The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by paitoon.nfe, 2021-03-17 10:18:38

การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์

หลักสูตรท้องถิ่น











เรื่อง การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์








ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน


Sufficiency Economy Community Learning Centre (SECLC)


หมู่ที่ 1 ต าบลท่าฉนวน อ าเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย































การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต าบลท่าฉนวน


ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอกงไกรลาศ

ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย

ค ำน ำ


การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธยาศัยต าบลท่าฉนวน ได้ด าเนินการจัดท าหลักสูตรท้องถิ่น

เรื่อง การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์ เพอใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ด้านการเกษตรของศูนย์เรียนรู้
ื่
เศรษฐกิจพอเพยง ชุมชน Sufficiency Economy Community Learning Centre (SECLC) หมู่ที่ 1



ต าบลท่าฉนวน อาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย โดยมีวัตถุประสงค์ในการพฒนาผู้เรียนให้มีความรู้ตามหลัก
ปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียง และสามารถน าความรู้ไปปรับใช้ในวิถีชีวิตที่เหมาะสมกับตนเองและครอบครัวได้
อย่างดียิ่ง
หวังเป็นอย่างยิ่งว่าหลักสูตรท้องถิ่นเล่มนี้ จะเป็นประโยชน์ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ของศูนย์เรียนรู้

เศรษฐกิจพอเพยงชุมชน ด้านการศึกษา และหากมีข้อเสนอแนะประการใด ในเอกสารหลักสูตรท้องถิ่นเล่มนี้

การศึกษานอกระบบและการศกษาตามอัธยาศัยต าบลท่าฉนวนจะน าไปพัฒนาต่อไป




กศน.ต าบลท่าฉนวน
ศูนย์การศกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอกงไกรลาศ

9 มิถุนายน 2563

สารบัญ


หน้า


ค าน า
สารบัญ
ค าแนะน าการใช้หลักสูตรท้องถิ่น 1

โครงสร้างหลักสูตรท้องถิ่น 2
- สาระส าคัญ 2
- ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 2

- ขอบข่ายเนื้อหา 2

- กิจกรรมการเรียนรู้ 2
- โครงสร้างเนื้อหาหลักสูตร 3

- การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ 3

- การวัดและประเมินผล 3
- เนื้อหาหลักสูตร 6

เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในการเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์
เรื่องที่ 2 การเตรียมสถานที่ และวิธีการเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์

เรื่องที่ 3 ช่องทางการจัดจ าหน่าย/การตลาด

บรรณานุกรม
ภาคผนวก
คณะผู้จัดท า

1


ค ำแนะน ำกำรใช้หลักสูตรท้องถิ่น



หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์ ของศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพยงชุมชน
หมู่ที่ 1 ต าบลท่าฉนวน อาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย เป็นหลักสูตรที่สอดคล้องกบการด าเนินชีวิตจริงและ


มุ่งเน้น การเรียนรู้อย่างบูรณาการ ไม่แยกส่วนของกระบวนการเรียนรู้ โดยผู้เรียนเป็นผู้ร่วมกระบวนการ
เรียนรู้ด้วยตนเอง และเกษตรกรต้นแบบ (Master Trainer) จะเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ให้ค าแนะน าให้



ค าปรึกษา และช่วยเหลืออานวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน อนจะน าไปสู่การ คิดเป็น ท าเป็น
และสามารถน าไปปรับใช้ในวิถีชีวิตประจ าวันตามหลักปรัชญาของ “เศรษฐกิจพอเพียง” รายละเอียดดังนี้
1. หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง กำรเลี้ยงหนูนำในวงบ่อซีเมนต์ ประกอบด้วย
เรื่องที่ 1 ความรู้เบื้องต้นในการเลี้ยงหนูนา

เรื่องที่ 2 การเตรียมสถานที่ และวิธีการเลี้ยงหนูนา
เรื่องที่ 3 ช่องทางการจัดจ าหน่าย/การตลาด

2. ระยะเวลำในกำรศึกษำ จ ำนวน 6 ชั่วโมง
3. วิธีกำรศึกษำ

ื่
3.1 ท าแบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน เพอตรวจสอบความรู้ ความเข้าใจในหลักสูตร
ท้องถิ่นเรื่อง การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์

3.2 ผู้เรียนเป็นผู้ร่วมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง และเกษตรกรต้นแบบ (Master

Trainer) จะเป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ ให้ค าแนะน าให้ค าปรึกษา และช่วยเหลืออานวยความสะดวกในการเรียนรู้

ให้แก่ผู้เรียน

ิ่
3.3 นอกจากศึกษาจากหลักสูตรท้องถิ่นแล้วผู้เรียนควรหาความรู้เพมเติมจากแหล่งการ
เรียนรู้อื่น ๆ โดยแหล่งเรียนรู้ที่มีอยู่ในอ าเภอ หรือห้องสมุดประชาชน และทางเว็บไซต์ต่าง ๆ

