The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

couse outline ดับเพลิงขั้นต้น + อับอากาศ 4 ผู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by visarutted00, 2022-07-03 23:01:12

couse outline ดับเพลิงขั้นต้น + อับอากาศ 4 ผู้

couse outline ดับเพลิงขั้นต้น + อับอากาศ 4 ผู้

L23 การดับเพลิงขัน้ ตน (ตามกฎหมาย1วัน)

1.หลกั การและเหตผุ ล

กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอ มในการทํางานเกี่ยวกับการปองกนั และระงับอัคคีภัย พ.ศ.2555 มีผลบังคับใชเมื่อวันท่ี 9 มกราคม 2556
ไดกําหนดใหนายจางจัดใหมีระบบปองกันและระงับอัคคีภัยในสถานประกอบกิจการตามกฎกระทรวงฉบับนี้และสถาน
ประกอบกจิ การท่ีมีลูกจางต้งั แต 10 ขนึ้ ไปใหนายจางจัดใหม แี ผนปองกันและระงับอัคคภี ยั ประกอบดว ย

1. การตรวจตรา
2. การอบรม
3. การรณรงค
4. ปอ งกันอัคคีภยั
5. การดับเพลิง
6. การอพยพหนีไฟ
7. การบรรเทาทกุ ข

ใหน ายจา งจะตองจดั ใหมกี ารฝก ซอมแผนปอ งกนั และระงบั อคั คภี ยั อยางนอยปละ 1 ครั้ง และ ใหนายจางตองจัด
ใหลกู จา งไมนอ ยกวารอยละ 40 ของจาํ นวนลกู จางในแตล ะหนว ยงานของสถานประกอบกจิ การรบั การฝกอบรม
"การดับเพลิงข้ันตน" เพ่ือใหบุคลากรท่ีเกี่ยวของในสถานประกอบกิจการมีความรูและความเขาใจในการปฏิบัติตาม
กฎหมายฉบบั น้ีไดอ ยา งถูกตอง

2.วัตถปุ ระสงค
1. เพอ่ื เปนการลดความสญู เสยี ชวี ิตและทรัพยส ิน ในสถานประกอบการ ใหลูกจางมที ักษะและความสามารถใน

การใชอุปกรณดับเพลิงเขา ทําการระงับเหตุเบอ้ื งตนไดอยา งรวดเร็วและมปี ระสทิ ธภิ าพ
2. เพ่ือใหมีความรแู ละทักษะทั้งภาคทฤษฏแี ละภาคปฏิบตั ิ สามารถนาํ ความรไู ปประยุกตใ ชในการทาํ งานและใน

ชวี ิตประจาํ วนั ได ไดร จู กั วธิ กี ารปอ งกนั และการเขา ระงับเหตุอัคคีภยั ไดอยา งถูกตองถกู วิธี
3. เพ่อื ใหผูเขารับการอบรมเปนกําลังสาํ คัญของสถานประกอบการในการปองกันและระงับอคั คภี ยั เบ้ืองตน ได

อยางถกู ตองและมปี ระสิทธภิ าพ เพ่ือลดการสญู เสียตอ ชวี ติ , ทรัพยสนิ และสง่ิ แวดลอ ม

3.คุณสมบัตผิ เู ขารับการอบรม/กลมุ เปาหมาย จป.ทกุ ระดบั ,พนกั งานทวั่ ไป,ผจู ดั การ

4.วทิ ยากรทบ่ี รรยาย วทิ ยากรที่ไดร บั อนุมตั ิจากกรมสวสั ดกิ ารและคุม ครองแรงงาน

5.ระยะเวลาอบรม 1 วัน (6 ชวั่ โมง)

สมาคมสงเสริมความปลอดภัยและอนามัยในการทํางาน (ประเทศไทย) ในพระราชูปถมั ภ TR-SD-06 Rev.00 (L23) Page 1

