ.ค.)

31



 ค่มู อื นักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนียบตั รผ้ใู ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล

การฝกึ ปฏิบัติ Diabetes Self-management Education Support (DSMES)

 วตั ถุประสงค์
1. เพอ่ื ฝึกปฏบิ ัติ DSMES แกผ่ เู้ ป็นเบาหวานกลมุ่ ตา่ งๆ
2. เพ่อื แลกเปลยี่ นเรียนรู้ประสบการณ์ฝกึ ปฏิบตั ิ DSMES ระหว่างนักศกึ ษา

 วธิ จี ดั การเรียนการสอน
1. นกั ศึกษาฝึกปฏิบัติ DSMES แก่ผู้เป็นเบาหวานอย่างน้อย 4 ราย โดยต้องมีการติดตามผู้เป็นเบาหวานและ
ฝึกปฏิบัติ DSMES ต่อเน่ืองเป็นเวลาอย่างน้อย 3 - 6 เดือน โดยสามารถฝึกปฏิบัติทังแบบรายบุคคลและ
รายกลุม่ โดยตอ้ งนาเสนอคนละ 4 คร้งั ดงั นี
ครังที่ 1 : เคสกรณีศกึ ษารายที่ 1 โดยเนน้ การควบคุมระดับนา้ ตาล (glycemic control)
ครังที่ 2 : เคสกรณีศึกษารายที่ 2 (เตม็ เคส)
ครังที่ 3 : เคสกรณีศึกษารายที่ 3 (เต็มเคส)
ครงั ที่ 4 : นา้ เสนอผลสรปุ การติดตามผู้เปน็ เบาหวาน 1 ราย (โดยเลอื กจากเคสทีน่ าเสนอในคร้ังที่ 1-3)
(สาหรบั การฝกึ ปฏิบัติ DSMES รายที่ 4 ใหฝ้ ึกปฏิบตั ิโดยไม่ต้องนาเสนอ)
2. นกั ศึกษาเลอื กสถานทีศ่ กึ ษา/ดูงานในคลนิ กิ ให้ความรูผ้ เู้ ปน็ เบาหวาน (โดย CDE) อยา่ งน้อย 3 แหง่ ดังนี
1) คลินกิ ศนู ย์เบาหวานศริ ริ าช
2) การศกึ ษาดงู านการให้ DSMES ภายในโรงพยาบาลศิรริ าชอย่างน้อย 1-2 ครงั ไดแ้ ก่
 หนว่ ยพยาบาลด้านปอ้ งกันโรคและส่งเสรมิ สุขภาพ ตึกผ้ปู ว่ ยนอก ชนั 2
 หน่วยฝากครรภ์และหอผู้ป่วยที่ให้การดูแลผู้เป็นเบาหวานขณะตังครรภ์
 คลินิกเล็บ หนว่ ยผ่าตดั เลก็ ฯ และ คลินกิ SiAI-DRS ตึกผู้ป่วยนอก ชนั 5
 คลินกิ เทา้ เบาหวาน
3) การศึกษาดูงานการให้ DSMES ภายนอกโรงพยาบาลศริ ริ าชอย่างน้อย 1 ครัง ไดแ้ ก่
 ศนู ย์เบาหวานและต่อมไร้ท่อ โรงพยาบาลพญาไท 3 (อายรุ ศาสตร)์
 คลนิ ิกเบาหวาน โรงพยาบาลสงฆ์ (อายุรศาสตร์)
 คลนิ กิ เบาหวาน โรงพยาบาลศิรริ าชปิยมหาราชการุณย์ (อายรุ ศาสตร)์
 ห้องปรึกษาสขุ ภาพ โรงพยาบาลเจรญิ กรงุ ประชารักษ์
 คลนิ กิ เบาหวาน โรงพยาบาลราชวิถี (อายุรศาสตร์)
 คลนิ ิกเบาหวาน โรงพยาบาลกลาง
 คลนิ กิ เบาหวาน โรงพยาบาลวิภาวดี
 คลินิกเบาหวาน โรงพยาบาลสมิติเวช สขุ ุมวทิ

หมายเหตุ การศกึ ษาดงู าน ภายในและภายนอกโรงพยาบาลศริ ริ าช อาจมีการเปล่ยี นแปลงตามความเหมาะสม

33

 คมู่ ือนักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบตั รผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศริ ริ าชพยาบาล

