The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐาน CBL พื้นที่อำเภอน้ำพอง จ.ขอนแก่น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by regionarea7, 2022-05-22 05:57:05

รายงานการเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐาน CBL พื้นที่ อำเภอน้ำพอง จ.ขอนแก่น

รายงานการเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐาน CBL พื้นที่อำเภอน้ำพอง จ.ขอนแก่น

รายงานรายงานการเรยี นรูแ้ บบใช้ชุมชนเปน็ ฐาน
( Community Based Learning: CBL )
พนื้ ทอ่ี ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแกน่

อาจารย์ท่ีปรึกษา
1. อาจารย์ ดร.แสงดาว จันทรด์ า
2. อาจารย์ สรัญญา เปล่งกระโทก

สมาชิกกลมุ่

1. นางพัชรีย์ภรณ์ ปรชี าชน ประธาน
2. นายบรรณ เอ่ยี วสกุล รองประธาน
3. นางกานต์พชิ ญา เนตรพิสทิ ธ์กิ ุล รองประธาน
4. นางภัศราภรณ์ ศิรษิ า กรรมการ
5. นางสาววาสนา ทองใบ กรรมการ
6. นางสาวอบุ ลรัตน์ มโนศิลป์ กรรมการ
7. นายใจเพชร พลสงคราม กรรมการ
8. นายเจษฎา สุราวรรณ์ เลขานกุ าร
9. นายสุขสรร ศิรสิ ุรยิ ะสุนทร ผชู้ ่วยเลขานุการ

ค้าน้า

การอบรมหลักสูตร ผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 35/2565 มีข้ึนเพ่ือพัฒนา
เสริมสร้างบุคลากรทางด้านสาธารณสุขให้เกิดความรู้ ทักษะและสมรรถนะเพื่อเป็นผู้บริหารและผู้นาการ
เปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิภาพ ในการรองรับภารกิจท้ังในปัจจุบัน และอนาคต การฝึกทักษะการวางแผน
เชิงกลยุทธ์จากสถานการณ์จริงในระดับอาเภอ โดยการเรียนรู้แบบ Community Based learning : CBL
ที่มีกิจกรรมการแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจ และสร้างความรู้ใหม่ที่เกิดจากความเข้าใจจากการศึกษา
ร่วมกัน จนกระทั่งเกิดมุมมองใหม่ในกรอบความคิดของปัญหาที่ต้องการศึกษาร่วมกัน และเกิดการประสาน
ความรว่ มมอื ในการเรยี นรรู้ ว่ มกนั (collaborative learning)

รายงานการศึกษานี้ เป็นการศึกษาจากพ้ืนที่จริงในอาเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น เป็นการศึกษา
ข้อมูลปัญหาสาธารณสุข ที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพพร้อมนาข้อมูลมาวิเคราะห์ หาสิ่งที่ต้องพัฒนาในพ้ืนที่ศึกษา
มาดาเนินการแก้ปัญหา โดยจัดทาแผนยุทธศาสตร์ในสถานที่จริงระดับอาเภอ การฝึกภาคสนามในครั้งนี้
ดาเนินการสาเร็จลุล่วงได้ด้วยดี โดยได้รับความร่วมมืออย่างดียิ่ง จากผู้อานวยการโรงพยาบาลน้าพอง
สาธารณสุขอาเภอน้าพอง และคณะเจ้าหน้าที่ระดับต่างๆของเครือข่ายบริการสุขภาพอาเภอน้าพอง (CUP)
จงั หวดั ขอนแกน่ รวมทง้ั อาจารยท์ ่ีปรกึ ษา ทไี่ ด้ใหค้ าแนะนา และอานวยความสะดวกในการฝึกภาคสนาม คณะ
ผ้เู ข้ารบั การอบรมขอขอบพระคุณทุกๆท่านมา ณ โอกาสนี้

ผบก.รุน่ 35 กลุ่มท่ี 6
วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี ขอนแก่น

ผูจ้ ัดทา

สารบัญ หนา้

บทท่ี 1 บทนา 2
วตั ถปุ ระสงค์ของการฝึกอบรม 2
ขอบเขตของการฝึก 3
ขอบเขตด้านระยะเวลา 3
ข้นั ตอนกระบวนการเรยี นรูแ้ บบ CBL 3
ประโยชน์ท่ีคาดวา่ จะไดร้ บั
4
บทที่ 2 ข้อมูลท่วั ไป 4
วิสัยทัศน์ 4
พันธกิจ 5
ยทุ ธศาสตร์ 6
ค่านยิ ม 16
ขอ้ มูลทัว่ ไป 17
สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามยุทธศาสตรป์ ี 2564
สรปุ ประเดน็ ตามตัวช้วี ัด ปญั หาสขุ ภาพ และประเด็นทนี่ า่ สนใจในการศึกษา 18
19
บทท่ี 3 เคร่อื งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวเิ คราะห์ 20
หกเสาหลักของระบบสขุ ภาพ หรือ 6 building blocks of a health system
7’S 21
PESTEL 23
37
บทท่ี 4 ผลการวิเคราะห์การดา้ เนนิ งานในพ้นื ที่
การจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 40
การวิเคราะหป์ ัจจยั 41
ยทุ ธศาสตร์ “น้าพองมั่งคงั่ รวมพลัง วถิ ใี หม่ ปลอดภยั อยู่ได้กบั COVID 19” 41
43
บทที่ 5 สรปุ ผลการเรยี นรู้
สรุปผลการเรียนรู้
ข้อจากัดในการศึกษา
สงิ่ ท่ไี ด้จากการเรยี นรู้

บรรณานุกรม

สารบัญภาพ

ภาพท่ี 1 แผนที่อาเภอน้าพอง หนา้
ภาพท่ี 2
การวเิ คราะห์สถานการณ์ขององคก์ ร (SWOT Position) 8
33

ตารางท่ี 1 สารบญั ตาราง หนา้
ตารางที่ 2 6
ตารางที่ 3 จานวน รอ้ ยละของประชากร อาเภอน้าพอง จังหวดั ขอนแกน่ จาแนก 8
ตารางท่ี 4 ตามเพศ และกลุ่มอายปุ ี 2564 10
ตารางท่ี 5 จานวน ร้อยละ ของประชากร จาแนกตามกลุ่มวยั อาเภอนา้ พอง 11
ตารางท่ี 6 จังหวัดขอนแก่น ปี พ.ศ. 2564 12
จานวนบุคลากรสาธารณสขุ โรงพยาบาลน้าพอง อาเภอน้าพอง ปี 2564 12
ตารางท่ี 7 จานวนบคุ ลากร สงั กัดสานักงานสาธารณสุขอาเภออาเภอนา้ พอง ปี 2564
ตารางท่ี 8 จานวนและอัตรา การเกิดมชี พี การตาย ทารกตาย เด็กอายุต่ากวา่ 5 ปี 13
และมารดาตาย อาเภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแก่น ปี พ.ศ. 2562 – 2564 13
ตารางที่ 9 อายุคาดเฉล่ยี เม่ือแรกเกิด (Life Expectancy : LE at Birth) และอายคุ าด
ตารางท่ี 10 เฉล่ยี เมือ่ อายุ 60 ปี (Life Expectancy at age 60 year) อาเภอนา้ พอง 14
ตารางที่ 11 จงั หวดั ขอนแกน่ พ.ศ. 2562 – 2564 14
ตารางท่ี 12 อายุคาดเฉลีย่ ของการมีสุขภาพดี (Health adjusted life expectancy: 15
ตารางที่ 13 HALE) อาเภอน้าพอง จงั หวัดขอนแก่น พ.ศ. 2562 – 2564 16
ตารางที่ 14 10 อนั ดบั โรคทีเ่ ป็นสาเหตหุ ลักของการสญู เสยี ปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัย 21
อันควรของประชากรอาเภอน้าพอง จงั หวัดขอนแก่น (Year of Life Lost: 22
YLL) พ.ศ. 2562 – 2564
สาเหตุการปว่ ย 10 อนั ดับแรก ของผปู้ ่วยนอกโรงพยาบาลน้าพอง
ปีงบประมาณ 2561–2564
สาเหตกุ ารปว่ ย 10 อนั ดบั แรก ของผ้ปู ว่ ยในโรงพยาบาลน้าพอง
ปีงบประมาณ 2561-2564
สาเหตุการตาย 10 อันดับแรก ของอาเภอน้าพอง ปีงบประมาณ 2561 -
2564
โรคทตี่ ้องเฝา้ ระวังทางระบาดวทิ ยา อาเภอน้าพอง ปี พ.ศ. 2560 – 2564
ประเด็นสุขภาพและสาธารณสุข ขอ้ มูลสนบั สนนุ อาเภอน้าพอง
จงั หวดั ขอนแก่น
จานวน และร้อยละของประชากรทไี่ ดร้ บั วคั ซีนโควิด-19 จาแนกตาม
กลุ่มเป้าหมาย

สารบญั ตาราง (ตอ่ )

ตารางท่ี 15 จานวนองค์กร/สถานประกอบการ ทีผ่ า่ นการประเมนิ Thai Stop Covid 2 หนา้
Plus จาแนกตามประเภท 22
ตารางท่ี 16 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Factors Analysis: IFA)
โดยใช้แนวทาง 7’S ของแมคคินซยี ์ (McKinsey 7’S Framework) 25
ตารางที่ 17 สรุปการวิเคราะหส์ ภาพแวดลอ้ มภายใน จาแนกตามจดุ แขง็ และจุดอ่อน
ตารางท่ี 18 IFAS: Internal factors analysis summary 27
ตารางที่ 19 สภาพแวดล้อมการวิเคราะห์ภายนอก (External Factors Analysis: EFA) 28
โดยใช้แนวทางP E S T E L Model 30
ตารางท่ี 20 สรปุ การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก แยกตามโอกาสและภาวะคกุ คาม
ตารางที่ 21 EFAS: External factors analysis summary 31
ตารางท่ี 22 การวเิ คราะหป์ ัจจยั ภายในและปัจจยั ภายนอกโดยใช้ SWOT Analysis 32
ตารางท่ี 23 ผลการวิเคราะห์ SWOT Matrix 34
36

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 หลกั กำรและเหตผุ ล
กระทรวงสาธารณสุขได้เล็งเห็นความส้าคัญของการพัฒนาผู้บริหาร และด้าเนินการพัฒนาผู้บริหาร

การสาธารณสขุ ระดบั กลางอย่างตอ่ เนื่องจากอดตี มาจนถึงปัจจุบัน แต่สถานการณ์การเปล่ียนแปลงในปัจจุบัน
ทังทางด้านเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อม ตลอดจนการเมืองและความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี
สารสนเทศ พฤติกรรมท่ีเปล่ียนแปลงไปของประชาชน ประกอบกับพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ
ถ้วนหน้าและการปฏิรูประบบราชการที่เน้นการใช้ทรพั ยากรอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ โดยยึดหลักปรัชญาพอเพียง
เป็นแนวทางปฏิบัติควบคู่กับการพัฒนาองค์กรแบบองค์รวม ท่ียึดคนเป็นศูนย์กลางการพัฒนา พร้อมทังมุ่ง
ยกระดับขีดความสามารถของภาคราชการให้มีประสิทธิภาพคล่องตัว โดยการเตรียมก้าลังคนให้มีสมรรถนะ
ปรับกระบวนทศั น์ และวัฒนธรรมในการท้างานท่ีเหมาะสม เพอ่ื ใหส้ ามารถปฏิบัติงานบนหลักการการบริหาร
กิจการบา้ นเมืองทด่ี ี (Good governances) ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ ประกอบกับแนวคิดการพัฒนาข้าราชการ
ที่มุ่งเน้นการพัฒนาข้าราชการโดยยึดสมรรถนะ (Competency) และพัฒนาขีดความสามารถ (Capability)
เพ่ือให้ข้าราชการเป็นผู้ปฏิบัติงานที่ทรงความรู้ (Knowledge Worker) สามารถปฏิบัติงานภายใต้ระบบ
บริหารจดั การภาครัฐแนวใหม่ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธภิ าพตามยทุ ธศาสตร์ 3 ยุทธศาสตร์หลัก คือยุทธศาสตร์การ
ปรับเปลี่ยนกระบวนทศั น์ วฒั นธรรม และคา่ นยิ มในการท้างานรองรบั ราชการในยคุ ปัจจุบัน โดยยึดประชาชน
เป็นศูนย์กลาง ยุทธศาสตร์ที่สอง คือการสร้างนักบริหารให้เป็นผู้น้ายุคใหม่ในการบริหารราชการ และ
ยุทธศาสตร์ท่ีสาม คือการเสริมสร้างสมรรถนะและทักษะให้แก่ทรัพยากรบุคคลภาครัฐ และมีมาตรการ
รองรับอย่างเป็นรปู ธรรม กระทรวงสาธารณสุขในฐานะที่เป็นองค์กรส้าคัญในการพัฒนาระบบสุขภาพท่ียั่งยืน
มีคณุ ภาพ ประสิทธภิ าพ และเสมอภาคในการให้บริการที่ดี และสนับสนุนให้เกิดการมีส่วนร่วมของประชาชน
และสังคมท่ีมีจิตส้านึกด้านสุขภาพ และพร้อมท่ีจะเป็นผู้น้าการแข่งขันด้านสุขภาพในระดับสากล จึงได้
มอบหมายสมาคมนกั บรหิ ารสาธารณสุข พฒั นาผบู้ รหิ ารการสาธารณสุขอย่างตอ่ เนอ่ื งทุกปี

การศกึ ษาผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) เป็นการศึกษาเพื่อให้ผู้บริหารมีความสามารถ

ในการขับเคลื่อนองค์กร โดยมุง่ เน้นใหผ้ ู้เข้าอบรมมีความรู้ ทกั ษะและสมรรถนะในการบริหารจัดการบุคคลากร

เพื่อเป็นผู้น้าการเปลี่ยนแปลงที่มีประสิทธิภาพในการรองรับภารกิจทังในปัจจุบัน และอนาคต นอกจากนี

การฝึกทักษะการวางแผนเชิงกลยุทธ์จากสถานการณ์จรงิ ระดบั อ้าเภอตามบริบทของชุมชน โดยผ่านการเรียนรู้

แบบ Community Based learning : CBL เป็นกิจกรรมที่มีการแลกเปลี่ยนความรู้ ความเข้าใจกับพืนที่จริง

ท้าให้ทราบถึงปัญหาสาธารณสุขท่ีส้าคัญ น้าไปสู่การสร้างความคิดเชิงกลยุทธ์และโครงการต่างๆ นับเป็นการ

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จังหวดั ขอนแกน่ หนา้ 1

จา้ ลองการท้างานเพ่ือกระตนุ้ ให้คนในชุมชนสร้างการเรียนรู้ร่วมกัน (Collaborative partnership) จนกระท่ัง
เกดิ มุมมองใหมใ่ นกรอบความคิดของปัญหาที่ต้องการศึกษารว่ มกัน

การฝึกภาคสนามเป็นกิจกรรมหน่ึงของหลักสูตร เพ่ือให้ผู้เข้าอบรมสามารถวิเคราะห์ปัญหา
สาธารณสุข ปัจจัยด้านการบริหารที่ท้าให้เกิดปัญหาสาธารณสุขในเชิงบริหาร และสามารถจัดท้าโครงการ
วางแผนการปฏิบัติงาน เพื่อแก้ไขปัญหาหรือพัฒนางานการสาธารณสุข จากเหตุผลดังกล่าวข้างต้น คณะผู้
เข้ารับการอบรม หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง รุ่นท่ี 35/2565 กลุ่มที่ 6 ได้ลงพืนท่ีชุมชน
เพ่ือฝึกภาคสนามท่ีเครือขา่ ยบรกิ ารสุขภาพอ้าเภอนา้ พอง (CUP) จงั หวัดขอนแกน่

1.2 วัตถุประสงคข์ องกำรฝกึ ภำคสนำม เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมสามารถ
1. วเิ คราะห์ปญั หาสาธารณสุข สาเหตแุ ละปัจจยั ท่ีเกี่ยวขอ้ งในระดบั อ้าเภอ
2. วิเคราะห์ สาเหตุและปัจจยั ทางดา้ นการบรหิ าร ท่ีท้าให้เกิดปัญหาสาธารณสขุ
3. จดั ท้ากลยุทธ์ แผนงาน โครงการ และวางแผนปฏิบตั ิการ เพอ่ื แกไ้ ขปัญหา หรอื พัฒนางานด้าน

การบริหารสาธารณสุขได้ในเชิงบรหิ ารงานโดยมีการเรยี นรู้แบบ CBL

1.3 ขอบเขตของกำรฝกึ
เป็นการศึกษาข้อมูลปัญหาสาธารณสุขท่ีส่งผลต่อสภาวะสุขภาพประชาชนอ้าเภอน้าพอง จังหวัด

ขอนแก่น เพื่อน้าข้อมูลจัดท้าแผนยุทธศาสตร์ระดับอ้าเภอ เป็นการเรียนรู้แบบ CBL โดย 1) วิเคราะห์ปัญหา
สาธารณสุข หรือปัญหาท่ีส่งผลต่อสภาวะสุขภาพในระดับอ้าเภอ 2) วิเคราะห์สาเหตุ หรือปัจจัยทางด้านการ
บริหารท่ีท้าใหก้ ารแก้ไขปญั หาสาธารณสขุ ไมบ่ รรลเุ ป้าหมาย 3) วางแผนยุทธศาสตร์เพื่อพัฒนาระบบการ
บริหารงานด้านสาธารณสุข ให้บรรลุเป้าหมายและตอบสนองต่อนโยบายและยุทธศาสตร์การด้าเนินงาน
สาธารณสุขระดับชาติ

1.4 ขอบเขตดำ้ นระยะเวลำ
วันที่ 12 พฤษภาคม 2565 ศึกษาขอ้ มลู จากเอกสารสรปุ ผลการด้าเนนิ งาน ปีงบประมาณ 2564-2565
วันท่ี 13 พฤษภาคม 2565 สรุปผลการศกึ ษาขอ้ มูลจากเอกสารเพื่อวางแผน และสร้างเครอ่ื งมอื เพือ่ เตรียม

เก็บข้อมลู เพมิ่ เติมในพืนท่ี
วันที่ 17 พฤษภาคม 2565 ลงพืนที่เพ่ือเก็บข้อมูลเพ่ิมเติม และแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพืนที่อ้าเภอน้าพอง

