เคมที ว่ั ไปและการวเิ คราะห์
รหสั วิชา 30601 - 1001
ผูส้ อน นางสาวจณิ ฏวมิ ล บวั แกว้
แผนกวชิ าสามญั สมั พนั ธ ์
วทิ ยาลยั ประมงตณิ สูลานนท ์
ตารางธาตุ
วิวฒั นาการของตารางธาตุ ตารางธาตุ
ปัจจบุ นั
โยฮนั น์ เดอเบอไรเนอร์ ธาตุ Representative ธาตุทรานซชิ นั ธาตุทรานซชิ นั ชนั้ นน
element แลนทาไนด์ แอคทไิ นด์
จอหน์ นิวแลนดส์ การจดั เรียง เวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอน
อิเลก็ ตรอน
เมนเดเลเอฟและไม หมู่
เออร์ จานวนระดบั พลงั งาน
เฮนรี โมสลยี ์ คาบ
โลหะ อโลหะ ก่ึงโลหะ
The Farther of peridic Table
โยฮนั น์ เดอเบอไรเนอร์ จอหน์ นิวแลนดส์ เมนเดเลเอฟและไมเออร์ เฮนรี โมสลีย์
เป็นนกั เคมคี นแรกท่ี ไดเ้ สนอกฎนนการ ไดจ้ ดั ธาตุโดยเรียงตาม ไดเ้ สนอนหจ้ ดั เรยี งธาตุ
พยายามจดั ธาตุเป็น จดั เรยี งธาตุเป็น มวลอะตอมจากน้อยไป ตามเลขอะตอม เน่ืองจาก
กลุม่ ๆ ละ 3 ธาตุ หมวดหมวู่ า่ “ถ้าเรียง มากโดยพบวา่ ธาตุมี สมบตั ติ า่ งๆ ของธาตุมี
ตามสมบตั ทิ ่ี ธาตตุ ามมวลอะตอม สมบตั คิ ลา้ ยกนั เป็นช่วงๆ ความสมั พนั ธก์ บั ประจุ
คลา้ ยคลงึ กนั เรยี กวา่ จากน้อยไปหามาก เมนเดเลเอฟจงึ ตงั้ กฎท่ี บวกนนนิวเคลยี สหรอื เลข
“ชดุ สาม” โดยพบวา่ พบว่าธาตทุ ี่ 8 จะมี เรยี กวา่ กฏพิริออ อะตอมมากกวา่ มวล
ธาตุกลางจะมมี วล สมบตั ิเหมอื นกบั ดิก และเรยี กตารางธาตุ อะตอม ดงั นนั้ ตารางธาตุ
อะตอมเป็นคา่ เฉลย่ี ธาตทุ ี1่ เสมอ” (ไม่ วา่ ตารางพิริออดิกของ ปัจจบุ นั จึงจดั เรียงตาม
ของมวลอะตอมของ รวมธาตุไฮโดรเจนและ เมนเดเลเอฟ เลขอะตอมจากน้อยไป
อกี สองธาตุทเ่ี หลอื แก๊สเฉ่อื ย) มาก
ธาตุทรานซิชัน หรือธาตุหมู่ B ธาตุหมู่หลกั หรือ
ธาตุหมู่ A
ธาตุอนิ เนอร์ทรานซิชัน
การจดั หมวดหมใู่ นตารางธาตุ
1. ธาตรุ ีเพรเซนเททีฟหรือธาตุหมู่ A มีทงั้ หมด 8 หมู่ (ตง้ั แต่ IA-VIII A) 7 คาบ โดยธาตุทีอ่ ยดู่ ้านซ้ายของ
เสน้ ขัน้ บันได จะเป็นโลหะ (Metal) สว่ นทางดา้ นขวาเปน็ อโลหะ(Non metal) สว่ นธาตุท่ีอยตู่ ิดกับเสน้ ขัน้ บนั ไดน้ัน
จะเปน็ กง่ึ โลหะ (Metalloid)
2. ธาตุทรานซิชนั หรอื ธาตหุ มู่ B มีท้งั หมด 8 หมู่ (ตั้งแต่ I B-VIII B) แตห่ มู่ 8 มีทง้ั หมด 3 หมู่ย่อย จึงมี
ธาตตุ า่ งๆ รวม 10 หมู่ และมีทง้ั หมด 4 คาบ
