The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พว11001 วิทยาศาสตร์

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nfesiwilai, 2022-07-05 21:11:58

พว11001 วิทยาศาสตร์

พว11001 วิทยาศาสตร์

1

เอกสารสรปุ เนือ้ หาทตี่ ้องรู้

รายวิชา วทิ ยาศาสตร์
ระดบั ประถมศกึ ษา
รหัส พว11001

หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดบั การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
พทุ ธศักราช 2551

สานกั งานสง่ เสรมิ การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั
สานักงานปลัดกระทรวงศกึ ษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธิการ

ห้ามจาหนา่ ย
หนงั สือเรยี นนี้จัดพมิ พ์ดว้ ยเงนิ งบประมาณแผน่ ดนิ เพ่ือการศึกษาตลอดชวี ิตสาหรบั ประชาชน
ลขิ สทิ ธ์ิเป็นของสานักงาน กศน.สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร





สารบัญ

หนา้
คานา ...................................................................................................................................ก
สารบัญ ...................................................................................................................................ข
คาแนะนาการใช้เอกสารสรปุ เนื้อหาทต่ี ้องรู้...............................................................................ง
บทที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี.......................................................... 1

เรอื่ งที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี........................................... 1
เรอ่ื งที่ 2 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ............................................................................... 4
แบบฝกึ หดั ที่ 1 ........................................................................................................... 5
แบบฝกึ หัดท่ี 2 ........................................................................................................... 7
บทที่ 2 สิง่ มชี วี ติ และส่ิงแวดลอ้ ม ........................................................................................12
เรื่องที่ 1 สิ่งมชี วี ติ ..................................................................................................12
เรอ่ื งท่ี 2 ระบบนเิ วศ..............................................................................................19
เร่ืองท่ี 3 ทรพั ยากรธรรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม และการอนุรักษ์ ............................25
เรื่องท่ี 4 ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ.....................................................................32
แบบฝึกหดั ที่ 1 .........................................................................................................38
แบบฝึกหดั ที่ 2 .........................................................................................................41
บทที่ 3 สารเพื่อชีวิต ............................................................................................................42
เรอ่ื งที่ 1 สารและสมบัติของสาร............................................................................42
เรือ่ งที่ 2 การแยกสาร ............................................................................................46
เรอ่ื งท่ี 3 สารในชวี ติ ประจาวัน...............................................................................49
แบบฝกึ หัดท่ี 1 .........................................................................................................54
แบบฝึกหัดท่ี 2 .........................................................................................................55
บทที่ 4 แรงและพลงั งานเพื่อชวี ติ .......................................................................................60
เรอ่ื งท่ี 1 แรงและการเคลือ่ นทขี่ องแรง..................................................................60
เรื่องท่ี 2 พลงั งานในชวี ติ ประจาวัน และการอนุรกั ษ์พลังงาน ...............................65
แบบฝกึ หัดที่ 1 .........................................................................................................73
แบบฝกึ หัดท่ี 2 .........................................................................................................75



สารบัญ (ตอ่ )

หน้า
บทที่ 5 ดาราศาสตรเ์ พอื่ ชีวิต...............................................................................................82

ความสมั พันธ์ระหว่างดวงอาทติ ย์ โลก และดวงจนั ทร์ .............................................82
แบบฝกึ หดั ที่ 1..........................................................................................................87
แบบฝึกหัดที่ 2..........................................................................................................89
บทท่ี 6 อาชพี ช่างไฟฟ้า .......................................................................................................90
อาชพี ช่างไฟฟา้ .........................................................................................................90
แบบฝกึ หัดที่ 1..........................................................................................................97
แบบฝกึ หดั ที่ 2..........................................................................................................98
เฉลยแบบฝึกหัด........................................................................................................................99
บรรณานกุ รม.......................................................................................................................... 112
คณะผจู้ ดั ทา ........................................................................................................................... 114



คาแนะนาการใชเ้ อกสารสรปุ เน้ือหาทต่ี อ้ งรู้

หนังสือสรุปเนื้อหาท่ีต้องรู้หนังสือเรียนรายวิชา วิทยาศาสตร์ เล่มนี้ เป็นการสรุป
เน้ือหาจากหนังสือเรียนรายวิชาบังคับ สาระความรู้พื้นฐาน รายวิชาวิทยาศาสตร์ พว11001
ระดับประถมศึกษา หลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช
2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554) เพ่ือให้นักศึกษาได้เรียนรู้และทาความเข้าใจในเนื้อหาสาระ
ของรายวิชา วิทยาศาสตร์ พว11001 ที่สาคัญ ๆ ได้สะดวกและสามารถเข้าใจย่ิงขึ้น ใน
การศึกษาหนังสือสรุปเนื้อหาท่ีต้องรู้หนังสือเรียนรายวิชา วิทยาศาสตร์เล่มน้ี นักศึกษาควร
ปฏบิ ัติ ดงั นี้

1. ศึกษาหนังสือเรียนรายวิชา วิทยาศาสตร์ พว11001 สาระความรู้พ้ืนฐานหลักสูตร
การศึกษานอกระบบระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2554)
ระดบั ประถมศกึ ษาใหเ้ ขา้ ใจก่อน

2. ศกึ ษาเนอ้ื หาสาระของหนงั สือสรปุ เน้ือหาท่ีตอ้ งรู้หนังสือเรียนรายวิชา วทิ ยาศาสตร์
พว11001 ให้เข้าใจอย่างถ่องแท้ พร้อมท้ังทาแบบฝึกหัดท้ายบททีละบท และตรวจคาตอบจาก
เฉลยแบบฝกึ หดั ทา้ ยเล่มใหค้ รบ 6 บท

3. หากนักศึกษาต้องการศึกษารายละเอียดเนื้อหาสาระรายวิชา วิทยาศาสตร์
พว11001 เพิ่มเติมสามารถศึกษาค้นคว้าได้จากสื่ออื่น ๆ ในห้องสมุดประชาชน อินเทอร์เน็ต
หรือครผู สู้ อน

บทท่ี 1
กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เร่ืองที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

1.1 ความหมายของวิทยาศาสตร์

วทิ ยาศาสตร์ คือ การศึกษาหาความรเู้ รื่องราวหรอื ปรากฏการณ์ธรรมชาติ อยา่ ง
มีระบบขนั้ ตอนโดยใช้กระบวนการทักษะทางวิทยาศาสตร์

1.2 ความสาคัญของวทิ ยาศาสตร์

วิทยาศาสตร์มีบทบาทสาคัญในการดาเนินชีวิต และสามารถนามาใช้ให้เกิด
เทคโนโลยีสมัยใหม่ เพื่ออานวยความสะดวกในด้านต่าง ๆ แก่มนุษย์ เช่น ด้านการส่ือสาร
ด้านเทคโนโลยีด้านการแพทย์ ดา้ นการศึกษา ด้านการเกษตร ด้านอตุ สาหกรรม เป็นต้น

1.3 ข้ันตอนของกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ข้ันตอนการเสาะหาความรู้อย่างมีเหตุ
มผี ล มขี ้นั ตอนอย่างเป็นระบบ มี 5 ข้นั ตอน คอื

1.3.1 ข้ันระบุปัญหา ขั้นตอนน้ีเกิดจากการสังเกตพบเห็นปัญหารอบ ๆ ตัว
แลว้ นาไปตั้งปญั หาและขอ้ สงั เกต ในการตงั้ ปญั หาตอ้ งชดั เจนไมค่ ลุมเครือ

1.3.2 ขั้นตั้งสมมติฐาน คือการคาดคะเนคาตอบของปัญหาท่ีต้องการศึกษา
โดยอาศัยข้อมูลความรู้จากประสบการณ์เดิม สมมติฐานท่ีดีต้องสัมพันธ์กับปัญหาและสามารถ
ตรวจสอบได้

1.3.3 ขั้นรวบรวมข้อมูล เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต การสารวจ
หรือการลงมือทดลองปฏิบัติ เพื่อพิสูจน์ว่าสมมติฐานท่ีต้ังไว้ถูกต้องหรือไม่ ในกรณีท่ีเป็นการ
ทดลอง จะตอ้ งวางแผนการทดลองอยา่ งเปน็ ข้ันตอน ระบวุ สั ดุอุปกรณ์ที่ใช้ และบนั ทึกผลการ
ทดลองอย่างละเอียดทุกขน้ั ตอน

1.3.4 ขั้นการวิเคราะห์ข้อมูล เป็นการนาข้อมูลท่ีได้จากการสังเกต ทดลอง
มาแปลความหมาย เพอ่ื จะนาไปส่กู ารสรุปผล

1.3.5 ข้ันสรุปผล เป็นการสรุปผลการทดลองที่นักศึกษาได้รับความรู้และ
คาตอบของปญั หา

2

1.4 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นส่ิงท่ีจาเป็นในการเรียนวิทยาศาสตร์

ซึ่งจะทาให้นักศึกษาสามารถคิดและแก้ปัญหาได้ด้วยตนเอง จึงควรฝึกฝนให้เกิดกระบวนการ
ทางวทิ ยาศาสตร์ แบง่ ออกเปน็ 13 ทกั ษะ ได้แก่

1) การสังเกต
2) การวัด
3) การจาแนกประเภท
4) การใชต้ วั เลข
5) การหาความสัมพนั ธร์ ะหว่างสเปซกบั สเปซ และสเปซกับเวลา
6) การจัดทาและสื่อความหมายขอ้ มูล
7) การลงความคดิ เหน็ ขอ้ มลู
8) การพยากรณ์
9) การตั้งสมมติฐาน
10) การกาหนดนิยามเชงิ ปฏิบตั กิ าร
11) การกาหนดนยิ ามและควบคมุ ตวั แปร
12) การทดลอง
13) การตีความหมายขอ้ มูลและการสรปุ ผล
1.5 เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์
เจตคติทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง ความรู้ท่ีดีต่อวิชาวิทยาศาสตร์ มี 6 ลักษณะ
ดงั นี้
1) มเี หตผุ ล
2) กระตอื รือร้นค้นหาความรู้
3) อยากรูอ้ ยากเห็น
4) มีความพยายามและอดทน
5) ยอมรับฟังความคิดเห็นของผ้อู นื่
6) แก้ปญั หาโดยใชว้ ิธีการทางวิทยาศาสตร์

3

1.6 ความหมายของเทคโนโลยี
เทคโนโลยี หมายถึง การนาความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้และอานวย

ความสะดวกให้กับมนุษย์ เช่น โทรศัพท์มือถือที่ช่วยในการติดต่อส่ือสารได้รวดเร็วข้ึน
คอมพวิ เตอร์ทชี่ ่วยเก็บข้อมูลได้เป็นจานวนมากและถูกต้องแมน่ ยา เป็นตน้ ในการนาเทคโนโลยี
มาใช้ควรศึกษาผลดผี ลเสยี กอ่ น และควรใชเ้ ทคโนโลยีอย่างถกู ต้องและคมุ้ คา่ ทสี่ ดุ

1.7 อปุ กรณท์ างวิทยาศาสตร์
อุปกรณ์สาหรับการตวงสาร เช่น บีกเกอร์ หลอดทดลอง กระบวกตวง ปิเปตต์

เป็นตน้
อุปกรณส์ าหรับชง่ั เชน่ เครื่องช่ังไฟฟา้ เครอ่ื งชง่ั สองแขน เปน็ ต้น
อปุ กรณ์สาหรบั วดั เชน่ ไมโครมเิ ตอร์ เวอร์เนียร์ คาลิเปอร์ เปน็ ต้น
อปุ กรณอ์ น่ื ๆ เช่น กลอ้ งจุลทรรศน์ แวน่ ขยาย เป็นต้น

SC101001 โลกกวา้ งทางวิทยาศาสตร์ SC101002 เทคโนโลยีกับวทิ ยาศาสตร์

4

เร่อื งท่ี 2 โครงงานวิทยาศาสตร์
2.1 ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์
2.1.1 โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททดลอง
2.1.2 โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทสารวจ
2.1.3 โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสง่ิ ประดิษฐ์
2.1.4 โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภททฤษฎี
2.2 ขั้นตอนของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
2.2.1 สารวจและตัดสินใจเลือกเรือ่ งทีจ่ ะทาโครงงาน
2.2.2 ศกึ ษาขอ้ มลู ท่ีเกีย่ วขอ้ งกับเร่อื งท่ีจะทาเอกสารและแหล่งข้อมูลตา่ ง ๆ
2.2.3 วางแผนทดลอง การใช้วสั ดอุ ปุ กรณ์ และระยะเวลาในการดาเนนิ งาน
2.2.4 เขียนเคา้ โครงของโครงงานวิทยาศาสตร์
2.2.5 ลงมือศึกษาทดลอง วิเคราะห์ขอ้ มลู และสรปุ ผล
2.2.6 เขยี นรายงานโครงงานวทิ ยาศาสตร์
2.2.7 เสนอผลงานของโครงงานวิทยาศาสตร์

SC102001 โครงงานน่ารู้

5

แบบฝึกหัดท่ี 1

ใหผ้ ้เู รียนเลือกคาตอบทถ่ี ูกตอ้ งท่สี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว
1. ข้อใดคือความหมายของวิทยาศาสตร์

ก. เรอื่ งราวหรือปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
ข. การศกึ ษาหาความร้อู ยา่ งมรี ะบบ ข้ันตอน
ค. การศกึ ษาหาความรู้เกีย่ วกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
ง. การศกึ ษาหาความรูเ้ ก่ียวกับปรากฏการณ์ทางธรรมชาตโิ ดยใชก้ ระบวนการ

ทางวิทยาศาสตร์
2. ขอ้ ใดคอื ความหมายของการตงั้ สมมตฐิ านทถี่ ูกต้อง

ก. เปน็ การคาดคะเนคาตอบของปัญหาทตี่ ้องการศึกษา
ข. เปน็ การวางแผนลงมือทดลองเพ่อื หาคาตอบ
ค. เป็นการตั้งขอ้ สงั เกตเร่ืองราวต่าง ๆ
ง. เป็นการรวบรวมปัญหาทส่ี งสัย
3. ขอ้ ใดคอื การกระทาในขั้นตอนการรวบรวมข้อมลู
ก. จดบันทึกปัญหารอบ ๆ ตวั
ข. บนั ทึกผลการสารวจอยา่ งละเอยี ด
ค. วเิ คราะห์สาเหตุของปญั หาท่เี กดิ ขนึ้
ง. การแปลความหมายของขอ้ มลู ท่ไี ด้จากการทดลอง
4. ถ้าเราพบปลาตายในแมน่ ้าจานวนมาก เราควรตง้ั สมมติฐานว่าอย่างไร
ก. ปลาตายเพราะอะไร
ข. ปลาตายจานวนเท่าไร
ค. ทาอยา่ งไรปลาถงึ ไม่ตาย
ง. ปลาตายเพราะน้าเสียใช่หรอื ไม่