จังหวัดขอนแก่น
วันที่ 18-19 พฤษภาคม 2565 น้าข้อมูลที่ได้จากการลงพืนที่มาวิเคราะห์เพื่อวางแผนในการจัดท้า

ยทุ ธศาสตร์ระดบั อา้ เภอ
วนั ที่ 25 พฤษภาคม 2565 นา้ เสนอผลการเรียนรู้ CBL คนื ข้อมลู พืนทอ่ี า้ เภอน้าพอง จังหวดั ขอนแกน่

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแกน่ หนา้ 2

1.5 ขนั้ ตอนกระบวนกำรเรียนรแู้ บบ CBL
1. ศึกษานโยบายของรัฐบาล ระบบบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม่ ยุทธศาสตร์กระทรวงสาธารณสุข

ยุทธศาสตร์ของส้านักงานสาธารณสุขจังหวัด ยุทธศาสตร์ของอ้าเภอน้าพอง ข้อมูลพืนฐาน ผลการด้าเนินงาน
ตามยทุ ธศาสตร์ ปี 2564 และผลการด้าเนนิ งานยุทธศาสตร์ ไตรมาสที่ 1/2565 ของพืนท่ี

2. วเิ คราะห/์ สังเคราะหข์ ้อมูล เบืองต้น
3. การสรา้ งเครื่องมอื
4. ประสานเพ่ือเกบ็ รวบรวมข้อมูล (เพม่ิ เติม)
5. เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู (เพิม่ เติม)
6. จัดล้าดบั ความส้าคญั ของปัญหา
7. การวเิ คราะห์ข้อมูล: SWOT analysis (7’S Model & PESTLE Model)
8. บรู ณาการความรใู้ นการแกป้ ญั หาทางการบรหิ าร
9. นา้ เสนอผลงานการฝึกภาคสนามเชิงบริหารและจดั ท้ารายงานการศกึ ษา

1.6 ประโยชนท์ ค่ี ำดว่ำจะได้รบั

1. ผเู้ ข้ารบั การอบรมได้ทราบขอ้ มูลพืนฐาน และปัญหาสาธารณสุขท่ีส่งผลต่อสภาวะสุขภาพในระดับ
อ้าเภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแก่น เพ่อื น้าขอ้ มลู จดั ท้าแผนยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนปฏบิ ัตงิ าน

2. ผเู้ ขา้ รบั การอบรมไดร้ ูจ้ ักเลือกใช้เครอ่ื งมือในการวิเคราะห์ปัญหาสาธารณสุขหรือปัญหาท่ีส่งผลต่อ
สภาวะสุขภาพในระดับอา้ เภอน้าพอง จงั หวัดขอนแก่น ได้สอดคลอ้ งกับบริบทของพืนท่ี

3. ส้านักงานสาธารณสุขอ้าเภออ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ได้แนวทางในการบริหารจัดการเพื่อ
แก้ไขปัญหาสาธารณสขุ สอดคล้องกบั บริบทของพืนที่

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวัดขอนแกน่ หนา้ 3

บทที่ 2

ขอ้ มูลทั่วไปของอำเภอนำ้ พอง

จากการศึกษาข้อมูลทั่วไปของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ช่วงระหว่างวันที่ 12-19 พฤษภาคม
2565 สรุปผลการศึกษาไดด้ งั นี

2.1 วสิ ยั ทัศน์: อา้ เภอสขุ ภาวะ ประชาชนสุขภาพดดี ว้ ยตน้ เอง เจา้ หน้าทีม่ ีความสขุ

2.2 พนั ธกิจ
1. ระดมพลงั ประชาสังคมทุกสร้างสุขภาพ ป้องกัน ภาคสว่ น ร่วมสรา้ งระบบสุขภาพอา้ เภอใหย้ งั่ ยืน
2. พัฒนาระบบบริการเพ่ือเอือใหป้ ระชาชนมีความรอบรู้ด้านสุขภาพในทุกกลุ่มวัยประชาชนพงึ พอใจ

มีสุขภาพดีได้ด้วยตนเอง
3. พฒั นาระบบบรหิ าร บริการ วิชาการ ให้ทันสมัย มีประสทิ ธิภาพมีธรรมาภบิ าล ได้มาตรฐาน
4. ส่งเสรมิ สนับสนนุ พัฒนาบคุ ลากรให้มีสมรรถนะขีดความสามารถตามภารกจิ อยา่ งมีความสุขและ

มคี ุณภาพชีวิตท่ีดี
5. สง่ เสริม สนบั สนุน บคุ ลากรใหด้ า้ รงตนตามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2.3 ยทุ ธศำสตร์/เปำ้ ประสงค์ (6 ยุทธศำสตร์/12 เป้ำประสงค์)
ยทุ ธศำสตร์ 1 กำรระดมพลงั ภำคีทุกระดบั รว่ มสรำ้ งเมอื งแหง่ สุขภำวะและนเิ วศน์สขุ ภำพชุมชนที่

เข้มแขง็
3 เปำ้ ประสงค์
1.1 ประชาชนทกุ กลมุ่ วัยได้รับการสร้างเสริมสุขภาพเพ่ือแกไ้ ขปัญหาสุขภาพที่ส้าคญั
1.2 ประชาชนกลมุ่ เกษตรกร กลุม่ รบั จ้างรายวนั กลุ่มแรงงานในสถานประกอบการและกลุ่มเส่ยี งทาง

สขุ ภาพมศี ักยภาพในการจัดการตนเอง
1.3 ประชาชนอาศัยในสภาพแวดล้อมที่เออื ต่อการมีสุขภาพดี มคี ่านิยมสุขภาพท่ีพึงประสงค์
ยุทธศำสตร์ 2 กำรพัฒนำขีดควำมสำมำรถในกำรจดั กำรสขุ ภำพตนเองแก่ประชำชนชมุ ชนอย่ำง

เข้มแขง็ และยั่งยืน
2 เปำ้ ประสงค์
2.1 ปญั หาการเจบ็ ป่วยในโรคที่ป้องกนั ได้ลดลง ชุมชนมีความเข้มแข็งในการจัดการสุขภาพ และสรา้ ง

คา่ นยิ มสุขภาพได้ดว้ ยตนเอง
2.2 ระบบริการสขุ ภาพปฐมภูมมิ ีมาตรฐาน

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอนา้ พอง จังหวัดขอนแกน่ หนา้ 4

ยุทธศำสตร์ 3 การเสรมิ สรา้ งความเป็นเลิศทางการแพทย์และการพัฒนาคณุ ภาพการบริการสขุ ภาพ
แกป่ ระชาชนท่ีได้มาตรฐานสากล

1 เป้ำประสงค์
3.1 .หน่วยบริการสุขภาพของจงั หวัดในขดี ความสามารถในการจดั บริการทางการแพทย์ในระดับ
คุณภาพมาตรฐานสากล ประชาชนในพืนท่บี ริการและผใู้ ช้บริการมคี วามเชื่อมน่ั และวางใจ ในคณุ ภาพทาง
การแพทย์
ยทุ ธศำสตร์ 4 กำรพัฒนำองคก์ รสำธำรณสขุ ใหม้ สี มรรถนะสงู บคุ ลำกรเป็นมืออำชีพบริหำรด้วย
ควำมทนั สมยั และธรรมำภบิ ำล
2 เปำ้ ประสงค์
4.1 บุคลากรทางการแพทย์และบุคลากรสาธารณสุขทุกระดบั มีขีดความสามารถในการพฒั นาบริการสู่
ความเป็นเลิศ
4.2 หนว่ ยงานสาธารณสขุ ทุกระดับ เปน็ หนว่ ยงานคณุ ภาพ มาตรฐานทันสมัย สมรรถนะสูง
ยทุ ธศำสตร์ 5 พฒั นาบคุ ลากรใหด้ ้าเนนิ ชวี ิตตามหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
2 เป้ำประสงค์
5.1 บคุ ลากรมคี ุณภาพชวี ิตที่ดี มคี วามภูมิใจในภารกิจสุขภาพเพ่ือประชาชน
5.2 หน่วยงานสาธารณสุขมคี วามเข้มแขง็ ทางการเงินบนฐานธรรมาภิบาล
ยุทธศำสตร์ 6 การพัฒนาระบบสขุ ภาพเพื่อหนุนเสริมการเตบิ โตทางเศรษฐกิจ และการเติบโตของ
คณุ ภาพชีวิตท่ีเปน็ มติ รกับสิง่ แวดล้อมที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
2 เป้ำประสงค์
6.1 ระบบบรกิ ารสาธารณสขุ มีประสิทธิภาพ รวดเร็ว โปรง่ ใสรองรับการพฒั นาเศรษฐกจิ ของจงั หวดั
6.2 มีระบบข้อมลู แผนยุทธศาสตร์และการประเมนิ ยุทธศาสตร์ ทมี่ ีประสิทธภิ าพ

2.4 คำ่ นยิ ม
เครือข่ายบริการสุขภาพอ้าเภอน้าพอง ได้ก้าหนดคุณค่าหลัก (Core Value) ของบุคลากรในสังกัด 4

ประการ หรอื MOPH ซึ่งประกอบด้วย
M: Mastery เป็นนายตนเอง คือเปน็ บุคคลท่ีหมนั่ ฝึกฝนตนเองให้มีศักยภาพ ยึดมั่นในความถูกต้อง มี

วนิ ยั ปฏบิ ัตติ ามกฎระเบยี บ บนพนื ฐานของการมสี า้ นึก รับผดิ ชอบ คณุ ธรรม และจริยธรรม
O: Originality เร่งสร้างสิ่งใหม่ คือสร้างสรรค์นวัตกรรม ส่ิงใหม่ ท่ีเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

เพื่อใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ ระบบสุขภาพ
P: People centered ใส่ใจประชาชน คือต้องยึดประชาชนเป็นศูนย์กลางในการท้างานเพื่อ

ประโยชนอ์ ันดีแก่ประชาชน โดยใช้หลักเขา้ ใจ เขา้ ถึง พึ่งได้

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแกน่ หนา้ 5

H: Humility อ่อนน้อมถ่อมตน คือมีสัมมาคารวะ มีน้าใจ ให้อภัย รับฟังความเห็น เสียสละเพ่ือ
ประโยชนส์ ว่ นรวม

2.5 ขอ้ มลู ท่ัวไป
2.5.1 ประวัติควำมเป็นมำ อ้าเภอน้าพอง จัดตังขึน เม่ือวันท่ี 10 กุมภาพันธ์ 2450 โดยใช้ชื่อว่า

อ้าเภอท่าหว้า โดยมีหลวงผดุงแคว้นประจักษ์ เป็นนายอ้าเภอคนแรก และต่อมาได้เปลี่ยนชื่ออ้าเภอเป็น
อา้ เภอน้าพอง ตามลา้ น้าพอง ตงั แต่ปี พ.ศ. 2452

2.5.2 ที่ต้ัง ที่ว่าการอ้าเภอน้าพองตังอยู่ท่ีบ้านศรีประเสริฐ หมู่ที่ 10 ต้าบลวังชัยพิกัด TD 718752
อยทู่ างทศิ เหนือของจงั หวดั ขอนแกน่ หา่ งจากตัวจังหวัดประมาณ 33 กโิ ลเมตร มีทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 2
(ถนนมิตรภาพ) และทางรถไฟสายกรุงเทพฯ - หนองคาย และทางหลวงแผ่นดินสายน้าพอง - กระนวน -
ทา่ คนั โท ผ่านเปน็ เสน้ หลัก เส้นทางรองในพืนทส่ี ามารถเดนิ ทางไปอ้าเภอต่างๆ และจังหวัดได้หลายเส้นทางซึ่ง
เป็นถนนลาดยางทังหมด

2.5.3 จำนวนประชำกร อ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น มีจ้านวนประชากร ทังสิน 113,211 คน

แบ่งเป็น เพศชาย จ้านวน 55,933 คน เพศหญิง จ้านวน 57,278 คน สัดส่วนเพศชายต่อเพศหญิง เท่ากับ

1:1.02 (ข้อมูล ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564 จากส้านักทะเบียนราษฎร์ผ่าน ส้านักนโยบายและยุทธศาสตร์

สา้ นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข) ดงั ตารางที่ 1

ตำรำงที่ 1 จา้ นวน รอ้ ยละของประชากร อ้าเภอนา้ พอง จังหวัดขอนแก่น จ้าแนกตามเพศ และกลุ่มอายุ
ปี 2564

กลุม่ อำยุ (ป)ี ประชำกรปี 2564 รวม
จำนวน รอ้ ยละ
ชำย หญิง
จำนวน ร้อยละ จำนวน ร้อยละ

< 1 ปี 408 0.36 380 0.34 787 0.70

01 - 04 1,961 1.73 1,884 1.66 3,844 3.40

05 - 09 3,115 2.75 2,854 2.52 5,969 5.27
10 - 14 3,223 2.85 2,989 2.64 6,212 5.49
15 - 19 3,203 2.83 3,062 2.70 6,265 5.53
20 - 24 3,785 3.34 3,418 3.02 7,203 6.36
25 - 29 4,466 3.94 4,255 3.76 8,721 7.70
30 - 34 4,093 3.62 3,823 3.38 7,917 6.99

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแกน่ หน้า 6

ตำรำงที่ 1 จา้ นวน รอ้ ยละของประชากร อ้าเภอนา้ พอง จังหวัดขอนแกน่ จา้ แนกตามเพศ และกลมุ่ อายุ
ปี 2564 (ตอ่ )

ประชำกรปี 2564

กลุ่มอำยุ (ป)ี ชำย หญิง รวม
จำนวน ร้อยละ จำนวน รอ้ ยละ จำนวน ร้อยละ

35 - 39 4,229 3.74 3,969 3.51 8,197 7.24

40 - 44 4,152 3.67 4,137 3.65 8,288 7.32

45 - 49 4,225 3.73 4,519 3.99 8,744 7.72

50 - 54 4,860 4.29 5,266 4.65 10,127 8.95

55 - 59 4,211 3.72 4,581 4.05 8,792 7.77

60 - 64 3,390 2.99 3,800 3.36 7,190 6.35

65 - 69 2,426 2.14 2,845 2.51 5,271 4.66

70 - 74 1,924 1.70 2,311 2.04 4,235 3.74

75 - 79 1,175 1.04 1,508 1.33 2,683 2.37

80 - 84 637 0.56 977 0.86 1,614 1.43
85+ ปี 453 0.40 699 0.62 1,152 1.02

รวม 55,933 49.41 57,278 50.59 113,211 100.00

ทม่ี า: จากสา้ นกั ทะเบยี นราษฎรผ์ ่าน ส้านกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ ส้านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสขุ

(ข้อมูล ณ วันที่ 31 ธนั วาคม 2564)

เม่อื จา้ แนกประชากรตามกลุ่มวยั พบวา่ ประชากรวยั แรงงาน (15-59 ปี) มมี ากที่สุดรอ้ ยละ 65.59
รองลงมาคือประชากรวยั ผู้สงู อายุ (60 ปีขึนไป) ร้อยละ 19.56 (วัยผสู้ งู อายุตอนตน้ (60-69 ป)ี ร้อยละ 11.01
ผสู้ งู อายตุ อนกลาง (70-79 ปี) ร้อยละ 6.11 และผสู้ งู อายตุ อนปลาย (80 ปีขึนไป) ร้อยละ 2.44) และวยั เรียน
รอ้ ยละ 10.76 ดงั ตารางที่ 2

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จังหวดั ขอนแกน่ หนา้ 7

ตำรำงที่ 2 จ้านวน ร้อยละ ของประชากร จา้ แนกตามกลมุ่ วยั อา้ เภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแกน่ ปี พ.ศ. 2564

วเิ คราะหต์ ามประเภทกลมุ่ วยั

อายุ จานวน รอ้ ยละ กลมุ่ วัย

ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม

0 - 4 ปี 2,368 2,263 4,632 4.23 3.95 4.09 วยั เดก็ ปฐมวัย

5 - 14 ปี 6,338 5,843 12,181 11.33 10.20 10.76 วัยเรียน

15 - 21 ปี 4,635 4,291 8,926 8.29 7.49 7.88 วยั รุ่น

15 - 59 ปี 37,223 37,031 74,254 66.55 64.65 65.59 วยั ทางาน

60 ปี + 10,003 12,141 22,144 17.88 21.20 19.56 วยั ผสู้ งู อายุ

60 - 69 ปี 5,815 6,645 12,460 10.40 11.60 11.01 วัยผสู้ ูงอายุตอนตน้ (Early old age)

70 - 79 ปี 3,098 3,819 6,918 5.54 6.67 6.11 วยั ผสู้ ูงอายุตอนกลาง (Middle old age)

80 ปี + 1,089 1,676 2,766 1.95 2.93 2.44 วัยผสู้ งู อายุตอนปลาย (Late old age)

ทม่ี า: จากสา้ นกั ทะเบยี นราษฎร์ผา่ น ส้านกั นโยบายและยทุ ธศาสตร์ สา้ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
(ข้อมูล ณ วันท่ี 31 ธนั วาคม 2564)

2.5.4 คำขวัญของอำเภอน้ำพอง “ล้าน้าพองงามพิลาศ องค์พระธาตุนามขามแก่น มากเนืองแน่น
โรงงานใหญ่ เล่อื งลือไกลงจู งอาง ตลาดกลางแห่งพชื ผล ยลปรางคก์ ่ปู ระภาชัย งามวไิ ลหอรฐั บุรุษ”

2.5.5 พ้ืนที่และอำณำเขต พืนท่ีส่วนใหญ่เป็นทีร่ าบสูง สงู กวา่ ระดับน้าทะเลเฉลี่ย 246 ฟุต มีพืนที่
ทงั หมดประมาณ 828.686 ตารางกิโลเมตร หรอื 515,000 ไร่

- ทิศเหนอื
จดเขต อ.เขาสวนกวาง จ.ขอนแกน่
- ทศิ ใต้
จดเขต อ.เมือง จ.ขอนแกน่
- ทศิ ตะวันตก
จดเขต อ.อุบลรัตน์ จ.ขอนแก่น
- ทศิ ตะวนั ออก
จดเขต อ.กระนวน จ.ขอนแกน่

ภำพที่ 1 แผนท่ีอ้าเภอนา้ พอง หน้า 8
เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแกน่

2.5.6 ลักษณะภูมิประเทศ พืนท่ีมีทังหมดประมาณ 828.686 ตาราง กิโลเมตร หรือ 515,000 ไร่
ส่วนใหญ่เป็นที่ราบสูง สูงกว่าระดับน้าทะเลเฉล่ีย 246 ฟุต สลับเนินลูกคล่ืนลอนตืน มีทังที่ดอนสลับที่นาบาง
แห่งเป็นเนนิ เขาเตยี ๆ ลกั ษณะดนิ ส่วนใหญเ่ ป็นดนิ ร่วนปนหินกรวด