3. ธาตุอินเนอรท์ รานซิชนั มี 2 คาบโดยมชี อ่ื เฉพาะเรียกคาบแรกว่า คาบแลนทาไนด์ (Lanthanide
series) และเรียกคาบที่สองวา่ คาบแอกทิไนด์ (Actinide series) เพราะเป็นคาบที่อยู่ต่อมาจาก 57La
(Lanthanum) และ 89Ac (Actinium) ตามลาดับ คาบละ 14 ตัวรวมเปน็ 28 ตวั
โลหะอ่อน ก๊าซมีตระกูล
(Noble Gas)
ก่ึงโลหะ(Metalloid)
อโลหะ
(Non-Metal)
หม่โู ลหะแทรนซชิ นั (Transition)
แลนทาไนด์ (Lanthanide)
แอกทิไนด์ (Actinide)
ประเภทของธาตุในตารางธาตุ
- ธาตโุ ลหะ (metal) โลหะทรานซิชันเปน็ ตน้ ฉบบั ของโลหะ ธาตโุ ลหะเป็นธาตุท่มี สี ถานะเป็น
ของแขง็ (ยกเว้นปรอท ทเ่ี ปน็ ของเหลว) มผี วิ ที่มนั วาว นาความรอ้ น และไฟฟา้ ไดด้ ี มีจุดเดือด
และจุดหลอมเหลวสูง (ชว่ งอุณหภมู ริ ะหว่างจดุ หลอมเหลวกับจุดเดือดจะตา่ งกนั มาก) ไดแ้ ก่
โซเดียม(Na) เหล็ก(Fe) แคลเซียม(Ca) ปรอท(Hg) อะลูมเิ นียม(Al) แมกนีเซียม(Mg) สงั กะสี(Zn)
ดีบกุ (Sn) เปน็ ต้น
- ธาตุอโลหะ (Non metal) มไี ด้ทง้ั สามสถานะ สมบตั สิ ่วนใหญ่จะตรงข้ามกับโลหะ เชน่ ผิวไม่
มันวาว ไมน่ าไฟฟา้ ไมน่ าความร้อน จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวต่า เปน็ ตน้ ได้แก่ คาร์บอน(C)
ฟอสฟอรัส(P) กามะถัน(S) โบรมีน(Br) ออกซิเจน(O2) คลอรีน(Cl2) ฟลูออรีน(F2) เปน็ ตน้
- ธาตกุ ึ่งโลหะ (metalloid) เปน็ ธาตุกงึ่ ตัวนาคือ มนั จะสามารถนาไฟฟา้ ได้เฉพาะในภาวะหน่งึ
เท่านั้น ธาตุกงึ่ โลหะเหล่าน้ีจะอยบู่ รเิ วณเสน้ ข้ันบนั ได ไดแ้ ก่ โบรอน(B) ซิลคิ อน(Si) เป็นตน้
- ธาตกุ มั มนั ตรังสี ธาตทุ ี่นวิ เคลียสของอะตอมแผ่รงั สีออกมาอย่างต่อเน่ืองตลอดเวลา ซึง่ เรยี กวา่
กมั มนั ตภาพรังสี (Radioactivity) และธาตนุ ัน้ จะกลายเปน็ ธาตุใหม่ จนในทีส่ ดุ ไดอ้ ะตอมที่
เสถียร ซงึ่ สว่ นใหญ่เปน็ ธาตุท่ีมีเลขอะตอมมากกวา่ 83 เช่น U-238 Th-232 Rn-222
แบง่ ตามหมู่ในตารางธาตุ
ตารางธาตุ แบ่งธาตใุ นแนวตั้ง (หม)ู่ แบ่งออกเป็น 18 แถว โดยธาตทุ งั้ หมด 18
แถว แบ่งเป็น 2 กลมุ่ ใหญ่ คือ
– กลมุ่ A มี 8 หมู่คอื IA ถงึ VIIIA
– กล่มุ B มี 8 หม่คู ือ IB ถึง VIIIB เรยี กวา่ ธาตแุ ทรนซิชัน
(Transition)โดย
ธาตุหมู่ท่ี IA เรยี กว่า “โลหะแอลคาไลน”์ ไดแ้ ก่ Li Na K Rb Cs และ Fr
ธาตหุ มูท่ ี่ IIA เรยี กว่า “โลหะอลั คาไลน์ เอริ ์ท” ได้แก่ Be Mg Ca Sr Ba และ Ra