3. นักศกึ ษาเลือกกรณีศึกษาให้มีความหลากหลายเพ่ือประโยชน์ในการเรยี นรู้
4. เลือกเขยี นรายงานกรณีศึกษาฉบบั เต็ม จ้านวน 2 เคส (จากผเู้ ปน็ เบาหวาน 4 ราย)
5. สรุปรายละเอยี ดกรณีศึกษาที่ได้ฝกึ ปฏิบัติ DSMES ทัง 4 เคสในแบบฟอร์มสรุปรายงานกรณีศกึ ษา
6. รายละเอียดการน้าเสนอกรณีศกึ ษา ใช้เวลา 30 นาที/เคส

1) นักศึกษานา้ เสนอกรณีศกึ ษาคนละ 15 นาที
2) อาจารยแ์ ละเพื่อนนักศึกษาให้ feedback 15 นาท/ี เคส
 หวั ข้อกรณศี ึกษา
1. ผเู้ ปน็ เบาหวานชนดิ ท่ี 1 หรือผเู้ ป็นเบาหวานทใี่ ช้ยาอินซลู นิ
2. ผเู้ ป็นเบาหวานชนดิ ท่ี 2 ท่ีใช้ยาเม็ดลดระดับน้าตาลหรือ lifestyle modification
3. Diabetes during pregnancy
4. เบาหวานในผู้สงู อายุ
5. ผู้เปน็ เบาหวานทีม่ ภี าวะแทรกซ้อน เชน่ ไตวาย มแี ผลทเ่ี ท้า มีเบาหวานท่จี อประสาทต

34

 คู่มอื นักศึกษา 2564

หลักสูตรประกาศนียบตั รผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล

 แนวทางการ Approach ผู้ป่วยและสรุปรายงานกรณศี กึ ษา
 การประเมนิ แรกรับและการซักประวัติ
การสอนให้ผู้เป็นเบาหวานเรียนรู้การจัดการตนเองในด้านเบาหวานอย่างมีประสิทธิภาพนัน ผู้สอน

จ้าเป็นต้องรู้รายละเอียดของผู้เป็นเบาหวานทังด้านสุขภาพ ด้านสังคม และด้านอารมณ์ ดังนันการซักประวัติและ
ประเมนิ แรกรบั จงึ ควรประกอบด้วยขอ้ มูลทงั 3 ดา้ น ได้แก่

1. ข้อมูลด้านสุขภาพ เช่น
1.1 ประวัติโรคเบาหวาน เช่น ชนิดของโรคเบาหวาน ระยะเวลาท่ีเป็นโรค ประวัติเบาหวานใน
ครอบครัว ประวตั ิการรักษาท่ีส้าคญั ผลการรักษาท่ผี ่านมา ภาวะแทรกซ้อนทังแบบเฉียบพลัน
และเรอื รงั
1.2 ประวัติโรครว่ มที่ส้าคัญ
1.3 ประวัตสิ ่วนตัวดา้ นสุขภาพ เช่น การสบู บหุ รี่ การดมื่ สรุ า
1.4 ประวัติการจัดการตนเองและประสบการณ์ในการจัดการตนเองด้านเบาหวาน เช่น
การควบคุมอาหาร การเจาะตรวจน้าตาลและการจัดการหลังทราบผลตรวจ การแก้ไขภาวะ
น้าตาลต้่า การจดั การตนเองในภาวะพเิ ศษ เช่น ออกก้าลังกาย หรือการเดินทาง
1.5 การตรวจร่างกายที่ส้าคัญ เช่น ความดันโลหิต ชีพจร ค่าดัชนีมวลกาย การประเมินสภาพ
ทว่ั ไป การตรวจ Complete foot examination

2. ข้อมูลด้านสังคม
2.1 ข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วย เช่น อาชีพ การศึกษา การท้างาน ครอบครัว สิทธิการรักษา ท่ีอยู่
อาศยั
2.2 ข้อมูลเกยี่ วกบั ผ้ดู ูแล เช่น ผู้แลหลกั

3. ขอ้ มูลดา้ นอารมณ์
3.1 สมั ภาษณ์ในหวั ขอ้ ต่อไปนี ความคิด (idea) ความรู้สึก (feeling) ความพร้อมในการท้ากิจวัตร
ประจ้าวัน (function) ความคาดหวัง (expectation) ของผู้ป่วย และน้าข้อมูลไปวิเคราะห์ว่า
ผู้ป่วยอย่ใู นสภาวะอารมณอ์ ย่างไร
3.2 การประเมินคณุ ภาพชวี ติ