คลิปวงจรการเลี้ยงหนูนาในวงบ่อ อาชีพสร้างรายได้ หรือที่ ลิงค์ http://www .

fackbook.com/ighvoltae2
คลิป พาดูการเลี้ยงหนูนา ขายรายได้ดี หลากหลายเมนูสุดแซ่บ หรือที่ ลิงค์

http://www.matichon.co.th./default.php.
คลิป เลี้ยงหนูนาส่งขาย รายได้หลักแสนต่อเดือน หรือที่ ลิงค์

http://www.matichon.co.th./default.php

คลิปหนูนาเลี้ยงง่าย รายได้ดี หรือที่ ลิงค์ http://www.rakbankerd.com

2


โครงสร้ำงหลักสูตรท้องถิ่น

สำระส ำคัญ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์ เป็นการจัดกิจกรรมที่เปิดโอกาสให้

ผู้เรียน ได้บูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์ในการเรียนรู้ โดยมี เกษตรกรต้นแบบ
(Master Trainer) เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้ โดยให้ผู้เรียนได้ฝึกปฏิบัติด้วยตนเองจนส าเร็จ และสามารถน า

ความรู้ที่ได้ไปปรับใช้ในวิถีชีวิตที่เหมาะสมกับตนเองและครอบครัวได้ ตามหลักปรัชญาของ “เศรษฐกิจ
พอเพียง”

ผลกำรเรียนรู้ที่คำดหวัง
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเบื้องต้นในการเลี้ยงหนูนา

2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถเตรียมสถานที่ และรู้ถึงวิธีการเลี้ยงหนูนา

3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดจ าหน่าย/การตลาด
ขอบข่ำยเนื้อหำ
1. ช่องทางการประกอบอาชีพ จ ำนวน 30 นำที

1.1 ความส าคัญของการเลี้ยงหนูนา

1.2 ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพ
1.3 แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับหนูชนิดต่างๆ

1.4 การตัดสินใจเลือกอาชีพการเลี้ยงหนูนา

2. ทักษะการประกอบอาชีพ จ ำนวน 4 โมง 30 นำที
2.1.ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเลี้ยงหนูนา จ านวน 30 นาที

2.2 การเลี้ยงหนูนา จ านวน 4 ชั่วโมง

2.2.1 การท าโรงเรือน
2.2.2 วิธีการขยายพันธ์ ผสมพันธ์ และการดูแลแม่พันธ์ขณะตั้งท้องและคลอดลูก

2.2.3 เทคนิคการดูเพศของหนูนา
2.2.4 วิธีการเลี้ยงหนูนาในบ่อปูนซีเมนต์

2.2.5 วิธีการท าความสะอาด

2.2.6 อาหารส าหรับหนูนา
2.2.7 การป้องกันและรักษาโรคของหนูนา

2.2.8 การแปรรูปหนูนา
3. การบริหารจัดการในการประกอบอาชีพ จ ำนวน 30 นำที

3.1 องค์ประกอบการประกอบอาชีพ

3.2 การจัดการอาชีพ
3.3 การท าจัดท าบัญชีรายรับ – รายจ่าย

3.4 คุณลักษณะของผู้ประกอบธุรกิจที่ดี

3


4. โครงการประกอบอาชีพ จ ำนวน 30 นำที

4.1 ความส าคัญของโครงการประกอบอาชีพ

4.2 ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพ
4.3 องค์ประกอบของโครงการประกอบอาชีพ

4.4 การเขียนโครงการอาชีพ

4.5 การประเมินความเหมาะสมและสอดคล้องของโครงการอาชีพ

กิจกรรมกำรเรียนรู้

ผู้เรียนเป็นผู้ร่วมกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง และเกษตรกรต้นแบบ (Master Trainer) จะเป็นผู้
ถ่ายทอดความรู้ ให้ค าแนะน าให้ค าปรึกษา และช่วยเหลืออานวยความสะดวกในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียน


อนจะน าไปสู่การคิดเป็น ท าเป็น และสามารถน าไปปรับใช้ในวิถีชีวิตประจ าวันตามหลักปรัชญาของ
“เศรษฐกิจพอเพียง”

โครงสร้ำงเนื้อหำหลักสูตร
ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจ เบื้องต้นในการเลี้ยงหนูนา การเตรียมพนธุ์หนูนา การเลี้ยงดูแลหนูแล การ

รักษาและป้องกันโรคของหนูนา การเตรียมสถานที่ และวิธีการเลี้ยงหนูนา และช่องทางการจัดจ าหน่าย/

การตลาด การเขียนโครงการและแผนงาน
จ ำนวน
ที่ เรื่อง ตัวชี้วัด เนื้อหำ
ชั่วโมง
1 ช่องทางการ ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ - ความส าคัญของการเลี้ยงหนูนา 30 นาที
ประกอบอาชีพ สามารถตัดสินใจการประกอบ - ความเป็นไปได้ในการประกอบอาชีพ