ธาตุหมู่ท่ี VIIA เรยี กวา่ “ธาตเุ ฮโลเจน (Halogen)” ไดแ้ ก่ F Cl Br I และ At
ธาตหุ มทู่ ่ี VIIIA เรียกว่า “ก๊าซเฉอ่ื ย (Inert gas or Noble gas)” ไดแ้ ก่ He Ne Ar
Kr Xe และ Rn
แบ่งตามคาบในตารางธาตุ
ตารางธาตใุ นแนวนอนเรียกว่า “คาบ” แบง่ ได้ 7 คาบ
คาบท่ี 1 ไดแ้ ก่ H , He
คาบท่ี 2 ไดแ้ ก่ Li , Be , B , C , N , O , F และ Ne
คาบท่ี 3 ไดแ้ ก่ Na , Mg , Al , Si , P , S , Cl และ Ar
คาบท่ี 4 ไดแ้ ก่ K ถงึ Kr
คาบท่ี 5 ไดแ้ ก่ Rb ถงึ Xe
คาบท่ี 6 แบ่งธาตุเป็น 2 กลุ่ม
– กลมุ่ แรกมี 18 ธาตุ คอื Cs ถงึ Rn
– กลมุ่ ทส่ี องมี 14 ธาตุ คอื Ce ถงึ Lu เรยี กกลุม่ น้ีวา่ Lantanides
คาบท่ี 7 แบ่งเป็น 2 กลุ่ม
– กลุ่มแรกเรม่ิ จาก Fr เป็นตน้ ไปและมกี ารคน้ พบเกดิ ขน้ึ ตลอดเวลา
– กลุ่มสองมี 14 ธาตุคอื Th ถงึ Lr เรยี งกลุม่ น้ีวา่ Actinides
สมบัตทิ างเคมขี องตารางธาตุตามหมู่
สมบัติทางเคมขี องธาตหุ มู่ IA
Li Na K Rb Cs และ Fr
มสี มบัติเปน็ โลหะซ่งึ มีคุณสมบตั วิ อ่ งไวในการผสมธาตมุ าก ธาตุหมู่ I เรยี กว่า alkalai
metal Potassium
สมบตั ิของธาตหุ มู่ IA (K)
1. มเี วเลนสอ์ เิ ล็กตรอนเทา่ กับ 1
2. มีเลขออกซิเดชัน +1
3. ทาปฏิกริ ิยาไดด้ มี าก และมคี วามวอ่ งไวในการเกดิ ปฏกิ ริ ยิ ามากกว่าหมู่IIA จึงไม่พบ
โลหะหมู่ I ในธรรมชาติ แตจ่ ะพบในสารประกอบ สารประกอบทุกตัวเป็นพันธะไอออนกิ
4. สารประกอบของโลหะหมู่ I ละลายน้าได้ทุกตัว
5. ทาปฏกิ ริ ิยารนุ แรงกับน้า ไดด้ ้างและแกส๊ H2
6. ความหนาแนน่ ต่า ลอยนา้ ได้ จุดเดอื ด จุดหลอมเหลว ไม่สงู นัก
สมบัติทางเคมขี องธาตุหมู่ IIA
Be Mg Ca Sr Ba และ Ra
เปน็ ธาตุโลหะ มีอิเล็กตรอนวงนอกสดุ 2 ตัว ธาตุท่ี
วอ่ งไวทีส่ ดุ ในหม่นู ้ี คอื เรเดียม (Ra)
สมบตั ิของธาตุหมู่ IIA Magnesium
1. มีเวเลนสอ์ เิ ล็กตรอนเทา่ กับ 2 (Mg)
2. มเี ลขออกซิเดชัน +2
3.ทาปฏกิ ริ ยิ าไดด้ ี พบโลหะหมู่ II ในธรรมชาตแิ ละพบในรปู สารประกอบ
สารประกอบส่วนใหญ่เป็นพันธะไอออนิก ยกเวน้ Be
4. สารประกอบของโลหะหมู่ II ส่วนใหญ่ ละลายนา้ ไดด้ ี แตจ่ ะไม่ละลาย
น้าถ้าเปน็ สารประกอบของ CO32- SO42- PO43- ยกเว้น MgSO4
5. ทาปฏกิ ิรยิ ากับนา้ ไดด้ า่ งและแกส๊ H2
สมบตั ทิ างเคมขี องธาตหุ มู่ IIIA
B Al Ga In และ Tl
จะเริ่มประกอบด้วยโลหะและอโลหะ มอี เิ ล็กตรอนวงนอกสุด 3 ตัว Aluminium