6

5. ถ้าต้องการมองเหน็ จลุ นิ ทรีย์อยา่ งชดั เจนควรใชอ้ ุปกรณใ์ นขอ้ ใด

ก. กลอ้ งโพลารอยด์ ข. กลอ้ งจุลทรรศน์

ค. กล้องโทรทศั น์ ง. กล้องถา่ ยรปู

6. แดงต้องการศึกษาลักษณะของยงุ ควรเลือกใชอ้ ุปกรณ์ในข้อใด

ก. กล้องโทรทศั น์ ข. เทอร์โมมเิ ตอร์

ค. ไมโครมเิ ตอร์ ง. แว่นขยาย

7. “ค่าไฟฟา้ ที่บา้ น 4 เดือนที่ผ่านมาสงู กว่าปกติ” จากข้อความดงั กลา่ ว นักศึกษาจะใช้

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ข้อใด

ก. สังเกต ข. ตัง้ ปญั หา

ค. ตงั้ สมมตฐิ าน ง. ออกแบบการทดลอง

8. โครงงานวิทยาศาสตร์มีกปี่ ระเภท

ก. 4 ประเภท ข. 5 ประเภท

ค. 6 ประเภท ง. 7 ประเภท

9. ขอ้ ใดจดั เปน็ โครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทสิ่งประดิษฐ์

ก. การทาแปลงผกั สวนครัว

ข. การทากลอ้ งส่องทางไกล

ค. การทดลองหาปรมิ าตรออกซเิ จนในนา้

ง. การสารวจปรมิ าณหอยหวานบริเวณชายฝ่ัง

10. วธิ ีการเพาะถ่ัวงอกจัดเปน็ การเรียนร้โู ครงงานประเภทใด

ก. โครงงานประเภทสารวจ

ข. โครงงานประเภททดลอง

ค. โครงงานประเภทสิ่งประดิษฐ์

ง. โครงงานประเภททฤษฎีดินและป่าไม้

-----------------------

7

แบบฝกึ หัดที่ 2

เรอื่ ง ทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และโครงงานทางวิทยาศาสตร์

เวลาท่ีใชใ้ นการจัดกิจกรรม 60 นาที
สื่อการเรียนรู/้ กิจกรรม

1. ขอ้ ความ/สถานการณ์ ฝกึ ปฏบิ ตั ิ
2. กระดาษปรฟู๊
3. ปากกาเคมี
4. ใบความรู้กจิ กรรม
วิธดี าเนินการ
หลังจากครูได้ดาเนินการจัดการความรู้ทักษะทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และโครงงานวิทยาศาสตร์ให้กับนักศึกษาหรือนักศึกษาได้ศึกษาเรียนรู้ในเรื่อง
ทักษะทางวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และโครงงานวิทยาศาสตร์เรียบร้อย
แล้วใหน้ กั ศกึ ษาทาความเขา้ ใจบทเรียนโดยทากจิ กรรมร่วมกับเพ่อื นจากแบบฝึกต่อไปน้ี

ตอนที่ 1 จงเขียน คาถาม/ปญั หาและสมมตุ ฐิ านจากสถานการณท์ กี่ าหนดให้
1. วนั น้ีแม่ไปซอื้ มะเขอื มาจากตลาด ให้มะลิชว่ ยห่นั มะเขือ เพือ่ จะทาแกงเขียวขวาน หลงั จากที่

มะลิหนั่ มะเขอื เสรจ็ แล้วนั้นเหน็ เนือ้ มะเขอื ทีถ่ ูกห่ันจะค่อย ๆ กลายเป็นสนี า้ ตาล

คาถาม/ระบปุ ญั หา

ตง้ั สมมตุ ิฐาน

8

2. มานะเปิดฝาตุ่มเพ่อื รองน้าเวลาฝนตกหลังจากผ่านไป 7 วัน มานะเหน็ มลี ูกน้าในตมุ่

คาถาม/ระบปุ ัญหา
ตง้ั สมมตุ ฐิ าน

3. พอ่ กลับจากทางานเรยี กใหม้ านี ลกู สาวเอาน้าเย็นมาให้ดืม่ มานรี ินน้าดื่มจากตู้เยน็ ใส่แกว้
ขณะเดินถอื มาพบว่ามือของมานที ี่จบั แก้วน้าเปียก

คาถาม/ระบปุ ญั หา
ตัง้ สมมตุ ฐิ าน

4. หอ้ งนอนของมาลยั อยดู่ า้ นทศิ ตะวนั ตกกอ่ นนอนมาลยั จะเปดิ เครอ่ื งปรบั อากาศกอ่ นเขา้ นอน
1 ชั่วโมงแต่มาลยั รสู้ ึกวา่ แอรไ์ มค่ อ่ ยเย็นทงั้ ๆ ที่เครือ่ งปรบั อากาศทางานเป็นปกติและได้มี
การซ่อมบารุงเปน็ ประจา

คาถาม/ระบปุ ญั หา
ตง้ั สมมุตฐิ าน

5. มาลซี ือ้ ต้นไมม้ าปลูกทบ่ี ้านรดน้าพรวนดนิ ตามปกติ วันต่อมามาลซี ื้อปยุ๋ มาใส่ตน้ ไม้ หลงั จาก
นัน้ 3 วนั ตน้ ไมเ้ ร่ิมเหย่ี วเฉาและตาย

คาถาม/ระบปุ ัญหา
ตง้ั สมมตุ ิฐาน

9

ตอนท่ี 2 สารวจสง่ิ แวดลอ้ มรอบตวั ในท้องถน่ิ ชุมชนทวั่ ไป

ข้อกาหนด ขอบเขตการสารวจ บรเิ วณขอนไม้
ให้นักศึกษาบันทึกการสารวจบริเวณท่ีมีขอนไม้ผุ หรือไม้ผุพัง ตามพื้นท่ีรอบ ๆ บ้าน

หรือสถานศกึ ษาโดยการวาดรปู หรือเขยี นช่ือส่ิงท่ีพบบันทกึ ลงในตารางพรอ้ มกบั ตอบคาถาม
อปุ กรณ์สารวจ

1. แวน่ ขยาย
2. เทอรโ์ มมอเตอร์
3. ไฮโกรมเิ ตอร์
วิธสี ารวจ
1. ระดมความคดิ ในการสารวจ
2. แบง่ หนา้ ท่ใี นการทางานและวางแผน ให้ชัดเจน
3. ศกึ ษาการใช้อุปกรณร์ ่วมกนั ให้เขา้ ใจ
4. ใช้แวน่ ขยายสอ่ งดูว่าพบสงิ่ มีชีวติ อาศยั อยหู่ รือไม่หรอื พบซากสัตว์ชนดิ ใด
5. บันทกึ สภาพของขอนไม้นัน้ ว่าบรเิ วณที่สารวจน้ันมีแสงแดดส่องถึงหรือไม่ บริเวณท่ี
แสงแดดส่องถงึ คิดเป็นสดั ส่วนเท่าไรของพ้ืนท่ี เชน่ 1 ส่วน 4 ของพื้นทท่ี าการสารวจ
6. บันทึกผลการสารวจในใบบันทึกกจิ กรรม

ตารางบนั ทึกผลการสารวจและตอบคาถาม

สิ่งมชี วี ติ สิ่งไมม่ ีชวี ติ สภาพทว่ั ไป ความช้นื
แสงแดด-รม่ เงา อณุ หภูมิอากาศ

10

1. บรเิ วณขอนไมผ้ มุ ีสภาพเป็นอยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………… .
............................................................................................................................. ................
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
2. ถ้าแบง่ กลุม่ สงิ่ มชี ีวิตท่ีเปน็ พืชและสตั ว์มีอะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………… .
......................................................... ....................................................................................
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………… .
3. นา้ ฝนมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไรต่อกลมุ่ สิ่งมชี ีวิตทีอ่ าศยั อยบู่ นขอนไม้ผุ
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………… .
............................................................................................................................. ................
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………… .
4. ความชนื้ บนขอนไม้มผี ลต่อสิง่ มีชีวติ เปน็ อย่างไร
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………… .
............................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………… .

11

5. สภาพทวั่ ไป แสงแดด ร่มเงา ความช้นื อณุ หภมู ิ เปน็ อยา่ งไร
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
............................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

ตอนที่ 3 โครงงานวทิ ยาศาสตร์

1. โครงงานวทิ ยาศาสตร์คืออะไร
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
2. โครงงานวิทยาศาสตร์กปี่ ระเภท อะไรบ้าง
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
......................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..
......................................................................................................................................................
3. จงยกตัวอยา่ งช่อื โครงงานวทิ ยาศาสตรใ์ นแต่ละประเภทมาอย่างน้อย 2 โครงงาน
…………………..……………...............................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………….……………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..

12

บทที่ 2
สิง่ มีชีวิตและส่งิ แวดลอ้ ม

เร่อื งท่ี 1 สิ่งมีชวี ติ

1.1 ลกั ษณะของส่งิ มีชวี ติ
1.1.1 การกินอาหาร สิ่งมีชีวิตจะต้องกินอาหารเพื่อความอยู่รอดของตนเอง

พืชสามารถสร้างอาหารได้เองโดยกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงและดูดซึมน้าและแรธ่ าตุจาก
ราก ส่วนคน และสตั ว์ไมส่ ามารถสร้างอาหารได้เองตอ้ งกินพชื หรอื สัตว์อน่ื เป็นอาหาร

1.1.2 การหายใจ กระบวนการหายใจของสิ่งมีชีวิตเป็นวิธีการเปลี่ยนอาหารที่
กนิ เขา้ ไปเป็นพลังงาน เพือ่ ใชใ้ นการดารงชีวิต

1.1.3 การเคลื่อนไหว ส่ิงมชี ีวติ สามารถเคลื่อนท่ไี ดด้ ้วยตนเอง ยกตัวอย่าง เช่น
คนและสัตว์สามารถวิ่งและเดินได้ ส่วนพืชท่ีเป็นเถาสามารถเลื้อยเกาะผนังหรือต้นไม้อื่นได้
เปน็ ต้น

1.1.4 การเจริญเติบโต ส่ิงมีชีวิตจะมีการเจริญเติบโต สิ่งมีชีวิตบางชนิดขณะ
เจริญเติบโตไม่มีการเปล่ียนแปลงรูปร่าง แต่บางชนิดขณะเจรญิ เติบโตมีการเปล่ยี นแปลงรูปร่าง
ซึง่ สามารถสงั เกตเหน็ ไดอ้ ย่างชดั เจน

1.1.5 การขับถ่าย เป็นการกาจัดของเสียท่ีส่ิงมีชีวิตน้ันไม่ต้องการออกจาก
ร่างกาย พชื จะขบั ของเสยี ออกมาทางปากใบ สตั ว์จะขบั ของเสียออกมาในรูปของเหงอ่ื ปสั สาวะ
และปะปนออกมากบั ลมหายใจ

1.1.6 การตอบสนองต่อส่ิงเร้า สิ่งมีชีวิตจะมีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า เพื่อ
ปรบั ตวั เองใหอ้ ยรู่ อดและปลอดภยั ตอ่ อันตรายตา่ ง ๆ

1.1.7 การสืบพันธ์ุ สิ่งมีชีวิตจะมีการสืบพันธ์ุและขยายพันธุ์เพ่ือไม่ให้เผ่าพันธุ์
ของตนเองตอ้ งสูญพนั ธุ์

1.2 เกณฑ์ท่ใี ช้ในการจัดกล่มุ ส่งิ มีชีวิต
เกณฑท์ ใี่ ช้ในการจดั กลุ่มสิง่ มชี วี ิตแบง่ ออกเปน็ 5 ประเภท ไดแ้ ก่
1.2.1 เปรียบเทียบลักษณะโครงสร้างภายนอกและภายใน คือ สิ่งมีชีวิตท่ีมี

โครงสร้างของอวัยวะที่มีต้นกาเนิดเดียวกัน แต่อาจมีหน้าที่เหมือนกันหรอื ต่างกันก็ได้ จัดอยู่ใน

13

กลุ่มเดียวกัน ในขณะที่อวัยวะซึ่งทาหน้าท่ีแบบเดียวกัน แต่ต้นกาเนิดแตกต่างกันจัดอยู่คนละ
กล่มุ กัน

1.2.2 แบบแผนการเจริญเติบโต หากมีรูปแบบการเจริญเติบโต ต้ังแต่ตัว
อ่อนจนถงึ ตวั เต็มวยั เหมอื นหรือคลา้ ยกันจัดอยใู่ นกลมุ่ เดียวกัน

1.2.3 การเปรียบเทียบลักษณะร่องรอยของซากดึกดาบรรพ์ ทาให้ทราบว่า
สิ่งมชี วี ิตใดมบี รรพบุรษุ ร่วมกนั จดั อยูใ่ นกลุม่ เดยี วกนั

1.2.4 กระบวนการทางชีวเคมี และสรีรวิทยา พิจารณาจากชนิดสารเคมีท่ี
สิ่งมีชีวติ สรา้ งขึน้ วา่ มคี วามคล้ายคลึงกันอย่างไร

1.2.5 เปรียบเทียบพฤติกรรมความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม
ตลอดจนการแพรก่ ระจายทางภูมศิ าสตรข์ องส่งิ มีชีวิต

1.3. พืช
พืช คือสิ่งมีชีวิตที่สามารถสังเคราะห์อาหารได้เอง โดยกระบวนการสังเคราะห์

ดว้ ยแสง
ในการจาแนกประเภทของพชื สามารถจาแนกได้ 2 แบบ ดงั นี้
แบบที่ 1 ใช้ลักษณะส่วนประกอบของใบเล้ียงมาใช้ในการจาแนกพืช ได้เป็น 2

ประเภท ได้แก่
1) พืชใบเล้ียงเด่ียว คือ พืชที่มีใบเลี้ยงใบเดี่ยว ลักษณะเส้นใบเรียงกัน

แบบขนาน มีระบบรากฝอยลาต้นมองเห็นข้อปล้องชัดเจน ไม่มีการเจริญทางด้านข้าง
กลบี ดอก มจี านวนเป็น 3 หรอื ทวีคูณของ 3