 การประเมนิ ปัญหาของผู้ปว่ ย
1. ผู้ป่วยควรควบคุมระดับน้าตาลเข้มงวดมากน้อยเพียงใด พิจารณาจากปัจจัยใดบ้าง และการ
ควบคมุ ระดบั น้าตาลเป็นไปตามเกณฑ์ท่ีเหมาะสมหรอื ไม่ หากไม่เปน็ ไปตามเกณฑ์สาเหตุจากอะไร
2. การควบคุมโรคร่วม เช่น ความดันโลหิต ระดับไขมัน ที่เหมาะสมส้าหรับผู้ป่วยคือระดับใด และ
ควบคมุ ไดต้ ามเกณฑ์หรอื ไม่
3. การจดั การตนเองด้านเบาหวานเหมาะสมหรือไม่ ในกรณีท่ีมีปัญหาด้านพฤติกรรมสุขภาพ ผู้ป่วย
อยู่ในระยะใดของ stage of change
4. ปัญหาหรอื อปุ สรรคของผปู้ ่วยในการจดั การตนเองดา้ นเบาหวานคืออะไร มีสาเหตุเกดิ จากอะไร
5. อืน่ ๆ

35

 คมู่ ือนักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนียบัตรผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล

 แนวทางการชว่ ยเหลอื และแก้ปัญหาสา้ หรบั ผู้ป่วย
วางแผนการให้ความรู้และแก้ปัญหาให้แก่ผู้เป็นเบาหวานอย่างเหมาะสมในผู้เป็นเบาหวานแต่ละราย
(individual plan) ให้ครอบคลุมปัญหาทังหมดของผู้ป่วย โดยอาจเลือกให้ความรู้และแก้ไขปัญหา (problem
solving) ท่ีรบี ด่วนกอ่ น (priority setting) และก้าหนดเปน็ แผนการให้ความรูร้ ะยะสนั และระยะยาว
มีการตงั เปา้ หมายร่วมกันทช่ี ัดเจน (goal setting) โดยอาจแบ่งเปน็ เป้าหมายท่ีควรจะเป็นในแต่ละช่วงเวลา
เพ่ือน้าไปสเู่ ปา้ หมายตามมาตรฐานทางการแพทยอ์ ย่างต่อเน่ือง
ควรน้าความรู้ด้านต่างๆท่ีเรียนมาประยุกต์ใช้ เช่น องค์ความรู้ด้าน psychosocial ทฤษฎีด้านการ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม (stage of change) หลักของ motivation interview ทฤษฎีด้านการเรียนการสอนและ
การใหค้ า้ ปรึกษา
 การติดตามและการประเมนิ ผล

1. มกี ารให้ DSMES อย่างต่อเน่ืองและมีการติดตามผู้ปว่ ยเป็นเวลาอย่างน้อย 3 เดือน โดยความถใ่ี น
การตดิ ตามผู้ปว่ ยขนึ กับความเหมาะสม

2. มีการประเมินว่าผู้ป่วยสามารถปฏิบัติตัวตามแผนท่ีวางไว้ได้หรือไม่ และบรรลุเป้าหมายที่ตังไว้
หรอื ไม่ หากไม่เป็นไปตามเปา้ หมาย ต้องวิเคราะห์ว่าสาเหตุเกิดจากอะไรและจะมีการแก้ไขปัญหา
ต่อไปอย่างไร และควรมีการประเมนิ ให้ครอบคลมุ ทัง 3 ดา้ น ได้แก่
1) Medical outcome เช่น HbA1c, BMI, รอบเอว (ในกรณี overweight หรือ obesity)
และความถ่ีการเกดิ ภาวะแทรกซอ้ นเฉียบพลัน ระดบั ความดนั โลหติ และระดบั ไขมัน
2) Behavior outcome เช่น พฤติกรรมการบริโภคอาหาร การออกก้าลังกาย การใช้ยา
ความถ่ขี องการตรวจ SMBG การมาพบแพทย์ตามนัด การตรวจภาวะแทรกซ้อนประจ้าปี
และอื่นๆ
3) Psychological outcome เช่น การประเมินคุณภาพชีวิต (เครื่องชีวัดคุณภาพชีวิตของ
องคก์ ารอนามยั โลกชุดยอ่ ฉบับภาษาไทย WHOQOL-BREF-THAI), การประเมินความพึง
พอใจตอ่ การจดั การตนเอง

 การประเมนิ ผล
สัดส่วนการใหค้ ะแนน 25% ของคะแนนทงั หมด โดยแบ่งการประเมนิ เป็น
- การนา้ เสนอกรณศี กึ ษา 10%
รวมคะแนนการรว่ มอภปิ รายและให้ข้อเสนอแนะ (participation and contribution)
- การเขยี นรายงาน 15%