ทรัพยากรธรรมชาตทิ ีส่ ้าคญั ของอา้ เภอ ไดแ้ ก่ ล้าน้าพอง ไหลผา่ นตา้ บลกดุ น้าใส นา้ พอง ม่วงหวาน
วงั ชัย ท่ากระเสริม บา้ นขาม เข่ือนหนองหวาย บึงถุงเทียว ล้าห้วยเสยี ว หนองแม่ซดั บงึ หว้ ยซนั

ป่าไม้ท่สี า้ คญั เชน่ เบญ็ จพรรณ จ้าพวก จกิ เตง็ รัง เช่น ป่าห้วยเสียว ปา่ โคกสนามบนิ เปน็ ต้น
สภาพภมู อิ ากาศ หนา้ ร้อน รอ้ นจัด - แหง้ แล้ง หน้าหนาว หนาวมาก – มีลมกรรโชกแรง
2.5.7 สภำพภูมิอำกำศ อ้าเภอน้าพองอยู่ในเขตมรสุมปีหน่ึงมี 3 ฤดู คือ ฤดูฝน เร่ิมตังแต่กลางเดือน
พฤษภาคม ถึงกลางเดือนตุลาคมฤดูหนาวเริม่ ตังแตก่ ลางเดอื นตุลาคมถึงกลางเดือนกุมภาพันธ์ฤดูร้อนเริ่มตังแต่
กลางเดือนกุมภาพันธ์ถึงกลางเดอื นพฤษภาคม
2.5.8 กำรปกครอง อ้าเภอน้าพอง แบ่งการปกครองออกเป็น 12 ต้าบล 168 หมู่บ้าน มี 27,315
หลังคาเรือน มี 6 เทศบาลต้าบล คือ 1) เทศบาลต้าบลวังชัย 2) เทศบาลต้าบลกุดน้าใส 3) เทศบาลต้าบลล้า
น้าพอง 4) เทศบาลต้าบลน้าพอง 5) เทศบาลต้าบลม่วงหวาน และ 6) เทศบาลต้าบลสะอาด มีองค์การบริหาร
ส่วนต้าบล 8 แห่ง
2.5.9 สภำพสังคมและกำรศึกษำ ลักษณะทางสังคมเป็นสังคมชนบทก่ึงสังคมเมือง มีความเป็นเครือญาติ
สูง มีสถานศึกษาท่ีส้าคัญเป็น โรงเรียนประถมศึกษา 60 แห่ง (สพท. 1 แห่ง , เทศบาล 2 แห่ง , เอกชน 3 แห่ง)
ผ่านเกณฑ์การประเมินโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพระดับเพชร 1 แห่ง มีโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา 17 แห่ง
โรงเรยี นสงั กัดกรมสามัญศึกษา 10 แห่ง และกรมอาชีวศึกษา 1 แห่ง (วิทยาลยั เทคนิคขอนแก่นแหง่ ที่ 2)
2.5.10 อำชีพ การประกอบอาชีพของราษฎร ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมีพืนท่ี
เกษตรกรรม ร้อยละ 70 ของพืนท่ีทังหมด คือ 261,217 ไร่ พืนท่ีเกษตรกรรมส่วนใหญ่อยู่ในเขตชลประทาน
คือชลประทาน หนองหวายจึงสามารถท้าการเกษตร ได้ตลอดทังปี ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ปลูกอ้อย ปลูก
มนั ส้าปะหลังและปลูกพชื ผัก
2.5.11 กำรเกษตร ด้านการเกษตรกรรม พืนท่ีอ้าเภอน้าพองเป็นพืนทราบสูง จึงเหมาะแก่การใช้
ประโยชน์ในการท้านา ท้าไร่ เป็นส่วนมากการเกษตรที่ส้าคัญ คือ การท้านา มีทังท้านาปี และนาปรัง โดย
อาศยั น้าฝนและน้าจากชลประทานหนองหวาย นอกจากนนั ยังมีการท้าไรม่ ันสา้ ปะหลงั ไร่อ้อย ถว่ั ลิสง เป็นต้น
2.5.12 กำรประกอบอุตสำหกรรม การอุตสาหกรรม เนื่องจากภูมิประเทศอ้าเภอน้าพองมีล้าน้าพองไหล
ผ่าน จึงเหมาะแก่การตังโรงงานอุตสาหกรรมและได้ค้นพบแหล่งก๊าซธรรมชาติในพืนท่ีต้าบลกุดน้าใส เม่ือปี พ.ศ.
2534 จึงได้ถูกน้ามาใช้กับโรงงานอุตสาหกรรมต่าง ๆ ซึ่งปัจจุบันมีโรงงานอุตสาหกรรมท่ีส้าคัญในพืนที่ จ้านวน 11
แห่ง คือ
1) บรษิ ทั พที ที ีอีพี เอสพี ลิมิเตด็
2) บริษทั ฟินิคซ พลั พ แอนด์ เพเพอร์ จ้ากดั มหาชน
3) บริษัท ครา๊ ฟฟูดซ์ จา้ กดั

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแกน่ หนา้ 9

4) บริษัท แกน่ ขวัญ จ้ากัด
5) โรงงานไฟฟา้ พลงั งานความร้อนรว่ มนา้ พอง ของ การไฟฟา้ ฝ่ายผลติ แห่งประเทศไทย
6) ศูนยป์ ฏบิ ตั กิ ารเขต 4 การปิโตรเลยี มแหง่ ประเทศไทย
7) ศนู ย์ผลิตกา๊ ซธรรมชาติน้าพองของ บริษทั เอก็ ซอนโมบิล เอก๊ ซ์โพลเรชัน่ แอนด์ โพรชนั่

โคราช อิงค์
8) บริษัท พานาโซนิค อีเลค็ ทริค เวิร์คส (ขอนแกน่ ) จา้ กดั
9) บริษทั ท่นี อนดารล์ ่ิง ขอนแก่น จา้ กัด
10) บรษิ ทั ยาซากิ จา้ กดั
11) บรษิ ัท ขนส่งแก๊สธรรมชาติ
2.5.13 ศำสนำ ประชาชนส่วนใหญ่ในอา้ เภอนา้ พองนับถือศาสนาพุทธ มีวัดพุทธศาสนา 2 นิกาย คือนิกาย
ธรรมยตุ 12 แห่ง มหานิกาย 107 แหง่ (เปน็ ทพี่ กั สงฆ์ 14 แห่ง) นอกจากนียงั มีโบสถ์คริสต์ศาสนา 1 แห่ง และมัสยิด
1 แห่ง
2.5.14 สถำนบรกิ ำรและหน่วยงำนสำธำรณสขุ

1. สถานบรกิ าร และหน่วยงานสาธารณสุขของรัฐ ประกอบดว้ ย
1.1 สถานบรกิ าร สงั กัดกระทรวงสาธารณสุข ไดแ้ ก่
1) โรงพยาบาลชุมชนขนาด M2 120 เตียง 1 แหง่
2) ส้านกั งานสาธารณสุขอ้าเภอนา้ พอง 1 แหง่ โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพต้าบล 18 แหง่
1.2 สถานบริการสาธารณสุขเอกชน ได้แก่
1) คลินกิ 12 แหง่
2) คลินกิ ทนั ตกรรม 3 แหง่
3) คลนี ิกพยาบาลและการผดุงครรภ์ 1 แหง่
4) รา้ นขายยาแผนปจั จุบัน 15 แหง่

2.5.15 บคุ ลำกรดำ้ นสำธำรณสุข เมอ่ื จ้าแนกตามสาขาวิชาชีพหลกั 4 สาขาพบว่า แพทย์มสี ดั ส่วนต่อ
ประชากร 1: 4,528 คน ทนั ตแพทย์ 1:12,579 คน เภสชั กร 1:9,434 คน และพยาบาลวชิ าชพี (รพ. 139 คน
รพ.สต.40 คน) 1:632 คน ดงั ตารางท่ี 3

ตำรำงท่ี 3 จา้ นวนบุคลากรสาธารณสุขโรงพยาบาลน้าพอง อ้าเภอน้าพอง ปี 2564

ลำดับที่ ตำแหนง่ รวม สดั ส่วน: ประชำกร FTE
26
1 แพทย์ 25 1: 4,528 8
11
2. ทันตแพทย์ 9 1: 12,579 109
9
3 เภสัชกร 12 1: 9,434

4 พยาบาลวิชาชพี 139 1: 814

5 นกั วชิ าการสาธารณสุข/จพง.สาธารณสุขชุมชน 9 1: 12,579

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จังหวดั ขอนแกน่ หน้า 10

ตำรำงท่ี 3 จ้านวนบคุ ลากรสาธารณสุขโรงพยาบาลน้าพอง อา้ เภอน้าพอง ปี 2564 (ต่อ)

ลำดับที่ ตำแหนง่ รวม สัดสว่ น: ประชำกร FTE
4
6 นกั กายภาพบ้าบดั 4 1: 28,302 3
4
7 นกั การแพทย์แผนไทย 3 1: 37,373 10
3
8 เจ้าพนักงานทันตสาธารณสุข 6 1: 18,868 5
2
9 เจา้ พนกั งานเภสชั 9 1: 12,579

10 เจา้ พนักงานวทิ ยาศาสตร์ 2 1: 56,605

11 เทคนคิ การแพทย์ 5 1: 22,642

12 เจา้ พนักงานเวชกิจฉุกเฉนิ 7 1: 16,173

รวม 397

ที่มา: จากงานบคุ ลากร โรงพยาบาลนา้ พอง และ สา้ นักงานสาธารณสขุ อ้าเภอน้าพอง

ขอ้ มูล ณ วนั ที่ 31 ธันวาคม 2564

ตำรำงท่ี 4 จา้ นวนบุคลากร สงั กดั ส้านกั งานสาธารณสขุ อ้าเภออ้าเภอน้าพอง ปี 2564 (สสอ./รพ.สต. 18 แหง่ )

ตำแหนง่ จำนวน (คน)

นกั วิชาการ 28

เจา้ พนักงานสาธารณสขุ 26

พยาบาลวชิ าชีพ (เวชปฏิบัติ) 40

พยาบาลเทคนิค 1

เจ้าพนกั งานทนั ตะ 3

นักการแพทย์แผนไทย 3

เวชกจิ ฉุกเฉนิ 1

เจ้าพนักงานธุรการ 1

รวม 103

2.5.16 ขอ้ มูลอตั รำกำรเกดิ อตั รำตำย อตั รำเพ่มิ ตำมธรรมชำติ อัตรำทำรกตำย อัตรำตำยเด็กอำยุ
ต่ำกว่ำ 5 ปี และอัตรำมำรดำตำย ปี 2562-2564 พบว่าอัตราการเกิดมีชีพ (ต่อ 1,000 ประชากร) เท่ากับ
3.11, 2.52 และ 3.17 อัตราตาย (ต่อ 1,000 ประชากร) เท่ากับ 7.58, 7.89 และ 8.20 อัตราเพ่ิมตาม
ธรรมชาติ (ร้อยละ) เท่ากับ (-0.45), (-0.54) และ (-0.50) อัตราทารกตาย (ต่อ 1,000 ประชากร) เท่ากับ
2.86, 6.97 และ 0.00 อัตราตายเด็กอายุต่้ากว่า 5 ปี (ต่อ 1,000 ประชากร) เท่ากับ 5.71, 6.97 และ 0.00
อตั ราตายมารดา (ต่อ 1,000 ประชากร) เท่ากบั 0.00 ดังตารางท่ี 5

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอน้าพอง จงั หวัดขอนแก่น หนา้ 11

ตำรำงที่ 5 จา้ นวนและอัตรา การเกดิ มีชีพ การตาย ทารกตาย เด็กอายุตา้่ กว่า 5 ปี และมารดาตาย

อา้ เภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแก่น ปี พ.ศ. 2562 – 2564

อัตรา อตั ราตาย อัตราเพ่ิม อตั รา อัตราตายเดก็ อตั รา

การเกิดมีชพี ตามธรรมชาติ ทารกตาย อายุต้า่ กว่า 5 ปี ตายมารดา

ปี (ต่อ 1,000 (ตอ่ 1,000 (ร้อยละ) (ต่อ 1,000 (ตอ่ 1,000 (ตอ่ 100,000

ประชากร) ประชากร) ประชากร) ประชากร) ประชากร)

จา้ นวน อตั รา จา้ นวน อัตรา จ้านวน อตั รา จ้านวน อัตรา จ้านวน อตั รา จ้านวน อัตรา

2562 350 3.11 853 7.58 -503 -0.45 1 2.86 2 5.71 0 0.00

2563 287 2.52 897 7.89 -610 -0.54 2 6.97 2 6.97 0 0.00

2564 359 3.17 928 8.20 -569 -0.50 0 0.00 0 0.00 0 0.00

ทีม่ า: จา้ นวนการเกดิ – ตาย, ทารกตาย, เด็กอายตุ ้่ากวา่ 5 ปตี าย จากกองยทุ ธศาสตร์และแผนงาน กระทรวง
สาธารณสขุ รวบรวมและประเมินผลจากส้านักบรหิ ารการทะเบยี น กรมการปกครอง
กระทรวงมหาดไทยข้อมูล 1 มกราคม-31 ธันวาคม ของปี

2.5.17 อำยุคำดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิด (Life Expectancy : LE at Birth) อายุคาดเฉล่ียเมื่อแรกเกิดอ้าเภอ
น้าพอง จังหวัดขอนแก่น ปี 2562 – 2564 พบว่า ประชากรอ้าเภอน้าพองมีอายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิดภาพรวม (ทัง
เพศชาย เพศหญิง) เท่ากับ 77.86 ปี, 77.67 ปี และ 77.40 ปี และอายุคาดเฉลี่ยเม่ืออายุ 60 ปี (Life Expectancy
at age 60 year) ภาพรวม (ทงั เพศชาย เพศหญงิ ) เทา่ กบั 22.98 ปี, 22.52 ปี และ 22.87 ปี ตามลา้ ดับ ดงั ตารางท่ี 6
ตำรำงท่ี 6 อายคุ าดเฉลี่ยเม่ือแรกเกดิ (Life Expectancy : LE at Birth) และอายคุ าดเฉลีย่ เม่อื อายุ 60 ปี

(Life Expectancy at age 60 year) อา้ เภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น พ.ศ. 2562 – 2564

Life Expectancy at Birth & Life Expectancy at age 60 year

ปี Life Expectancy at Birth Life Expectancy at age 60 year

ชำย หญิง ภำพรวม ชำย หญงิ ภำพรวม

2562 74.60 81.25 77.86 21.74 24.13 22.98

2563 73.90 81.66 77.67 20.51 24.42 22.52

2564 73.01 82.13 77.40 20.88 24.70 22.87

2.5.18 อำยุคำดเฉลี่ยของกำรมีสุขภำพดี (Health adjusted life expectancy: HALE) อายุ
คาดเฉลี่ยของการมีสุขภาพดีประชากรอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ปี 2562 – 2564 พบว่า ประชากร
อ้าเภอ น้าพองมีอายุคาดเฉลี่ยเม่ือแรกเกิดของการมีสุขภาพดีภาพรวม (ทังเพศชาย เพศหญิง) เท่ากับ 70.99
ปี, 70.86 ปี และ 70.61 ปี และอายุคาดเฉล่ียของการมีสุขภาพดีเมื่ออายุ 60 ปี (Life Expectancy at age
60 year) ภาพรวม (ทงั เพศชาย เพศหญิง) เทา่ กบั 17.87 ปี, 17.52 ปี และ 17.78 ปี ตามลา้ ดับ ดังตารางที่ 7

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอนา้ พอง จังหวดั ขอนแกน่ หน้า 12

ตำรำงที่ 7 อายุคาดเฉลย่ี ของการมีสุขภาพดี (Health adjusted life expectancy: HALE) อา้ เภอน้าพอง
จังหวดั ขอนแกน่ พ.ศ. 2562 – 2564

Health adjusted life expectancy

ปี Life Expectancy at Birth Life Expectancy at age 60 year
ชำย หญงิ ภำพรวม ชำย หญิง ภำพรวม
16.95 18.72 17.87
2562 68.37 73.73 70.99
16.06 18.90 17.52
2563 67.87 74.03 70.86 16.37 19.09 17.78
2564 67.12 74.37 70.61

2.5.19 กำรสูญเสียปีสุขภำวะจำกกำรตำยก่อนวัยอันควร (Year of Life Lost : YLL) ของประชากร
อ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ปี พ.ศ. 2562 - 2564 พบว่า มีความสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควร
ทังหมดเท่ากับ 17,256 ปี 17,640 ปี และ 18,657 ปี ตามล้าดับ เม่ือพิจารณา 3 ปีย้อนหลัง พบว่า 10 อันดับโรคที่
เป็นสาเหตุหลักคือ 1) มะเร็งและเนืองอก 2) โรคหลอดเลือดในสมอง 3) ไตวาย 4) ปอดบวม 5)โลหิตเป็นพิษ
6) โรคของตบั 7) เบาหวาน 8) โรคหวั ใจขาดเลอื ด 9) อบุ ตั ิเหตุการขนสง่ และ 10) อุบัติเหตุการตกน้า และการจมน้า
รายละเอียดแสดงดงั ตารางท่ี 8
ตำรำงที่ 8 10 อันดับโรคท่ีเป็นสาเหตุหลักของการสูญเสียปีสุขภาวะจากการตายก่อนวัยอันควรของ

ประชากรอา้ เภอนา้ พอง จังหวัดขอนแกน่ (Year of Life Lost: YLL) พ.ศ. 2562 – 2564

YLL YLL ปี 2562 YLL ปี 2563 YLL ปี 2564

กลมุ่ โรค รหสั โรค ชือ่ โรค ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม ชาย หญงิ รวม