อาชีพ - แหล่งเรียนรู้เกี่ยวกับหนูชนิดต่างๆ

- การตัดสินใจเลือกอาชีพการเลี้ยงหนูนา
2 ทักษะการ ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ ความรู้เบื้องต้นในการเลี้ยงหนูนา 4 ชั่วโมง

เบื้อ
ประกอบอาชีพ งต้นสามารถบอกขั้นตอน - การเตรียมพ่อพันธ์แม่พันธ์,การท า 30 นาที
การเตรียมสถานที่ และวิธีการ โรงเรือน, เทคนิคการดูเพศ, การท าความ
เลี้ยงหนูนาได้ สะอาดบ่อซีเมนต์หนูนา

- การให้อาหารและการดูแลรักษา

- การป้องกันและรักษาโรคหนูนา
3 การบริหาร ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ - ช่องทางการจัดจ าหน่าย/การตลาด 30 นาที

จัดการในการ เกี่ยวกับการจัดจ าหน่าย/ “การเลี้ยงหนูนา”

ประกอบอาชีพ การตลาด
4 โครงการ ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจ - ความส าคัญของโครงการประกอบอาชีพ 30 นาที

ประกอบอาชีพ สามารถเขียนโครงการ/ - ประโยชน์ของโครงการประกอบอาชีพ
แผนงานได้ - องค์ประกอบของโครงการประกอบอาชีพ การ

เขียนโครงการอาชีพ การประเมินความเหมาะสม
และสอดคล้องของโครงการอาชีพ

4


กำรจัดประสบกำรณ์กำรเรียนรู้

ควรจัดในลักษณะของการบูรณาการทักษะต่าง ๆ ไปพร้อมกับการสร้างสถานการณ์ในการเรียนรู้
ื่

เพอฝึกให้ผู้เรียนได้ศึกษาคุณธรรมเพอพฒนาสังคมไทยและมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้ด้วยตนเองที่ท าให้การ
ื่
เรียนรู้ด้วยตนเองประสบความส าเร็จ และน าความรู้ไปใช้ในวิถีชีวิตให้เหมาะสมกับตนเอง และชุมชน สังคม
หลักปรัชญาของ “เศรษฐกิจพอเพียง”



กำรวัดและประเมินผล
ใช้การประเมินจากการท าแบบทดสอบ สังเกตจากการปฏิบัติ และสภาพจริงของผู้เรียนที่แสดงออก


แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน
ค าชี้แจง โปรดท าเครื่องหมาย X หน้าค าตอบที่ถูกต้อง

1. วงบ่อซีเมนต์ที่ใช้เลี้ยงหนูนาต้องขนาดความกว้างและมีจ านวนเท่าใด
ก. ขนาดความกว้าง 50 เซนติเมตร จ านวน 2 วงบ่อซีเมนต์

ข. ขนาดความกว้าง 60 เซนติเมตร จ านวน 2 วงบ่อซีเมนต์

ค. ขนาดความกว้าง 70 เซนติเมตร จ านวน 2 วงบ่อซีเมนต์
ง. ขนาดความกว้าง 80 เซนติเมตร จ านวน 2 วงบ่อซีเมนต์

2. พ่อพันธ์แม่พันธ์หนูนาที่ดีควรมีอายุประมาณเท่าใดจึงจะสามารถน ามาขยายพันธ์ได้ดี

ก. อายุ 1 ปี
ข. อายุ 6 เดือน

ค. อายุ 8 เดือน
ง. อายุ 2 ปี

3. ช่วงที่หนูนาออกลูกใหม่ๆเราจะปล่อยให้ลูกหนูนากินนมแม่ใช้ระยะเวลาประมาณเท่าใด

ก. ใช้เวลา 4 วัน
ข. ใช้เวลา 5 วัน

ค. ใช้เวลา 6 วัน
ง. ใช้เวลา 7 วัน

4. หนูนาที่สามารถจับขายได้ใช้ระยะเวลาเลี้ยงประมาณกี่เดือน

ก. ประมาณ 1 เดือน
ข. ประมาณ 2 เดือน

ค. ประมาณ 3 เดือน

ง. ประมาณ 4 เดือน
5. ปัจจุบันการเลี้ยงหนูนาใวงบ่อซีเมนต์มีรายได้ไม่ต่ ากว่าปีละประมาณเท่าใด

ก. 500 บาท
ข. 1000 บาท

ค. 1500 บาท

ง. 2000 บาท

5


6. การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์เราจะปล่อยลูกหนูนาอายุประมาณเท่าใด

ก. ไม่เกิน 1 อาทิตย์

ข. ไม่เกิน 2 อาทิตย์
ค. ไม่เกิน 3 อาทิตย์

ง. ไม่เกิน 4 อาทิตย์

ี่
7. การให้อาหารในช่วงแรกทลูกหนูนาอายุระหว่าง 2 – 4 สัปดาห์ ควรเป็นอาหารประเภทใด
ก. ร าผสมกับปลายข้าว