36

 คมู่ ือนักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล

แบบฟอร์มสรุปรายละเอียดกรณีศกึ ษา

สามารถดาวนโ์ หลดแบบฟอรม์ ไดจ้ ากระบบ SELECx ของหลักสตู รฯ
37



 คู่มือนักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตร์ศิรริ าชพยาบาล

หลักสตู รประกาศนียบัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล
Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital

รุ่นที่ 5 ปีการศึกษา 2564
แบบประเมิน การนาเสนอกรณศี กึ ษา

ชอื่ นักศกึ ษา  1 (Glycemic control)  2  3  follow-up
กรณีศกึ ษา รายที่
วันที่
อาจารย์ผ้ปู ระเมนิ

เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ผลการประเมนิ (คะแนน) ควรปรับปรงุ
(5) ดี ปานกลาง พอใช้ (1)
1. เนอื หา (10 คะแนน) (4) (3) (2)
1.1 สรปุ ความเจบ็ ปว่ ยและการรกั ษา
1.2 การประเมนิ ผปู้ ว่ ยก่อนให้ DSMES

2. การวิเคราะห์ประเดน็ ปญั หา (20 คะแนน)
- การสรปุ ประเด็นปญั หาของผปู้ ่วย
- การวางแผนแกป้ ัญหา
- goal setting , short term, long term
- เทคนคิ การให้ความรู้/การปรับเปล่ียนพฤติกรรม
stage of change
3. สรปุ ผลลพั ธ์การดแู ลตนเองของผูป้ ว่ ย (5 คะแนน)

4. การเปิดประเด็นอภปิ ราย / ตอบข้อซกั ถาม
(5 คะแนน)
5. ความสามารถในการสรปุ ประเดน็ สา้ คญั ของการ
อภิปราย (5 คะแนน)
6. ทักษะและการใชเ้ วลาในการน้าเสนอ (5 คะแนน)

คะแนนรวม 50 คะแนน

คะแนนรวมทไี่ ด้ .................................... คะแนน

หมายเหต.ุ .........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................................

39



 คูม่ ือนักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ิรริ าชพยาบาล

หลักสูตรประกาศนยี บัตรผู้ให้ความรู้เบาหวาน คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
Certified Diabetes Educator Program, Faculty of Medicine Siriraj Hospital

รุ่นท่ี 5 ปกี ารศกึ ษา 2564
แบบประเมิน รายงานกรณศี ึกษา (2 ราย)

ช่อื -สกลุ นกั ศึกษา เลขท่ี
อาจารยผ์ ู้ประเมิน

เกณฑ์การประเมิน ดีมาก ผลการประเมนิ (คะแนน) ควรปรับปรุง
(5) (1)
1. สรปุ รายละเอยี ดกรณีศกึ ษา 4 ราย จากแบบฟอรม์ ดี ปานกลาง พอใช้
รายละเอียดกรณีศกึ ษา (10 คแนน) (4) (3) (2)
2. กรณีศึกษา 2 ราย (10 คะแนน)

2.1 สรปุ ความเจบ็ ปว่ ยและการรักษา
2.2 การประเมนิ ผู้ป่วยกอ่ นให้ DSMES
3. การวเิ คราะห์ประเดน็ ปญั หา (20 คะแนน)
- การสรปุ ประเด็นปัญหาของผปู้ ่วย
- การวางแผนแก้ปญั หา
- goal setting , short term, long term
- เทคนิคการใหค้ วามรู้/การปรบั เปล่ยี นพฤตกิ รรม stage of
change

3. การติดตาม (20 คะแนน)
3.1 ช่วงระยะเวลาในการติดตาม
(อย่างนอ้ ย 3 เดือน)
3.2 ผลการติดตามด้าน Medical outcome
(HbA1c BMI รอบเอว ฯลฯ)
3.3 ผลการตดิ ตามดา้ น Behavior outcome
(พฤตกิ รรมการบรโิ ภคอาหาร การออกก้าลงั กาย ฯลฯ)
3.4 ผลการติดตามดา้ น Psychological outcome
(การประเมนิ คุณภาพชวี ิต)

คะแนนรวม 60 คะแนน

คะแนนรวมทไ่ี ด้ .................................... คะแนน
หมายเหต.ุ .................................................................................................................................................................................

41



 ค่มู ือนักศึกษา 2564

หลกั สูตรประกาศนยี บัตรผใู้ ห้ความรู้เบาหวาน
คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล

ภาคผนวก

43


Click to View FlipBook Version