6.หวั ขอ บรรยาย L23 การดับเพลิงข้นั ตน (ตามกฎหมาย1วัน)
08.30 - 09.00 น.
09.00 - 12.00 น. ลงทะเบยี น / ปฐมนิเทศ / Pre-test
ภาคทฤษฎี หัวขอวิชาดังนี้
13.00-16.00 น. 1) ทฤษฎีการเกิดเพลงิ ไหม
2) การแบง ประเภทของเพลิง และวธิ กี ารดับเพลิงประเภทตา ง ๆ
13.00-16.00 น. 3) จติ วิทยาเมอ่ื เกิดอัคคภี ยั
4) การปองกันแหลง กําเนดิ ของการติดไฟ
5) เครื่องดบั เพลิงชนิดตาง ๆ
6) วิธีการใชอ ุปกรณคมุ ครองความปลอดภัยสว นบคุ คลท่ีใชใ นการดบั เพลิง
7) แผนปองกนั และระงับอัคคีภัย
8) การจัดระบบปองกนั และระงับอคั คีภัย การประยกุ ตใชระบบและอุปกรณ

ที่มอี ยูในสถานประกอบกิจการ
ภาคปฏิบัติ
1) ฝกดบั เพลิงประเภท เอ ดวยการใชเครอื่ งดับเพลิงแบบเคล่อื นยา ยไดท ี่

ใชน าํ้ สะสมแรงดนั หรอื สารดบั เพลิงทส่ี ามารถดับเพลงิ ประเภท เอ
2) ฝกดับเพลิงประเภท บี ดว ยการใชเครื่องดับเพลงิ แบบเคลอ่ื นยายไดท ี่

ใชสารดบั เพลงิ ชนดิ คารบอนไดออกไซด โฟม ผงเคมแี หง หรอื สารดบั เพลิง
ที่สามารถดบั เพลงิ ประเภท บี
3) ฝก ดบั เพลงิ ประเภท ซี ดวยการใชเ คร่อื งดับเพลงิ แบบเคลื่อนยา ยไดท ี่
ใชส ารดบั เพลิงชนดิ คารบอนไดออกไซด ผงเคมีแหง หรือสารดบั เพลิง
ท่สี ามารถดับเพลิงประเภท ซี
4) ฝก ดบั เพลิง โดยใชสายดับเพลิง
Post-test

7.วิธีบรรยาย บรรยาย / ปฏบิ ตั ิ / ชมคลิปวดี ีโอ

สมาคมสงเสริมความปลอดภยั และอนามัยในการทาํ งาน (ประเทศไทย) ในพระราชูปถมั ภ TR-SD-06 Rev.00 (L23) Page 2

L23 การดบั เพลงิ ขน้ั ตน (ตามกฎหมาย1วัน)

8.วธิ กี ารประเมินผลและเกณฑการวัดผล ระยะเวลาเขา รบั การอบรม 100 % / ทดสอบกอน-หลังการอบรม

9.สิง่ ทไี่ ดร ับหลังการอบรม วุฒิบตั รผา นการอบรม / แบบรายงานการดับเพลิงข้นั ตน (ดพ.1)

สมาคมสงเสรมิ ความปลอดภัยและอนามยั ในการทํางาน (ประเทศไทย) ในพระราชูปถมั ภ TR-SD-06 Rev.00 (L23) Page 3

