The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ + การจัดเรียงอิเล็กตรอน แบบอธิบาย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by raykungz1918, 2022-01-07 23:14:23

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ + การจัดเรียงอิเล็กตรอน แบบอธิบาย

สัญลักษณ์นิวเคลียร์ + การจัดเรียงอิเล็กตรอน แบบอธิบาย

เคมที ว่ั ไปและการวเิ คราะห์

รหสั วิชา 30601 - 1001

ผูส้ อน นางสาวจณิ ฏวมิ ล บวั แกว้
แผนกวชิ าสามญั สมั พนั ธ ์

วทิ ยาลยั ประมงตณิ สูลานนท ์

หน่วยท่ี 1 โครงสร้างอะตอมและการจดั เรียงอเิ ล็กตรอน

สัญลักษณน์ ิวเคลยี ร์ เลขอะตอม เลขมวล

สัญลกั ษณ์นิวเคลยี ร์

เป็นสญั ลกั ษณของธาตุที่แสดง
จานวนโปรตอนและนิวตรอนท่ีเป็ น
องคป์ ระกอบในนิวเคลียสของธาตุ

เลขอะตอม (Atomic number) เลขมวล (Mass number)

ตวั เลขที่แสดงถึงผลรวมจานวน ตวั เลขท่ีแสดงถึงผลรวมของ
โปรตอนในอะตอมของธาตุ ซ่ึงมีค่า จานวนโปรตอนกบั นิวตรอน
เท่ากบั จานวนอิเลก็ ตรอน บางคร้ัง บางคร้ังใชส้ ญั ลกั ษณ์ A
ใชส้ ญั ลกั ษณ์ Z

เลขอะตอม(Z) = จำนวนโปรตอน(p) = จำนวนอเิ ล็กตรอน(e-) A = Z + n (จำนวนนวิ ตรอน)

126 3175 13576

เลขมวล = 12 เลขมวล = 35 เลขมวล = 137
เลขอะตอม = 6 เลขอะตอม = 17 เลขอะตอม = 56
จะไดว้ า่ p = 6, e = 6, n = 6 จะไดว้ า่ p = 17, e = 17, n = 18 จะไดว้ า่ p = 56, e = 56, n = 81

168 4180 7310

เลขมวล = 16 เลขมวล = 40 เลขมวล = 70
เลขอะตอม = 8 เลขอะตอม = 18 เลขอะตอม = 31
จะไดว้ า่ p = 8, e = 10, n = 8 จะไดว้ า่ p = 31, e = 31, n = 39
จะไดว้ า่ p = 18, e = 18, n = 22

3157 - 2400 2+

เลขมวล = 35 เลขมวล = 40
เลขอะตอม = 17 เลขอะตอม = 20

คลอรีน -1 หมายถึง มีอิเลก็ ตรอนมากกวา่ โปรตอน 1 อนุภาค แคลเซียม +2 หมายถึง มีอิเลก็ ตรอนนอ้ ยกวา่ โปรตอน 2 อนุภาค
อิเลก็ ตรอน = 20 - 2 = 18 อนุภาค
อิเลก็ ตรอน = 17 +1 = 18 อนุภาค และนิวตรอน = 40 - 20 = 20 อนุภาค

และนิวตรอน = 35 - 17 = 18 อนุภาค จะไดว้ า่ p = 20, e = 18, n = 20

จะไดว้ า่ p = 17, e = 18, n = 18

13535 + 147 3-

เลขมวล = 133 เลขมวล = 14
เลขอะตอม = 55 เลขอะตอม = 7

ซีเซียม +1 หมายถึง มีอิเลก็ ตรอนนอ้ ยกวา่ โปรตอน 1 อนุภาค ไนโตรเจน -3 หมายถึง มีอิเลก็ ตรอนมากกวา่ โปรตอน 3 อนุภาค
อิเลก็ ตรอน = 55 - 1 = 54 อนุภาค อิเลก็ ตรอน = 7 + 3 = 10 อนุภาค
และนิวตรอน = 133 - 55 = 78 อนุภาค และนิวตรอน = 14 - 7 = 7 อนุภาค