ข. หญ้าอ่อน
ค. ร าข้าว

ง. ปลายข้าว

8. หนูนาใช้ระยะเวลาตั้งท้องประมาณเท่าใด
ก. 1 เดือน

ข. 2 เดือน
ค. 3 เดือน

ง. 4 เดือน

9. เทคนิคการดูลักษณะพ่อพันธ์แม่พันธ์หนูนาที่ดีควรมีลักษณะอย่างไร
ก. มีรูอุจาระบนรูตกลูกใต้รูปัสสาวะ

ข. มีรูตกลูกใต้รูปัสสาวะ

ค. มีรูปัสสาวะบนรูตกลูก
ง. มีรูอุจาระรูตกลูกและรูปัสสาวะตรงแนวเดียวกัน

10. ปัจจุบันราคาขายพ่อพันธ์แม่พันธ์หนูนาอยู่ที่ราคาเท่าไห่ต่อค ู่
ก. 400 บาท

ข. 600 บาท

ค. 700 บาท
ง. 800 - 1000 บาท






เฉลย แบบทดสอบก่อนเรียน – หลังเรียน


1. ง 2. ก 3. ง 4. ง 5. ง 6. ง 7. ก 8. ก 9. ง 10. ง

6


เนื้อหำหลักสูตร

เรื่องที่ 1 ควำมรู้เบื้องต้นในกำรเลี้ยงหนูนำ

ื่
การเลี้ยงหนูนาในบ่อซีเมนต์เพอจ าหน่าย หนูนานับว่าเป็นที่ต้องการของตลาดเป็นจ านวนมากใน

ปัจจุบัน ดังนั้น การเลี้ยงหนูนาเป็นช่องทางในการสร้างอาชีพเสริมและให้ความรู้แกคนในชุมชนได้มีอาชีพ จึงมี
แนวคิดในการเลี้ยงหนูนาในบ่อซีเมนต์เกิดขึ้นทั้งนี้ หนู
นาเป็นสัตว์ที่เลี้ยงง่ายที่สุด คิดจะเลี้ยงเพอหารายได้
ื่
เสริม การเลี้ยงหนูนาต้นทุนน้อย รายได้ก็ดีพอสมควร

ขึ้นอยู่กับปริมาณ และการใส่ใจดูแลของเกษตรกร
ผลลัพธ์ของการเลี้ยงหนูนาในบ่อซีเมนต์นั้นดี

เกินคาด ไม่จ าเป็นต้องวิ่งหาตลาดเองก็มีตลาดมา
รองรับแล้ว จึงท าให้คนในชุมชนและตัวเกษตรกร มี

รายได้จากการจ าหน่ายหนูนาไม่ต่ ากว่า เดือนละ

2,000 บาท เลยทีเดียว การเลี้ยงหนูนาของเกษตรกร
ื้
ในพนที่ทั่วไปถือเป็นอาชีพเสริมจากการท าอาชีพหลัก
การเลี้ยงหนูนาท าได้ง่าย ด้วยการจัดหาพ่อพันธ์แม่พันธ์หนูนาที่อยู่ตามท้องไร่ท้องนาน ามาเพาะเลี้ยงในฟาร์มที่


เตรียมไว้ ส าหรับอาหารที่น ามาเลี้ยงหนูนาก็สามารถหาได้ตามธรรมชาติที่มีอยู่ทั่วไป หนูนาจะออกลูกครอก
หนึ่งประมาณ 8-9 ตัว ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 3-4 เดือนก็จับขายได้ ส่วนเรื่องความสะอาดและโรคภัยนั้นทาง

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขอาเภอได้ลงมาติดตามอย่างใกล้ชิด ที่ผ่านมายังไม่พบโรคจากฟาร์มหนูนาเลย ขอให้นัก

นิยมเปิบเนื้อหนูนาหรือประชาชนทั่วไปที่รับประทานหนูนาสบายใจได้หนูนาเลี้ยงง่าย อาหารสามารถค านวณ

การให้ได้ล่วงหน้า เหมาะกับคนไม่ค่อยมีเวลา หนู 1 ตัว กินอาหารวันละ 10% ของน้ าหนักตัว หนู 1 เดือนแรก

จะกินแต่นมแม่ เดือนที่ 2 น้ าหนักประมาณ 500 กรัม กินอาหารเฉลี่ยวันละ 50 กรัม ระยะนี้หนูจะโตเร็วมาก
จนเข้าเดือนที่ 3 จะมีน้ าหนักเพมถึง 4 ขีดครึ่ง กินอาหารเฉลี่ยวันละ 450 กรัม ช่วงเวลาที่เหลือเพมปริมาณ
ิ่
ิ่

อาหารอีกเล็กน้อย จนถึงขนาดพร้อมขาย 5-6 ขีด”ขายเป็นหนูเนื้อได้ราคา กก.ละ 200-250 บาท ขายเป็นพอ
แม่พันธุ์คู่ละ 900 บาท... ที่นี่เฉพาะขายหนูอย่างเดียวท ารายได้เดือนละ 15,000-20,000 บาท