2) พืชใบเล้ียงคู่ คือ พืชที่มีใบเล้ียงสองใบ ลักษณะเส้นใบเป็นร่างแห
มีระบบรากแก้ว ลาต้นมองเห็นข้อปล้องไม่ชัดเจน มีการเจริญออกทางด้านข้าง กลีบดอก
มจี านวนเปน็ 4-5 หรือ ทวีคูณของ 4-5

แบบที่ 2 ใชล้ ักษณะของดอก แบง่ ได้เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่
1) พืชมีดอก คือพืชที่เจริญเติบโตเต็มที่แล้ว มีส่วนของดอกสาหรับใช้

ในการผสมพนั ธุ์
2) พืชไม่มีดอก คือพืชที่ไม่มีดอกเลย ตลอดการดารงชีวิต ไม่ว่าจะ

เจรญิ เตบิ โตเตม็ ทแี่ ล้วก็ตามพืชจาพวกนี้จึงไม่มดี อกสาหรับใช้ในการผสมพันธ์ุ แต่จะสืบพันธโุ์ ดย
การสรา้ งสปอรซ์ ง่ึ จะงอกเป็นพชื ต้นใหม่

14

1.3.1 ส่วนประกอบของพชื และหนา้ ที่
1) ราก เป็นส่วนของพืชที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น และเจริญลง

สู่ใต้ดนิ รากมหี น้าทย่ี ึดลาต้นใหต้ ้งั บนดิน ดูดนา้ และแรธ่ าตุท่ีสะสมอยู่ในดินแล้วลาเลยี งขึน้ ไปยัง
ส่วนต่าง ๆ ของพืช นอกจากนี้รากของพืชบางชนิดทาหน้าท่ีสะสมอาหาร เช่น รากมันแกว
รากแครอท รากหัวผักกาด รากค้าจุน เช่น รากโกงกาง รากข้าวโพด รากสังเคราะห์ด้วยแสง
เช่นรากกล้วยไม้ รากไทร รากหายใจ ช่วยในการดดู อากาศ เชน่ รากแสม รากลาพู

ราก ของพืชแบง่ เปน็ 2 ประเภท คือ
รากแก้ว เป็นรากที่งอกออกจากเมล็ดก่อนส่วนอื่น เป็นรากหลัก
เจริญเติบโตได้รวดเร็วและมีรากแขนงแตกออกจากรากแก้ว ในพืชบางชนิดรากแก้วจะเจริญ
ตอ่ ไป
รากฝอย เป็นรากเส้นเล็ก ๆ มากมาย งอกออกจากรอบ ๆ โคนต้นแทน
รากแกว้ ท่ีหยุดเตบิ โต
2) ลาต้น เป็นส่วนของพืชท่ีอยู่ต่อจากรากข้ึนมา พืชส่วนมากจะมี
ลาต้นอยู่บนดิน ประกอบด้วยส่วนสาคัญ 3 ส่วน คือ ข้อ ปล้อง ตา แต่พืชบางชนิดมีลาต้นอยู่
ใต้ดิน ลาต้นมีหน้าที่ชูก้าน ใบ และดอกให้ไดร้ ับแสงแดด เป็นทางลาเลยี งน้าและแร่ธาตุ และลา
ตน้ ของพชื บางชนดิ ทาหน้าทสี่ ะสมน้าและอาหาร พชื บางชนดิ ใชล้ าตน้ ในการขยายพนั ธ์ุ
3) ใบ เป็นส่วนของพืชท่ีเจริญเติบโตย่ืนออกมาทางข้างของลาต้น
มีลักษณะแบน มีสีเขียว ใบจะมีเส้นใบซ่ึงมี 2 ลักษณะ คือ เส้นใบขนาน และเส้นใบเป็นร่างแห
ทาหน้าท่ีสร้างอาหาร คายน้าและหายใจ บางชนิดทาหน้าที่สะสมอาหาร ใช้ในการขยายพันธ์ุ
ล่อแมลง ดกั และจบั แมลง
4) ดอก เปน็ สว่ นของพืชทท่ี าหนา้ ทใ่ี นการสืบพันธ์ุ ดอกโดยท่ัวไป
ประกอบด้วยส่วนต่าง ๆ ดังน้ี คือ กลีบเลี้ยง กลีบดอก เกสรตัวผู้ เกสรตัวเมีย ก้านดอก และ
ฐานรองดอก ดอกไม้มีอยู่มากมายหลายชนิด บางชนิดมีสีสันสวยงามบางชนิดมีกลิ่นหอม
ชวนดม
5) ผล เป็นส่วนที่เจริญมาจากรังไข่ หลังจากดอกได้รับการผสมแล้ว
ผนังรงั ไข่ช้นั นอกสดุ เจริญเปน็ เปลือกของผล

15

1.3.2 ปัจจยั ทจ่ี าเป็นต่อการเจริญเตบิ โตของพืช
ปจั จยั ทม่ี ีผลตอ่ การเจริญเติบโตของพชื ได้แก่
1) ดนิ ใหท้ ย่ี ึดเกาะแก่พชื และเป็นแหลง่ ธาตอุ าหาร นา้ และอากาศ
2) น้า ช่วยละลายแร่ธาตุอาหารในดิน เพ่ือให้รากลาเลียงน้าและแร่

ธาตุดดู ไปเลีย้ งสว่ นต่าง ๆ ของลาต้น
3) ธาตุอาหารหรือปุ๋ย ช่วยในกระบวนการต่าง ๆ ในการดารงชีวติ ของ

พืชและช่วยสร้างคลอโรฟิลล์
4) อ าก าศ พื ช ใช้ ก๊ าซ อ อ ก ซิ เจ น ใน ก ารห าย ใจ แ ล ะ ใช้ ก๊ าซ

คารบ์ อนไดออกไซดใ์ นการสรา้ งอาหาร
5) แสงสว่าง พชื ต้องการแสงแดดมาใชใ้ นการสร้างอาหาร
6) อุณหภูมิ อุณหภูมิท่ีพอเหมาะอยู่ระหว่าง 20–30 องศาเซลเซียส

ช่วยในกระบวนการสงั เคราะห์ดว้ ยแสง การงอกของเมล็ดและการทางานของเอนไซม์

SC103001 วงจรชีวติ พชื และสัตว์

1.3.3 ความหมายของการขยายพนั ธุพ์ ืช
การขยายพนั ธพ์ุ ชื หมายถึง วิธีการท่ีทาให้เกิดการเพิม่ ปรมิ าณของต้นพืช

ใหม้ ากข้นึ เพ่ือดารงสายพันธ์ุ พืชชนดิ ตา่ ง ๆ ไวไ้ มใ่ หส้ ญู พันธุ์
1.3.4 ประเภทของการขยายพนั ธพุ์ ืช
การขยายพนั ธ์พุ ืชที่นิยมปฏิบตั โิ ดยท่วั ไป มี 5 วธิ ี คือ
1) การตอนกิ่ง คือ การทาให้ก่ิง หรือต้นพืชเกิดรากขณะติดอยู่กับ

ตน้ แม่ จะทาใหไ้ ดต้ ้นพชื ใหม่ ทม่ี ลี ักษณะทางสายพันธ์ุ เหมอื นกับต้นแม่ทกุ ประการ

16

2) การทาบกิ่ง คือ การนาต้นพืช 2 ต้นเป็นต้นเดียวกัน โดยส่วนของ
ต้นตอท่ีนามาทาบกง่ิ จะทาหนา้ ท่เี ปน็ ระบบรากอาหารใหก้ ับตน้ พันธด์ุ ี

3) การติดตา คือ การเชื่อมประสานส่วนของต้นพืชเข้าด้วยกัน เพ่ือให้
เจริญเปน็ พืชต้น เดียวกนั โดยการนาตาจากก่งิ พนั ธุด์ ไี ปตดิ บนตน้ ตอ

4) การเสียบยอด คือ การเช่ือมประสานเนื้อเยื่อของต้นพืช 2 ต้น
เขา้ ด้วยกนั เพื่อให้เจริญเตบิ โตเปน็ ตน้ เดยี วกัน

5) การตัดชา คือ การนาส่วนต่าง ๆ ของพืชพนั ธุด์ ี เช่น ใบ ลาต้น และ
ราก มาตดั และปกั ชาในวสั ดเุ พาะชา เพื่อใหไ้ ด้พชื ตน้ ใหมท่ น่ี ามาตดั ชา

SC103002 การขยายพนั ธ์ุพชื และสัตว์
1.4 สตั ว์

1.4.1 ประเภทของสตั ว์
สัตว์แต่ละชนิดท่ีอาศัยอยู่ตามธรรมชาติ มีลักษณะโครงสร้างภายนอก

และภายในแตกต่างกันทาให้เราสามารถจาแนกประเภทของสัตว์ออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ
คือ

1) สัตว์ที่มีกระดูกสันหลัง คือ สัตว์ท่ีมีกระดูกต่อกันเป็นข้อ ๆ อยู่เป็น
แนวยาวไปตามด้านหลังของร่างกาย มีหน้าที่ช่วยพยุงร่างกายให้เป็นรูปร่างอยู่ได้และยังช่วย
ปอ้ งกันเสน้ ประสาทอกี ดว้ ย เชน่ คน สนุข แมว ควาย เสอื เปน็ ตน้

2) สัตว์ที่ไมม่ ีกระดูกสันหลงั คือ สัตว์ไม่มีกระดกู เป็นแกนของรา่ งกาย
สตั ว์บางชนดิ จะสร้างเปลือกแขง็ ขึน้ มาห่อหุ้มรา่ งกายเพื่อปอ้ งกันอันตราย เช่น แมลงชนิดต่าง ๆ
เปน็ ตน้

17

1.4.2 โครงสรา้ งและหนา้ ท่ขี องระบบต่าง ๆ ในรา่ งกายสัตว์
โครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิต

ของสตั ว์ ดังนี้
1) ระบบย่อยอาหาร ทาหน้าท่ีนาสารอาหารต่าง ๆ เข้าสู่ร่างกาย เพ่ือ

เปน็ วตั ถุดบิ สาคญั ในการเจรญิ เตบิ โต
2) ระบบหมุนเวียนเลือด ทาหน้าท่ีหมุนเวียนเลือด นาสารต่าง ๆ ที่มี

ประโยชน์ไปยังเซลลท์ ว่ั ร่างกาย และนาสารที่เซลล์ไมต่ ้องการไปยงั อวัยวะขบั ถ่ายเพ่ือกาจัดออก
นอกรา่ งกาย

3) ระบบหายใจ ทาหน้าท่ี นาก๊าซท่ีเซลล์ต้องการเข้าสู่ร่างกายและ
กาจัดก๊าซที่เซลล์ไม่ต้องการออกนอกร่างกาย นอกจากนี้ยังทาหน้าท่ีสร้างพลังงานให้แก่เซลล์
ทาให้เซลล์สามารถนาไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์

4) ระบบขับถ่าย ทาหน้าที่กาจัดของเสียท่ีเซลล์ไม่ต้องการออกนอก
ร่างกาย

5) ระบบประสาท ทาหน้าที่ควบคุมกลไกลการทางานของทุกระบบใน
รา่ งกาย

6) ระบบโครงกระดูก ถ้ามีโครงร่างแข็งท่ีอยู่ภายนอกร่างกาย จะช่วย
ป้องกันอันตรายภายในไม่ให้ได้รับอันตราย แต่ถ้ามีโครงร่างแข็งท่ีอยู่ภายใน จะช่วยในการ
เคลอ่ื นไหวหรือเคลอ่ื นที่

7) ระบบสืบพันธ์ุ เม่ือสัตว์เจริญเติบโตเป็นตัวเต็มวัยก็พร้อมท่ีจะ
สบื พนั ธ์ุเพอ่ื ท่ีจะเพมิ่ ลูกหลาน ทาให้สัตว์แต่ละชนิดสามารถดารงเผา่ พนั ธไุ์ ว้ได้

1.4.3 ปัจจยั ทีจ่ าเป็นตอ่ การดารงชวี ิตของสัตว์
ปัจจยั ทจ่ี าเปน็ ต่อการดารงชวี ติ ของสัตว์ ได้แก่
1) อาหาร เพ่ือจะไดม้ ีพลังงานในการทากิจกรรมต่าง ๆ สัตว์แต่ละชนิด

กนิ อาหารท่ีแตกตา่ งกันไป บางชนดิ กินพืชเป็นอาหาร บางชนิดกินสัตวเ์ ปน็ อาหาร และบางชนิด
กนิ ทั้งพืชและสตั ว์เปน็ อาหาร

2) น้า ช่วยใหร้ า่ งกายสดช่นื ชว่ ยดบั กระหาย เป็นที่อาศยั ของสัตวบ์ างชนิด
3) อากาศ สัตว์ทุกชนิดต้องใช้ก๊าซออกซิเจนในกระบวนการหายใจ
พืชตอ้ งการกา๊ ซคาร์บอนไดออกไซดใ์ นการสร้างอาหาร

18

4) ที่อยู่อาศัย เพ่ือความอบอุ่น และปลอดภัยจากศัตรู และดารงชีวิต
ด้านต่าง ๆ ที่แตกต่างกันไป สัตว์บางชนิดอาศัย บนบก บางชนิดอาศัยบนต้นไม้ บางชนิดอาศัย
ในนา้

1.4.4 การสบื พนั ธขุ์ องสัตว์
การสบื พันธขุ์ องสตั วม์ ี 2 ประเภท ได้แก่
1) การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศ คือ การเพ่ิมจานวนของส่ิงมีชีวิต

โดยไมม่ กี ารผสมระหวา่ งเซลล์สืบพันธุ์ ซึ่งการสบื พันธแุ์ บบนจ้ี ะไม่มีการกลายพันธุ์ เชน่
1.1) การแตกหน่อ ส่ิงมีชีวติ ตัวใหม่งอกออกมาจากตัวเดมิ แลว้ หลุด

ออกมาเป็นสิ่งมีชีวติ ตวั ใหม่
1.2) การแบ่งตัว สิ่งมีชีวิตตัวหน่ึงแบ่งเป็นส่ิงมีชีวิตตัวใหม่แบบ

เท่า ๆ กนั
1.3) การแบ่งส่วน ส่วนที่หลุดไปจากส่ิงมีชีวิตหนึ่งพัฒนาไปเป็น

สิ่งมชี ีวิตตวั ใหมไ่ ด้
2) การสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศ คือ การสืบพันธุ์ทตี่ ้องมกี ารรวมกันของ