L33 ความปลอดภัยในการทำงานในทอ่ี บั อากาศ
“หลักสตู รการฝก อบรมสำหรบั ผูอนญุ าต ผูค วบคุมงาน ผูช ว ยเหลือ และผูปฏิบัติงานในทอ่ี บั อากาศ”
1.หลกั การและเหตผุ ล
กฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนินการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ
สภาพแวดลอ มในการทำงานในท่ีอับอากาศ พ.ศ.2562 ขอ 20 กำหนดใหน ายจางจัดใหมีการฝก อบรมความปลอดภัยใน
การทำงานในท่ีอับอากาศแกลกู จางทุกคนที่ทำงานในที่อับอากาศ รวมท้งั ผูทีเ่ กยี่ วขอ งใหมีความรูความเขา ใจในทักษะท่ี
จำเปนในการทำงานอยางปลอดภัยตามหนาที่ที่ไดรับมอบหมาย พรอมท้ังวิธีการและข้ันตอนในการปฏิบัติงานตาม
หลกั เกณฑ วิธกี าร และหลักสูตรทีอ่ ธิบดีประกาศกำหนด
โดยประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เร่ืองหลักเกณฑ วิธีการ และหลักสูตรการฝกอบรมความ
ปลอดภัยในการทำงานในท่ีอบั อากาศ พ.ศ. 2564 หมวด 2 ขอ 2 ใหนายจางจัดใหมีการฝกอบรมความปลอดภัยในการ
ทำงานในที่อับอากาศแกลูกจางผูมีหนาที่รับผิดชอบในการอนุญาต ผูควบคุมงาน ผูชวยเหลือ และผูปฏิบัติงานในท่ีอับ
อากาศ และจัดใหมีการฝกอบรมเพ่ือทบทวนความปลอดภัยในการทำงานในท่ีอับอากาศ ตามหลักเกณฑ วิธีการและ
หลกั สูตรการฝก อบรมที่กำหนดไวใ นประกาศนี้
เนอ่ื งจากการทำงานในท่ีอับอากาศนับวาเปนสถานที่ทม่ี ีความเส่ยี งสูงตอการเกิดอุบัตเิ หตุในระหวางการทำงาน
ทำใหมีผูบาดเจ็บ เสียชีวิต และทรัพยสินเสียหาย ตลอดจนประชาชนผูอยูอาศัยใกลเคียงไดรับอันตรายได ดังนั้นผูท่ี
เก่ียวของกับการทำงานในที่อับอากาศทุกตำแหนงหนาที่จึงตองไดรับการฝกอบรม อันเปนการเพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทำงาน อีกทงั้ ยังสง เสริมความปลอดภัยในการทำงานในที่อับอากาศ และสนับสนุนใหสถานประกอบกิจการไดปฏิบัติให
สอดคลองตามท่ีกฎหมายประกาศกำหนดไวไ ดอยางถูกตอง
2. วตั ถุประสงค
2.1 เพ่ือใหนายจา งไดปฏบิ ัติตามกฎกระทรวงกำหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดำเนนิ การดานความ
ปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอมในการทำงานเก่ียวกบั ท่อี ับอากาศ พ.ศ. 2562
2.2 เพื่อใหลูกจางซึ่งเปนผูท่ีมีหนาท่ีปฏิบัติงานตามคำส่ังของนายจาง ไดรับการฝกอบรมตามประกาศกรม
สวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ วธิ ีการ และหลักสูตรการฝกอบรมความปลอดภยั ในการทำงานในท่ีอับ
อากาศ ป 2564
2.3 เพื่อใหลกู จางท่ีเกี่ยวของกับการทำงานในท่ีอับอากาศทุกตำแหนงหนาที่ไดมีความรู ความเขาใจ และไดรับ
การฝก ปฏบิ ัตใิ นแตละบทบาทหนา ที่ และมีความปลอดภัยในการทำงานในท่อี ับอากาศ
3. คุณสมบตั ิผูเขารบั การอบรม /กลมุ เปาหมาย
2.1 มีอายุไมต ่ำกวา 18 ปบรบิ รู ณ
2.2 มีใบรับรองแพทยวา เปน ผูมีสุขภาพสมบูรณ แข็งแรง ไมเปนโรคเกี่ยวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรค
อน่ื ซึ่งแพทยเ หน็ วาการเขา ไปในทีอ่ ับอากาศอาจเปน อนั ตรายตอผูเ ขารับการฝก อบรม
2.3 ผูเขารับการอบรมตองเปนผูที่ผานการอบรมดับเพลิงขั้นตน ตามกฎหมายความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ มในการทำงานเก่ยี วกับอคั คภี ัย
4. เอกสารประกอบการเขา อบรม
4.1 สำเนาบตั รประชาชน
4.2 ใบรับรองแพทย
4.2 สำเนาหนังสือรับรอง ใบรับรอง หรอื วุฒิบัตรการดบั เพลิงขั้นตน