1 C00 - D48 มะเร็งและเนื้องอก 1,658 955 2,663 1,837 1,333 3,236 1,786 1,158 3,029

2 I60 - I69 โรคหลอดเลอื ดในสมอง 607 313 944 754 261 1,065 837 497 1,378

3 N16 - N19 ไตวาย 438 441 880 487 372 876 559 774 1,330

4 J12 - J18 ปอดบวม 500 641 1,139 804 233 1,085 552 412 984

5 A40 - A41 โลหติ เป็นพษิ 372 279 664 511 234 771 616 273 925

6 K70 - K76 โรคของตบั 645 221 897 454 201 681 603 78 732

7 E10 - E14 เบาหวาน 541 497 1,047 61 29 93 154 138 297

8 I20 - I25 โรคหวั ใจขาดเลอื ด 214 187 403 225 184 415 259 48 329

9 V01 - V99 อบุ ตั เิ หตกุ ารขนสง่ 986 85 1,124 88 10 105 321 145 483

10 W65 - W74 อบุ ตั เิ หตกุ ารตกน้า และการจมน้า 58 0 59 306 115 262 244 34 296

รวมทง้ั หมด 10,531 6,392 17,256 10,632 6,549 17,640 11,478 6,568 18,657

2.5.20 สำเหตกุ ำรปว่ ยของผู้ปว่ ยนอก พบวา่ สาเหตุการปว่ ยของผ้ปู ่วยนอก 10 อันดับแรก ทรี่ บั การ
รกั ษาทีโ่ รงพยาบาลน้าพอง อ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ระหวา่ งปี 2561-2564 ประกอบด้วย 1) DM 2)
HT 3) ESRD 4) Dyspepsia 5) Asthma 6) HIV 7) Diarrhea 8) Myalgia 9) COPD และ 10) Stroke ดงั
แสดงในตารางที่ 9

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอน้าพอง จังหวดั ขอนแก่น หนา้ 13

ตำรำงที่ 9 สาเหตุการปว่ ย 10 อันดบั แรก ของผปู้ ว่ ยนอกโรงพยาบาลน้าพอง ปีงบประมาณ 2561–2564

สำเหตกุ ำรป่วย 2561 อตั รำปว่ ย : แสนประชำกร 2564
2562 2563

1. DM 19,660.10 16,375.54 15,150.97 11,175.75

2. HT 24,029.91 20,933.10 13,768.95 9,997.84

3. ESRD 3,508.31 8,325.39 3,796.28 3,577.79

4. Dyspepsia 5,391.15 4,145.60 3,474.38 2,922.29

5. Asthma 3,225.66 2,414.15 2,772.13 2,234.43

6. HIV 1,424.09 1,221 1,578.94 1,388.31

7. Diarrhea 2,859.93 2,263.94 2,216.45 1,289.41

8. Myalgia 2378.61 2357.48 271.55 963.91

9. COPD 1,754.61 1,350.09 1,345.15 1,188.70

10. Stroke 882.27 715.07 617.03 998.08

ทม่ี า: ขอ้ มูลจาก Data OPD Clinic ณ.วันท่ี 31 มกราคม 2565

2.5.21 สำเหตุกำรปว่ ยของผปู้ ว่ ยใน สาเหตกุ ารปว่ ยของผู้ป่วยใน 10 อันดับแรก ทีร่ ับรักษาทโี่ รงพยาบาล

น้าพอง อ้าเภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแก่น ระหวา่ งปี 2561-2564 ประกอบดว้ ย 1) DM 2) HT 3) ESRD 4) Dyspepsia

5) Asthma 6) HIV 7) Diarrhea 8) Myalgia 9) COPD และ 10) Stroke ดงั แสดงในตารางท่ี 10

ตำรำงที่ 10 แสดงสาเหตกุ ารปว่ ย 10 อันดับแรก ของผปู้ ว่ ยในโรงพยาบาลน้าพอง ปงี บประมาณ 2561-2564

สำเหตกุ ำรป่วย 2561 อัตรำป่วย : แสนประชำกร 2564
2562 2563 129.48
35.97
1. URI 148.60 119.85 70.14 479.26
329.99
2. Pharyngitis 28.26 18.73 19.78 631.22
249.97
3. Pneumonia 475 614.33 790.37 165.45
180.73
4. UTI 274.52 433.54 461.27 151.96
87.22
5. Diarrhea 370.14 603.94 862.30

6. CKD 141.78 240.16 269.75

7. DM 141.78 152.91 268.85

8. CHF 116.49 115.13 165.45

9. Dyspepsia 147.20 196.98 211.30

10. COPD 102.04 88 130.38

ทม่ี า: ข้อมลู จาก Data IPD Clinic ณ.วันท่ี 31 มกราคม 2565

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จังหวัดขอนแกน่ หน้า 14

2.5.22 สำเหตกุ ำรตำย สาเหตุการตาย 10 อันดับแรก ของประชากรอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น
ระหวา่ งปี 2562-2564 ประกอบด้วย 1) มะเร็งและเนืองอก (C00-D48) 2) โรคหลอดเลือดในสมอง (I60-I69)
3) ไตวาย (N16-N19) 4) ปอดบวม (J12-J18) 5) โลหิตเป็นพิษ (A40-A41) 6) โรคของตับ (K70-K76) 7)
เบาหวาน (E10-E14) 8) โรคหัวใจขาดเลือด (I20-I25) 9) อุบัติเหตุการขนส่ง (V01-V99) และ 10) อุบัติเหตุ

การตกนา้ และการจมนา้ (W65-W74) ดังแสดงในตารางท่ี 11

ตำรำงที 11 สาเหตกุ ารตาย 10 อันดบั แรก ของอ้าเภอนา้ พอง ปีงบประมาณ 2561 -2564

ลำดบั ที่ สาเหตุการตาย อัตราตาย : แสนประชากร
2562 2563 2564

1 มะเรง็ และเนืองอก (C00-D48) 94.51 120.13 113.06

2 โรคหลอดเลอื ดในสมอง (I60-I69) 44.17 45.05 60.06

3 ไตวาย (N16-N19) 34.45 39.75 58.30

4 ปอดบวม (J12-J18) 53.88 53.00 40.63

5 โลหติ เปน็ พษิ (A40-A41) 27.38 27.38 34.45

6 โรคของตบั (K70-K76) 26.50 21.20 22.08

7 เบาหวาน (E10-E14) 44.17 4.42 14.13

8 โรคหวั ใจขาดเลอื ด (I20-I25) 18.55 17.67 13.25

9 อบุ ัตเิ หตกุ ารขนสง่ (V01-V99) 21.20 3.53 10.60

10 อบุ ตั ิเหตุการตกน้าและการจมน้า 1.77 9.72 7.95
(W65-W74)

ท่มี า: จ้านวนการตาย จากกองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน กระทรวงสาธารณสุขรวบรวมและประเมนิ ผลจาก

สา้ นกั บริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทยข้อมูล 1 มกราคม-31 ธนั วาคม ของปี

2.5.23 โรคที่ต้องเฝ้ำระวังทำงระบำดวิทยำ โรคที่ต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของอ้าเภอน้าพอง
จังหวัดขอนแก่น จากสถานการณ์โรคท่ีต้องเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา ปี พ.ศ. 2560 - 2564 พบว่า โรคท่ีต้อง
เฝ้าระวังทางระบาดวทิ ยาทพ่ี บมาก ไดแ้ ก่ โรคอุจจาระรว่ งเฉียบพลัน รองลงมาคือ ปอดบวม ไข้หรือไข้ไม่ทราบ
สาเหตุ อาหารเปน็ พษิ และสุกใส ตามลา้ ดับ ดงั ตารางที่ 12

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จังหวดั ขอนแก่น หนา้ 15

ตำรำงที่ 12 โรคทต่ี อ้ งเฝ้าระวังทางระบาดวทิ ยา อา้ เภอนา้ พอง ปี พ.ศ. 2560 – 2564

ลำดับท่ี สำเหตุกำรปว่ ยโรค/อำกำร อตั รำป่วย: แสนประชำกร 2564
2560 2561 2562 2563

1 อจุ าระร่วงเฉยี บพลนั 1,704.94 2,063.36 1,795.32 1,961.91 1,283.22

2 ปอดบวม 91.21 92.64 80.05 289.91 366.24

3 ไข้หรอื ไขไ้ มท่ ราบฯ 674.57 975.01 1,109.03 881.58 546.13

4 อาหารเป็นพิษ 667.35 799.62 559.46 585.29 325.65

5 สุกใส 130.04 62.06 46.77 71.11 27.68

ท่มี า: ศูนยร์ ะบาดวิทยา อ้าเภอน้าพอง ขอ้ มลู ณ.วนั ที่ 31 มกราคม 2565

2.6 สรปุ ผลกำรดำเนนิ งำนตำมยทุ ธศำสตร์ อำเภอนำ้ พอง จังหวดั ขอนแก่น ปงี บประมำณ 2564

ลำดบั ที่ ยทุ ธศำสตร์ คะแนนเตม็ คะแนนทีไ่ ด้ คิดเปน็ รอ้ ยละ แปรผล

1 ประเด็นยทุ ธศำสตรท์ ี่ 1 กำรระดมพลงั ภำคี 70 62 88.57 ดีเด่น

ทุกภำคส่วน ทุกระดบั รว่ มสร้ำงเมืองแหง่ สุข
ภำวะและนเิ วศนส์ ขุ ภำพชมุ ชนทเ่ี ขม้ แขง็

2 ประเด็นยทุ ธศำสตร์ที่ 2 กำรพัฒนำขดี 35 34 97.14 ดเี ด่น
ควำมสำมำรถในกำรจัดกำรสุขภำพตนเอง
แกป่ ระชำชน ชมุ ชน อยำ่ งเขม้ แขง็ และ

ยง่ั ยนื

3 ประเดน็ ยทุ ธศำสตรท์ ี่ 3 กำรเสริมสรำ้ ง 45 44 97.78 ดีเดน่

ควำมเป็นเลิศทำงกำรแพทย์ และกำรพฒั นำ

คุณภำพกำรบริกำร สขุ ภำพแก่ประชำชนที่

ได้มำตรฐำนสำกล

4 ประเดน็ ยุทธศำสตรท์ ี่ 4 กำรพัฒนำองคก์ ร 35 33 94.28 ดเี ด่น

สำธำรณสขุ ใหม้ สี มรรถนะสงู บคุ ลำกรเป็น

มอื อำชีพ บรหิ ำรด้วยควำมทันสมัย และธรร

มำภบิ ำล

5 ประเด็นยุทธศำสตรท์ ่ี 5 กำรพัฒนำระบบ 10 10 100 ดีเดน่

สขุ ภำพเพือ่ หนุนเสรมิ กำรเติบโตทำง

เศรษฐกจิ และกำรเตบิ โตของคุณภำพชีวติ ท่ี

เปน็ มติ รกบั สิง่ แวดล้อม ทส่ี อดคล้องกบั
ยุทธศำสตรช์ ำติ 20 ปี

รวม 195 183 93.85 ดีเด่น

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแก่น หนา้ 16

2.7 สรปุ ประเด็นตำมตัวช้ีวดั ปัญหำสุขภำพ และประเดน็ ที่นำ่ สนใจในศกึ ษำข้อมูลเพ่ิมเตมิ
2.7.1 ทารกแรกเกดิ มีคา่ TSH > 11.25 รอ้ ยละ 11.6 (เกณฑ์ < ร้อยละ 3)
2.7.2 รอ้ ยละของการตงั ครรภซ์ ้าในวัยรุน่ อายุน้อยกวา่ 20 ปี ร้อยละ 12.9 (เกณฑ์ < ร้อยละ 10)
2.7.3 อตั ราของผปู้ ว่ ยโรคเบาหวานและโรคความดนั โลหติ สงู ได้รับการคน้ หาและคดั กรองโรคไตเรือรัง
ร้อยละ 67.74 (เกณฑ์ > รอ้ ยละ 80)
2.7.4 ผู้ปว่ ยระยะท้ายไดร้ บั การดแู ลแบบประคบั ประคองไดร้ ับยา Opioids เพ่อื จัดการอาการปวด และ
ภาวะหายใจล้าบากอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ร้อยละ 73.73 (เกณฑ์ > ร้อยละ 80)
2.7.5 การคดั กรองมะเร็งปากมดลกู ในสตรีอายุ 30-60 ปี (Pap smear, HPV DNA test) รอ้ ยละ 35.05
2.7.6 ผู้สูงอายุ ทงั นีเนือ่ งจากขอ้ มลู ดา้ นประชากร พบวา่ ประชากรวยั ผสู้ งู อายุ (60 ปีขึนไป) รอ้ ยละ 19.56
(วยั ผสู้ งู อายุตอนตน้ (60-69 ป)ี รอ้ ยละ 11.01 ผูส้ ูงอายตุ อนกลาง (70-79 ป)ี รอ้ ยละ 6.11 และ
ผสู้ งู อายุตอนปลาย (80 ปขี ึนไป) รอ้ ยละ 2.44
2.7.7 การพฒั นาคุณภาพชีวติ ระดบั อ้าเภอ (พชอ.) ประเด็น 1) คนน้าพองไม่ทอดทงิ กนั เชน่ การเฝ้าระวงั
ป้องกันควบคุมโรคติดเชือไวรัสโคโรนา 2019 การดูแลผปู้ ่วยตดิ เตยี ง ผปู้ ่วยระยะทา้ ย SMART KID
4.0 เด็กน้าพอง เก่งดี มสี ขุ LTC 2) การจัดการขยะตน้ ทาง 3) Food bank และ 4) การแก้ไขปัญหา
อบุ ุตเิ หตุจราจรแบบบรู ณาการ
2.7.8 ความส้าเรจ็ ของการดา้ เนินงานป้องกนั ควบคุมวัณโรค
2.7.9 สาเหตกุ ารปว่ ย สาเหตุการตาย เชน่ เบาหวาน, ความดันโลหติ สูง, ปอดบวม, ถงุ ลมโปง่ พอง, มะเร็ง,
อุบตั เิ หตุจราจร, , ESRD, CKD, Stroke, Sepsis
2.7.10 ประเด็นเกี่ยวกบั ผลกระทบทางสุขภาพท่เี กดิ ขนึ จากโรงงานอตุ สาหกรรมในพนื ท่ี
2.7.11 ประเดน็ เก่ียวกบั โควิด-19

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแกน่ หน้า 17

บทท่ี 3

เครอ่ื งมอื ท่ีใช้ในกำรวิเครำะห์

เคร่ืองมือที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลพืนท่ีอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น ประกอบด้วย หกเสาหลัก
ของระบบสุขภาพ (6 building blocks plus) 7’S ได้แก่ strategy, structure, system, style, staff,
skills, share value และ PESTEL ได้แก่ policy, economic, social, technology, legal,
environmental โดยมีรายละเอียด ดงั นี
3.1 หกเสำหลกั ของระบบสขุ ภำพ หรือ 6 building blocks of a health system

หกเสาหลักของระบบสุขภาพ หรือ 6 building blocks of a health system ที่พัฒนาโดยองค์การ
อนามัยโลก เป็นแนวคิดการพัฒนาระบบสุขภาพท่ีประกอบด้วย 6 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ การจัดบริการ
(Service delivery) การวางแผนก้าลังคน (Health Workforce) การจัดการระบบข้อมูลสุขภาพ (Health
Information System) การจัดการเทคโนโลยี เคร่ืองมือและยา (Medical products, vaccine, and
technologies) การเงิน (Health Financing) ภาวะผู้น้า/การอภิบาลระบบ (Leadership & Governance)
โดยผลท่ีเกิดจากการบริหารจัดการ 6 Building Blocks ได้ดี คือ การเข้าถึงและความครอบคลุมด้านการ
บริการ (Access & Coverage) คุณภาพและความปลอดภัย (Quality & Safety) ซ่ึงจะส่งผลให้เกิดผลลัพธ์
ของระบบสุขภาพ 4 ด้าน คือ สุขภาพดีขึน (Improved health) การตอบสนองความต้องการ
(Responsiveness) การคุ้มครองความเสี่ยงทางด้านสังคมและการเงิน (Social & Financial risk
protection) และการเพ่ิมประสิทธิภาพ (Improved efficiency) โดยแต่ละองค์ประกอบของ 6 building
blocks of a health system มีดังนี

1. กำรจัดบริกำร (Service delivery) การให้บริการถือเป็นปัจจัยพืนฐานที่น้าไปสู่สุขภาวะของ
ประชาชน โดยหลกั การสา้ คญั ของการใหบ้ รกิ าร คือ ตอ้ งมุ่งเนน้ ท่ี “คน” เป็นศูนย์กลาง ไม่ใช่มุ่งท่ี “โรค” หรือ
ตัวเงินเปน็ หลกั ดงั นันจงึ ตอ้ งมกี ารออกแบบและพฒั นาระบบบรกิ ารให้มีประสทิ ธภิ าพ และเท่าเทียมกนั

2. กำรวำงแผนกำลังคน (Health Workforce) ก้าลังคนด้านสุขภาพในท่ีนีหมายรวมถึง บุคลากร
ทังหมดท่ีปฏิบัติงานด้านสุขภาพ ทังสายวิชาชีพและสายสนับสนุน ท่ีท้างานในภาครัฐและภาคเอกชน ท้างาน
เต็มเวลาหรอื ก่งึ เวลา ทา้ งานเดยี วหรอื ควบหลายงาน รวมถึงการได้รับหรือไม่ได้รับค่าตอบแทนจากการท้างาน
ก็ตาม

3. กำรจัดกำรระบบข้อมูลสุขภำพ (Health Information System) ระบบสารสนเทศการมี
ระบบสุขภาพท่ีดีนันจ้าเป็นต้องมีระบบฐานข้อมูลที่ครอบคลุม มีระบบสารสนเทศด้านสุขภาพท่ีถูกต้องและมี

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแกน่ หน้า 18

คุณภาพ เพ่อื ลดความผิดพลาดในระบบสุขภาพท่ีอาจเกิดขึน อีกทังระบบสารสนเทศท่ีดีจะถูกน้าไปใช้เป็นฐาน
ในการตัดสนิ ในองค์ประกอบอื่น ๆ ของระบบสุขภาพได้อย่างชดั เจนและมปี ระสิทธผิ ลอกี ด้วย

4. กำรจัดกำรเทคโนโลยี เคร่ืองมือและยำ (Medical products, vaccine and
technologies) ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ วัคซีน เทคโนโลยีด้านสุขภาพต้องมีกลไกในระบบสุขภาพท่ีเอือให้
ประชาชนเข้าถงึ ผลิตภัณฑท์ างการแพทย์ ยา วัคซีน และเทคโนโลยีทางด้านสุขภาพท่ีจ้าเป็น มีความปลอดภัย
มคี ณุ ภาพ และคุ้มค่ากับราคา