เซลลส์ ืบพนั ธเุ์ พศผู้ (สเปิรม์ ) และเซลล์สบื พันธเุ์ พศเมีย (ไข่) แล้วเกิดเป็นสงิ่ มีชวี ติ หน่วยใหม่

SC103003 โครงสร้างและหนา้ ท่ขี องพชื และสตั ว์

19

เรื่องที่ 2 ระบบนเิ วศ

2.1 ความหมายของระบบนเิ วศ (Ecosystem)
ระบบนิเวศ (Ecosystem) หมายถึง ความสัมพันธ์ของกลุ่มสิ่งมีชีวิตในแหล่งที่

อยู่ และมีความสมั พนั ธ์ซ่งึ กันและกัน

2.2 องคป์ ระกอบพ้ืนฐานของระบบนิเวศ
2.2.1 องค์ประกอบที่ไม่มีชีวิต ได้แก่ สารประกอบอินทรีย์ อนินทรีย์ และ

สภาพแวดลอ้ มทางกายภาพ
2.2.2 องค์ประกอบทีม่ ีชีวิต ได้แก่ ผผู้ ลติ ผ้บู รโิ ภค และผ้ยู ่อยสลาย

2.3 ความสมั พันธ์ของสิง่ มีชวี ิตในระบบนเิ วศ
ความสมั พันธ์ของสิ่งมีชวี ติ ในระบบนิเวศ มี 2 แบบ คือ
2.3.1 ความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกันเอง ใช้คาว่า ภาวะนาหน้า

ตัวอย่าง เชน่
1) ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน (Protocooperation : +,+) คือ

ส่ิงมีชีวิตทั้ง 2 ฝ่าย ต่างได้ประโยชน์ด้วยกันท้ังคู่ เช่น ผ้ึงกับดอกไม้ เพลี้ยกับมดดา นกเอี้ยงกับ
ควาย

2) ภาวะพ่ึงพากัน (Mutualism: +,+) คือ ส่ิงมีชีวิตท้ัง 2 ฝ่ายได้
ประโยชน์ร่วมกัน แต่ต้องอยู่ร่วมกัน ตลอดเวลา หากแยกกันอยู่จะทาให้อีกฝ่ายไม่สามารถ
ดารงชีวิตอยูไ่ ด้เชน่ ไลเคน โพรโทซัวในลาไสป้ ลวก แบคทเี รียในปมรากพืชตระกลู ถว่ั

3) ภาวะอิงอาศัย (Commensalism : +, o) สิ่งมีชีวิตฝ่ายหน่ึงได้
ประโยชน์ อีกฝ่ายหน่ึงไม่ได้และไม่เสียประโยชน์ เช่น เถาวัลย์เกาะบนต้นไม้ใหญ่ กล้วยไม้กับ
ตน้ ไม้ นกทารังบนตน้ ไม้ เหาฉลามกบั ปลาฉลาม เพรียงหนิ ที่เกาะบนตวั ของสตั วท์ ะเล

4) ภาวะปรสิต (Parasitism : +, -) เป็นความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตท่ีมี
ฝ่ายหน่ึงเป็นผูเ้ บยี ดเบยี น เช่น เห็บ เหา ไร หมดั

5) ภาวะล่าเหย่ือ (Predation : +, - ) เป็นความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งมชี ีวติ ฝ่ายหน่งึ เป็นอาหารของส่งิ มชี วี ิตอีกชนดิ หนง่ึ เชน่ สงิ โตกบั มา้ ลาย หมขี าวกับแมวนา้

6) ภาวะแข่งขัน (Competition : -, - ) เป็นภาวการณ์อยู่รว่ มกันของ
สิ่งมีชีวิตที่มีการแย่งปัจจัยในการดารงชีพเหมือนกันจึงทาให้เสียประโยชน์ท้ังสองฝ่าย เช่น เสือ
สิงโต สุนขั ปา่ แย่งชงิ กันครอบครองท่อี ยอู่ าศัย หรอื อาหารทอี่ ยู่ในบรเิ วณเดยี วกัน

20

7) ภาวะหล่ังสารการยับย้ังการเจริญ (Antibiosis : ๐, -) หมายถึง
การอยู่ร่วมกันของส่ิงมีชีวิต ท่ีฝ่ายใดฝ่ายหน่ึงหลั่งสารมายับยั้งการเจริญของแบคทีเรีย เช่น
สาหร่ายสีเขียวแกมน้าเงินบางชนิด หล่ังสารพิษ เรียกว่า Hydyoxylamine ทาให้สัตว์น้าใน
บรเิ วณนั้นไดร้ บั อันตราย

8) ภาวะเป็นกลาง (Neutralism: ๐,๐) เป็นการอยู่ร่วมกันของ
สิ่งมีชีวิตที่เป็นอิสระต่อกันจึงไม่มีฝ่ายหน่ึงฝ่ายใดได้หรือเสียประโยชน์ เช่น แมงมุมกับกระต่าย
อาศัยอย่ใู นทุ่งหญ้า แมงมุมกินแมลงเป็นอาหาร ส่วนกระต่ายกินหญ้าเป็นอาหารจึงไม่มีฝ่ายใด
ไดห้ รอื เสียประโยชน์

2.3.2 ความสมั พนั ธ์ระหวา่ งสงิ่ มีชีวิตกบั ส่งิ แวดล้อม เชน่
1) แสงสวา่ ง แสงจากดวงอาทิตย์ เป็นพลังงานทีม่ ีอิทธิพลต่อสิง่ มีชีวิต

ทกุ ชนิดบนโลก พืช ใชแ้ สงเป็นพลังงานในกระบวนการสังเคราะห์แสงเพ่ือสร้างสารอาหาร แสง
มีอิทธิพลตอ่ การดารงชวี ติ สัตว์ เช่น สัตว์บางชนดิ ตอ้ งการแสงอาศยั น้อยจะอยู่ในร่มหรือเงามืด

2) อุณหภูมิ ส่ิงมีชวี ิตจะเลือกแหล่งทอ่ี ยู่อาศัยที่มีอุณหภูมิเหมาะสมกับ
ตัวเอง สิ่งมีชีวิตจะปรับตัวให้มีชีวิตรอด เช่น นกนางแอ่นจากประเทศจีนจะอพยพมาหากินใน
ประเทศไทย ในฤดหู นาว และการจาศลี ของกบ

3) แร่ธาตุและก๊าซ พืช และสัตว์ นาแร่ธาตุและก๊าซต่าง ๆ ไปใช้ใน
การสร้างอาหาร และโครงสร้างของร่างกาย ความต้องการแร่ธาตุ และก๊าซของสิ่งมีชีวิตจะมี
ความแตกตา่ งกัน

4) ความเป็นกรด-เบสของดินและน้า สิ่งมีชีวิตจะอาศัยในแหล่งท่ีอยู่
ท่มี ีความเปน็ กรด-เบส ทเี่ หมาะสมกบั การดารงชีวิตของตนเอง

SC104001 สตั ว์โลกน่ารู้

21

2.4 หว่ งโซอ่ าหาร (Food Chain)
ห่วงโซ่อาหาร (Food Chain) หมายถึง การถ่ายทอดพลังงานในสิ่งมีชีวิต โดย

ถา่ ยทอดในรูปของอาหารต่อเน่ืองกันเป็นทอด ๆ ตามลาดับของการกิน ส่วนใหญ่ห่วงโซ่อาหาร
จะเริม่ ถา่ ยทอดจากผผู้ ลติ ไปสู่ผูบ้ รโิ ภคตามลาดบั ขั้นในการกินอาหาร

ตัวอยา่ ง เช่น
ข้าว ต๊กั แตน กบ เหยี่ยว

ผผู้ ลติ ผู้บรโิ ภค ผู้บริโภค ผบู้ ริโภค
ลาดบั ท่ี 1 ลาดับที่ 2 ลาดบั ที่ 3

2.4.1 หลกั การเขยี นหว่ งโซ่อาหาร
หลกั การเขยี นหว่ งโซอ่ าหาร มีดังน้ี
1) ห่วงโซ่อาหารแบบจบั กนิ
1.1) ห่วงโซ่ท่ีมีผู้ผลิต เร่ิมการเขียนโดยต้ังต้นจากผู้ผลิต และตาม

ด้วยผู้บรโิ ภคลาดับที่ 1 ผู้บริโภคลาดับท่ี 2 ผู้บริโภคลาดับท่ี 3 และต่อไปเรื่อย ๆ ตามลาดับข้ัน
ของการบริโภค จนถงึ ผบู้ ริโภคลาดับสุดทา้ ย

1.2) ต้องเขียนลูกศรแทนการถ่ายทอดพลังงานจากผู้ผลิต ไปสู่
ผู้บรโิ ภคตามลาดับขั้นดงั กลา่ ว โดยเขยี นให้หัวลูกศรหนั ไปทางผูท้ ่ีไดร้ บั สารอาหารเท่าน้ัน ในที่น้ี
คอื หัวลูกศรหันไปทางผ้ทู ่ีบรโิ ภค หรือเขยี นให้หัวลูกศรช้ีไปทางผูล้ ่านน่ั เอง

2) หว่ งโซ่อาหารแบบอ่ืน ๆ ใหเ้ ขียนโดยเรมิ่ จากสิ่งมีชีวติ ทเ่ี ป็นจุดเร่ิม
ของการถา่ ยทอดสารอาหาร เช่น ซากสัตว์ หนอน นก งู เหยีย่ ว ดังตวั อย่าง

22

2.5 สายใยอาหาร (Food Web)
สายใยอาหาร หมายถึง ห่วงโซ่อาหารหลาย ๆ ห่วงโซ่ ท่ีมีความสัมพันธ์กันอย่าง

ซับซ้อน
ในธรรมชาติ เราจะพบการถ่ายทอดพลังงานในรูปแบบของสายใยอาหาร

มากกว่าห่วงโซ่อาหารแบบเดี่ยว ๆ เนอื่ งจากส่งิ มชี วี ติ แต่ละชนดิ กินอาหารไดห้ ลายชนิด

แผนภาพสายใยอาหาร
2.6 การถา่ ยทอดพลังงานในระบบนเิ วศ

ดวงอาทิตย์เป็นแหล่งพลังงานสาหรับสิ่งมีชีวิต กลุ่มส่ิงมีชีวิตท่ีเป็นผู้ผลิตจะ
เปล่ียนพลังงานแสงให้เป็นพลังงานท่ีสะสมไว้ในโมเลกุลของสารอาหาร โดยกระบวนการ
สังเคราะห์ด้วยแสง ซึ่งได้ผลผลิตเบ้ืองต้น คือ น้าตาลกลูโคส สะสมไว้ ในกระบวนการน้ีได้
ปลอ่ ยกา๊ ซออกซิเจนออกสู่บรรยากาศด้วย

พลังงานในโมเลกุลของสารอาหารท่ีสะสมไว้ จะถูกถ่ายทอดจากผู้ผลิตไปสู่
ผู้บริโภคลาดับต่าง ๆ จนถึงผู้ย่อยสลายอินทรีย์สาร ซ่ึงพลังงานท่ีถ่ายทอดนั้นจะมีค่าลดลง
ตามลาดับ เพราะส่วนหน่ึงถูกใช้ในการผลิตพลังงานให้แก่ร่างกายโดยกระบวนการหายใจ
อีกสว่ นหนงึ่ สญู เสยี ไปในรูปของพลงั งานความร้อน

ก า ร ถ่ าย ท อ ด พ ลั ง ง า น ใน ร ะ บ บ นิ เว ศ มี ค ว า ม ส าคั ญ ม าก เพ ร าะ ไม่ เพี ย ง แ ต่
สารอาหารเหล่าน้ันมีการถ่ายทอดแต่สารทุกชนิดท่ีปนเป้ือนอยู่ในระบบนิเวศ ทั้งที่เป็น

23

ประโยชน์ และเป็นโทษจะถูกถ่ายทอดไปในโซ่อาหารด้วย ตัวอย่างเช่น การใช้สารเคมีกาจัด
ศัตรูพืช การถ่ายเทของเสียจากท่ีอยู่อาศัยและกิจกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ ทาให้มีของเสียที่
ปล่อย และสารต่าง ๆ ดังกล่าวจะตกคา้ ง ในผู้ผลิต และถ่ายทอดและไปสู่ผู้บริโภคตามลาดับใน
โซ่อาหารและจะเพิ่มความเข้มข้นข้นเรื่อย ๆ ในลาดับชั้นท่ีสูงข้ึน ๆ รวมถึงกลับมาสู่ตัวมนุษย์
ด้วย

SC104002 สายใยแห่งชวี ิต

2.7 ความสัมพันธข์ องสภาพแวดล้อมกับการดารงชวี ติ ของสงิ่ มีชีวติ
สภาพแวดล้อมมีความสัมพันธ์กับการดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิต ในลักษณะต่าง ๆ

เน่ืองจากส่ิงมีชีวิตทุกชนิดต้องใช้สภาพแวดล้อม เป็นท้ังแหล่งที่อยู่ และเป็นปัจจัยที่สาคัญใน
การดารงชีวิตรอด และแพร่พันธ์ุได้ ดังน้ันสิ่งมีชีวิตจึงต้องมีการปรับตัวให้สามารถอยู่รอดได้ใน
สภาพแวดลอ้ มและในสภาพทมี่ ีปจั จัยจากดั

2.8 ความหมายของการปรับตวั
การปรับตัว หมายถึง กระบวนการท่ีสิ่งมีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงหรือปรับ

ลักษณะบางประการให้เข้ากับ สภาพแวดล้อมท่ีอาศัยอยู่ ซึ่งลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปดังกล่าว
จะอานวยประโยชน์แกช่ ีวิตในการอยรู่ อดและสามารถสบื พนั ธ์ุตอ่ ไปได้

ส่ิงมชี ีวิตทีป่ รบั ตวั ไดด้ ีจะสามารถดารงชีวิตและแพร่พนั ธุ์ตอ่ ไปได้
2.9 ปัจจัยทม่ี ผี ลต่อการดารงชีวติ ของสิ่งมชี วี ติ

ปัจจัยท่ีมีผลต่อการอยู่ดารงชีวิตของส่ิงมีชีวิต ได้แก่ อาหาร น้า อากาศ การสืบพันธุ์
ศตั รู และสิง่ แวดล้อม เป็นตน้

24

2.10 การปรับตวั ของสงิ่ มีชวี ิต
สง่ิ มีชวี ติ มกี ารปรับตัว ดงั น้ี
2.10.1 การปรับรูปร่าง สรีระ และสี สิ่งมีชวี ิตต่าง ๆ จะมีการปรบั สรีระ ปรับ