จะไดว้ า่ p = 55, e = 54, n = 78 จะไดว้ า่ p = 7, e = 10, n = 7

การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุบางชนิด

การจัดอเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานหลกั (Shell /Energy level)
จากการศึกษาแบบจาลองอะตอมของโบร์ ทาใหท้ ราบวา่ การจดั อิเลก็ ตรอนในระดบั พลงั งาน

ตา่ งๆ ดงั จนา้ี นวนอิเลก็ ตรอนในแต่ละระดบั พลงั งานหลกั มีจานวนไม่เกิน 2n2 เม่ือ n
คือระดบั พลงั งานหลกั ที่ 1 , 2 , 3 , . . .n
ระดบั พลงั งานหลกั K n = 1 มีอิเลก็ ตรอนไม่เกิน 2 อิเลก็ ตรอน
ระดบั พลงั งานหลกั L n = 2 มีอิเลก็ ตรอนไม่เกิน 8 อิเลก็ ตรอน
ระดบั พลงั งานหลกั M n = 3 มีอิเลก็ ตรอนไม่เกิน 18 อิเลก็ ตรอน
ระดบั พลงั งานหลกั N n = 4 มีอิเลก็ ตรอนไม่เกิน 32 อิเลก็ ตรอน
ระดบั พลงั งานหลกั O n = 6 มีอิเลก็ ตรอนไม่เกิน 72 อิเลก็ ตรอน
ระดบั พลงั งานหลกั Q n =7 มีอิเลก็ ตรอนไม่เกิน 98 อิเลก็ ตรอน

เวเลนซ์อเิ ลก็ ตรอน คือ จานวนอิเลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานนอกสุดหรือสูงสุด ของแตล่ ะธาตุจะมีอิเลก็ ตรอนไม่เกิน 8

ตาราง แสดงการจดั อเิ ลก็ ตรอนในระดบั พลงั งานหลกั

ธำตุ เลข จำนวนอเิ ลก็ ตรอน ในระดับ แสดงกำรจดั ใน ธำตุ เลข จำนวนอเิ ลก็ ตรอน ในระดับ แสดงกำรจัด
อะตอม พลงั งำน ระดับพลังงำน อะตอม พลงั งำน ในระดบั

K(n=1) L(n=2) M(n= N(n หลัก K(n=1) L(n=2) M(n= N(n พลังงำนหลัก
3) =4) 3) =4)

H1 1 1 Na 11 2 81 2, 8, 1

He 2 2 2 Mg 12 2 82 2, 8, 2

Li 3 2 1 2, 1 Al 13 2 8 3 2, 8, 3

Be 4 2 2 2, 2 Si 14 2 8 4 2, 8, 4

B5 2 3 2, 3 P 15 2 8 5 2, 8, 5

C6 2 4 2, 4 S 16 2 8 6 2, 8, 6

N7 2 5 2, 5 Cl 17 2 8 7 2, 8, 7

O8 2 6 2, 6 Ar 18 2 8 8 2, 8, 8

F9 2 7 2, 7 K 19 2 8 8 1 2, 8, 8, 1

Ne 10 2 8 2, 8 Ca 20 2 8 8 2 2, 8, 8, 2

หมายเหตุ : 1. ธาตุท่ี 24 (Cr) , 29 (Cu) , 41 ถึง 45 , 47 , 78 , 110 , 111 ข้นั
ท่ี 3ตอ้ งลบดว้ ย 1 ไม่ใช่ 2, ธาตุที่ 46 (Pd) ข้นั ท่ี 3ตอ้ งลบดว้ ย 0 ไม่ใช่ 2