(Al)
สมบัตทิ างเคมีของธาตุหมู่ IVA
C Si Ge Sn และ Pb
มีอเิ ลก็ ตรอนวงนอกสดุ 4 ตวั Silicon
สมบัติทางเคมขี องธาตหุ มู่ VA (Si)
N P As Sb และ Bi Phosphorus
(P)
ในตอนต้น ๆ เช่น ไนโตรเจน(N) และฟอสฟอรัส(P) จะเป็นอโลหะสว่ น
ธาตุถดั มา เช่น สารหนู(As) และอนั ตโิ นม(ี Sb) จะแสดงคณุ สมบัติระหว่างโลหะ
และอโลหะก้ากึง่ กัน ลกั ษณะเช่นนีเ้ รียกวา่ มสี มบัติเป็น metalloid
สมบตั ิทางเคมีของธาตหุ มู่ VIA
O S Se Te และ Po
ตอนตน้ หม่จู ะมธี าตุทม่ี สี มบัตเิ ปน็ อโลหะ แลว้ คอ่ ย ๆ เปน็
โลหะ
สมบตั ิของธาตุหมู่ VIA Sulfur
1. มีเวเลนส์อิเลก็ ตรอนเทา่ กบั 6 (S)
2. มเี ลขออกซเิ ดชนั ไดห้ ลายค่า ต้ังแต่ -2 ถึง+6
3. จุดเดอื ด จดุ หลอมเหลวสูงมากเมอื่ เทยี บกบั หมู่VII สว่ นใหญ่เป็น
สารประกอบประเภทโครงรา่ งตาขา่ ย
Selenium (Se)
สมบตั ทิ างเคมีของธาตหุ มู่ VIIA
F Cl I Br และ At
มีชื่อเรยี กวา่ Halogen group ธาตุหมนู่ ีเ้ ปน็ อโลหะ ท่วี อ่ งไวในการ
ผสมธาตุมาก Fluorine
(Fe)
สมบัตขิ องธาตหุ มู่ VIIA
1. มีเวเลนส์อิเลก็ ตรอนเท่ากับ 7
2. มเี ลขออกซิเดชนั ไดห้ ลายค่า ต้ังแต่ -1 ถึง +7
3. เปน็ ธาตหุ มู่เดยี วท1ี่ โมเลกลุ มี 2 อะตอมเรียกวา่ Diatomic Molecule
4. พบเป็นธาตุอิสระในธรรมชาติ และพบในรปู ของสารประกอบไอออนกิ และ
โคเวเลนต์
5. สารประกอบของหมู่ VII สว่ นใหญ่ละลายน้าไดด้ ี
ยกเว้นเป็นสารประกอบของ Ag Hg Pb Chlorine gas (Cl)
6. เปน็ อโลหะทม่ี คี วามว่องไวในการเกดิ ปฏกิ ิริยามากทีส่ ดุ
สมบัติทางเคมีของธาตุหมู่ VIIIA
He , Ne , Ar , Kr , Xe และ Rn
จดั เปน็ ธาตุ Inert gas (แก๊สเฉ่ือย) จึงไม่ค่อยท้าปฏกิ ิรยิ ากบั ธาตอุ ื่น เพราะมี
อิเลก็ ตรอนวงนอกสุดเท่ากบั 8
สมบัติของธาตหุ มู่ VIIIA
1. มีเวเลนสอ์ เิ ลก็ ตรอนเท่ากับ 8 ยกเวน้ He มเี ทา่ กบั 2
2. เฉอื่ ยชาตอ่ การเกดิ ปฏิกิรยิ ามาก แต่สามารถสังเคราะหไ์ ด้
3. มีค่า IE (Ionization Energy) สงู สดุ ในตาราง และ He มี
ค่า IE สงู ที่สุดในตารางธาตุ
4. เป็นธาตุเดยี วทีไ่ มม่ ีค่า EN
สมบตั ทิ างเคมีของธาตทุ รานซิชัน
1. เป็นโลหะ มีความแข็ง แวววาว สามารถตีเปน็ แผน่ ได้ แตม่ ี ความเป็น
โลหะน้อยกวา่ IA และ IIA
2. แขง็ มจี ุดเดอื ด จุดหลอมเหลว และความหนาแนน่ สูงกวา่ ธาตหุ มู่ IA
และ IIA