รา่ งกาย หรอื เปลี่ยนสีใหค้ ล้ายคลึงกับสภาพแวดลอ้ ม หรืออยใู่ นแหลง่ อาศัยได้ เพอ่ื อาพรางศตั รู
ล่าเหย่อื และสบื พนั ธ์ุ เช่น

- การปรบั สี เชน่ จ้ิงจก ก้งิ ก่า
- การปรบั สรีระ รูปร่าง เชน่ ตกั๊ แตนก่งิ ไม้ ตก๊ั แตนใบโศก นกเป็ดนา้ มี
พงั ผืดระหวา่ งนว้ิ หมีข้ัวโลกมขี นยาว การเปล่ียนใบเป็นหนามของต้นกระบองเพชร
- การปรบั ปากของแมลงชนิดตา่ ง ๆ เช่น ปากกดั ปากเลยี ปากเจาะ
และปากดดู
- การราแพนของนกยงู
- กา้ นใบทกี่ ลวงและพองออกเป็นกระเปาะของผกั ตบชวา กา้ นใบ
กลวงของผกั บ้งุ
2.10.2 การปรับพฤตกิ รรม เชน่
- การอพยพย้ายถิน่ และการจาศีล ในฤดูหนาว
- การหากนิ ในเวลากลางคนื

SC104003 ชีวติ กับสิง่ แวดลอ้ ม

25

เร่อื งที่ 3 ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และการอนรุ กั ษ์

3.1 ความหมายของทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ หมายถึง สิ่งต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และมนุษย์

สามารถนามาใชป้ ระโยชน์ได้ เชน่ ดนิ นา้ อากาศ ปา่ ไม้
3.2 ความหมายของสง่ิ แวดล้อม
ส่ิงแวดล้อม หมายถึง ส่ิงต่าง ๆ ท่ีอยู่รอบตัวเรา ท้ังสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต

รวมท้งั สงิ่ ท่เี กิดข้ึนเองตามธรรมชาติ และส่ิงทมี่ นุษย์สรา้ งมา
3.3 ความสาคญั ของทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สามารถแบ่งออกตามความสาคัญได้ 3

ลักษณะ
3.3.1 ด้านเศรษฐกิจ ประเทศใดท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ จะส่งผล

ให้คณุ ภาพชีวติ ของประชากรและเศรษฐกิจของประเทศนน้ั ดีขึ้น
3.3.2 ด้านสังคม ทรัพยากรธรรมชาติ เป็นปัจจัยสาคัญในการพัฒนาประเทศ

ใหท้ ดั เทยี มนานาอารยประเทศไดเ้ ร็วขนึ้
3.3.3 ด้านการเมือง ประเทศท่ีมีทรัพยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ จะส่งผลต่อ

การสร้างอานาจตอ่ รอง การยอมรับของอารยประเทศ และเวทีระดับโลกได้
3.4 ประเภทของทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละส่งิ แวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม แบง่ ไดเ้ ป็น 2 ประเภท
1) ทรัพยากรท่ีใช้แล้วหมดไป คือ ทรัพยากรที่ใช้แล้วเมื่อนานไปไม่สามารถ

เกดิ ขน้ึ ใหม่ หรือถ้าจะเกดิ ขึน้ ใหมต่ อ้ งใช้เวลานานหลายลา้ นปี เชน่ แร่ธาตุ ก๊าซธรรมชาติ น้ามนั
2) ทรัพยากรทใ่ี ชไ้ มห่ มดสิน้ เชน่ ดนิ นา้ อากาศ
3.4.1 ทรัพยากรแร่
1) ความหมายของทรพั ยากรแร่
ทรัพยากรแร่ หมายถึง แร่ธาตุต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในโลกเป็นสสารในรูป

ของแข็งท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติโดยกระบวนการอนินทรีย์ ทั้งบริเวณส่วนท่ีเป็นพื้นน้า
แหลง่ กาเนดิ แร่ มีแหลง่ กาเนิดมาจาก

1.1) ปรากฏการณ์ธรรมชาติ เช่น การระเบิดของ ภูเขาไฟ การเคลื่อนที่
ของแผ่นเปลอื กโลก

26

1.2) การแปรสภาพทางเคมีของหินประเภทต่าง ๆ ท่ีอย่บู นเปลือก
โลก เช่น ถา่ นหนิ หินน้ามัน เกลอื หิน แร่

2) วิธีการอนุรกั ษ์ทรัพยากรแร่
การอนุรกั ษ์แร่มีหลายวิธี ดงั นี้
2.1) ใช้ส่ิงของเครื่องใช้ต่าง ๆ อย่างรู้คุณค่า โดยใช้ให้เกิด

ประโยชน์สูงสดุ
2.2) ใช้แร่ธาตุให้ตรงกับความต้องการและตรงกับสมบัติแร่ธาตุ

นั้น ๆ
2.3) แยกขยะที่จะท้ิงออกตามประเภทของขยะ เพื่อให้การนา

ขยะไปผลติ เป็นผลติ ภณั ฑ์ใหมไ่ ดง้ า่ ยขึน้ และลดการขดุ ใช้แรธ่ าตตุ ่าง ๆ ลง
3.4.2 ทรพั ยากรดิน
1) ความหมายของทรัพยากรดิน
ทรัพยากรดิน เกิดจากการสลายและผุพังของหินชนิดต่าง ๆ

คลกุ เคล้าปะปนกับอินทรีย์สารชนดิ ตา่ ง ๆ รวมท้งั นา้ และอากาศ
2) ลักษณะของทรพั ยากรดนิ
ลกั ษณะความแตกตา่ งของดนิ จะตา่ งกันตามพ้นื ท่ีท่พี บ ได้แก่
2.1) บริเวณท่ีราบ น้าท่วมถึงสองฝั่งแม่น้า เป็นดินตะกอนท่ีมีอายุ

น้อย ลักษณะของดินเป็นดินเหนียว เนื้อละเอียด เช่น บริเวณพื้นดินสองฝั่งแม่น้าในจังหวัด
ปทุมธานี จงั หวัดพระนครศรอี ยธุ ยา

2.2) บริเวณท่ีราบลุ่มต่ามาก เป็นบริเวณท่ีมีน้าท่วมขัง มีซากพืช
ซากสัตว์ทับถมกันเป็นช้ัน ๆ เป็นดินท่ีมีอินทรีย์วัตถุปะปนอยู่มาก เช่น ชายฝ่ังจังหวัดนราธิวาส
บึงบอระเพ็ด จงั หวดั นครสวรรค์

2.3) บริเวณที่เป็นชายฝั่งทะเล มีลักษณะเป็นเนินทรายหรือหาด
ทราย ความอดุ มสมบูรณค์ อ่ นขา้ งน้อย เชน่ ชายฝง่ั ทะเล จงั หวดั ประจวบคีรขี นั ธ์

2.4) บริเวณที่ห่างจากสองฝั่งแม่น้า ส่วนมากเป็นดินเหนียวและ
คอ่ ย ๆ ลดความอุดมสมบูรณล์ งไปเรอ่ื ย ๆ เนอื่ งจากโดนชะล้างจากการไหลของน้า

2.5) บริเวณภูเขาไม่สูงชัน เป็นดินท่ีมีอินทรีย์สารสะสมอยู่
เนือ่ งจากถกู ปกคลุมด้วยป่าไมต้ ามธรรมชาติ

27

2.6) บริเวณดินท่ีมีคุณสมบัติเป็นเบสปะปนอยู่มาก เช่น หินปูน
ดินมารล์ เป็นต้น เมอ่ื สารเหลา่ น้ีสลายตัวลงจะทาให้ดนิ มีความอดุ มสมบรู ณ์

3) ปัญหาทรพั ยากรดนิ ในประเทศไทย
ปัญหาทรพั ยากรดินในประเทศไทยมี 2 แบบ คือ
3.1) ปัญหาทีเ่ กดิ ข้นึ จากธรรมชาติ

ปัญหาทเ่ี กดิ ข้นึ โดยธรรมชาติ

การชะล้าง ปญั หาการสึกกรอ่ น
แร่ธาตใุ นดนิ และการพังทลายของ

ดนิ

3.2) ปัญหาทเี่ กิดขึ้นจากการกระทาของมนษุ ย์

ปัญหาทเ่ี กิดข้ึนจากการกระทาของมนุษย์

การปลกู พชื การปลกู พืช การทาลายป่า การเผาป่า
นดิ เดยี วกัน โดยไม่บารงุ เพือ่ การ
ซ้าซาก
ดนิ อุตสาหกรรม

3.4.3 ทรัพยากรน้า
1) ความหมายของน้า
น้า คือ ของเหลวท่ีเกิดจากการรวมตัวกันของก๊าซไฮโดรเจน และ

กา๊ ซออกซเิ จน นา้ เป็นสิ่งท่ีเกิดข้นึ เองตามธรรมชาติ
2) ประเภทของทรัพยากรน้า
ประเภทของทรัพยากรนา้ สามารถแบ่งออกไดเ้ ปน็ 2 ประเภท คือ
2.1) น้าบนดิน ได้แก่ น้าในแม่น้าลาคลอง หนอง บึง อ่างเก็บน้า

น้าจากแหลง่ น้จี ะมปี รมิ าณมากหรือน้อยขนึ้ อยูก่ บั ปัจจยั ตอ่ ไปน้ี
- ปรมิ าณของนา้ ฝนท่ีไดร้ ับ

28

- อตั ราการสญู เสยี ของน้า ซ่ึงมีสาเหตุมาจากการระเหยและ
การคายนา้

- ความสามารถในการกักเก็บน้า
2.2) น้าใต้ดิน เป็นน้าที่แทรกอยู่ใต้ดิน ได้แก่ น้าบาดาล การท่ี
ระดบั นา้ ใต้ดนิ จะมีปริมาณมากหรือนอ้ ยเพยี งใดขึน้ อยกู่ บั ปัจจัยตอ่ ไปนี้

- ปรมิ าณนา้ ที่ไหลจากผวิ ดนิ
- ความสามารถในการกกั เกบ็ นา้ ไวใ้ นชั้นหิน
3) ความสาคัญของนา้
ความสาคัญของน้า นา้ มีความสาคัญตอ่ สิง่ มชี วี ติ มากมายดงั นี้
- ด้านเกษตรกรรม เพอ่ื การเพาะปลกู เล้ยี งสัตว์ ฯลฯ
- ดา้ นการคมนาคมขนส่งทางนา้
- ด้านการอุตสาหกรรม
- ด้านการอปุ โภคและการบรโิ ภค
4) แนวทางในการการอนรุ กั ษท์ รพั ยากรน้า
การอนุรักษท์ รัพยากรน้า มีแนวทางในการปฏบิ ตั ิ ดังนี้
- การพฒั นาแหลง่ น้า โดยการขดุ ลอกแหลง่ น้าตา่ ง ๆ ทตี่ ืน้ เขิน
- ใช้นา้ อย่างประหยดั ไมป่ ลอ่ ยใหน้ า้ ทใี่ ช้เสยี ไปโดยเปล่าประโยชน์
- ไมต่ ดั ไม้ทาลายปา่
- ปอ้ งกันไมใ่ หเ้ กิดมลพิษกบั แหลง่ นา้
3.4.4 ทรัพยากรปา่ ไม้
1) ความหมายของทรัพยากรปา่ ไม้
ทรัพยากรป่าไม้ คือ สังคมของต้นไม้ และส่ิงมีชีวิตอื่น ๆ อันมี
ความสัมพันธ์ซ่ึงกันและกัน และปกคลุมเนื้อที่กว้างใหญ่ มีการใช้ประโยชน์จากอากาศ น้า และ
วัตถุธาตุต่าง ๆ ในดิน เพื่อการเจริญเติบโต มีการสืบพันธ์ุ รวมทั้งให้ผลิตผล และบริการ
ที่จาเป็นต่อมนุษย์

29

2) ความสาคัญของทรพั ยากรปา่ ไม้
ป่าไม้เป็นส่วนที่มีความสาคัญต่อระบบนิเวศเป็นอย่างย่งิ เป็นต้นน้า

เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่ามากมาย ช่วยป้องกันการชะล้างหน้าดิน เป็นส่วนสาคัญที่ทาให้เกิด
การหมุนเวยี นของสารต่าง ๆ ในธรรมชาติ ฯลฯ

3) แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรปา่ ไม้
3.1) การทาความเข้าใจถึงความสาคัญของป่าตอ่ การดารงชีวิตของ

มนษุ ย์ สตั ว์และสิ่งตา่ ง ๆ ทอ่ี ยู่ในโลก
3.2) การสร้างจิตสานึกร่วมกันในการดูแลรักษาป่าไม้ในชุมชน

ซง่ึ แนวทางหนึง่ คือการเปดิ โอกาสโดยภาครัฐในการออกพระราชบญั ญัติป่าชุมชน
3.3) การออกกฎหมายเพื่อคุ้มครองพื้นที่ป่า และการออกกฎเพ่ือ

ป้องกันการตัดไม้ทาลายป่า ช่วยกันปลูกป่าในพ้ืนท่ีป่าเสื่อมโทรม โดยอาจจะเป็นการร่วมมือ
กบั สมาชิกในชุมชนเพอื่ ปลูกป่าในโอกาสตา่ ง ๆ

3.4) ติดตามข่าวสารเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมเป็นประจา เพื่อจะได้
ทราบความเคลอ่ื นไหวเก่ียวกับการร่วมอนรุ กั ษ์ป่าไม้รวมถงึ สิ่งแวดลอ้ มในดา้ นอ่ืนดว้ ย

SC105001 ทรพั ยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม

3.5 หลกั การอนุรกั ษ์ทรพั ยากรธรรมชาติ
1) การอนุรักษ์และการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ต้องคานึงถึงทรัพยากร

ธรรมชาติอนื่ ควบคู่กันไป เพราะทรัพยากรธรรมชาติต่างก็มีความเกีย่ วข้องสัมพนั ธ์และส่งผลต่อ
กนั อย่างแยกไม่ได้

30

2) การวางแผนการจัดการทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญฉลาด ต้องเชื่อมโยง
กับการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และคุณภาพชีวิตอย่างกลมกลืน ตลอดจนรักษาไว้
ซ่ึงความสมดุลของระบบนิเวศควบคู่กันไป

3) การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ต้องร่วมมือกันทุกฝ่าย ท้ังประชาชนใน
เมืองในชนบท และผู้บริหาร ทุกคนควรตระหนักถึงความสาคัญของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
ตลอดเวลา โดยเรม่ิ ตน้ ท่ตี นเองและทอ้ งถิน่ ของตน ร่วมมือกันทั้งภายในประเทศและทั้งโลก

4) ความสาเร็จของการพัฒนาประเทศขึ้นอยู่กับความอุดมสมบูรณ์และ
ความปลอดภัยของทรัพยากรธรรมชาติ ดังนั้นการทาลายทรัพยากรธรรมชาติจึงเป็น
การทาลายมรดกและอนาคตของชาติดว้ ย

5) ประเทศมหาอานาจที่เจริญทางด้านอุตสาหกรรม มีความต้องการ
ทรัพยากรธรรมชาติเป็นจานวนมาก เพื่อใช้ป้อนโรงงานอุตสาหกรรมในประเทศของตน ดังน้ัน
ประเทศที่กาลังพัฒนาท้ังหลาย จึงต้องช่วยกันป้องกันการแสวงหาผลประโยชน์ของประเทศ
มหาอานาจ

6) มนุษย์สามารถนาเทคโนโลยีต่าง ๆ มาช่วยในการจัดการทรัพยากร
ธรรมชาติได้ แต่การจัดการน้ันไม่ควรมุ่งเพียงเพื่อการอยู่ดีกินดีเท่านั้น ต้องคานึงถึงผลดี
ทางดา้ นจติ ใจดว้ ย

7) การใช้ทรัพยากรธรรมชาติในแต่ละแห่งนั้น จาเป็นต้องมีความรู้ในการรักษา
ทรัพยากรธรรมชาติที่จะให้ประโยชน์แก่มนุษย์ทุกแง่มุม ท้ังข้อดีและข้อเสีย โดยคานึงถึงการ
สญู เปล่าอันเกิดจากการใช้ทรัพยากรธรรมชาตดิ ว้ ย

8) รักษาทรัพยากรธรรมชาติที่จาเป็นและหายากด้วยความระมัดระวัง
พร้อมท้ังประโยชน์และการทาให้อยใู่ นสภาพที่เพ่ิมทง้ั ทางดา้ นกายภาพและเศรษฐกิจเทา่ ที่ทาได้
รวมท้ังจะต้องตระหนักเสมอว่าการใช้ทรัพยากรธรรมชาติท่ีมากเกินไปจะไม่เป็นการปลอดภัย
ตอ่ ส่งิ แวดลอ้ ม

9) ต้องรักษาทรัพยากรที่ทดแทนได้ โดยให้มีอัตราการผลิตเท่ากับอัตราการใช้
หรอื อัตราการเกิดเท่ากับอตั ราการตายเป็นอย่างนอ้ ย

10) หาทางปรับปรุงวิธีการใหม่ ๆ ในการผลิตและการใช้ทรัพยากร ธรรมชาติ
อย่างมีประสิทธภิ าพ อีกท้งั พยายามค้นคว้าส่งิ ใหม่มาใชท้ ดแทน

31

11) ให้การศึกษาเพ่ือให้ประชาชนเข้าใจถึงความสาคัญในการรักษา
ทรพั ยากรธรรมชาติ

3.6 สิ่งแวดลอ้ ม
3.6.1 ความหมายของสิง่ แวดลอ้ ม
สิ่งแวดล้อม คือ ทุกส่ิงทุกอย่างท่ีอยู่รอบตัวมนุษย์ท้ังที่มีชีวิตและไม่มี

ชีวิต รวมทั้งรูปธรรม (สามารถจับต้องและมองเห็นได้) และนามธรรม (ตัวอย่างเช่น วัฒนธรรม
แบบแผน ประเพณี ความเช่อื )

3.6.2 ประเภทของสิ่งแวดล้อม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท มีความสัมพันธ์
เชอื่ มโยงกนั เก้ือหนนุ ซ่งึ กันและกัน ประกอบด้วย

1) ส่ิงแวดล้อมที่ท่ีเกิดข้ึนเองตามธรรมชาติ เช่น ป่าไม้ สัตว์ป่า อากาศ
ดิน นา้ มนษุ ย์

2) สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึ้น เช่น ถนน บ้านเมือง และสิ่งแวดล้อม
เป็นนามธรรม เช่น วฒั นธรรม ประเพณี การเมือง ศาสนา กฎหมาย

3.6.3 สาเหตุหลักของปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม
1) การเพิม่ ของประชากร (Population growth) ปริมาณการเพมิ่ ของ

ประชากรก็ยังอยใู่ นอัตราทวีคูณ (Exponential Growth) เมือ่ ผู้คนมากขึ้นความต้องการบรโิ ภค
ทรัพยากรก็เพ่มิ มากข้นึ ทกุ ทางไมว่ า่ จะเป็นเร่อื งอาหาร ทีอ่ ยอู่ าศยั พลงั งาน

2) การขยายตัวทางเศรษฐกิจและความกา้ วหนา้ ทางดา้ นเทคโนโลยี
(Economic Growth & Technological Progress) ความเจริญ ทางเศรษฐกิจนั้นทาให้
มาตรฐานในการดารงชีวิตสูงตามไปด้วย มีการบริโภคทรัพยากรจนเกินกว่าความจาเป็นข้ัน
พ้ืนฐานของชีวิต มีความจาเป็นต้องใช้พลังงานมากขึ้นตามไปด้วย ในขณะเดียวกัน
ความก้าวหนา้ ทางด้านเทคโนโลยีก็ชว่ ยเสริมให้วิธีการนาทรัพยากรมาใช้ไดง้ า่ ยข้ึนและมากขึน้

3.6.4 ผลกระทบจากปัญหาสงิ่ แวดลอ้ ม
1) การเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดลอ้ มในท้องถ่นิ โดยธรรมชาติ ได้แก่ การเกิด

อุทกภัยจากน้าป่าไหลหลาก ทาให้ส่ิงมีชีวิตโดยเฉพาะพืชถูกน้าท่วม พืชบางชนิดไม่สามารถ
ดารงชีวิตอยู่ได้ในที่ท่ีมีน้าท่วม จึงตายไปในท่ีสุด และอุทกภัยยังก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
สิง่ มีชวี ติ ทุกชนดิ โดยเฉพาะสตั ว์และมนษุ ย์

32

2) การเกิดลมพายกุ ็เปน็ สาเหตุทที่ าให้สิง่ แวดล้อมเกิดการเปลย่ี นแปลง
โดยลมพายุอาจพัดพารุนแรงจนทาให้ต้นไม้สูง ๆ บางต้นต้านแรงลมไม่ไหว จึงโดนล้มลงไป
ทาใหเ้ กิดความเสียหายต่าง ๆ ตามมาทาให้สิ่งแวดลอ้ มเปลยี่ นไป

3) การเกิดภูเขาไฟระเบิดก็เป็นสาเหตุที่ทาให้ส่ิงแวดล้อมเกิดการ
เปลี่ยนแปลง ความร้อนของลาวาที่ไหลออกมาจากปล่องภูเขาไฟ ทาให้สิ่งมีชีวิตไม่สามารถ
ดารงชีวิตได้ อีกท้งั ก๊าซตา่ ง ๆ ท่ปี ล่อยออกมาจากปล่องภเู ขาไฟทาใหส้ ภาพอากาศเปลยี่ นไป

4) การเปลี่ยนแปลงส่ิงแวดล้อมในท้องถิ่นโดยมนุษย์ ได้แก่ มนุษย์ทา
ให้ภูเขาไม่มีต้นไม้ กลายเป็นภูเขาหัวโล้น ต้นไม้ในป่าถูกตัดโค่นทาลาย สัตว์ป่าไม่มีที่อยู่อาศัย
และขาดอาหาร น้าเสีย อากาศเปน็ พษิ ดนิ เสยี และเสอื่ มสภาพ

SC105002 การอนรุ ักษท์ รพั ยากรธรรมชาตสิ ่ิงแวดล้อม

เรอ่ื งท่ี 4 ปรากฏการณท์ างธรรมชาติ
การเกิดปรากฏการณ์ทางธรรมชาติ
4.1 เมฆ
“เมฆ” เป็นไอน้าที่ลอยตัวอยู่ในอากาศ เมื่อได้รับความร้อนจากดวงอาทิตย์ก็จะ

ลอยตัวสูงข้ึนจนไปกระทบกับมวลอากาศเย็นท่ีอยู่ด้านบนทาให้กลั่นตัวเป็นละอองน้าขนาดเล็ก
และเม่อื ละอองน้าเหล่านั้นรวมตัวกันก็จะเปน็ เมฆ

4.1.1 ชนดิ ของเมฆ
1) เมฆช้ันสูง เป็นเมฆท่ีก่อตัวที่ระดับความสูงมากกว่า 6 กิโลเมตร

เมฆในชั้นนี้ส่วนใหญ่มักจะมีลักษณะเป็นกอ้ นเล็ก ๆ และมักจะค่อนขา้ งโปร่งใส เมฆชั้นสูง แบ่ง
ออกเป็น 3 ชนิด คอื

33

1.1) เมฆเซอโรคิวมูลัส เมฆสีขาว เป็นผลึกน้าแข็ง มีลักษณะ
เปน็ ริ้ว คลื่นเลก็ ๆ มักเกดิ ข้ึนปกคลมุ ท้องฟ้าบรเิ วณกวา้ ง

1.2) เมฆเซอโรสเตรตัส มีลักษณะคล้ายกับเมฆเซอรัสแต่จะแผ่
ออกเป็นแผ่นบาง ๆ ตามทิศทางของลม แผ่นบาง สีขาว เป็นผลึกน้าแข็ง ปกคลุมท้องฟ้า
เปน็ บริเวณกว้าง โปร่งแสงต่อแสงอาทติ ย์ บางคร้งั หกั เหแสง ทาให้เกิดดวงอาทิตย์ทรงกลด และ
ดวงจันทรท์ รงกรด

1.3) เมฆเซอรัส เมฆร้ิว สีขาว รูปร่างคล้ายขนนก เป็นผลึกน้าแข็ง
มกั เกดิ ข้นึ ในวนั ท่มี อี ากาศดี ทอ้ งฟ้าเป็นสีฟา้ เข้ม

2) เมฆชั้นกลาง เป็นเมฆที่ก่อตัวข้ึนจากหยดน้าหรือผลึกน้าแข็ง อยู่ที่
ระดับความสูงจากพ้ืนดนิ 2 - 6 กโิ ลเมตร เมฆชั้นกลาง แบ่งออกเปน็ 2 ชนดิ คือ

2.1) เมฆอัลโตคิวมูลัส เมฆก้อน สีขาว ลักษณะเป็นกลุ่มก้อน
เล็ก ๆ คล้ายฝูงแกะมีช่องว่างระหว่างก้อนเล็กน้อย บางครั้งอาจก่อตัวต่าลงมาดูคล้าย ๆ
กบั เมฆสเตรโตควิ มูลัส

2.2) เมฆอัลโตสเตรตัส มีลักษณะเป็นแผ่นปกคลุมบริเวณท้องฟ้า
บรเิ วณกว้าง ส่วนมากมกั มสี ีเทา เน่อื งจากบงั แสงดวงอาทิตย์หรอื ดวงจนั ทร์ ไม่ให้ลอด

3) เมฆชั้นต่า เป็นเมฆท่ีเกิดขึ้นท่ีระดับความสูงจากพื้นดินไม่เกิน
2 กโิ ลเมตร ซงึ่ สามารถจาแนกตามลกั ษณะรูปร่างได้ ดงั นี้

3.1) เมฆสเตรตัส เป็นเมฆแผ่นบาง สีขาว ปกคลุมท้องฟ้าบริเวณ
กว้างและอาจทาให้เกิดฝนละอองได้ มักเกิดขึ้นตอนเช้า หรือหลังฝนตก บางคร้ังอาจลอยต่าปก
คลุมพื้นดิน เรียกว่า “หมอก”

3.2) เมฆสเตรโตคิวมูลัส เมฆก้อน ลอยติดกันเป็นแพ ไม่มีรูปทรง
ทชี่ ดั เจน มชี ่องวา่ งระหวา่ งกอ้ นเพยี งเล็กนอ้ ย มักเกดิ ขน้ึ เวลาท่ีอากาศไมด่ ี

3.3) เมฆนิมโบสเตรตัส เมฆแผ่นหนาสีเทาเข้ม คล้ายพ้ืนดินท่ี
เปียกน้า ทาให้เกิดฝนตกพรา ๆ หรือฝนตกแดดออก ไม่มีพายุฝนฟ้าคะนอง ฟ้าร้องฟ้าผ่า
มกั ปรากฏใหเ้ หน็ สายฝนตกลงมาจากฐานเมฆ

4) เมฆก่อตัวในแนวตง้ั เป็นเมฆทอ่ี ยู่สูงจากพื้นดินต้ังแต่ 500-20,000
เมตร แบ่งออกเปน็ 2 ชนิด คอื

34

4.1) เมฆคิวมูลัส เมฆก้อนปุกปุย สีขาว รูปทรงคล้ายดอกกะหล่า
ฐานเมฆเป็นสีเทาเนื่องจากมีความหนามากพอท่ีจะบดบังแสง จนทาให้เกดิ เงา มกั ปรากฏให้เห็น
เวลาอากาศดี ทอ้ งฟา้ เป็นสฟี ้าเข้ม

4.2) เมฆคิวมูโลนิมบัส เมฆก่อตัวในแนวต้ัง พัฒนามาจากเมฆ
คิวมูลัส มีขนาดใหญ่มากปกคลุมพ้ืนที่ครอบคลุมท้ังจังหวัด ทาให้เกิดปรากฏการณ์ทาง
ธรรมชาติตา่ ง ๆ เช่น ฟา้ แลบ ฟ้าร้อง พายฝุ นฟ้าคะนอง และบางครัง้ อาจมีลูกเหบ็ ตก

4.1.2 สขี องเมฆท่ีใช้ในการบอกสภาพอากาศ
1) เมฆสีเขียวจาง ๆ นั้นเกิดจากการกระเจิงของแสงอาทิตย์เมื่อตก

กระทบน้าแข็ง
2) เมฆสีเหลือง ไม่ค่อยได้พบเห็นบ่อยคร้ัง แต่อาจเกิดขึ้นได้ในช่วง

ปลายฤดูใบไม้ผลิไปจนถึงช่วงต้นของฤดูใบไม้ร่วง ซึ่งเป็นช่วงท่ีเกิดไฟป่าได้ง่าย โดยสีเหลืองนั้น
เกดิ จากฝุน่ ควนั ในอากาศ