2. หลกั เกณฑท์ ้งั หมดน้ีไม่สามารถใชไ้ ดก้ บั ธาตุแทรนซิชนั ใน
(แลนทาไนด,์ แอกทิไนท)์

3. ในข้นั ท่ี 3หากเกิดเหตุการณ์ผลลบสุดทา้ ยเหลือเกิน 10 แลว้ ไม่
สามารถลบข้นั ต่อไปไดน้ ้นั จะบอกไดท้ นั ทีวา่ ธาตุน้นั เป็นธาตุแทรนซิชนั

ตัวอย่างที่ 1 จงจัดเรียงอเิ ลก็ ตรอนของ 82Pb
วธิ ีทา

ข้ัน 1. 82 – 2 – 8 – 18 – 32 – 18 เหลือ 4 ลบดว้ ย 32 ไม่ไดใ้ ห้
ลบดว้ ย 18 เหลือ 4
ลบดว้ ย 2 ลบดว้ ย 18 ลบดว้ ย 32
เหลือ 80 ลบดว้ ย 8 เหลือ 54 เหลือ22

เหลือ 72

ข้นั 2. เหลือ 3 ( ไม่เกิน 10 ) นาตวั เลขที่ใชล้ บและท่ีเหลือสุดทา้ ยมาเรียงเป็นคาตอบ
คาตอบ 82Pbจดั เรียงอิเลก็ ตรอนเป็น 2 , 8 , 18 , 32 , 18 , 4

ตวั อย่างท่ี 2 จงจดั เรียงอเิ ลก็ ตรอนของ 38Sr
วธิ ีทา

ข้นั 1. 38 – 2 – 8 – 18 เหลือ 10

ลบดว้ ย 2 ลบดว้ ย 8 ลบดว้ ย 18
เหลือ 36 เหลือ 28 เหลือ 10

ข้นั 2. เหลือ 10 ใหแ้ บ่ง 10 น้นั ออกเป็น 8 , 2 แลว้ นาไปต่อตวั เลขที่ใชล้ บ
คาตอบ 38Sr จดั เรียงอิเลก็ ตรอนเป็น 2 , 8 , 18 , 8 , 2

การจดั เรียงอิเล็กตรอนระดับพลังงานย่อย

ในระดบั พลงั งานหลกั (n) ยงั ประกอบด้วยระดบั พลงั งานย่อยหรือเรียกว่า ซับ
เซลล์ (sub-levels หรือ sub-shells) โดยกาหนดเป็ นสัญลกั ษณ์คือ s p d และ f

ระดับพลงั งานย่อย s มีอเิ ลก็ ตรอนได้ไม่เกนิ 2 อเิ ลก็ ตรอน มี 1 ออร์บทิ ลั
ระดับพลงั งานย่อย p มอี เิ ลก็ ตรอนได้ไม่เกนิ 6 อเิ ลก็ ตรอน มี 3 ออร์บิทัล
ระดบั พลงั งานย่อย d มีอเิ ลก็ ตรอนได้ไม่เกนิ 10 อเิ ลก็ ตรอน มี 5 ออร์บทิ ัล
ระดับพลงั งานย่อย f มอี เิ ลก็ ตรอนได้ไม่เกนิ 14 อเิ ลก็ ตรอน มี 7 ออร์บทิ ัล

3) กฎของฮุนด์ (Hund’s rule) กล่าวว่า “การบรรจุอเิ ลก็ ตรอนในออร์บทิ ัลที่มีระดบั พลงั งาน
เท่ากนั (degenerate orbital) จะบรรจุในลกั ษณะทที่ าาให้มอี เิ ลก็ ตรอนเดย่ี วมากทส่ี ุดเท่าทจ่ี ะ
มากได้” ออร์บิทลั ทม่ี รี ะดบั พลงั งานมากกว่า 1 เช่น ออร์บทิ ลั p และ d เป็ นต้น

subshell s pd f
orbital 1 35 7

ตวั อย่าง


Click to View FlipBook Version