3. น้าความรอ้ นและไฟฟ้าไดด้ ี
4. มสี มบตั ิคลา้ ยกนั ทัง้ ภายในหม่แู ละภายในคาบเดยี วกนั
Zinc (Zn) Cobalt (Co) Copper (Cu)
สมบัติทางเคมขี องธาตุทรานซชิ ัน(ต่อ)
5. มเี ลขออกซิเดชันหลายคา่ เชน่ Fe มีเลขออกซเิ ดชนั +2, +3 Cr มีเลข
ออกซเิ ดชัน +6, +3, +2
ยกเวน้ หมู่ IIB และ IIIB มเี ลขออกซิเดชนั +2 และ +3 ตามลา้ ดบั
6. ไอออนและสารประกอบของธาตแุ ทรนซชิ นั มสี ี
7. ขนาดอะตอมในคาบเดยี วกนั จะเลก็ ลงจากซา้ ยไปขวาเลก็ น้อย และ
ขนาดอะตอมเล็กกว่าธาตุหมู่ IA และ IIAในคาบเดยี วกนั
8. IE1 และ EN ต่า้ แต่สูงกวา่ ธาตหุ มู่IA และหมู่ IIA ในคาบเดียวกัน
เปรยี บเทียบสมบตั ิของโลหะและอโลหะ
แนวโน้มตารางธาตุ
ขนาดอะตอมและรัศมีไอออนตามตารางธาตุ
ธาตุในคาบเดยี วกัน เม่อื เลขอะตอมเพม่ิ ขึน้ ขนาดอะตอมจะเล็กลง
เนือ่ งจากธาตุในคาบเดยี วกันมีจานวนระดับพลังงานเท่ากัน แต่เมื่อเลข
อะตอมเพมิ่ ข้ึน จานวนโปรตอนจะเพ่ิมขึน้ ดว้ ย แรงดึงดูดระหว่างนวิ เคลียส
กับเวเลนซอ์ ิเลก็ ตรอนเพิ่มข้นึ ขนาดจึงลดลง
ธาตใุ นหม่เู ดยี วกนั เมือ่ เลขอะตอมเพม่ิ ขนึ้ ขนาดอะตอมจะใหญข่ น้ึ เพราะ
ธาตุในหมู่เดียวกนั เม่ือเลขอะตอมเพ่มิ ขึน้ จะมรี ะดับพลงั งานเพ่มิ ขน้ึ
แมว้ ่าจานวนโปรตอนจะเพ่ิมขน้ึ ด้วยกต็ าม แต่แรงดึงดูดต่อเวเลนซ์
อิเลก็ ตรอนมนี ้อย จึงทาใหข้ นาดใหญข่ ึ้น ในกรณีนี้การเพมิ่ ระดบั พลังงานมี
ผลมากกว่าการเพม่ิ จานวนโปรตอน
ขนาดอะตอมตามตารางธาตุ เลก็ สุด
ใหญส่ ุด
เรยี งล้าดบั รัศมอี ะตอมของธาตตุ ่อไปนจี้ ากเล็กไปหาใหญ่
P, Si, N N < P < Si
Li, C, Be C < Be < L
แคทไอออน(+) มขี นาด เลก็ กว่า ขนาดอะตอมของมันเสมอ
แอนไอออน(-) มขี นาด ใหญก่ ว่า ขนาดอะตอมของมนั เสมอ
เรยี งลา้ ดบั รศั มีไอออนของธาตุตอ่ ไปน้จี ากเล็กไปหาใหญ่
N3-,S2- ,F- F- < N3- < S2-
Li+, Mg2+, Ba2+ Li+< Mg2+ < Ba2+
พลงั งานไอออไนเซชนั
((ionization energy; IE)
พลังงานทใี่ ชใ้ นการทา้ ให้อเิ ลก็ ตรอนหลดุ ออก จากอะตอมของธาตใุ นสภาวะกา๊ ซ
แนวโน้มพลังงานไอออไนเซชัน เพิ่มข้นึ จากซา้ ยไปขวา
ลดลงจากบนลงลา่ ง
คาบเดยี วกัน
หมเู่ ดยี วกัน
สมั พรรคภาพอิเลก็ ตรอน
(Electron affinity, EA)
พลังงานทีค่ ายออกมาเม่อื อะตอมทเี่ ป็นกลางในสถานะแกส๊ รับอิเลก็ ตรอน 1 ตวั
กลายเปน็ ไอออนลบ(แอนไอออน)ในสภาวะแกส๊ ดงั สมการ