7


เรื่องที่ 2 กำรเตรียมสถำนที่ และวิธีกำรเลี้ยงหอยขม

ส ำหรับขั้นตอนกำรเลี้ยงหนูนำ
1. ต้องเตรียมวงบ่อซีเมนต์ขนาด 80 ซม.จ านวน 2 วงวางซ้อนกันส่วนด้านล่างจะมีฝาปิดป้องกันไม่ให้

หนูออก









2. น าพอพนธ์แม่พนธ์หนูนาอายุประมาณ 1 ปีมาเลี้ยงในบ่อซีเมนต์ที่เตรียมไว้ในอตราส่วน พอพนธ์



1 ตัวแม่พน 2 ตัว ใช้เวลาเลี้ยงไปประมาณเดือนกว่าๆ หนูนาก็จะผสมพนธ์และเริ่มตั้งท้อง จากนั้นประมาณ
1 เดือนหนูนาจะตกลูกออกมา วิธีเลี้ยง ช่วงที่หนูนาออกลูกออกมาใหม่ๆ เราก็จะปล่อยให้ลูกหนูนากินนมแม่
ไปจนประมาณ 1 อาทิตย์ ลูกหนูนาก็จะหย่านมแม่ จากนั้นแยกเอาลูกหนูนามาเลี้ยงอนุบาลไว้ในบ่อซีเมนต์ที่
เตรียมไว้ ส าหรับอาหารของหนูนาที่ต้องให้กินทุกๆ วันก็คือหญ้า สามารถหาได้ตามท้องนา ลูกหนูนาที่เลี้ยงใช้
เวลาประมาณ 3-4 เดือน หนูนาที่เลี้ยงจะมีน้ าหนักตัวหนึ่งประมาณ 3-4 ขีด ซึ่งเราก็สามารถจับขายได้
กำรให้อำหำร
ในช่วงแรกที่อายุอยู่ระหว่าง 2-4 สัปดาห์ จะให้ร าออนผสมกับปลายข้าวให้เป็นอาหาร แต่พอเมื่อหนู

ื่
นาอายุ 5 สัปดาห์ ขึ้นไป จะเริ่มให้หญ้าออน ร าข้าว และ ปลายข้าว ผสมกันไป เพอให้หนูนาได้ทาน

หลากหลาย การให้น้ าจะมีขวดให้น้ าในบ่ออยู่ตลาดตั้งแต่เริ่มน าหนูนาลงบ่อ ให้คอยสังเกตว่าน้ าในขวดนั้นหมด
หรือยัง หากหมดกน าน้ าไปเติม ส่วนการให้อาหารก็จะให้ช่วงเช้ากับช่วงเย็นเพียงเท่านั้น เลี้ยงเป็นคู่ไว้ประมาณ

25 วัน หนูก็จะผสมพันธุ์และเริ่มตั้งท้อง ซึ่งแม่พันธุ์ 1 ตัว จะออกลูกประมาณ 8-10 ตัว
ึ่
เมื่อแม่พนธุ์เริ่มตั้งท้องให้จับพอหนูนาแยกออกจากบ่อ เพราะหนูนาตัวผู้จะกินลูกหนูนาที่พงคลอด



เพราะผิดกลิ่นหนูนาจะใช้เวลาตั้งท้องอยู่ที่ 1 เดือนก็จะคลอดลูก ก็ให้แม่หนูเลี้ยงลูกหนูนาด้วยนมของเค้าอก
ประมาณ 1 เดือนค่อยจับแม่พันธุ์แยกออกมา จากนั้น 4 เดือน หนูนาก็จะตัวโตเต็มที่ มีน้ าหนักประมาณตัวละ
5-6 ขีด สามารถจับขายได้เลย

เทคนิคกำรดูเพศ ของหนูนาหงายท้องหนูนา
ตัวผู้ขึ้นมา จะสังเกตเห็นลูกอณฑะอย่างชัดเจนและก็จะ

มี รูทวารแค่นั้นส่วนหนูนาตัวเมีย จะมีรูทวาร,มีนมให้

เห็นได้ชัด,มีช่องคลอดอยู่บริเวณหน้าท้องเรื่องที่ 3 ช่อง
ทางการจัดจ าหน่าย/การตลาด

กำรรักษำควำมสะอำดและกำรป้องกันโรค
อย่างที่ทราบกันดีว่าหนูเป็นตัวพาหะน าโรค

ผู้เลี้ยงต้องใส่ใจความสะอาดเป็นพเศษ น้ าต้องหมั่น

เปลี่ยนน้ าโดยการผสมอเอมลงในน้ า เวลาหนูฉี่หรือขับถ่ายออกมาจะไม่มีกลิ่น และแกลบที่ใส่รองในบ่อมี


คุณสมบัติช่วยย่อยและดูดกลิ่นฉี่ได้ด้วย วิธีนี้ถือว่าได้ผล เลี้ยงไว้หน้าบ้านก็ไม่มีกลิ่นถ้าห่วงเรื่องโรคตอนนี้ยังไม่