3) เมฆสีแดง สีส้ม หรือสีชมพู โดยปกติเกิดในช่วงพระอาทิตย์ขึ้น
และพระอาทิตยต์ ก

4.2 หมอก
หมอกเกิดจากกลั่นตัวของไอน้าในอากาศ เม่ือไปกระทบกับความเย็นจะเปลี่ยน

สถานะควบแน่นเป็นละอองน้า คล้ายควันสีขาว ลอยติดพ้ืนดิน บางครั้งจะหนามากจนเป็น
อุปสรรคในการคมนาคม ซ่ึงในวันท่ีมีอากาศชื้น และท้องฟ้าใส พอตกกลางคืนพ้ืนดินจะเย็น
ตัวอย่างรวดเรว็ ทาให้ไอน้าในอากาศเหนือพื้นดินควบแน่นเปน็ หยดน้า หมอกซ่ึงเกิดข้ึนโดยวิธี
นจ้ี ะมีอุณหภูมติ ่าและมคี วามหนาแนน่ สูง เคล่ือนตัวลงสทู่ ี่ต่า และมอี ยู่อย่างหนาแน่นในหุบเหว
แต่เม่ืออากาศอุ่นมีความช้ืนสูง ปะทะกับพ้ืนผิวที่มีความหนาวเย็น เช่น ผิวน้าในทะเลสาบ
อากาศจะควบแน่นกลายเป็นหยดนา้ ในลกั ษณะเช่นเดียวกบั หยดน้าซึง่ เกาะอยู่รอบแก้วน้าแขง็

4.3 น้าค้าง
นา้ ค้างเป็นหยดน้าขนาดเล็กเกาะติดพ้ืนดนิ หรือต้นไม้ เกิดจากการควบแน่นของ

ไอน้าบนพ้ืนผิวของวัตถุ ซ่ึงมีการแผ่รังสีออกจนกระทั่งอุณหภูมิลดต่าลงกว่าจุดน้าค้างของ
อากาศซึ่งอยู่ รอบ ๆ เนื่องจากพื้นผิวแต่ละชนิดมีการแผ่รังสีท่ีแตกต่างกัน ดังน้ันในบริเวณ
เดียวกัน ปริมาณของน้าค้างท่ีปกคลุมพื้นผิวแต่ละชนิดจึงไม่เท่ากัน เช่น ในตอนหัวค่า อาจมี
น้าค้างปกคลุมพ้ืนหญ้า แต่ไม่มีน้าค้างปกคลุมพื้นคอนกรีต เหตุผลอีกประการหนึ่งซ่ึงทาให้

35

น้าค้างมักเกิดข้ึนบนใบไม้ใบหญ้าก็คือ ใบของพืชคายไอน้าออกมา ทาให้อากาศบริเวณนั้นมี
ความชนื้ สูง

4.4 ฝน
ไอน้าท่ีกล่ันตัวเป็นหยดน้า แล้วตกลงมาบนพ้ืนผิวโลก ซ่ึงเป็นรูปแบบหนึ่งของ

การตกลงมาจากฟ้าของน้า นอกจากฝนแล้วยังมีการตกลงมาในรูป หิมะ เกล็ดน้าแข็ง ลูกเห็บ
นา้ ค้าง ฝนนน้ั อยใู่ นรปู หยดน้าซง่ึ ตกลงมายังพ้ืนผวิ โลกจากเมฆ

ลกั ษณะของการเกิดฝน สามารถแบง่ ตามสาเหตกุ ารเกิดได้ ดังนี้
1) ฝนเกดิ จากการพาความร้อน มวลอากาศร้อนลอยตวั สงู ขึน้
2) ฝนภูเขา มวลอากาศทอี่ ้มุ ไอนา้ พดั จากทะเล ปะทะภูเขา จะลอยตัวสูงข้นึ
3) ฝนพายุหมุน ความกดอากาศสูงเคลื่อนไปสู่บริเวณความกดอากาศต่า มวล
อากาศในบรเิ วณ ความกดอากาศต่าลอยตัวสูงข้นึ
4) ฝนในแนวอากาศ มวลอากาศรอ้ นปะทะมวลอากาศท่ีมีอุณหภูมิเย็น มวล
อากาศรอ้ นลอยตัวสูงขึ้น
4.5 ลกู เห็บ
หยดน้าท่ีกลายสภาพเป็นน้าแข็ง เกิดจากมวลอากาศร้อนที่ลอยตัวสูงขึ้นพัดพา
เม็ดฝนลอยขึ้นไปปะทะกับมวลอากาศเย็นท่ีอยู่ด้านบน ทาให้เม็ดฝนจับตัวกลายเป็นน้าแข็ง
เมื่อตกลงมายังมวลอากาศร้อนท่ีอยู่ด้านล่าง ความช้ืนจะเข้าไปห่อหุ้มเม็ดน้าแข็งให้เพิ่มข้ึน
จากนั้นกระแสลมก็จะพัดพาเม็ดน้าแข็งวนซ้าไปซ้ามาหลายครั้งจนเม็ดน้าแข็งมีขนาดใหญ่ขึ้น
และกระแสลมไมส่ ามารถพยุงเอาไวไ้ ดจ้ ึงตกลงมายงั พน้ื ดนิ ส่วนใหญ่จะมขี นาดเส้นผา่ ศนู ย์กลาง
ประมาณ 2-3 มิลลิเมตร ซ่ึงมักจะเกิดขึ้นในเขตพ้ืนท่ีท่ีมีอากาศร้อนมาก และเกิดในช่วงเปล่ียน
จากฤดูร้อนไปเป็นฤดูฝน ทาให้เกิดความเสียหายต่อการเลี้ยงสัตว์ เรือกสวนไร่นา บ้านเรือน
และเครื่องบิน
4.6 นา้ คา้ งแข็ง “แมค่ ะน้ิง”
น้าค้างแข็ง หรือ “แม่คะน้ิง” และ“เหมยขาบ” เกิดจากไอน้าในอากาศที่ใกล้ ๆ
กับพื้นผิวดินลดอุณหภูมิลงจนถึงจุดน้าค้าง จากนั้นก็จะกลั่นตัวเป็นหยดน้า โดยอุณหภูมิยังคง
ลดลงอย่างต่อเน่ือง จนถึงจุดต่ากว่าจุดเยือกแข็ง จากนั้นน้าค้างก็จะเกิดการแข็งตัวกลายเป็น
น้าค้างแข็งเกาะอยู่ตามยอดไม้ใบหญ้า ซึ่งการเกิดแม่คะนิ้งนั้นไม่ใช่จะเกิดขึ้นได้ง่าย ๆ แต่จะ

36

เกิดก็ต่อเมื่อมีอากาศหนาวจัดจนน้าค้างยอดหญ้าหรือยอดไม้แข็งตัว ในอุณหภูมิประมาณศูนย์
องศาเซลเซียสหรือตดิ ลบเลก็ น้อย

ผลกระทบของน้าคา้ งแข็ง “แม่คะน้ิง”
การเกิดแม่คะนิ้งมีท้ังผลดี และผลเสีย ซึ่งถ้ามองในด้านการท่องเที่ยวก็เป็น
ตัวกระตุ้นนักท่องเที่ยว แต่ในทางตรงกันข้ามจะมีผลกระทบโดยตรงทางการเกษตร เพราะ
สามารถสร้างความเสียหายแกพ่ ชื ไร่และผักต่าง ๆ เช่น ข้าวทก่ี าลังออกรวงก็จะมเี มล็ดลีบ พชื ไร่
ชะงกั การเจริญเตบิ โต พชื ผักใบจะหงกิ งอ ไหม้เกรยี ม ส่วนพวกกลว้ ย มะพร้าว และทุเรยี นใบจะ
แห้งร่วง เป็นต้น ซึ่งหากแม่คะน้ิง เกิดติดต่อกันเป็นเวลานานมาก เกษตรกรจะได้รับความ
เดอื ดรอ้ น
4.7 การพยากรณอ์ ากาศ
4.7.1 ความหมายของการพยากรณอ์ ากาศ
การคาดหมายสภาพลมฟ้าอากาศ และปรากฏการณ์ทางธรรมชาติในอนาคต
เช่น การคาดหมายสภาพอากาศของวนั พรงุ่ นี้ เปน็ ตน้
การที่จะพยากรณ์อากาศมีองคป์ ระกอบสาคญั ไดแ้ ก่

1) ความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์และกระบวนการต่าง ๆ
ท่ีเกิดขึ้นในบรรยากาศโดยได้มาจากการเฝ้าสังเกตและบันทึกไว้ ซึ่งมนุษย์ได้มีการสังเกตลมฟ้า
อากาศมานานแลว้

2) สภาวะอากาศปัจจุบัน ซ่ึงจาเป็นต้องใช้เป็นข้อมูลเร่ิมต้นสาหรับ
การพยากรณ์อากาศ โดยข้อมูลน้ีได้มาจากการตรวจสภาพอากาศ ซึ่งมีทั้งการตรวจอากาศผิว
พื้น การตรวจอากาศช้ันบนในระดับความสูงต่าง ๆ ส่ิงสาคัญท่ีต้องทาการตรวจเพ่ือพยากรณ์
อากาศ ได้แก่ อุณหภูมคิ วามกดอากาศ ความชื้น ลม และเมฆ

4.7.2 ความหมายของอณุ หภูมิของอากาศ
ระดับความร้อนของอากาศ ซึ่งมีความสาคัญต่อการหมุนเวียนของ

อากาศ โดยอากาศจะเคล่ือนท่ีจากบริเวณท่ีมีอุณหภูมิต่าไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่า ทั้งนี้
อุณหภูมิของอากาศในแต่ละบริเวณนั้นจะมีลักษณะที่แตกต่างกันออกไป และสามารถ
เปลยี่ นแปลงได้ตลอดเวลา

37

4.7.3 ความหมายของความกดอากาศ
น้าหนักของอากาศที่กดทับเหนือบริเวณนั้น ๆ สามารถวัดได้โดยใช้

เครอ่ื งมือทเี่ รียกว่า “บารอมิเตอร์” มหี น่วยเป็น มิลลบิ าร์ หรอื ปอนด์ต่อตารางน้วิ
4.7.4 ชนดิ ของความกดอากาศ
1) บริเวณความกดอากาศต่า หรือ หย่อมความกดอากาศต่า

หมายถึง บริเวณซ่ึงมีปริมาณอากาศอยู่น้อย ซึ่งจะทาให้น้าหนักของอากาศน้อยลงตามไปด้วย
ทาให้อากาศเบาและลอยตวั สูงข้นึ เกดิ การแทนท่ีของอากาศทาให้เกดิ ลม

2) บริเวณความกดอากาศสูง หรือ หย่อมความกดอากาศสูง
หมายถึง บริเวณที่มีค่าความกดอากาศสูงกว่าบริเวณโดยรอบ เรียกอีกอย่างหน่ึงว่า “แอนติ
ไซโคลน” เกิดจากศูนย์กลางความกดอากาศสูงเคล่ือนตัวออกมายังบริเวณโดยรอบ ทาให้
อากาศข้างบนเคล่ือนตัวจมลงแทนที่ ทาให้อุณหภูมิสูงขึ้นไม่เกิดการ กล่ันตัวของไอน้า สภาพ
อากาศโดยท่วั ไปจงึ ปลอดโปรง่ ทอ้ งฟ้าแจม่ ใส

SC106001 การกาเนิดปรากฏการณ์ SC106002 ผลกระทบและการพยากรณ์
ทางธรรมชาติ การเกดิ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ

38

แบบฝกึ หดั ท่ี 1

ใหผ้ เู้ รยี นเลอื กคาตอบท่ีถูกต้องท่สี ุดเพยี งข้อเดียว

1. ข้อใดจาเปน็ ต่อการดารงชีวิตของท้ังพืชและสตั ว์

ก. ดิน ข. แร่ธาตุ

ค. อากาศ ง. แสงสวา่ ง

2. ดินแบบใดท่ีเหมาะสมตอ่ การเจรญิ เติบโตของพชื

ก. ดินทราย ข. ดินเส่อื มสภาพ

ค. ดนิ ทีใ่ ส่ปุ๋ยเคมมี าก ๆ ง. ดนิ ทม่ี ีอนิ ทรียวัตถุมาก

3. สม้ โอจัดเป็นพืชประเภทใด

ก. พืชกนิ ใบ ข. พชื กินผล

ค. พชื ใบเลี้ยงคู่ ง. พืชใบเลยี้ งเด่ียว

4. ขอ้ ใดเปน็ พชื ใบเลี้ยงเด่ียว

ก. มะยม ข. มะม่วง

ค. มะกอก ง. มะละกอ

5. โครงสร้างใดของพืชท่ีใชใ้ นการสืบพนั ธุแ์ บบอาศัยเพศ

ก. ใบ ข. ตา

ค. ราก ง. ดอก

6. นายแดงตอ้ งการขยายพันธล์ุ าไยทม่ี ีรสชาตดิ ลี กู โตควรเลือกใชว้ ิธีใดเหมาะสมที่สดุ มาก

ก. การตอนกง่ิ ข. การเสียบยอด

ค. ขยายพันธ์ดุ ้วยเมล็ด ง. การเพาะเล้ียงเนื้อเยอื่

7. ชา้ งเป็นสัตวป์ ระเภทใด

ก. สัตว์ปา่ ข. สัตว์เลอื ดอ่นุ

ค. สตั วเ์ ลือดเยน็ สตั ว์ ง. สัตว์ที่มีกระดกู สันหลงั

8. ขอ้ ใดคือสัตว์ทม่ี ีกระดูกสนั หลัง

ก. ยงุ ข. จง้ิ จก

ค. หนอน ง. แมลงเตา่ ทอง

39

9. การอยรู่ ว่ มกนั ของมดกบั เพลย้ี เปน็ ความสัมพนั ธ์แบบใด

ก. ภาวะปรสิต ข. ภาวะอิงอาศยั

ค. ภาวะพึ่งพากนั ง. ภาวะได้ประโยชน์ร่วมกัน

10. ขอ้ ใดตอ่ ไปนเ้ี ป็นความสมั พันธข์ องสงิ่ มีชีวิตในระบบนเิ วศแบบภาวะพงึ่ พา

ก. ไลเคน ข. ดอกไมก้ ับแมลง

ค. นกเอีย้ งกับควาย ง. จระเขก้ ับนกกระสา

11. ขอ้ ใดตอ่ ไปนเี้ ปน็ ความสัมพันธข์ องสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศแบบภาวะเก้อื กูล