5. กำรเงิน ( Health Financing) การบริหารจัดการงบประมาณ/การเงินการคลัง การคลังด้าน
สุขภาพเปน็ รากฐานส้าคัญท่ีจะหล่อเลียงระบบสุขภาพด้วยกลไกการจ่าย เก็บสะสม หรือแบ่งปันไปให้เกิดงาน
บริการท่ียังขาดไปในระบบ หรือแบ่งปันให้เกิดแรงจูงใจของบุคลากร หรือน้าไปซือยาและเวชภัณฑ์ให้
ครอบคลุมงานบริการสุขภาพที่จ้าเป็นเพ่ือท้าให้ภาพรวมของระบบสุขภาพมีความพร้อมให้บริการ ประชาชน
เข้าถึงได้ทุกเวลาและสถานที่ สามารถบรรลุเป้าหมายให้มีสุขภาพดีได้อย่างต่อเน่ือง ยั่งยืน และท่ีส้าคัญคือ
ปราศจากภาระค่าใชจ้ า่ ยดา้ นสขุ ภาพที่มากจนตอ้ งลม้ ละลาย

6. ภำวะผู้นำ/กำรอภิบำลระบบ (Leadership & Governance) ธรรมาภิบาลเรื่องนีมีความ
ส้าคัญมากขึนในปัจจุบัน ผู้น้าจ้าเป็นต้องใส่ใจในยุทธศาสตร์การสร้างระบบสุขภาพที่คาดหวังไว้ให้ส้าเร็จ ต้อง
ก้ากับ ดูแล และควบคุม รับผิดชอบในการจัดสรรงบประมาณที่เหมาะสมและเป็นธรรม เน่ืองจากมีผู้มีส่วนได้
ส่วนเสยี มากมายหลายกลมุ่ ภาวะผนู้ า้ มคี วามสา้ คญั มากในการบรู ณาการทุกภาคส่วนให้เกิดการเชื่อมผสานกัน
ในระบบสขุ ภาพท่ที า้ ใหป้ ระชาชนมีสุขภาพดีขึน ใหร้ ะบบสุขภาพของประเทศเกิดความสมดลุ และย่ังยนื

นอกจากนี ในการวิเคราะห์ครังนีทีมผู้วิเคราะห์ได้เพ่ิมองค์ประกอบของการมีส่วนร่วมของชุมชน
(Participation) ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูลระบบบริการของพืนทอ่ี ้าเภอน้าพองด้วย

3.2 7’S
นอกจากนีทีมผู้วิเคราะห์ได้ใช้เคร่ืองมือท่ีช่วยวิเคราะห์ SWOT analysis ในส่วนของปัจจัยภายใน

(Internal Factors) หรือจุดแข็ง (Strength) และจุดอ่อน (waekness) คือ 7’S ของแมคคินซีย์ (Mckinsey
Framework) ซ่ึงประกอบด้วย strategy, structure, system, style, staff, skills, share value ได้แก่
strategy, structure, system, style, staff, skills, share value มีรายละเอยี ดดงั นี

1. Strategy หมายถึง การวางแผนกลยุทธ์ขององค์กรเพื่อตอบสนองต่อสภาพแวดล้อมทังภายใน
และภายนอกโดยมีเปห้ มายเพอื่ เอาชนะคู่แข่ง การวางแผนเปรยี บเสมือนการวางเส้นทางไปสจู่ ดุ หมาย

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแกน่ หนา้ 19

2. Structure หมายถึง โครงสร้างองค์กรเก่ียวกับความสัมพันธ์ระหว่างอ้านาจหน้าท่ี เช่น การรวม
อ้านาจหรือกระจายอ้านาจของผู้บริหาร โครงสร้างองค์กรมีลักษณะอย่างไร สื่อสารกันอย่างไร ขอบเขตความ
รับผิดชอบเป็นอยา่ งไร

3. System หมายถึง กระบวนการและลา้ ดับขันในการท้างานท่ีต้องเป็นระบบท่ีสอดคล้องกัน ระบบ
การทา้ งานควรสอดคลอ้ งไปในทศิ ทางเดียวกับเรอื่ งอืน่ ๆ โดยเฉพาะกลยุทธแ์ ละโครงสร้างองคก์ ร

4. Style รูปแบบ หมายถึง รูปแบบการบริหารของผู้บริหารและความเป็นผู้น้าของผู้บริหาร และ
รปู แบบบริหารควรสอดคล้องกับดา้ นอ่ืนๆ

5. Staff การจัดการบุคคล หมายถึง การบริหารจัดการบุคคล เช่น การคัดเลือกบุคลากร การจัดคน
ใหเ้ ข้ากับงาน คา่ ตอบแทน การลงโทษ และการพัฒนาบุคลากร

6. Skill ทกั ษะ หมายถงึ ทกั ษะ ความโดดเดน่ ความเชี่ยวชาญในการให้บรกิ ารของบคุ ลากร องคก์ ร
7. Share value ค่านิยมร่วม หมายถึง ค่านิยมร่วมในองค์กร วัฒนธรรมองค์กร องค์กรมีความเช่ือ
อยา่ งไร ซ่งึ คา่ นิยมถอื เป็นหวั ใจขององคก์ รเพราะเป็นส่ิงท่ีสร้างความเปน็ อันหนงึ่ อนั เดียวกนั ภายในองค์กร

3.3 PESTEL
เครอ่ื งมือทางกลยทุ ธ์ส้าหรับการวเิ คราะห์ปัจจยั ภายนอกที่ส่งผลต่อองคก์ ร เป็นสิ่งท่ีไม่สามารถควบคุม

ได้ แตล่ ะปัจจยั ส่งผลดี (โอกาส opportunity) หรือผลเสียเป็นภัยคุกคามกับองค์กร (Threats) ได้แก่ PESTLE
ซ่งึ ประกอบดว้ ย policy, economic, social, technology, legal, environmental โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี

1. Policy คือ ปจั จยั ภายนอกด้านการเมืองและนโยบายต่างๆทังระยะสันและระยะยาวที่รัฐบาลเป็น
ผอู้ กนโยบายแลว้ มีผลตอ่ องคก์ ร

2. Economics คือ ปจั จัยภายนอกดา้ นเศรษฐกิจและการเงินท่เี ก่ยี วข้องกับองคก์ ร
3. Social คือ ปัจจัยภายนอกด้านสังคม วัฒนธรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่ นิสัยใจคอ พฤติกรรม โดย
ปจั จัย social จะเป็นส่วนสา้ คัญท่ีสะทอ้ นพฤตกิ รรมผู้รับบรกิ าร
4. Technology คอื ปัจจัยภายนอกเกี่ยวกับเทคโนโลยีที่เก่ียวข้องกับองค์กร และอยู่ไหนระดับไหน
ไดแ้ ก่ การเข้าถงึ เทคโนโลยี ระดบั ของเทคโนโลยี การวจิ ยั และพฒั นา
5. Environmental คือ ปัจจัยภายนอกที่เก่ียวกับด้านสภาพแวดล้อม เช่น สภาพภูมิอาการ
ลักษณะทางภูมิศาสตร์ ลักษณะทางธรรมชาติ
6. Law หรือ Legal คือ ปัจจัยภายนอกท่เี ก่ียวกับดา้ นกฎหมายที่ส่งผลต่อการด้าเนินการขององค์กร
ทงั ทางตรงทางอ้อม

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอนา้ พอง จังหวัดขอนแก่น หน้า 20

บทที่ 4
ผลกำรวิเครำะห์กำรดำเนินงำนในพ้ืนท่ี

4.1 กำรจัดลำดบั ควำมสำคัญของปญั หำ

จากการศึกษารายงานผลการด้าเนินงานประจ้าปี 2564 และจากการรับฟังการน้าเสนอผลการ
ด้าเนินงานของเครือข่ายบริการสุขภาพอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น พร้อมทังการเก็บข้อมูลจากการ
สอบถาม และขอรายละเอียดในการศึกษาเพ่ิมเติม ประเด็นจุดเด่น ประเด็นการพัฒนาของพืนที่ กลุ่มที่ 6 ได้
ท้าการวิเคราะห์ปัญหาสุขภาพท่ีพบในพืนท่ี เพื่อน้ามาจัดล้าดับความส้าคัญของปัญหา ส้าหรับการวางแผน
เชิงกลยุทธ์ โดยพบว่าในพืนท่ีอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น มีประเด็นสุขภาพและสาธารณสุข จ้านวน 11
ประเด็น พร้อมมีข้อมลู สนบั สนนุ ในแตล่ ะประเด็น รายละเอียดดงั ตารางท่ี 13

ตำรำงท่ี 13 แสดงประเดน็ สุขภาพและสาธารณสุข ขอ้ มูลสนบั สนนุ อ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น

ลำดบั ที่ ประเด็นสขุ ภำพและสำธำรณสุข แหลง่ ขอ้ มลู สนบั สนนุ

1 ทำรกแรกเกดิ มีคำ่ TSH > 11.25 สรุปผลการดา้ เนนิ งานตามตัวชวี ดั ปี 2564

2 การตงั ครรภซ์ ้าในวัยรุ่นอายุนอ้ ยกว่า 20 ปี สรุปผลการด้าเนินงานตามตัวชีวดั ปี 2564

3 อัตราของผปู้ ่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิต สรปุ ผลการด้าเนนิ งานตามตัวชีวัดปี 2564

สูง ไดร้ ับการคน้ หาและคัดกรองโรคไตเรอื รงั

4 ผปู้ ่วยระยะท้ายไดร้ ับการดูแลแบบประคับประคอง สรปุ ผลการดา้ เนนิ งานตามตวั ชีวัดปี 2564

ไดร้ บั ยา Opioids เพ่อื จัดการอาการปวด และ

ภาวะหายใจล้าบากอยา่ งมีประสิทธิภาพ

5 การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรอี ายุ 30-60 ปี สรปุ ผลการด้าเนนิ งานตามตัวชวี ัดปี 2564

6 ผูส้ ูงอายุ จากข้อมลู ดา้ นประชากร พบว่าประชากร ข้อมลู พนื ฐานของอา้ เภอน้าพอง

วัยผสู้ งู อายุ (60 ปขี นึ ไป) ร้อยละ 19.56

7 กำรพัฒนำคุณภำพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) สรปุ ผลการดา้ เนินงานตามตวั ชีวดั ปี 2564

8 ความส้าเร็จของการดา้ เนนิ งานปอ้ งกนั ควบคุม สรุปผลการดา้ เนินงานตามตัวชวี ัดปี 2564

วณั โรค

9 สาเหตุการป่วย สาเหตุการตาย เช่น เบาหวาน, ข้อมูลสาเหตุการป่วยของผู้ป้วยใน ผู้ป่วยนอก และ

ความดันโลหติ สงู , ปอดบวม, ถุงลมโป่งพอง, มะเรง็ , จากสาเหตกุ ารตาย ของ

อบุ ตั ิเหตจุ ราจร, ESRD, CKD, Stroke, Sepsis

10 ผลกระทบทางสขุ ภาพทเี่ กดิ ขึนจากโรงงาน สอบถามขอ้ มูลจากพนื ที่

อตุ สาหกรรม

11 การควบคุม ปอ้ งกันโรคโควิด-19 รายงานการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยาของส้านักงาน

สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น งานระบาดวิทยาของ

โรงพยาบาลนา้ พอง

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จังหวดั ขอนแก่น หน้า 21

จำกสูตร

Problem = (Expectation – Actual) X Concern

จากสถานการณ์โควิด-19 ปี 2563 พบว่าอ้าเภอน้าพอง มีผู้ป่วย จ้านวน 2 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ

1.76 ต่อแสนประชากร ปี 2564 พบว่าอ้าเภอน้าพอง มีผู้ป่วย จ้านวน 1,468 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ

1,296.69 ต่อแสนประชากร ตายจ้านวน 8 ราย คิดเป็นอัตราป่วยตายเท่ากับ 544.96 ต่อแสนประชากร ปี 2565

(เดอื นมกราคม – 17 พฤษภาคม 2565) พบว่าอ้าเภอน้าพอง มีผู้ป่วย จ้านวน 16,227 ราย คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ

14,333.41 ต่อแสนประชากร ตายจา้ นวน 14 ราย คดิ เป็นอตั ราปว่ ยตายเทา่ กบั 86.28 ตอ่ แสนประชากร

ด้านความครอบคลุมของการได้รับวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 พบว่าประชาชนทุกลุ่มอายุของอ้าเภอ

นา้ พอง จังหวัดขอนแกน่ ได้รับวคั ซีนโควิด-19 เขม็ ท่ี 1 ร้อยละ 66.40 ความครอบคลุมวัคซีนโควิด-19 เข็มที่ 1

ได้รับเข็มท่ี 2 ร้อยละ 90.11 และความครอบคลุมวัคซีนโควิด-19 เข็มที่ 2 ได้รับเข็มที่ 3 ร้อยละ 44.37 ดัง

ตารางท่ี 14

ตำรำงที่ 14 จ้านวน และร้อยละของประชากรทไ่ี ดร้ บั วคั ซีนโควิด-19 จ้าแนกตามกล่มุ เป้าหมาย

กลุ่มเป้ำหมำย เป้ำหมำย เขม็ ที่ 1 เข็มท่ี 2 เขม็ ที่ 3

ทกุ กลุม่ อายุ 97,646 65,093 59,313 26,464

(66.79%) (91.13%) (44.61%)

12 – 17 ปี 6,764 7,151 6,886 2,078

(105.80%) (96.23%) (30.17%)

5 - 11 ปี 6,731 5,617 2,456 3

(83.45%) (43.72%) (0.12%)

กลุ่ม 608 29,687 17,225 16,351 9,617

(58.08%) (94.83%) (58.82%)

ทีม่ า: กลุ่มงานเทคโนโลยสี ารสนเทศ ส้านกั งานสาธารณสขุ จังหวดั ขอนแก่น ข้อมูล ณ วันท่ี 16 พฤษภาคม 2565

จากข้อมูลกรมอนามัย ปี 2565 อ้าเภอน้าพองมีองค์กร/สถานประกอบการ ท่ีผ่านการประเมิน Thai Stop

Covid 2 Plus จา้ นวน 487 แหง่ ดงั ตารางที่ 15

ตำรำงที่ 15 จ้านวนองค์กร/สถานประกอบการ ทผี่ ่านการประเมิน Thai Stop Covid 2 Plus จา้ แนกตามประเภท

ลำดบั องค์กร/สถำนประกอบกำร จำนวน (แหง่ )

1 ตลาดสด 2

2 รา้ นอาหาร 38

3 สถานศกึ ษา 85

4 ศนู ยเ์ ดก็ เล็ก 32

5 โรงงาน 6

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอนา้ พอง จังหวัดขอนแก่น หน้า 22

ตำรำงท่ี 15 จา้ นวนองค์กร/สถานประกอบการท่ีผ่านการประเมิน Thai Stop Covid 2 Plus จา้ แนกตามประเภท

ลำดับ องค์กร/สถำนประกอบกำร จำนวน (แหง่ )

6 โรงแรม 2

7 ร้านเสริมสวย/แต่งผม/ตดั ผม/ท้าเล็บ 85

8 ร้านค้าปลกี /ส่ง 178

9 ฟิสเนส 1

10 รถเร่ 2

11 โรงพยาบาล 1

12 โรงพยาบาลสง่ เสรมิ สขุ ภาพตา้ บล 19

13 วดั 18

14 ศนู ยบ์ ริการรถยนต์ 1

15 สถานบันเทงิ 1

16 สถานใี ห้บริการน้ามันเชอื เพลงิ 1

17 ส้านักงาน/องค์กร/สถานประกอบการทีไ่ ม่ใช่โรงงาน 4

18 ห้องสมดุ 1

19 อพารท์ เมนท์ 1

20 อาหารรมิ บาทวิถี 9

รวม 487

4.2 กำรวิเครำะห์ปจั จยั

จากการวเิ คราะห์ประเดน็ ปัญหาสุขภาพในพนื ท่ี พบวา่ ปัญหาโควิด-19 เป็นปญั หาส้าคัญและเป็นสิ่งท่ี
พืนตระหนักเป็นล้าดับแรก จึงได้น้าประเด็นปัญหามาวิเคราะห์ปัจจัยที่มีส่วนเกี่ยวข้อง แบ่งเป็น 1) นโยบาย
และยุทธศาสตร์ 2) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน และภายนอกองค์กร ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
รายละเอยี ดดังต่อไปนี

4.2.1 นโยบำยและยุทธศำสตร์ นโยบายและยทุ ธศาสตร์ท่เี ก่ียวข้องกับปัญหาการป้องกันและควบคุม
โรคโควดิ -19 การด้าเนนิ งานทีเ่ กี่ยวกบั การปอ้ งกัน ควบคุม โรคโควิด -19 มีการวางแผน และนโยบายตังแต่ใน
ระดับชาติ จนถงึ ในระดับพืนท่ี โดยนโยบาย แผนงาน ยุทธศาสตรใ์ นแต่ละระดบั มเี นือหาโดยสงั เขป ดงั นี

1. ยุทธศำสตร์ 20 ปี ประกอบด้วย ยุทธศำสตร์ที่ 1 ด้านความมั่นคง ยุทธศำสตร์ท่ี 2 ด้าน
การสรา้ งความสามารถในการแขง่ ขัน ยทุ ธศำสตร์ท่ี 3 ดา้ นการพัฒนาและเสรมิ สร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์
ยุทธศำสตร์ที่ 4 ด้านการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม ยุทธศำสตร์ท่ี 5 ด้านการสร้างการเติบโต
บนคณุ ภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรต่อส่ิงแวดล้อม ยุทธศำสตร์ท่ี 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการ
ภาครัฐ

2. แผนแม่บท ภำยใต้ยุทธศำสตร์ชำติ ประกอบด้วย 1) ความม่ันคง 2) การต่างประเทศ
3) การพัฒนาการเกษตร 4) อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต 5) การท่องเที่ยว 6) พืนท่ีและเมืองน่าอยู่

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแกน่ หนา้ 23

อัจฉริยะ 7) โครงสร้างพืนฐาน ระบบลอจิสติกส์ และดิจิทัล 8) ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและ
ขนาดยอ่ มยคุ ใหม่ 9) เขตเศรษกิจพิเศษ 10) การปรับเปลีย่ นคา่ นยิ มและวัฒนธรรม 11) ศักยภาพคนตลอดช่วง
ชีวิต 12) การพฒั นาการเรยี นรู้ 13) การเสรมิ สรา้ งให้คนไทยมสี ุขภาวะที่ดี 14) ศักยภาพการกีฬา 15) พลังทาง
สังคม 16) เศรษฐกิจฐานราก 17) ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม 18) การเติบโตอย่างย่ังยืน
19) การบรหิ ารจัดการทังระบบ 20) การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ 21) การต่อต้านการทุจริต
และประพฤติมชิ อบ 22) กฏหมายและกระบวนการยุตธิ รรม 23) การวิจยั และพัฒนานวตั กรรม