มีอะไรน่ากลัว ใส่ถุงมือจับเพอความปลอดภัยก่อนจะจับหนูทุกครั้งให้สวมถุงมือกันหนูกัด และใช้เหล็กยาวจับ
ื่
ยกที่หางมีแค่นี้ก็สามารถจับใส่กรงขายได้เลย ใน 1 กรง สามารถใส่หนูตัวใหญ่ได้ 2 ตัว ถ้าเป็นตัวเล็กใส่ได้ 6

ตัว กรงที่ใช้ใส่เป็นกรงดักหนูทั่วไป หากลูกค้าสั่งซื้อจะมีการตกลงก่อนว่าจะซื้อกรงจากเราหรือเขามีกรงเอง

เราจะบอกลูกค้าว่าค่ากรง กรงละ 60 บาท การส่งทุกครั้งจะมีการลดและการแถมเพราะเราเข้าใจว่ามือใหม่
ต้องเกิดความไม่มั่นใจกันเป็นธรรมดา

8


เรื่องที่ 3 ช่องทำงกำรจัดจ ำหน่ำย/กำรตลำด

ื้
การเลี้ยงหนูนาของเกษตรกรในพนที่ทั่วประเทศ ถือเป็นอาชีพเสริมจากการท าอาชีพหลัก การเลี้ยง



หนูนาท าได้ง่าย ด้วยการจัดหาพอพนธ์แม่พนธ์หนูนาที่อยู่ตามท้องไร่ท้องนามาเพาะเลี้ยงในฟาร์มที่เตรียมไว้
ส าหรับอาหารที่น ามาเลี้ยงหนูนาก็สามารถหาได้ตามธรรมชาติที่มีอยู่ทั่วไป หนูนาจะออกลูกครอกหนึ่ง
ประมาณ 8-9 ตัว ใช้เวลาเลี้ยงประมาณ 3-4 เดือนก็จับขายได้ ส่วนเรื่องความสะอาดและโรคภัยนั้นทาง

เจ้าหน้าที่สาธารณสุขได้ลงมาติดตามอย่างใกล้ชิด ที่ผ่านมายังไม่พบโรคจากฟาร์มหนูนาแห่งไหนเลย

เพาะขายพอ-แม่พนธุ์ก าลังไปได้ดี ตลาดเนื้อไม่พอความต้องการผู้บริโภคการตลาดถือว่าก าลังไปได้ดี





เริ่มเพาะเลี้ยงขายพอแม่พนธุ์เป็นเวลาปีครึ่ง ตอนนี้หนูนาที่เลี้ยงการเพาะพันธุ์ไม่พอขาย ลูกคาจองกันมาตั้งแต่
ลูกยังไม่ทันออก รายได้ถือว่าดีมาก ไม่ต้องลงทุนอะไรเลย
คิดเป็นเดือน อย่างช่วงปีที่ผ่านมามีรายได้จากการขายพ่อแม่พันธุ์ และหนูนาเพิ่งเกิดได้คิดเป็นเงิน
30,000 บาทลูกค้าที่สั่งซื้อพ่อแม่พันธุ์ส่วนใหญ่เป็นลูกค้าจากต่างจังหวัด และในอ าเภอใกล้เคียง ลูกค้าจะทราบ

ข้อมูลจากทางเฟซบุ๊ก และทางเพจ ซื้อขายหนูนา ลูกค้าจะใช้วิธีเสิร์ชหาข้อมูลแหล่งที่ขายหนูบริเวณใกล้เคียง

กับที่อยู่ เราจึงได้ลูกค้าจากตรงนี้อีกทางหนึ่ง
หนูนาเลี้ยงง่าย อาหารสามารถค านวณการให้ได้ล่วงหน้า เหมาะกับคนไม่คอยมีเวลา หนู 1 ตัว กิน

อาหารวันละ 10% ของน้ าหนักตัว หนู 1 เดือนแรกจะกินแต่นมแม่ เดือนที่ 2 น้ าหนักประมาณ 500 กรัม กิน
อาหารเฉลี่ยวันละ 50 กรัม ระยะนี้หนูจะโตเร็วมาก จนเข้าเดือนที่ 3 จะมีน้ าหนักเพิ่มถึง 4 ขีดครึ่ง กินอาหาร

เฉลี่ยวันละ 450 กรัม ช่วงเวลาที่เหลือเพิ่มปริมาณอาหารอีกเล็กน้อย จนถึงขนาดพร้อมขาย 5-6 ขีด”ขายเป็น

หนูเนื้อได้ราคา กก.ละ 200-250 บาท ขายเป็นพอแม่พันธุ์คู่ละ 900 บาท... ที่นี่เฉพาะขายหนูอย่างเดียวท า

รายได้เดือนละ 15,000-20,000 บาท

บรรณานุกรม



https://www.google.com/search?q=การเลี้ยงหนูนา+ในบ่อซีเมนต์ (06/06/2563)

ภาคผนวก





องค์ความรู้ด้านการเกษตร เรื่อง การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์ ของเกษตรกรต้นแบบ Master Trainer

ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน Sufficiency Economy Community Learning Centre (SECLC)