1 สมาคมสง่ เสรมิ ความปลอดภยั และอนามยั ในการทาํ งาน(ประเทศไทย)ในพระราชปู ถมั ภฯ์ TR-FM-03 Rev.04 (L33)

L33 ความปลอดภยั ในการทำงานในท่อี บั อากาศ
“หลกั สูตรการฝก อบรมสำหรับผอู นุญาต ผคู วบคุมงาน ผชู วยเหลือ และผูปฏบิ ัติงานในที่อับอากาศ”

5. วิทยากรบรรยาย วทิ ยากรท่ีข้ึนทะเบียนกับกรมสวัสดกิ ารและคมุ ครองแรงงาน เลขทะเบยี นที่ อ.60-003
6. จำนวนผเู ขาอบรม ไมเกนิ 30 คน ตอรนุ
7. ระยะเวลาอบรม 24 ช่วั โมง 4 วนั ตอ เนอ่ื ง

กำหนดการอบรม หลกั สูตรความปลอดภัยในการทำงานในท่อี ับอากาศ
“หลักสูตรการฝกอบรมผอู นุญาต ผูค วบคุมงาน ผูช วยเหลอื และผูปฏิบัตงิ านในทอี่ ับอากาศ”

เวลา กจิ กรรม/หัวขอ อบรม จำนวนเวลา วทิ ยากร

อบรมวันที่ 1 ลงทะเบียน / ชแี้ จงการฝกอบรม 30 นาที วิทยาท่ีข้ึนทะเบยี น
08.30 - 09.00 น. การทำแบบทดสอบกอ นการอบรม (Pre-Test) 1 ชม. กับกรมสวสั ดกิ าร
09.00 – 10.00 น. ภาคทฤษฎี 30 นาที
10.00 - 10.30 น. (ก) กฏหมายความปลอดภยั ในการทำงานในท่ีอับอากาศ 15 นาที และคุมครอง
10.30 - 10.45 น. (ข) ความหมาย ชนดิ ประเภทของท่ีอับอากาศ และ 30 นาที แรงงาน
10.45 - 11.15 น. อนั ตรายในท่ีอบั อากาศ 1 ชม.
11.15 - 12.15 น. พักเบรก
(ข) ความหมาย ชนิด ประเภทของทีอ่ ับอากาศ และ 1 ชม.
12.15 - 13.15 น. อนั ตรายในท่ีอับอากาศ (ตอ) 1 ชม.
13.15 - 14.15 น. (ค) การช้ีบง อนั ตรายและการประเมินสภาพอนั ตราย การ 1 ชม.
14.15 - 15.15 น. ประเมินสภาพพนื้ ที่และงาน และการเตรียมความพรอ ม 1 ชม.
15.15 - 15.30 น. ในการทำงานในที่อับอากาศ 30 นาที
15.30 - 16.00 น. พักกลางวัน
(ง) วธิ กี ารปฏบิ ัตงิ านในพนื้ ที่อับอากาศที่ถูกตองและ 30 นาที
16.00 - 16.30 น. ปลอดภัย
(จ) การใชอุปกรณคมุ ครองความปลอดภยั สวนบุคคลที่ใช
ในทีอ่ ับอากาศ และอุปกรณชวยเหลือและชวยชวี ิต
พกั เบรก
(ฉ) ระบบการขออนุญาตทำงานในที่อับอากาศและการ
ขอยกเลกิ การอนญุ าตทำงานในท่อี ับอากาศ และการตดั
แยกพลังงานเพื่อความปลอดภยั
(ช) บทบาท หนาที่ความรบั ผิดชอบของผอู นญุ าต ผู
ควบคุมงาน ผูช วยเหลือ และผปู ฏบิ ัตงิ านในทอี่ บั อากาศ
และการส่ือสารระหวา งผูอนุญาต ผคู วบคมุ งาน ผูช ว ย
เหลือ และผูป ฏบิ ัตงิ านในท่ีอับอากาศ