X (g) + e - X- (g) + พลงั งานอิเลก็ ตรอนอฟั ฟินติ ี
แนวโนม้ สัมพรรคภาพอเิ ลก็ ตรอน
คาบเดยี วกัน คา่ EA เพมิ่ ขนึ้ จากซา้ ยไปขวา
หมู่เดยี วกนั ค่า EA ลดลงจากบนลงลา่ ง
อเิ ลก็ โทรเนกาตวิ ิตี
(electronegativity; EN)
เป็นคา่ สมมติท่ีแสดงความสามารถในการดงึ ดูดอิเลก็ ตรอนครู่ ่วมพนั ธะ
โดยอเิ ลก็ ตรอนคู่รว่ มพันธะของอะตอมทมี่ ขี นาดเล็ก จะได้รับแรงดงึ ดดู
จากนวิ เคลียสมาก คา่ EN จงึ สูง สว่ นอเิ ล็กตรอนค่รู ่วมพนั ธะของอะตอม
ท่มี ขี นาดใหญ่ จะได้รบั แรงดึงดูดจากนิวเคลยี สน้อย คา่ EN จึงตา้่
แนวโน้มค่าอเิ ลก็ โตรเนกาตวิ ิตี เพิม่ ขนึ้ จากซ้ายไปขวา
คาบเดยี วกนั
หมู่เดยี วกนั ลดลงจากบนลงล่าง
สรปุ คา่ IE, EA และ EN
จุดเดือดและจดุ หลอมเหลวของโลหะ
ก. โลหะในหมเู่ ดยี วกัน คอื หมู่ IA , IIA, และ IIIA “จดุ หลอมเหลว และ
จุดเดอื ดมีแนวโนม้ ลดลง เมอ่ื เลขอะตอมเพิ่มขึ้น” เนือ่ งจากความ
แข็งแรงของพนั ธะโลหะลดลง เพราะมขี นาดอะตอมใหญข่ น้ึ
ข. โลหะในคาบเดียวกนั คอื โลหะในหมู่ IA , IIA, และ IIIA ใน คาบ
ต่างๆ “จดุ หลอมเหลวและจดุ เดอื ดมแี นวโนม้ สงู ข้นึ เมื่อเลขอะตอม
เพ่ิมขึ้น” เน่อื งจากมพี นั ธะโลหะทแ่ี ขง็ แรงมากขน้ึ ทงั้ น้ีเพราะอะตอม
มี ขนาดเลก็ ลงและมจี ้านวนเวเลนซอ์ เิ ลก็ ตรอนเพม่ิ ขึน้
จุดเดือดและจุดหลอมเหลวของโลหะ
หมายเหตุ สา้ หรับธาตหุ มู่ IVA และ VA จุดหลอมเหลวและจดุ
เดอื ดมี แนวโน้มของการเปล่ียนแปลงไม่ชดั เจน เนอ่ื งจากมโี ครงสรา้ ง
และแรงยดึ เหนีย่ วระหว่างอะตอมทีแ่ ตกต่างกนั
จดุ เดือดและจุดหลอมเหลวของอโลหะ
ก. อโลหะในหมเู่ ดียวกัน คอื หมู่ VIA , VIIA, และ VIIIA “จุด หลอมเหลว
และจุดเดือดมีแนวโนม้ เพ่ิมขึน้ เมอ่ื เลขอะตอมเพ่มิ ข้นึ ” เนอื่ งจากแรงยดึ
เหนยี่ วระหว่างโมเลกุลคอื แรงวนั เดอร์วาลส์เพิม่ ข้นึ เพราะ มวลโมเลกุล
และขนาดโมเลกุลเพิม่ ข้นึ
ข. อโลหะในคาบเดยี วกัน คือ อโลหะ หมู่ VA, VIA , VIIA, และ VIIIA “จดุ
หลอมเหลวและจดุ เดือดมแี นวโนม้ ลดตา้่ ลงเม่อื เลขอะตอม เพม่ิ ขน้ึ ”
เนื่องจากแรงยึดเหนยี่ วระหว่างโมเลกลุ คือ แรงวันเดอร์วาลสม์ ีค่า ลดลง
เพราะขนาดของโมเลกุลเลก็ ลง โดยเฉพาะก๊าซเฉอ่ื ยเป็นกา๊ ซประเภท
โมเลกุลเดีย่ ว และมขี นาดเล็ก มจี ดุ หลอมเหลวและจดุ เดือดตา่้ มาก
จดุ เดอื ดและจดุ หลอมเหลวของอโลหะ