หมู่ที่ 1 ต าบลท่าฉนวน อาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย
กศน.ต าบลท่าฉนวน : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอกงไกรลาศ


จ านวนชั่วโมง
จุดประสงค์การเรียน เนื้อหา วิธีการให้ความรู้ สื่อการเรียนรู้ การวัดผลและประเมินผล
ทฤษฎี ปฏิบัติ

1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ ความรู้เบื้องต้นในการเลี้ยงหนูนา - การบรรยาย 1. แผ่นพับ สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้จาก 1 -
ความเข้าใจเบื้องต้นในการ 1.1 การเตรียมพันธุ์หนูนา - ศึกษาจากสภาพจริง 2. คลิปวีดีโอ สภาพจริง

เลี้ยงหนูนา 1.2 การเลี้ยงและดูแลหนูนา 3. พื้นที่ปฏิบัติจริง

1.3 การก าจัดแมลงหรือศัตรูที่
ส าคัญของหนูนา

2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ การเตรียมสถานที่ และวิธีการ - การบรรยาย 1. แผ่นพับ สังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้จาก - 4

เตรียมสถานที่ และรู้ถึง เลี้ยงหนูนา - สาธิต 2. คลิปวีดีโอ สภาพจริง
วิธีการเลี้ยงหนูนา - วิธีเตรียมบ่อปูนซีเมนต์ในการ - การฝึกปฏิบัติ 3. พื้นที่ปฏิบัติจริง

เลี้ยงหนูนา
3. เพอให้ผู้เรียนมีความรู้ ช่องทางการจัดจ าหน่าย/ - การบรรยาย - พื้นที่ปฏิบัติจริง จากการระดมความคิด 1
ื่
ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัด การตลาด การตอบค าถาม

จ าหน่าย/การตลาด

รูปแบบ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน Sufficiency Economy Community Learning Centre (SECLC)


หมู่ที่ 1 ต าบลท่าฉนวน อาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย เรื่อง การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์
กศน.ต าบลท่าฉนวน : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอกงไกรลาศ





ผู้ถ่ายทอด

อาคารสถานที่ พื้นที่ปฏิบัติงาน สื่อการเรียนร ู้ วัสดุอุปกรณ ์ (Master Trainer) หมายเหตุ
“เกษตรกรต้นแบบ”

ี่
ศูนย์เรียนรู้ตามหลักปรัชญา 1. สถานทเพื่อฝึกปฏิบัติ 1. แผ่นพับ วัสดุส าหรับท าการเกษตร นายพิษณุ รอดเพชร์ - งบประมาณ
ของเศรษฐกิจพอเพียง จ านวน 2 ไร่ 2. ชุดนิทรรศการ - วงบ่อ สนับสนุนจากภาคี

- พื้นที่ส าหรับฟังการบรรยาย 2. สระน้ า 3. พื้นที่ปฏิบัติจริง - ท่อประปา เครือข่าย

รองรับผู้เข้าอบรมได้ประมาณ 4. คลิปวีดีโอ - สายยาง

40 - 50 คน
- ชุดนิทรรศการ

แผนที่ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงชุมชน Sufficiency Economy Community Learning Centre (SECLC)


หมู่ที่ 1 ต าบลท่าฉนวน อาเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย เรื่อง การเลี้ยงหนูนาในวงบ่อซีเมนต์
กศน.ต าบลท่าฉนวน : ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอ าเภอกงไกรลาศ

วิเคราะห์ความสอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (2 เงื่อนไข 3 หลักการ 4 มิติ)

เรื่อง การเลี้ยงหนูนาในวงบอซีเมนต์
ความรู้ คุณธรรม
เราต้องใช้ความรู้ในการเตรียมงานอะไรบ้าง เพื่อให้มีความรอบรู้และ เราคิดว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องจ าเป็นต้องมีคุณธรรมใดบ้างที่จะท าให้
รอบคอบ ในการท างานให้ประสบผลส าเร็จ การด าเนินงานประสบความส าเร็จ
- ใช้ความรู้อะไรบ้างในการเตรียมงานเพื่อให้มีความรู้ความ - คิดว่าบุคคลที่เกี่ยวข้องจ าเป็นคุณธรรมใดบ้างที่จะท าให้
รอบคอบในการท างานให้ส าเร็จ การด าเนินงานประสบความส าเร็จ
- รู้ชนิดพันธ์ของหนูนา - ความขยัน

- รู้จักอุปกรณ์และวิธีการใช้อุปกรณ์ในการเลี้ยงอย่างถูกต้อง - ความประหยัด
- รู้วิธีสร้างโรงเรือนสถานที่เลี้ยง - ความอดทน
- รู้วิธีการป้องกันและรักษาโรคของหนูนา - ความปลอดภัยของผู้บริโภค

- รู้วิธีการท าความสะอาดโรงเรือน
- รู้จักวิธีการหาอาหารส าหรับหนูนา
- รู้วิธีการแปรรูปหนูนาและการจ าหน่ายสู่ตลาด

พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุ้มกันในตัวที่ดี
เราค านึงถึงความเหมาะสม/ความสอดคล้อง เรามุ่งหวังที่จะหวังให้เกิดอะไร-กับใคร- เราวางแผนด้วยความรอบคอบอย่างไรบ้าง
ความพอดีอะไรบ้าง อย่างไร และคาดว่าจะเกิดอย่างไร - มีการวางแผนหาพ่อแม่พันธ์ที่จะเพาะพันธ ุ์

- สถานที่ ใช้พื้นที่ให้เหมาะสมกับการเลี้ยงหนูนา เพราะเหตใดจึงจะเกิดผลเช่นนั้น หนูนาเพื่อให้ประสบความส าเร็จ
- การเลือกพันธ์หนูนาให้เหมาะสมกับความต้องการ - เพื่อใช้บริโภคภายในครัวเรือนและ - มีการวางแผนหาสถานที่ที่เหมาะสมกับการ
สามารถบริโภคภายในครัวเรือน จ าหน่าย เลี้ยงหน ู

- การเลือกใช้วัสดุอุปกรณ์ให้เหมาะสมกับการใช้งาน - เพื่อสร้างรายได้เสริมให้แก่ครอบครัว - มีขั้นตอนการเลี้ยงให้ปลอดภัยจากโรคและมี
- การดูแลรักษาพันธ์หนูนาตลอดถึงการรักษาโรค - เพื่อให้เป็นแหล่งเรียนรู้ในการเลี้ยงหนูนา การป้องกันที่ดีเพื่อความเชื่อมั่นของผู้บริโภค
ของหนูนา - มีการวางแผนการตลาดไว้เพื่อการจ าหน่าย

ในอนาคต
วิเคราะห์ผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นจากการท ากิจกรรมนี้ ว่าจะส่งผลให้ชีวิตของตนเองและบุคคลที่เกี่ยวข้อง/หน่วยงาน/ชุมชน เกิด

ความสมดุลและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงใน 4 มิติด้านใด และอย่างไร

ด้านวัตถุ / เศรษฐกิจ : เป็นสิ่งที่จับต้องได้โดยมนุษย์สร้างขึ้น ด้านสังคม : ความเป็นสากล เป็นความสัมพันธ์ของคนกับคนในปัจจุบัน
- ประหยัด / การศึกษา / สาธารณสุข
- ลดรายจ่าย/เพิ่มรายได้ - มีความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ต่อกัน

- การบริหารจัดการภายในครัวเรือน เหลือจากบริโภคไปจ าหน่าย - มีความสามัคคีภายในครอบครัว
- การใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่น - เป็นแหล่งแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในชุมชน

สมดุลและพร้อมรับการ

ด้านสิ่งแวดล้อม : เป็นสิ่งที่จับต้องได้
ด้านวัฒนธรรม : เชื่อมโยงจากอดีตสู่ปัจจุบัน เปลี่ยนแปลงใน 4 มิติ
และส่งผลหรือมีความส าคัญต่ออนาคตที่มีคุณค่า โดยเกิดจากธรรมชาติ ดิน น้ า ป่า อากาศ รวมเรื่อง
ต่อการสืบสานอนุรักษ์ / เอกลักษณ์เฉพาะพื้นท ี่ ขยะเพราะมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม
- เรียนรู้การเพาะเห็ดนางฟ้าจากภูมิปัญญาท้องถิ่น - บริเวณโรงเพาะเห็ดนางฟ้าสะอาด ปลอดภัย

- การใช้วัสดุที่มีอยู่ในท้องถิ่นเช่น ไม้ไผ่
- น าไปประกอบเป็นอาหารประจ าพื้นบ้าน

คณะผู้จัดท ำ




ที่ปรึกษำ


1. นายประกอบ โพธิ์ราม รองผู้อ านวยการ ส านักงาน กศน. จังหวัดสุโขทัย
2. นายพงค์แสนชัย อิสระไพจิตร์ ผู้อ านวยการ กศน. อ าเภอกงไกรลาศ

3. ดร.ศรีโสภา มีเจริญ ผู้ทรงคุณวุฒิภาคประชาสังคม




ผู้เรียบเรียง

1. นายทิวา ยี่ทอง ครู กศน.ต าบลท่าฉนวน

2. นายพิษณุ รอดเพชร์ เกษตรกรต้นแบบ (Master Trainer)
3. นายกฤษณะ ทองเชิ้อ ผู้ช่วยเกษตรกรต้นแบบ (Master Trainer)

4. นายดนัย รอดคล้าย ผู้ช่วยเกษตรกรต้นแบบ (Master Trainer)

5. นางล าพึง ทองเชื้อ ผู้ช่วยเกษตรกรต้นแบบ (Master Trainer)

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยต าบลท่าฉนวน


ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยอ าเภอกงไกรลาศ
ส านักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดสุโขทัย
เอกสารทางวิชาการเลขที่ 09/2563


Click to View FlipBook Version