3. นโยบำยของคณะรัฐมนตรี มีการก้าหนดนโยบายการด้าเนินงาน ทังหมด 11 ด้าน
ประกอบด้วย 1) การป้องกันและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ 2) การรักษาความมั่นคงของรัฐและการ
ต่างประเทศ 3) การลดความเหล่ือมล้าของสังคมและการสร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ 4) การศึกษา
และเรียนรู้ การทะนุบ้ารุงศาสนา ศิลปและวัฒนธรรม 5) การยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และ
สุขภาพของประชาชน 6) การเพิ่มศักยภาพทางเสรษฐกิจของประเทศ 7) การสง่ เสริมบทบาทและการใช้โอกาส
ในประชาคมอาเซ่ียน 8) การพัฒนาและส่งเสริมการใช้ประโยชน์ จากวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี การวิจัยและ
พัฒนา และนวัตกรรม 9) การรกั ษาฐานความม่นั คงของฐานทรพั ยากร และการสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์
กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน 10) การส่งเสริมการบริหารราชการแผ่นดินที่มีธรรมาภิบาลและการป้องกัน
ปราบปรามการทุจรติ และประพฤตมิ ชิ อบในภาครัฐ 11) การปรับปรงุ กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม

ในสว่ นของกระทรวงสาธารณสขุ ที่เกย่ี วข้องคือ ข้อ 3 การลดความเหลื่อมล้าของสังคมและการ
สร้างโอกาสการเข้าถึงบริการของรัฐ ประเด็น การเตรียมความพร้อมเพ่ือเข้าสู่สัคมผู้สูงอายุ ข้อที่ 5 การ
ยกระดับคุณภาพบริการด้านสาธารณสุข และสุขภาพของประชาชน โดยมีประเด็นที่ส้าคัญคือ 1) ระบบ
หลักประกันสุขภาพ 2) พัฒนาระบบบริการสุขภาพ 3) เสริมสร้างความเข้มแข็งของระบบเฝ้าระวังโรคระบาด
4) ป้องกันและแก้ไขปัญหาการเกิดอุบัติเหตุในการจราจร 5) ส่งเสริมการกีฬาเพื่อสุขภาพ 6) การป้องกันและ
แก้ไขปัญหาการตังครรภ์ในวัยรุ่น 7) พัฒนาขีดความสามารถในการวิจัยด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และ
สาธารณสุข

4. นโยบำยกำรดำเนนิ งำนของรองนำยกรฐั มนตรีและรัฐมนตรีว่ำกำรกระทรวงสำธำรณสขุ
ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 มีดงั นี 1) ใช้มาตรการสาธารณสขุ ในการขับเคล่ือนและฟ้ืนฟูเศรษฐกิจน้าพา
ประเทศกลับสู่ภาวะปกติ ประชาชนกลับมาใช้ชีวิตได้ใกล้เคียงกับภาวะปกติยิ่งขึน 2) พัฒนาศักยภาพสถาน
บริการของรัฐ 3) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพการแพทย์ปฐมภูมิ ด้วย 3 หมอ (อสม.หมอประจ้าบ้าน หมอ
อนามัย และหมอครอบครัว) 4) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ รพ.สต.เป็นศูนย์การสาธารณสุขประจ้าต้าบล
5) พัฒนาและบูรณาการส้าหรับผู้สูงอายุดูแลสุขภาพแบบองค์รวมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดี 6) พัฒนาและ
เสรมิ สรา้ งศักยภาพงานบริการตอ่ ยอด 30 บาท รกั ษาทุกท่ี ไม่ตอ้ งมใี บส่งตวั 7) พัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพ
การรกั ษามะเร็ง รกั ษาทกุ ที่ 8) พฒั นาพืชสมนุ ไพร กัญชา กัญชง กระท่อม และภูมิปัญญาไทย 9) พัฒนาระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นศนู ยข์ ้อมูลกลางสุขภาพประชาชน

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวัดขอนแก่น หนา้ 24

5. นโยบำยมุ่งเน้นกระทรวงสำธำรณสุข ประจำปีงบประมำณ พ.ศ. 2565 มีดังนี 1) ระบบ

สุขภาพปฐมภูมิเข้มแข็ง 2) เศรษฐกิจสุขภาพ 3) สมุนไพร กัญชา กัญชง 4) สุขภาพดีวิถีใหม่ 5) COVID-19

6) ระบบบริการก้าวหนา้ 7) การดูแลสุขภาพแบบองค์รวม 8) ธรรมาภบิ าล และ 9) องคก์ รแหง่ ความสขุ

6. ยุทธศำตร์สำธำรณสุขสำนักงำนสำธำรณสุขจังหวัดขอนแก่น ประกอบด้วย ยุทธศำสตร์ท่ี 1

การระดมพลังภาคี ทกุ ภาคส่วน ทกุ ระดบั รว่ มสรา้ งเมอื งแห่งสขุ ภาวะและนเิ วศนส์ ุขภาพชุมชนทเ่ี ข้มแข็ง ยุทธศำสตร์

ท่ี 2 การพัฒนาขีดความสามารถในการจัดการสุขภาพตนเองแก่ประชาชน ชุมชน อย่างเข้มแข็ง และย่ังยืน

ยทุ ธศำสตร์ที่ 3 การเสริมสรา้ งความเป็นเลศิ ทางการแพทย์ และการพฒั นาคณุ ภาพการบริการ สุขภาพแก่ประชาชน

ที่ไดม้ าตรฐานสากล ประเดน็ ยทุ ธศำสตร์ที่ 4 การพฒั นาองค์กรสาธารณสุขให้มีสมรรถนะสูง บคุ ลากรเป็นมืออาชพี

บรหิ ารดว้ ยความทันสมัย และธรรมาภิบาล ยุทธศำสตร์ที่ 5 การพัฒนาระบบสุขภาพเพ่ือหนุนเสริมการเติบโตทาง

เศรษฐกจิ และการเตบิ โตของคณุ ภาพชวี ติ ที่เปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดลอ้ ม ทีส่ อดคลอ้ งกบั ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี

4.2.2 กำรวิเครำะหส์ ภำพแวดล้อม (SWOT Analysis)

ผลการวิเคราะห์ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกด้านสุขภาพ อ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น

ปี 2564 โดยใช้กระบวนการ SWOT Analysis มีรายละเอียดดังนี

ตำรำงท่ี 16 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Factors Analysis: IFA) โดยใช้แนวทาง 7’S ของ

แมคคินซีย์ (McKinsey 7’S Framework)

ประเดน็ จดุ แขง็ (Strength) จุดอ่อน (Weakness)

Strategy 1. แผนยุทธศาสตรโ์ ควดิ -19 มีความชัดเจน

2. การนา้ แผนสูก่ ารปฏิบตั มิ คี วามครอบคลุม

3. มกี ารส่อื สารนโยบายสกู่ ารปฏบิ ตั สิ ม้่าเสมอ

ชัดเจน

4. มผี ู้รบั ผดิ ชอบชดั เจน

Structure 1. มคี ้าสงั มอบหมายงานชดั เจน

2. มีผูร้ บั ผดิ ชอบชัดเจน

3. โครงสรา้ งการด้าเนินงาน พชอ.เข้มแขง็

System 1. มีระบบปฐมภูมทิ เ่ี ข้มแข็ง 1. การดแู ลผปู้ ว่ ยหนักยงั มขี อ้ จ้ากัด

2. มี PCC เขม้ แขง็ (7 แหง่ ) เครื่องผลิต Oxygen ไมเ่ พยี งพอ

3. มกี ารดา้ เนนิ งานแบบแบ่ง Zone 2. ระบบ IC ยังไม่ครอบคลมุ ทกุ รพ.สต.

4. พืนทีม่ ีสว่ นร่วมในการกา้ หนดเปา้ หมายการ 3. การท้าสะอาดตัวกรอง Oxygen

ดา้ เนนิ งาน ไม่ได้มาตรฐาน

5. มีการด้าเนินงาน พชอ.เข้มแข็ง

6. มีเครอื ขา่ ยการดา้ เนินงานเข้มแขง็ มีสถานท่ี

รองรบั ผู้ป่วยและกลมุ่ เสี่ยงเพียงพอ

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแก่น หนา้ 25

ตำรำงท่ี 16 การวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมภายใน (Internal Factors Analysis: IFA) โดยใช้แนวทาง 7’S ของ

แมคคินซยี ์ (McKinsey 7’S Framework) (ต่อ)

ประเดน็ จดุ แข็ง (Strength) จดุ ออ่ น (Weakness)

Staff 1. บคุ ลากรมสี ่วนรว่ มในการดา้ เนนิ งาน 1. บุคลากรไม่เพียงพอ

2. บคุ ลากรมงุ่ มั่น ตังใจในการด้าเนินงาน 2. บุคลากรมีภาระงาน (Work load) เกิน

Skill 1. เจ้าหน้าทมี่ ีความรู้และทกั ษะในการดา้ เนนิ งาน 1. ขาดทักษะในการดูแลรักษาผปู้ ว่ ยในกล่มุ

เฝ้าระวงั โรค สเี หลืองและสแี ดง

2. อสม. มคี วามรูแ้ ละทักษะในการดา้ เนนิ งาน

Style 1. ผ้บู ริหารมวี ิสัยทศั นท์ ่ีดี มภี าวะผู้นา้ สูง

2. ผู้บริหารมุ่งม่ัน ตงั ใจ ทมุ่ เท มมี นุษยสมั พันธ์ดี

3. ผูบ้ รหิ ารใหค้ วามส้าคญั กบั การดา้ เนินงาน

ควบคมุ ปอ้ งกันโรค COVID 19

4. ผู้บรหิ ารส่งเสริมให้บุคลากรมศี ักยภาพ

มีความรู้ มีทักษะในการด้าเนินงาน

5. ผบู้ ริหารมีการดา้ เนนิ โดยใชห้ ลกั วชิ าการ และ

หลกั การบริหาร

6. ผบู้ ริหารส่งเสริมใหบ้ คุ ลากรมคี วามสุขในการ

ด้าเนนิ งาน และเร่ืองส่วนบคุ คล เชน่ Happy

Money เศรษฐกจิ พอเพียง

1. ผู้บรหิ ารมีธรรมาภิบาล

Share Value 1. มคี า่ นิยมรว่ ม “คนนา้ พองไม่ทอดทงิ กนั ”

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแก่น หนา้ 26

ตำรำงท่ี 17 สรปุ การวเิ คราะห์สภาพแวดลอ้ มภายใน จา้ แนกตามจดุ แขง็ และจุดออ่ น

กำรวเิ ครำะห์ จุดแขง็ (Strength) จุดอ่อน (Weakness)

การวเิ คราะหส์ ภาพ แวดลอ้ ม S1. แผนยุทธศาสตร์โควิด-19 มีความ W1. บุคลากรไมเ่ พียงพอ ท้าให้มีภาระ

ภายใน ชัดเจน การนา้ แผนสู่การปฏิบตั ิ งานเกนิ (Work load)

มคี วามครอบคลุม มีการสื่อสาร W2. สมรรถนะในการประเมนิ และดแู ล

นโยบายสกู่ ารปฏบิ ัติ สม้่าเสมอ รกั ษาผ้ปู ่วยกลุม่ สีสม้ ทีจ่ ะมีโอกาส

ชัดเจน เข้าส่ภู าวะวกิ ฤต

S2. มีโครงสร้าง/ค้าสั่ง W3. การดูแลผปู้ ่วยหนักยงั มีขอ้ จา้ กัด

S3. มีการดา้ เนินงานของ พชอ./ ในเรอื่ งของทักษะการใช้อุกรณ์

เครือข่าย/ศบค.อ.น้าพอง เขม้ แขง็ เคร่ืองชว่ ยหายใจ

S4. มีระบบปฐมภมู ิท่เี ข้มแขง็ โดยพนื ที่ W4. ระบบ IC ยังไมค่ รอบคลุมทกุ ประเดน็

มีส่วนร่วมในการกา้ หนด เปา้ หมาย เช่น การทา้ สะอาดตวั กรอง Oxygen

การดา้ เนนิ งาน มีสถานทีร่ องรบั ไม่ได้มาตรฐาน

ผู้ป่วยและกลมุ่ เส่ยี งทเี่ พียงพอ

S5. มกี ารดา้ เนนิ งานแบบแบ่ง Zone

เพอ่ื ใหง้ ่ายต่อการบริหารจดั การ

S6. บคุ ลากรมีค่านยิ มร่วม “คนนา้ พอง

ไมท่ อดทิงกัน”มีส่วนร่วม มุง่ มนั่

ตังใจ ในการด้าเนนิ งาน

S7. ผู้บริหารมีหลักธรรมาภบิ าล

วิสัยทศั น์ มภี าวะผ้นู า้ มุ่งมัน่ ตังใจ

ทมุ่ เท มีมนุษยสมั พันธ์ ใหค้ วามสา้ คัญ

กับการด้าเนนิ งานควบคุม ปอ้ งกนั โรค

COVID 19 มีการดา้ เนินโดยใช้

หลักวชิ าการ และหลกั การบรหิ าร

S8. ผ้บู รหิ ารสง่ เสรมิ ให้บุคลากรมี

สมรรถนะท่เี หมาะสม

S9. ผู้บรหิ ารส่งเสริมใหบ้ คุ ลากรมี

ความสขุ ในการด้าเนินงาน

ตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี ง

เช่น Happy Money

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแกน่ หนา้ 27

ตำรำงท่ี 18 IFAS: Internal factors analysis summary

Internal factors นำ้ หนกั คะแนน คะแนน
(weight) (Rating(1-5)) ถว่ งนำ้ หนัก
(W score
= (WxR))

S: Strengths 0.1 5 0.5
0.085 4.5 0.3825
S1. แผนยทุ ธศาสตร์โควดิ -19 มคี วามชัดเจน การนา้ แผนสู่การ 0.1 5 0.5
ปฏิบตั ิมีความครอบคลมุ มกี าร สอื่ สารนโยบายสู่การ
ปฏิบตั ิสม้่าเสมอ ชัดเจน 0.085 5 0.425

S2. มีโครงสรา้ ง/ค้าสง่ั 0.085 4 0.34
S3. มีการด้าเนนิ งานของ พชอ./เครือข่าย/ศบค. อ.นา้ พอง 0.085 4.5 0.3825

เข้มแข็ง 0.085 5 0.425
S4. มีระบบปฐมภมู ิทเี่ ขม้ แข็ง โดยพืนทมี่ สี ่วนร่วมในการก้าหนด
0.085 4 0.34
เป้าหมาย การดา้ เนนิ งาน มีสถานท่รี องรับผู้ปว่ ย และกลุม่ 0.085 4 0.34
เสี่ยงทเี่ พยี งพอ 0.80 41 3.64
S5. มกี ารด้าเนินงานแบบแบง่ Zone เพอ่ื ให้งา่ ยตอ่ การบริหาร
จัดการ

S6. บคุ ลากรมีคา่ นยิ มรว่ ม “คนน้าพองไม่ทอดทงิ กนั ” มสี ่วน
รว่ ม มุ่งมั่น ตังใจ ในการดา้ เนนิ งาน

S7. ผบู้ รหิ ารมีหลกั ธรรมาภบิ าล วสิ ัยทัศน์ มภี าวะผูน้ า้ มงุ่ ม่นั
ตังใจ ทุม่ เท มีมนษุ ยสัมพนั ธ์ ให้ความส้าคญั กับการดา้ เนิน
งานควบคมุ ป้องกนั โรค COVID 19 มกี ารด้าเนนิ โดยใช้
หลักวชิ าการ และหลกั การบริหาร

S8. ผูบ้ รหิ ารส่งเสรมิ ใหบ้ คุ ลากรมสี มรรถนะที่เหมาะสม
S9. ผูบ้ รหิ ารสง่ เสริมให้บคุ ลากรมคี วามสุขในการดา้ เนนิ งานตาม

หลักเศรษฐกจิ พอเพียง เช่น Happy Money

Total score

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวัดขอนแกน่ หน้า 28

ตำรำงท่ี 18 IFAS: Internal factors analysis summary (ต่อ)

Internal factors นำ้ หนัก คะแนน คะแนน
(weight) (Rating(1-5)) ถว่ งนำ้ หนกั
(W score
= (WxR))

W: weakness 0.05 2.5 0.125
W1. บคุ ลากรไมเ่ พียงพอ ท้าให้มีภาระงานเกิน (Work load) 0.05 4.5 0.225
W2. สมรรถนะในการประเมินและดูแลรกั ษาผู้ปว่ ยกลุ่มสีสม้
0.05 4 0.2
ที่จะมีโอกาสเข้าสู่ภาวะวกิ ฤต
W3. การดูแลผู้ปว่ ยหนกั ยงั มขี อ้ จา้ กัดในเรื่องของทกั ษะการใช้ 0.05 4 0.2

อุกรณเ์ คร่ืองช่วยหายใจ 0.20 15 0.75
W4. ระบบ IC ยังไม่ครอบคลมุ ทกุ ประเดน็ เชน่ การทา้ สะอาด

ตัวกรอง Oxygen ไมไ่ ดม้ าตรฐาน
Total score

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแก่น หน้า 29

ตำรำงที่ 19 สภาพแวดล้อมการวิเคราะห์ภายนอก (External Factors Analysis: EFA) โดยใชแ้ นวทาง

P E S T E L Model

ประเดน็ โอกำส (Opportunity) ภำวะคกุ คำม (Threat)

ปัจจยั ดา้ นการเมอื ง 1. Endemic approach to COVID-19

(Political Factors) 2. ภาคเี ครือข่ายมนี โยบายสนับสนุนการ

ด้าเนินงาน

ปัจจัยด้านเศรษฐกิจ 1. มโี รงงาน/สถานประกอบการในพนื ที่ 1. การคมนาคมสะดวก มีสถานรี ถไฟ

(Economic Factors) ท้าใหไ้ ม่มีการเคลอ่ื นยา้ ยวัยแรงงาน มรี ถโดยสารประจา้ ทางสนามฝึก

2. เศรษฐกิจดี ประชาชนมสี ว่ นรว่ มใน บนิ ทา้ ให้เปน็ จดุ ท่ีมีการ

การระดมทุน เคล่อื นยา้ ยของประชากร

2. มีโรงงานจ้านวนมาก มจี า้ นวน

แรงงานมาก

ปจั จยั ดา้ นสังคมและวัฒนธรรม 1. ประชาชนตระหนักในการปอ้ งกนั โรค 1. มกี ิจกรรมการรวมกลมุ่ ของคนหมู่