2 สมาคมสง่ เสรมิ ความปลอดภยั และอนามยั ในการทาํ งาน(ประเทศไทย)ในพระราชปู ถมั ภฯ์ TR-FM-03 Rev.04 (L33)

L33 ความปลอดภัยในการทำงานในท่อี ับอากาศ
“หลกั สูตรการฝกอบรมสำหรบั ผูอ นุญาต ผูค วบคุมงาน ผชู ว ยเหลอื และผปู ฏบิ ตั ิงานในทอ่ี บั อากาศ”

อบรมวนั ที่ 2

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 15 นาที
09.00 - 10.00 น. (ซ) เทคนิคการตรวจสอบสภาพอากาศในที่อับอากาศ 1 ชม.
รวมทงั้ การใชและการตรวจสอบเคร่ืองมือหรอื อปุ กรณ
10.00 - 10.30 น. ตรวจวัดสภาพอากาศในท่ีอับอากาศ 30 นาที
10.30 - 10.45 น. (ฌ) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบาย 15 นาที
10.45 - 11.15 น. อากาศในท่ีอบั อากาศ 30 นาที
11.15 - 11.45 น. พกั เบรก 30 นาที
11.45 - 12.15 น. (ฌ) เทคนิคการระบายอากาศ และเคร่ืองมือการระบาย 30 นาที
12.15 - 13.15 น. อากาศในท่ีอบั อากาศ (ตอ) 1 ชม.
13.15 - 14.15 น. (ญ) การสง่ั ใหหยดุ ทำงานชวั่ คราว 1 ชม.
14.15 - 15.15 น. (ฎ) การวางแผนการปฏบิ ตั ิงานและการปองกันอนั ตรายที่ 1 ชม.
15.15 - 15.30 น. อาจเกดิ ขึน้ จากการทำงานในท่อี ับอากาศ 1 ชม.
15.30 - 16.30 น. พกั กลางวนั
(ฏ) อนั ตรายท่ีอาจไดรบั กรณีฉกุ เฉนิ และวิธีการหลกี หนี
ภยั
(ฐ) การชว ยเหลอื และชวยชีวติ
พกั เบรก
(ฑ) การปฐมพยาบาลและการชว ยเหลอื เบือ้ งตน และการ
ปฐมพยาบาลเพ่ือชวยเหลอื ผูทีห่ ยดุ หายใจ
หรือหวั ใจหยดุ เตน (CPR)

อบรมวันท่ี 3

08.30 - 09.00 น. ลงทะเบียน 15 นาที
09.00 - 10.00 น. (ฑ) การปฐมพยาบาลและการชว ยเหลือเบอื้ งตน และการ 1 ชม.
ปฐมพยาบาลเพื่อชว ยเหลอื ผูที่หยดุ หายใจ
10.00 - 10.30 น. หรือหัวใจหยดุ เตน (CPR) (ตอ) 30 นาที
10.30 - 10.45 น. (ฒ) เทคนิคในการจัดทำแผนปฏิบัตงิ านและการปอ งกนั 15 นาที
10.45 - 11.15 น. อันตราย 30 นาที
11.15 - 12.15 น. พักเบรก 1 ชม.
12.15 - 13.15 น. (ฒ) เทคนิคในการจัดทำแผนปฏบิ ัติงานและการปอ งกนั 1 ชม.
13.15 - 14.15 น. อนั ตราย (ตอ) 1 ชม.
(ณ) การควบคมุ ดูแลการใชเครอ่ื งปองกนั และอุปกรณ
คมุ ครองความปลอดภัยสวนบุคคล
พกั กลางวนั
ภาคปฏบิ ตั ิ
(ก) เทคนคิ การตรวจสอบสภาพอากาศในท่ีอบั อากาศ