(Socio-Cultural Factors) COVID 19 มาก เช่น งานบุญประเพณี

2. เปน็ สงั คมก่งึ เมือง ประชาชนเข้าถึง 2. เป็นแหล่งท่องเทย่ี ว เช่น วดั

ระบบบรกิ ารสุขภาพไดง้ ่าย พระธาตขามแก่น หมบู่ า้ นงูจงอาง

3. กลมุ่ ประชากรวยั ท้างานมจี า้ นวนมาก 3. มกี ารรวมกลุ่มแรงงานในโรงงาน

ปจั จัยด้านเทคโนโลยี 1. เทคโนโลยที ันสมัยมี Internet 1. ข้อมูล Fake News

(Technology Factors) ครอบคลมุ ทกุ พืนท่ี 2. ขอ้ มลู เปา้ หมายการดา้ เนนิ

2. มีการส่ือสารผา่ นโซเชย่ี ลมเี ดีย (Thai Stop COVID 2 Plus)

มขี อ้ จา้ กดั เชน่ การบนั ทกึ

ขอ้ มลู ซา้ ซ้อน ไมค่ รบถ้วน

ไมส่ ามารถส่งออกรายงานได้

ปจั จัยด้านกฎหมาย 1. มกี ารบงั คับใช้กฏหมายเขม้ แข็ง

(Legal)

ปจั จยั ด้านสิง่ แวดล้อม 1. มรี ะบบการจัดการขยะท่ัวไป และขยะ 1. มีโรงงานอุตสาหกรรมจ้านวนมาก

(Environment) ตดิ เชอื อย่างเปน็ ระบบ 2. มีการคมนาคมสะดวกท้าใหม้ ีการ

แพรร่ ะบาดของโรค

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอน้าพอง จงั หวัดขอนแก่น หนา้ 30

ตำรำงท่ี 20 สรปุ การวิเคราะห์สภาพแวดลอ้ มภายนอก แยกตามโอกาสและภาวะคุกคาม

กำรวเิ ครำะห์ โอกำส อุปสรรค
(Opportunities) (Threats)

กา ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม 1. Endemic approach to 1. การคมนาคมสะดวก มสี ถานีรถไฟ

ภายนอก COVID-19 มีรถโดยสารประจา้ ทางสนามฝกึ บนิ

2. ภาคีเครือขา่ ยมีนโยบายสนับสนุน ท้าใหเ้ ป็นจุดทีม่ ีการเคลื่อนย้ายของ

การดา้ เนินงาน ประชากร

3. มโี รงงาน/สถานประกอบการใน 2. มีโรงงานจา้ นวนมาก มีจา้ นวน

พืนที่ ทา้ ให้ไมม่ กี ารเคลือ่ นย้ายวัย แรงงานมาก

แรงงาน 3. มกี ิจกรรมการรวมกลุม่ ของคน

4. เศรษฐกจิ ดี ประชาชนมสี ่วนรว่ ม หม่มู าก เช่น งานบุญประเพณี

ในการระดมทนุ 4. เป็นแหล่งทอ่ งเทีย่ ว เชน่ วัด

5. ประชาชนตระหนักในการ พระธาตขามแกน่ หมูบ่ า้ นงูจงอาง

ป้องกันโรค COVID 19 5. มกี ารรวมกลุ่มแรงงานในโรงงาน

6. เปน็ สังคมกึ่งเมือง ประชาชน 6. ข้อมลู Fake News

เข้าถึงระบบบรกิ ารสขุ ภาพไดง้ ่าย 7. ขอ้ มลู เปา้ หมายการดา้ เนิน

7. กลุ่มประชากรวยั ท้างานมี (Thai Stop COVID 2 Plus)

จ้านวนมาก มขี อ้ จา้ กดั เชน่ การบันทึก

8. เทคโนโลยที ันสมยั มี Internet ขอ้ มูลซา้ ซ้อน ไม่ครบถว้ น

ครอบคลมุ ทุกพืนที่ ไม่สามารถสง่ ออกรายงานได้

9. มีการสอื่ สารผา่ นโซเช่ยี ลมีเดยี 8. มีโรงงานอุตสาหกรรมจา้ นวนมาก

10. มกี ารบังคบั ใชก้ ฏหมายเขม้ แข็ง 9. มีการคมนาคมสะดวกท้าใหม้ ี

11. มรี ะบบการจดั การขยะทั่วไป การแพร่ระบาดของโรค

และขยะตดิ เชืออยา่ งเป็นระบบ

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น หนา้ 31

ตำรำงที่ 21 EFAS: External factors analysis summary

External factors น้ำหนัก คะแนน คะแนน
(weight) (Rating(1-5)) ถ่วงน้ำหนกั
(W score
= (WxR))

O: Opportunity 0.064 5 0.32
0.064 5 0.32
O1 Endemic approach to COVID-19 0.064 4.5 0.288
O2 ภาคีเครอื ขา่ ยมีนโยบาย สนบั สนุนการดา้ เนนิ งาน
O3 มโี รงงาน/สถานประกอบการในพืนท่ี ทา้ ใหไ้ ม่มกี าร 0.064 5 0.32
0.064 5 0.32
เคลือ่ นย้ายวยั แรงงาน 0.064 3.5 0.224
O4 เศรษฐกจิ ดี ประชาชนมีสว่ น รว่ มในการระดมทนุ
O5 ประชาชนตระหนกั ในการ ปอ้ งกนั โรค COVID 19 0.064 3.5 0.224
O6 เป็นสังคมก่ึงเมือง ประชาชนเขา้ ถงึ ระบบบริการ 0.064 5 0.32
0.064 5 0.32
สุขภาพไดง้ า่ ย 0.064 3.5 0.224
O7 กลุ่มประชากรวยั ท้างานมีจ้านวนมาก 0.064 4 0.256
O8 เทคโนโลยที ันสมยั มี Internet ครอบคลมุ ทุกพืนที่
O9 มีการสอ่ื สารผ่านโซเช่ียลมีเดยี 0.70 49 3.14
O10 มกี ารบังคับใชก้ ฏหมายเขม้ แขง็
O11 มรี ะบบการจดั การขยะทว่ั ไป และขยะตดิ เชอื อย่างเป็น 0.020 3 0.060

ระบบ 0.033 4.5 0.149
Total score 0.040 3 0.120

T: Threat 0.040 3 0.120
T1 การคมนาคมสะดวก มสี ถานีรถไฟ มีรถโดยสารประจ้า
0.033 4.5 0.149
ทางสนามฝกึ บิน ท้าให้เป็นจดุ ทมี่ ีการเคลื่อนยา้ ยของ 0.033 2.5 0.083
ประชากร 0.033 3.5 0.116
T2 มีโรงงานจ้านวนมาก มจี ้านวนแรงงานมาก
T3 มีกจิ กรรมการรวมกลุ่มของคนหมู่มาก เช่น งานบุญ
ประเพณี
T4 เปน็ แหล่งทอ่ งเทีย่ ว เชน่ วัดพระธาตขามแกน่ หม่บู า้ น
งจู งอาง
T5 มกี ารรวมกลมุ่ แรงงานในโรงงาน
T6 ขอ้ มลู Fake News
T7 ข้อมูลเปา้ หมายการด้าเนนิ (Thai Stop COVID 2 Plus)
มีขอ้ จ้ากัด เช่น การบันทกึ ข้อมูลซา้ ซอ้ น ไมค่ รบถ้วนไม่
สามารถสง่ ออกรายงานได้

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแกน่ หนา้ 32

ตำรำงท่ี 21 EFAS: External factors analysis summary (ตอ่ )

External factors นำ้ หนัก คะแนน คะแนน
(weight) (Rating(1-5)) ถว่ งนำ้ หนกั
(W score
= (WxR))

T: Threat 0.033 3 0.099
T8 มโี รงงานอุตสาหกรรมจา้ นวนมาก 0.033 3 0.099
T9 มีการคมนาคมสะดวกทา้ ให้มีการแพรร่ ะบาดของโรค 0.298 30 0.99

Total score

4.2.3 กำรทำ SWOT Position
จากการวิเคราะห์สถานการณ์ภาพรวม ทังปัจจัยภายใน จุดแข็ง (Strength) กับ จุดอ่อน

(Weakness) และปัจจัยภายนอก โอกาส (Opportunities) กับ ภาวะคุกคาม(Threat) ผลการโหวตของ
สมาชิก CBL กลุ่มที่ 6 จ้านวน 9 คน ทัง 4 ด้าน จากคะแนนดังกล่าวน้ามาท้า SWOT Position โดยเอาค่า
คะแนนทงั 4 ด้านไปพลอ็ ตบนแกน SWOT ได้สถานการณ์แบบ Star ซึ่งเป็นสถานการณ์ท่ีมีจุดแข็งและโอกาส
รายละเอียดดงั ภาพที่ 2

ภำพท่ี 2 การวิเคราะหส์ ถานการณข์ ององคก์ ร (SWOT Position)

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแกน่ หน้า 33

4.2.4 กำรวเิ ครำะห์ปัจจัยภำยในและปัจจยั ภำยนอกโดยใช้ SWOT Analysis

ตำรำงท่ี 22 การวเิ คราะหป์ ัจจัยภายในและปัจจยั ภายนอกโดยใช้ SWOT Analysis

SW

(Strength – จุดแขง็ ) (Weakness – จุดอ่อน)

S1. แผนยุทธศาสตรโ์ ควดิ -19 มคี วามชดั เจน W1. บุคลากรไม่เพียงพอ ทา้ ให้มีภาระงานเกิน

การน้าแผนสกู่ ารปฏิบัติมีความครอบคลมุ (Work load)

มีการสอ่ื สาร นโยบายสกู่ ารปฏิบัติ สม้า่ เสมอ W2. สมรรถนะในการประเมนิ และดแู ลรักษาผปู้ ว่ ย

ชดั เจน กลมุ่ สสี ้มที่จะมีโอกาสเข้าสภู่ าวะวิกฤต

S2. มีโครงสรา้ ง/ค้าสั่ง W3. การดูแลผูป้ ่วยหนกั ยงั มขี อ้ จา้ กัดในเรื่องของ

S3. มกี ารด้าเนินงานของ พชอ./เครอื ขา่ ย/ศบค. ทกั ษะการใชอ้ ุกรณเ์ คร่อื งชว่ ยหายใจ

อ.นา้ พองเขม้ แขง็ W4. ระบบ IC ยังไม่ครอบคลุมทุกประเดน็ เช่น การ

S4. มรี ะบบปฐมภูมิท่ีเข้มแขง็ โดยพืนทมี่ สี ่วนรว่ ม ทา้ สะอาดตวั กรอง Oxygen ไมไ่ ดม้ าตรฐาน

ในการกา้ หนดเป้าหมาย การดา้ เนนิ งาน

มสี ถานทร่ี องรบั ผู้ป่วยและกล่มุ เสย่ี งท่ี

เพียงพอ

S5. มีการดา้ เนนิ งานแบบแบ่ง Zone เพ่ือใหง้ า่ ย

ต่อการบริหารจัดการ

S6. บคุ ลากรมคี ่านิยมรว่ ม “คนนา้ พองไม่ทอดทิง

กัน” มสี ว่ นรว่ ม มุง่ มน่ั ตงั ใจ ในการ

ด้าเนินงาน

S7. ผู้บริหารมีหลักธรรมาภบิ าล วสิ ยั ทศั น์ มีภาวะ

ผูน้ ้า มุ่งมนั่ ตงั ใจ ทุม่ เท มีมนษุ ยสมั พันธ์ ให้

ความส้าคัญกบั การดา้ เนิน งานควบคมุ

ปอ้ งกันโรค COVID 19 มกี ารด้าเนินโดยใช้

หลกั วชิ าการและหลกั การ บรหิ าร

S8. ผู้บรหิ ารสง่ เสรมิ ใหบ้ คุ ลากรมีสมรรถนะท่ี

เหมาะสม

S9. ผู้บริหารสง่ เสริมใหบ้ ุคลากรมี ความสุขในการ

ดา้ เนนิ งาน ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพยี ง เชน่

Happy Money

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแก่น หน้า 34

OT

(Opportunities – โอกำส) (Threat – ภำวะคุกคำม)

1. Endemic approach to COVID-19 1. การคมนาคมสะดวก มีสถานรี ถไฟ มรี ถโดยสาร

2. ภาคีเครือขา่ ยมีนโยบายสนบั สนนุ การ ประจา้ ทางสนามฝกึ บนิ ทา้ ใหเ้ ป็นจุดท่ีมกี าร

ดา้ เนนิ งาน เคล่อื นย้ายของประชากร

3. มโี รงงาน/สถานประกอบการในพืนท่ี ทา้ ให้ไม่มี 2. มโี รงงานจ้านวนมาก มีจา้ นวนแรงงานมาก

การเคลื่อนย้ายวัยแรงงาน 3. มีกิจกรรมการรวมกลุ่มของคนหมมู่ าก เช่น งาน

4. เศรษฐกิจดี ประชาชนมสี ่วนร่วมในการ บุญประเพณี

ระดมทนุ 4. เป็นแหลง่ ท่องเท่ยี ว เช่น วัดพระธาตขุ ามแกน่

5. ประชาชนตระหนักในการป้องกันโรค COVID หมู่บ้านงูจงอาง

19 5. มกี ารรวมกล่มุ แรงงานในโรงงาน

6. เปน็ สังคมก่ึงเมือง ประชาชนเข้าถึงระบบ 6. ข้อมลู Fake News

บรกิ ารสขุ ภาพได้งา่ ย 7. ขอ้ มูลเปา้ หมายการดา้ เนิน (Thai Stop COVID 2

7. กลมุ่ ประชากรวัยท้างานมจี ้านวนมาก Plus) มีขอ้ จา้ กดั เชน่ การบนั ทกึ ข้อมูลซ้าซ้อน

8. เทคโนโลยีทนั สมยั มี Internet ครอบคลุมทุก ไม่ครบถว้ นไม่สามารถส่งออกรายงานได้

พนื ที่ 8. มโี รงงานอุตสาหกรรมจา้ นวนมาก

9. มีการสื่อสารผ่านโซเชีย่ ลมีเดีย 9. มกี ารคมนาคมสะดวกท้าให้มกี ารแพร่ระบาดของ

10. มกี ารบังคับใชก้ ฏหมายเข้มแขง็ โรค

11. มีระบบการจัดการขยะทว่ั ไป และขยะติดเชือ

อยา่ งเปน็ ระบบ

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอน้าพอง จงั หวัดขอนแกน่ หนา้ 35

ตำรำงที่ 23 เสนอผลการวิเคราะห์ SWOT Matrix

ปจั จยั ภำยใน จดุ แขง็ (Strength) จุดอ่อน (Weakness)
1. แผนยทุ ธศาสตร์โควดิ -19 1. บคุ ลากรไม่เพียงพอ
ปัจจัยภำยนอก 2. มโี ครงสรา้ ง/ค้าสั่ง 2. สมรรถนะของบุคลากร
3. พชอ./เครอื ข่าย/ศบค. 3. บคุ ลากรมขี อ้ จ้ากัดในเร่ืองของ
โอกำส (Opportunities) 4. มรี ะบบปฐมภมู ิทเ่ี ขม้ แข็ง
1. Endemic approach to 5. ด้าเนนิ งานแบบแบ่ง Zone ทกั ษะการใช้อุกรณ์เครอื่ งชว่ ยหายใจ
6. บคุ ลากรมีคา่ นยิ มรว่ ม 4. ระบบ IC ยังไม่ครอบคลมุ ทกุ ประเดน็
COVID-19 7. ผู้บริหารมีหลกั ธรรมาภบิ าล
2. ภาคีเครือข่าย 8. ผ้บู ริหารสง่ เสรมิ ให้บคุ ลากรมี กลยทุ ธเ์ ชงิ พัฒนำ (WO)
3. มีโรงงาน/สถานประกอบการ
4. เศรษฐกิจดี สมรรถนะ
5. ประชาชนตระหนกั 9. ผบู้ รหิ ารส่งเสรมิ ใหบ้ คุ ลากรมี
6. ประชาชนเข้าถึงระบบ
ความสขุ ในการดา้ เนนิ งาน
บริการสขุ ภาพ ตามหลักเศรษฐกจิ พอเพยี ง
7. กลุ่มประชากรวัยท้างานมี
กลยทุ ธเ์ ชงิ รกุ (SO)
จา้ นวนมาก 1. สง่ เสรมิ ระบบเฝา้ ระวัง ควบคมุ
8. เทคโนโลยที ันสมยั
9. มกี ารสื่อสารผ่านโซเช่ียล ป้องกนั โรค COVID 19 ในโรงงาน
2. ส่งเสรมิ ระบบเฝา้ ระวงั ควบคมุ
มเี ดยี
10. มีการบังคบั ใชก้ ฏหมาย ป้องกนั โรค COVID 19 ในสถาน
11. มรี ะบบการจดั การขยะ ประกอบการ ตลาดคลองถม
รา้ นชา้ รา้ นตดั ผม
อุปสรรค (Threats) 3. ส่งเสรมิ ระบบเฝ้าระวัง ควบคมุ
1. เคล่ือนยา้ ยของประชากร ป้องกนั โรค COVID –19 ในชมุ ชน
2. มโี รงงานจ้านวนมาก 4. ส่งเสรมิ ความครอบคลมุ วคั ซนี
3. มีกจิ กรรมการรวมกลมุ่ ปอ้ งกันโรค COVID 19
ในกล่มุ อายุ 5 – 11 ปี
4. เปน็ แหล่งท่องเทย่ี ว
กลยุทธ์เชงิ รับ (ST) กลยุทธเ์ ชงิ พลกิ แพลง (WT)

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จงั หวัดขอนแกน่ หนา้ 36

ตำรำงที่ 23 เสนอผลการวิเคราะห์ SWOT Matrix (ตอ่ )

อปุ สรรค (Threats) กลยทุ ธ์เชิงรับ (ST) กลยทุ ธ์เชิงพลกิ แพลง (WT)
5. มีการรวมกลมุ่ แรงงานใน

โรงงาน
6. ข้อมลู Fake News
7. มีข้อจ้ากดั ในการบนั ทกึ

ข้อมลู Thai Stop COVID 2
Plus
8. มโี รงงานอุตสาหกรรม
จา้ นวนมาก
9. การคมนาคมสะดวกทา้ ให้มี
การแพรร่ ะบาดของโรค