3 สมาคมสง่ เสรมิ ความปลอดภยั และอนามยั ในการทาํ งาน(ประเทศไทย)ในพระราชปู ถมั ภฯ์ TR-FM-03 Rev.04 (L33)

L33 ความปลอดภยั ในการทำงานในทอ่ี ับอากาศ
“หลักสตู รการฝก อบรมสำหรบั ผอู นญุ าต ผูควบคมุ งาน ผูช ว ยเหลือ และผูปฏบิ ตั ิงานในท่อี ับอากาศ”

14.15 - 15.15 น. รวมทัง้ การใชแ ละการตรวจสอบเครื่องมือหรอื อปุ กรณ 1 ชม.
15.15 - 15.30 น. ตรวจวัดสภาพอากาศในท่ีอับอากาศ 15 นาที
15.30 - 16.30 น. (ข) เทคนิคการระบายอากาศ และเครื่องมือการระบาย 1 ชม.
อากาศในที่อับอากาศ
อบรมวนั ท่ี 4 พักเบรก 15 นาที
08.30 - 09.00 น. (ค) เทคนิคการตรวจสภาพพื้นทีแ่ ละงาน กอนตัดสินใจ 30 นาที
09.00 - 09.30 น. อนุญาต 1 ชม.
09.30 - 10.30 น. ลงทะเบียน 15 นาที
10.30 - 10.45 น. (ง) เทคนิคในการควบคุมการทำงานในท่ีอับอากาศ 45 นาที
10.45 - 11.30 น. (จ) การอนุญาตทำงานในท่ีอับอากาศและการส่ือสาร 45 นาที
11.30 - 12.15 น. พักเบรก 1 ชม.
12.15 - 13.15 น. (ฉ) การใชอุปกรณคมุ ครองความปลอดภยั สวนบคุ คลท่ีใช 1 ชม.
13.15 - 14.15 น. ในที่อบั อากาศ 1 ชม.
14.15 - 15.15 น. (ช) การใชอ ุปกรณชวยเหลอื และชวยชวี ิตในทีอ่ ับอากาศ
พกั กลางวนั 15 นาที
15.15 - 15.30 น. (ซ) การชว ยเหลือและชวยชวี ติ 1 ชม.
15.30 - 16.30 น. (ฌ) การปฐมพยาบาลและการชวยเหลอื เบอื้ งตน และการ 30 นาที
16.30 - 17.00 น. ปฐมพยาบาลเพือ่ ชวยเหลือผูท่ีหยุดหายใจ
หรอื หวั ใจหยุดเตน (CPR)
พกั เบรก
(ญ) สถานการณการปฏิบตั งิ านในทอ่ี บั อากาศในสภาพ
ปกติ และกรณเี กิดเหตฉุ ุกเฉิน
ทำแบบทดสอบหลงั การอบรม (Post-test)
มอบวฒุ บิ ัตร

8. วิธกี ารฝกอบรม บรรยาย / ส่อื power point / กจิ กรรมกลมุ / ฝกปฏิบตั ิ / สถานการณจำลอง

9. วิธีการประเมนิ ผลและเกณฑก ารวดั ผล ผลการทดสอบกอน - หลังการอบรม
ระยะเวลาเขา รบั การอบรม 100 %

10. สงิ่ ที่ไดรับหลังการอบรม วฒุ บิ ตั รรับรองการฝกอบรม

4 สมาคมสง่ เสรมิ ความปลอดภยั และอนามยั ในการทาํ งาน(ประเทศไทย)ในพระราชปู ถมั ภฯ์ TR-FM-03 Rev.04 (L33)


Click to View FlipBook Version