4.3 ยทุ ธศำสตร์ “นำ้ พองมัง่ คงั่ รวมพลงั วิถใี หม่ ปลอดภัย อยู่ไดก้ บั COVID-19”

กลยุทธ์ มำตรกำร กลวธิ ี
1. สง่ เสริมระบบเฝ้ำระวัง Mini CDCU ในโรงงำน - ประชุมชีแจงสถานประกอบการ/ผ้ปู ระกอบการ
เพอ่ื สรา้ งความเขา้ ใจในการเตรยี มความพรอ้ มการ
ควบคมุ ปอ้ งกันโรค เขา้ สู่โรคโควดิ 19 เป็นโรคประจา้ ถ่ิน (endemic
COVID 19 ในโรงงำน disease)
- สร้างและพฒั นาทมี Mini CDCU ในการเฝา้ ระวงั
CI in factory ควบคุมป้องกนั โรค COVID 19 ในโรงงาน
Data Real-time - ประชมุ ชีแจงและสร้างความเข้าใจกับสถาน
ประกอบการ/ผปู้ ระกอบการ ในการดูแลรักษา
ผู้ปว่ ยโควดิ 19
- สร้างและพฒั นาระบบสง่ ตอ่ ขอ้ มลู การจดั การ
ข้อมลู กลมุ่ เส่ยี งและขอ้ มูลอน่ื ๆทจี่ า้ เป็น

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวัดขอนแก่น หนา้ 37

กลยุทธ์ มำตรกำร กลวธิ ี
- สรา้ ง Line Group เพ่ือใช้ในการประสานงาน/การ
2. สง่ เสรมิ ระบบเฝ้ำระวัง Thai Stop COVID 19 ส่อื สารขอ้ มลู ทจี่ า้ เป็น รวมถึงสรา้ งความเขา้ ใจ
ควบคุมปอ้ งกนั โรค 2 Plus เกี่ยวกับการประเมนิ Thai Stop COVID 19
COVID 19 ในสถำน 2 Plus
ประกอบกำร ตลำด - สร้างและพฒั นา การแสดงผลขอ้ มูลที่จ้าเป็น/
คลองถม/ร้ำนชำ/ร้ำน สถานการณข์ องผปู้ ว่ ยในรูปแบบที่เหมาะสม
ตดั ผม เพ่อื ใหส้ ถานประกอบการ/ผปู้ ระกอบการ/บุคลากร
ที่เกยี่ วไดเ้ ข้าถึงไดง้ า่ ย เพื่อนา้ ขอ้ มูลไปใช้ในการ
Thai Save Thai บรหิ ารจดั การไดท้ ันทว่ งที
- ประชมุ ชแี จงและสรา้ งความเข้าใจกบั สถาน
พชอ. ประกอบการ/ผปู้ ระกอบการ ในการบันทกึ ขอ้ มลู
ประเมนิ สถานประกอบการและรายงานผล
3. กลยุทธส์ ่งเสรมิ ระบบ พน้ื ทเี่ ปำ้ หมำยกำร - สถานประกอบการ/ผปู้ ระกอบการ ประเมินตนเอง
เฝำ้ ระวัง ควบคมุ ทอ่ งเทย่ี ว ทุก 15 วนั
ป้องกนั โรค COVID --พระธาตุขามแก่น - มีทีมประเมนิ สถานประกอบการ และมกี ารสมุ่
19 ในชมุ ชน - หมู่บ้านงจู งอาง ตรวจประเมนิ อยา่ งต่อเนือ่ ง
- เจา้ หน้าที่/พนกั งาน ในแตล่ ะ setting มีการ
ประเมนิ ตนเองกอ่ นเขา้ ทา้ งานทุกสปั ดาห์
- เจา้ หนา้ ท/่ี พนกั งาน มีการปฏบิ ตั ิตวั โดยยดึ
D-M- H-T-T อย่างเครง่ ครดั
- Mini CDCU ในสถานประกอบการสมุ่ ประเมิน
อย่างตอ่ เนื่อง
- คดั เลอื กตัวแทนผปู้ ระกอบการรว่ มเป็นคณะอนุ
กรรมการ พชอ.ประเด็น COVID 19
- ก้าหนดนโยบาย/MOU/ธรรมนญู ชมุ ชน/มาตรการ
ชุมชน/ตลาด/Setting
- สรา้ งความรอบรู้ (Health Literacy) ตามแนวทาง
การควบคุม ป้องกันโรค COVID 19 ของกรม
ควบคุมโรค V-U-C-A

- ประชุมชีแจงผ้เู กยี่ วข้องเพอื่ สรา้ งความเขา้ ใจและ
ก้าหนดมาตรการของชุมชน เช่น จุดตรวจคดั กรอง
นักท่องเที่ยวตอ้ งได้รบั วคั ซนี เขม็ 3 หรอื มีผลตรวจ
ATK ผลลบภายใน 72 ชว่ั โมง
- นกั ทอ่ งเที่ยวต้องปฏบิ ตั ิตนตามมาตรการ
D-M-H-T-T-A

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอนา้ พอง จังหวัดขอนแก่น หน้า 38

กลยุทธ์ มำตรกำร กลวธิ ี
- ทีมตา้ บลออกตดิ ตามประเมนิ สมุ่ ตรวจการ
4. ส่งเสริมควำมครอบ กำรจดั ระเบียบงำน ด้าเนินงาน
คลุมวัคซนี ปอ้ งกนั ประเพณ/ี วัฒนธรรม - ประชุมชีแจงผูเ้ ก่ียวข้อง สรา้ งความรู้ ความเขา้ ใจ
โรค COVID 19 ในกลมุ่ -งานบญุ
อำยุ 5–11 ปี -งานบวช ให้ผจู้ ดั งาน/ประชาชนในพืนท่ี
-งานศพ - มกี ารขออนุญาตจดั งานในระดบั ตา้ บล (ผู้ใหญบ่ า้ น
-งานแต่งงาน ก้านัน อบต. รพ.สต.)
-หมอลา้ - ธรรมนูญชุมชนก้าหนดบรรทดั ฐานชมุ ชน
-รถแห่ - ทมี ตา้ บลออกตดิ ตามประเมินและสมุ่ ตรวจการ
ส่งเสริมควำมครอบคลมุ ด้าเนินงาน
วคั ซนี ปอ้ งกันโรค COVID-
19 - มรี ะบบการจดั การกลมุ่ เปา้ หมายท่เี ชือ่ มโยง
ระหว่าง รพ.สต./รพ. กับโรงเรยี นและชุมชน
- คดั เลอื กตวั แทนครูเปน็ อนกุ รรมการด้าเนนิ งาน
โรค COVID 19
- จัดประชมุ ชีแจงเพ่อื สร้างความเข้าใจใหก้ บั
ผปู้ กครองเกีย่ วโรค COVID 19 มาตรการควบคมุ
ปอ้ งกนั รวมถงึ แนวทางการใหว้ ัคซีนส้าหรบั เดก็
- การสรา้ งแรงจงู ใจใหน้ กั เรียนในการเข้ารบั บริการ
วัคซีน COVID 19 โดยขอรบั สนบั สนนุ ของรางวัล
จากเครอื ข่าย
- จัดกจิ กรรมฉดี วัคซีนในโรงเรียน
- ระบบการตดิ ตามประเมินการด้าเนินงานโดย
คณะกรรมการ พชอ.

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวัดขอนแก่น หนา้ 39

บทที่ 5

สรุปผลกำรเรียนรู้

การเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ (Community Based Learning: CBL) ตามหลักสูตร
ผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ผ.บ.ก.) รุ่นที่ 35 ประจ้าปีงบประมาณ 2565 วิทยาลัยนักบริหาร
สาธารณสุขสถาบันพระบรมราชชนก ส้านักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข จัดโดย วิทยาลัยพยาบาลบรมราช
ชนนี ขอนแก่น การเรียนรู้แบบใช้ชุมชนเป็นฐานการเรียนรู้ ผ่านการใช้เทคโลโลยี การประชุมทางไกล
ตลอดจนการศึกษาข้อมูลเพ่ิมเติมของชุมชนและพืนท่ีท่ีท้าการศึกษา ของอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแก่น
ระหว่างวนั ท่ี 17-25 พฤษภาคม 2565 พืนทที่ า้ การศกึ ษา อา้ เภอน้าพอง จงั หวัดขอนแก่น

จากการศึกษาข้อมูลทั่วไป แผนยุทธศาสตร์ ผลการด้าเนินงานตามยุทธศาสตร์ และข้อมูลท่ีเก่ียวข้อง
พบวา่ อ้าเภอน้าพองตังอยทู่ างทิศเหนือของจังหวัดขอนแก่น โดยทิศเหนือติดกับอ้าเภอเขาสวนกวาง ทิศใต้ติด
กับอ้าเภอเมืองขอนแก่น ทิศตะวันออกติดกับอ้าเภอกระนวน ติดตะวันตกติดกับอ้าเภออุบลรัตน์ แบ่งการ
ปกครองออกเป็น 12 ต้าบล 168 หมู่บ้าน 27,315 หลังคาเรือน จ้านวนประชากรทังหมด 113,211 คน (เพศ
ชาย 55,933 คน เพศหญิง 57,278 คน) ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรนับถือศาสนาพุทธ ข้อมูลทรัพยากร
สาธารณสุข มีโรงพยาบาล ขนาด 120 เตียง (M2) จ้านวน 1 แห่ง ส้านักงานสาธารณสุขอ้าเภอ 1 แห่ง
โรงพยาบาลส่งเสรมิ สขุ ภาพตา้ บล 18 แหง่

จากการศกึ ษาขอ้ มูลเบืองตน้ และผลการดา้ เนินงานตามยุทธศาตร์พบประเด็นสาธารณสุขท่ีส้าคัญและ
ท่ีน่าสนใจประกอบด้วย

1) ทารกแรกเกดิ มคี า่ TSH > 11.25
2) การตังครรภ์ซา้ ในวยั รนุ่ อายนุ อ้ ยกว่า 20 ปี
3) ผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหติ สูง ไดร้ บั การค้นหาและคดั กรองโรคไตเรือรงั
4) ผ้ปู ่วยระยะท้ายได้รับการดแู ลแบบประคับประคองไดร้ บั ยา Opioids เพ่อื จดั การอาการปวด และ

ภาวะหายใจล้าบากอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ
5) การคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในสตรีอายุ 30-60 ปี
6) ประเด็นผูส้ ูงอายุ
7) การพฒั นาคุณภาพชีวิตระดบั อา้ เภอ (พชอ.)
8) ความส้าเร็จของการดา้ เนนิ งานปอ้ งกนั ควบคมุ วัณโรค

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอา้ เภอน้าพอง จงั หวดั ขอนแกน่ หนา้ 40

9) สาเหตกุ ารปว่ ย สาเหตุการตาย เชน่ เบาหวาน ความดันโลหติ สงู ปอดบวม ถงุ ลมโปง่ พอง มะเร็ง
อุบัตเิ หตุจราจร ESRD CKD Stroke Sepsis

10) ประเด็นเกีย่ วกับผลกระทบทางสุขภาพทเี่ กดิ ขึนจากโรงงานอตุ สาหกรรมในพนื ท่ี
11) ประเด็นเกย่ี วกับโควิด-19
จากนันน้าประเด็นดังกล่าวเข้าร่วมประชุมแบบมีส่วนร่วมกับเครือข่ายบริการสุขภาพอ้าเภอน้าพอง
จงั หวดั ขอนแกน่ ไดป้ ระเดน็ ปัญหาสาธารณสขุ รว่ มกนั คือการป้องกัน ควบคุมโรค COVID 19 ผู้ศึกษาได้ท้าการ
วเิ คราะห์ปจั จยั ภายในโดยใช้กรอบแนวทางของ 7’S Model วเิ คราะหป์ จั จัยภายนอกโดยใช้กรอบแนวทางของ
PESTEL Model และท้า SWOT Analysis จนสามารถก้าหนดเป็นยุทธศาสตร์ “น้าพองมั่งค่ัง รวมพลัง วิถี
ใหม่ ปลอดภัย อยู่ได้กบั COVID-19” โดยมีกลยทุ ธ 4 กลยุทธ ดงั นี
1. สง่ เสรมิ ระบบเฝ้าระวัง ควบคมุ ปอ้ งกันโรค COVID 19 ในโรงงาน
2. ส่งเสริมระบบเฝ้าระวงั ควบคุมปอ้ งกันโรค COVID 19 ในสถานประกอบการ ตลาดคลองถม/

รา้ นชา้ /รา้ นตดั ผม
3. กลยุทธส์ ง่ เสริมระบบเฝา้ ระวงั ควบคมุ ป้องกันโรค COVID 19 ในชุมชน
4. สง่ เสริมความครอบ คลุมวคั ซีนป้องกันโรค COVID 19 ในกลุ่มอายุ 5–11 ปี

ขอ้ จำกัดในกำรศึกษำ
การเก็บรวบรวมข้อมูลภาคีเครือข่ายสุขภาพในพืนท่ีโดยการสัมภาษณ์พูดคุยแลกเปลี่ยน ไม่ครบถ้วน

ทุกกลุ่มเป้าหมาย เช่น สถานประกอบการ โรงเรียน ผ้นู า้ ชุมชน องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ฯลฯ อาจท้าให้ได้
ข้อมลู ไม่ครบถ้วนทุกประเด็น

ส่งิ ที่ได้จำกกำรเรียนรู้
1. การศึกษาโดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เป็นการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ปัญหาด้านการบริหารสาธารณสุขที่มีผลจาก

ปจั จยั บริบทชุมชนทแ่ี ตกต่างกัน ท้าให้ผู้ศกึ ษาได้นา้ ประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ในการพัฒนาการบริหารสาธารณสุข
แบบบูรณการ

2. ผศู้ กึ ษาได้ฝึกกระบวนการเรียนรู้ การคิดวิเคราะห์เชิงระบบ เพื่อใช้ในการจัดท้าแผนยุทธศาตร์ กลยุทธ์
โดยใชเ้ คร่อื งมือทางการบรหิ ารที่หลากหลาย

3. ผู้ศึกษาได้ฝกึ การใช้ทักษะด้านต่างๆ เชน่ ทักษะการบรหิ าร ทกั ษะการเปน็ ผ้นู ้า ทกั ษะการสอน
ทจี่ า้ เปน็ ในการทา้ งาน

4. สมาชิกกลุ่มทุกคนมีส่วนร่วม ก้าหนดบทบาทหน้า มีการแบ่งงานตามถนัดและก้าหนดทิศทางในการ
ทา้ งานโดยผ้นู า้ ทีม

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอนา้ พอง จังหวัดขอนแก่น หนา้ 41

5. การน้าศักยภาพท่ีหลากหลายของสมาชิกในกลุ่ม หลอมรวมให้เกิดผลสัมฤทธ์ิตามเป้าหมายท่ีก้าหนด

รว่ มกนั

6. ฝึกการมีปฏสิ ัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในกลุ่มโดยใช้เทคโนโลยีออนไลน์ที่ทันสมัย ได้ช่วยเหลือการท้างาน

ซึ่งกันและกัน สรา้ งมติ รภาพท่ดี ี

7. การรับฟังและยอมรับความความคิดเห็นท่ีแตกต่างของสมาชิกในกลุ่ม ท้าให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการ
ท้างานสามารถแกป้ ญั หาและอุปสรรคอย่างสรา้ งสรรค์ เป็นการฝึกกระบวนการทางความคดิ (Mind set) ทด่ี ี

8. การสร้างบรรยากาศท่ดี ีในการทา้ งาน เกดิ ความผ่อนคลาย ทา้ ให้มแี รงบนั ดาลใจในการทา้ งาน
9. การน้าผลลพั ธ์ทไ่ี ด้จากการเรยี นรูท้ งั กระบวนการไปใช้ประโยชน์ในการพัฒนาตนเอง พฒั นาทีมงาน และ

พฒั นาองค์กร

เอกสารประกอบการเรยี นรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอน้าพอง จังหวัดขอนแกน่ หนา้ 42

บรรณำนกุ รม

กระทรวงสาธารณสุข. (2565). แผนและมาตรการการบรหิ ารจัดการสถานการณ์ โรคโควิด 19 สโู่ รคประจ้าถน่ิ .
กองยุทธศาสตรแ์ ละแผนงาน สา้ นกั งานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. กรงุ เทพฯ.

กองยุทธศาสตร์และแผนงาน สา้ นักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสขุ . แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ
20 ปี ด้านสาธารณสุข (พ.ศ. 2560 - 2579) ฉบับปรับปรุง ครังที่ 2 (พ.ศ. 2561) . สืบค้น 19 พฤษภาคม
2565, จาก https://bps.moph.go.th

กองยทุ ธศาสตรแ์ ละแผนงาน สา้ นักงานปลดั กระทรวงสาธารณสุข กระทรวงสาธารณสุข . แผนยุทธศาสตร์ส้านักงาน
ปลัดกระทรวงสาธารณสุขระยะ 5 ปี (พ.ศ. 2560-2564). สืบค้น 19 พฤษภาคม 2565, จาก
https://bps.moph.go.th

เครือข่ายบรกิ ารสุขภาพอา้ เภอน้าพอง. (2564 - 2565). เอกสารประกอบการนิเทศงานตดิ ตามประเมนิ ผลการ
ด้าเนนิ งานสาธารณสุขระดบั เครือขายบริการสุขภาพ.

สุรชาติ ณ หนองคาย. (2565). เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรผู้บริหารการสาธารณสุขระดับกลาง (ว.พ.บ.)
ขอนแก่น รนุ่ ท่ี 35. เร่อื ง การบริหารมงุ่ เน้นผลสมั ฤทธ์ิ (Result Based Management).

สมชายโชติ ปิยวัชรเวลา. (2565). เอกสารประกอบการอบรม หลักสูตรผู้บรหิ ารการสาธารณสุขระดับกลาง (ว.พ.บ.)
ขอนแก่นร่นุ ที่ 35. เร่ือง การบรหิ ารยทุ ธศาสตร์ชาตดิ า้ นสาธารณสุข.

World Health Organization. (2010). Monitoring the Building Blocks of Health Systems: A Handbook of
Indicators and Their Measurement Strategies. Geneva: WHO Document Production Services.

เอกสารประกอบการเรียนรู้แบบ Community-Based Learning: CBLอ้าเภอนา้ พอง จงั หวดั ขอนแกน่ หน้า 43


Click to View FlipBook Version