ก. ดอกไมก้ บั แมลง ข. นกเอ้ียงกบั ควาย

ค. จระเข้กบั นกกระสา ง. ปลาฉลามกับเหาฉลาม

12. ถา้ มสี ่งิ มีชวี ิตในหว่ งโซ่อาหารมดี งั นี้ หญ้า  ต๊กั แตน  กบ  งู  เหย่ียว

ส่ิงมีชีวิตใดเป็นผู้ผลติ

ก. กบ ข. หญา้

ค. เหย่ยี ว ง. ตั๊กแตน

13. การกินกันเปน็ ทอด ๆ ของสง่ิ มีชีวิตในหว่ งโซอ่ าหาร ทาให้เกดิ สิง่ ใด

ก. การถา่ ยทอดพลงั งาน ข. การแกป้ ญั หาส่ิงแวดล้อม

ค. เกิดความสมดุลในระบบนิเวศ ง. ทาให้พืชและสตั วม์ จี านวนคงท่ี

14. ข้อใดเป็นทรพั ยากรธรรมชาติประเภทใช้แล้วหมดไป

ก. นา้ ข. ดนิ

ค. แร่ธาตุ ง. อากาศ

15. การกระทาในข้อใดเป็นแนวทางในการอนุรักษป์ ่าไมไ้ ดด้ ีทีส่ ุด

ก. การใชไ้ ม้ต้นใหญ่ ข. การปลกู ทดแทน

ค. การใช้ส่งิ อนื่ ทดแทน ง. การนากลบั มาใช้ใหม่

16. เพราะเหตุใดหลาย ๆ ประเทศในปัจจุบนั มกั จะเกดิ อทุ กภยั มากข้นึ

ก. สภาพปา่ ไม้ถูกทาลาย

ข. ปริมาณน้าทะเลเพ่ิมมากข้ึน

ค. ระยะเวลาเกดิ มรสุมยาวนานเกินไป

ง. การสรา้ งถนนเพื่อการจราจรทาให้กีดขวางทางนา้ มากขึ้น

40

17. ถ้าในท้องถน่ิ ของนกั ศึกษาเปน็ แหล่งอุตสาหกรรมจะประสบปญั หาทรัพยากรธรรมชาติ

และส่งิ แวดล้อมในข้อใด

ก. น้า ข. อากาศ

ค. ดนิ และป่าไม้ ง. นา้ และอากาศ

18. เหตุการณ์ใดทท่ี าใหเ้ กิดปรากฏการณ์ฟ้ารอ้ ง ฟ้าแลบ ฟา้ ผา่

ก. ฝนตก ข. นา้ ทว่ ม

ค. แผ่นดนิ ไหว ง. เรือนกระจก

19. หยดน้าทีก่ ลายสภาพเปน็ น้าแข็ง คอื ข้อใด

ก. หมอก ข. น้าค้าง

ค. ลกู เหบ็ ง. แม่คะนงิ้

20. ข้อใด คือปรากฏการณ์การเกิดฝน

ก. ไอนา้ ในอากาศทีอ่ ยู่ใกลก้ ับผวิ ดนิ

ข. การกลั่นตวั ของไอนา้ ในอากาศ

ค. ไอน้าทีก่ ลัน่ ตวั เปน็ หยดน้า

ง. ไอน้าทีล่ อยตัวอยู่ในอากาศ

-----------------------------------

41

แบบฝกึ หัดท่ี 2

เรอื่ ง สง่ิ มชี ีวติ และ ระบบนเิ วศ
คาช้ีแจง ให้นักศึกษาสารวจพืชชนิดต่าง ๆ ในท้องถ่ินแล้วเลือกพืชท่ีนักศึกษาสนใจ หรือ
ประทับใจ แล้วบันทึกข้อมูลที่สังเกตได้ลงโดยการเขียนบรรยายสิ่งท่ีสังเกตเห็นลงในตารางและ
ทาเครอื่ งหมายลงใน 

ชอื่ พืช..................................... สถานท่สี ารวจ............................................. จานวนท่ีพบ.............

ลักษณะที่ศกึ ษา ลกั ษณะทส่ี งั เกตเห็น สรุปผลการศกึ ษา / เหตุผล

1. ส่วนประกอบ

ของต้นพชื

1.1 ราก .............................................................  รากแก้ว

.............................................................  รากฝอย

1.2 ลาตน้ .............................................................  เหนือดิน

.............................................................  ใต้ดิน

1.3 ใบ .............................................................  ใบเดี่ยว

.............................................................  ใบประกอบ

1.4 เส้นใบ .............................................................  แบบขนาน

.............................................................  แบบรา่ งแห

1.5 ดอก ............................................................. .............................................................

ประกอบดว้ ย ............................................................. .............................................................

สว่ นตา่ ง ๆ ดังนี้ ............................................................. .............................................................

2. การขยาย ............................................................. .............................................................

พนั ธุ์ โดย ............................................................. .............................................................

วิธีการใด ............................................................. .............................................................

ไดบ้ า้ ง

3. ชนิดของพืช  เปน็ พชื ใบเลย้ี งเด่ียว เพราะ .................................................

จาแนกตาม  เป็นพชื ใบเลี้ยงคู่ .............................................................

ลกั ษณะใบ .............................................................

42

บทท่ี 3
สารเพื่อชวี ติ

เรื่องท่ี 1 สารและสมบัตขิ องสาร

1.1 ความหมายของสาร

สาร หมายถึง สงิ่ ทีม่ ตี วั ตน มีมวล ตอ้ งการทอี่ ยู่ และสัมผัสได้ สารแตล่ ะชนดิ จะ
มสี มบัติเฉพาะตัว ซ่ึงแตกตา่ งจากสารอืน่ เช่น น้ามจี ุดเดือด 100๐ C เอทิลแอลกอฮอล์ มจี ุดเดอื ด
78.5๐ C และติดไฟได้ กรดบางชนิดมีรสเปร้ียว สามารถกัดกร่อนโลหะบางชนิดได้ เบสบาง
ชนิดมรี สฝาด และกดั กร่อนโลหะบางชนิด เปน็ ต้น

1.2 สมบัตขิ องสาร
1.2.1 สมบัติของสาร
สมบัติสาคญั ของสารแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1) สมบตั ิทางกายภาพ หมายถึง สมบัติของสารทีแ่ สดงให้เห็นลกั ษณะ

ภายนอกของสาร สามารถสังเกตได้ง่าย เช่น รูปร่าง สี กลิ่น รส สถานะของสาร จุดเดือด
จุดหลอมเหลว เปน็ ต้น

2) สมบัติทางเคมี หมายถึง สมบัติของสารท่ีแสดงลักษณะภายในของ
สารโดยอาศัยการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เช่น กรดมีความสามารถในการกัดกร่อนโลหะ ก๊าซ
ออกซิเจนมีสมบัติทาให้สารอ่นื ท่ีเป็นเช้ือเพลิงสามารถติดไฟได้ ก๊าซฮีเลียม เป็นก๊าซเฉื่อย คือไม่
ทาปฏกิ ริ ยิ ากบั สารใด ๆ เป็นตน้

1.2.2 สถานะของสาร
สาร มี 3 สถานะ คือ
1) ของแข็ง (Solid) เช่น โลหะเหล็ก โลหะทองคา โลหะทองแดง

กอ้ นถ่าน เพชร ผงกามะถัน แกว้ ไม้ ผงการบรู นา้ แขง็
2) ของเหลว (Liquid) เช่น น้ากลั่น น้าเชื่อม โลหะปรอท น้ามัน

เช้ือเพลิง กา๊ ซหุงต้ม (เมอ่ื ถกู อดั ลงในถงั เกบ็ ) นา้ มนั พืช ทนิ เนอร์
3) ก๊าซ (Gas) เช่น อากาศ ไอน้า ก๊าซออกซิเจน ก๊าซไนโตรเจน ก๊าซ

คาร์บอนไดออกไซด์ กา๊ ซหงุ ต้ม (ขณะพุง่ ออกจากถังเข้าสหู่ ัวเตา)

43

1.2.3 การจดั เรยี งอนภุ าคของสารใน 3 สถานะ
1) ของแข็ง อนุภาคชิดกันเป็นระเบียบ มีความหนาแน่นและแรงยึด

เหน่ียวระหว่างโมเลกุลสูงอนุภาคของสารถูกตรึงให้อยู่กับที่ (แต่สามารถหมุนได้) ของแข็งจึงมี
รปู ร่างแนน่ อน ไมเ่ ปล่ยี นตามภาชนะบรรจุ

2) ของเหลว อนุภาคอยู่ใกล้ชิดกันไม่เป็นระเบียบ แต่มีแรงยึดเหนี่ยว
ระหว่างกันสามารถเคล่ือนที่ได้ในช่วงแคบ ๆ จึงมีการชนกันตลอดเวลา การท่ีอนุภาคสามารถ
เคล่ือนที่ได้ หมุนได้ สั่นได้ โมเลกุลของของเหลว จึงมีพลังงานสูงกว่าโมเลกุลของของแข็ง
(เมื่อเปรียบเทียบสารชนิดเดียวกัน เช่น อนุภาคของน้ามีพลังงานสูงกว่าอนุภาคของน้าแข็ง)
การที่อนุภาคเรียงไม่เป็นระเบยี บเท่าของแข็ง จึงทาให้ของเหลว ไหลได้ รูปร่างของของเหลวจึง
เปลีย่ นตามรปู รา่ งของภาชนะบรรจุ

3) ก๊าซ อนุภาคอยู่ห่างกันเป็นอิสระแก่กันโดยส้ินเชิง แต่ละอนุภาค
สามารถเคล่ือนที่ได้อิสระ จึงมีการชนกันตลอดเวลา การท่ีอนุภาคสามารถเคล่ือนที่ได้ อย่าง
อสิ ระนี้ อนภุ าคของก๊าซจงึ มพี ลังงานสูงกว่าอนุภาคของของเหลวและของแขง็ (เมื่อเปรียบเทียบ
สารชนิดเดียวกัน เช่น อนุภาคของไอน้า น้ามีพลังงานสูงกว่าอนุภาคของน้าและอนุภาคของ
น้าแข็ง) การที่อนุภาคเรียงไม่เป็นระเบียบและฟุ้งกระจายตลอดเวลานี้ จึงทาให้ก๊าซไหลได้ มี
รปู ร่างของตามรูปรา่ งของภาชนะบรรจุและบรรจเุ ต็มภาชนะเสมอ

1.3 ปจั จยั ที่มีผลตอ่ การเปล่ียนสถานะของสาร
1.3.1 ปจั จัยทม่ี ีผลต่อการเปลย่ี นสถานะของสาร
ปัจจยั ที่ทาให้สารเกดิ การเปลยี่ นสถานะ มี 2 ปจั จัย คือ
1) การเปล่ียนแปลงอณุ หภูมิ การใหค้ วามร้อนแก่สารหรือสารท่ีไดร้ ับ

ความร้อน ทาให้สารมีอุณหภูมิสูงข้ึน มีผลทาให้สารเปล่ียนสถานะจาก ของแข็ง  ของเหลว
และของเหลว  ก๊าซ เช่น การเกิดภาวะโลกร้อน ทาให้น้าแข็งข้ัวโลกมีอุณหภูมิสูงข้ึน ผลคือ
น้าแข็งเปลี่ยนเป็นน้า ในทางกลับกัน ถ้าบังคับให้สารสูญเสียความร้อนหรือดึงความร้อนออกจาก

สาร เป็นการทาให้สารมีอุณหภูมิลดลง สารจะเปล่ียนสถานะจาก ก๊าซ  ของเหลว (เช่น
การให้ไอน้าปะทะกับบริเวณท่ีเย็นกว่า ไอน้าจะควบแน่นเป็นหยดน้า) ของเหลว ของแข็ง
(เช่น การนาน้าใส่ในช่องแช่แข็ง น้าจะเปลี่ยนเป็นน้าแข็ง หรือในวันที่อากาศหนาวจัด
เม่อื อุณหภมู ิลดลงต่ากวา่ 0๐C นา้ คา้ งบนยอดหญา้ เปล่ียนเปน็ นา้ ค้างแข็ง

44

2) การเปลี่ยนแปลงความดัน การเพ่ิมความดันมาก ๆ เป็นการบีบให้
อนุภาคของสารอยู่ชิดกันมากข้ึน มีผลทาให้ก๊าซมีโอกาสเปล่ียนเป็นของเหลวได้ ตัวอย่างเช่น
การอัดก๊าซหุงต้มด้วยความดันสูงมาก ๆ ทาให้ก๊าซหุงต้มเปล่ียนเป็นของเหลวได้เม่ืออยู่ในถัง
เก็บ การอัดน้าหอมด้วยความดันสูงลงในขวดหรือกระป๋องของผลิตภัณฑ์สเปรย์ ทาให้น้าหอม
น้ันอยู่ในสถานะของเหลว แต่เม่ือพ่นออกมานอกกระป๋อง ค่าความดันลดลงเป็นค่าความดัน
ปกติ ทาใหข้ องเหลวในกระป๋องสเปรย์เปลยี่ นเปน็ ก๊าซทนั ที เปน็ ตน้

ในบางกรณี มีความจาเป็นต้องเปลยี่ นแปลงทง้ั อณุ หภูมิและเปลี่ยนแปลง
ความดันไป พร้อม ๆ กัน เช่น ในการผลิตน้าแข็งแห้ง (Dry ice) ซ่ึงหมายถึง คาร์บอน
ไดออกไซด์ ท่ีถูกทาให้เป็นของแข็ง โดยการนาเอาก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ที่ทาให้บริสุทธิ์แล้ว
มาลดอุณหภูมิพร้อมกับการเพ่ิมความดัน การลดอุณหภูมิ เมื่ออุณหภูมิลดลง อนุภาคของ
คาร์บอนไดออกไซด์ จะมีพลังงานลดลง จะอยู่ชิดกันมากข้ึน การเพิ่มความดัน ช่วยบีบให้
อนุภาคชิดกันมากขึ้น จึงทาให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เปลี่ยนสถานะจากก๊าซไปเป็นของแข็ง
ทเ่ี รยี กวา่ นา้ แขง็ แหง้ น่นั เอง

1.3.2 ตวั อยา่ งคาทีใ่ ช้เรยี กการเปล่ยี นแปลงสถานะของสาร
คาทีใ่ ช้เรยี กการเปลีย่ นแปลงสถานะของสาร ไดแ้ ก่
1) การกลายเป็นไอ (Vaporization) การกลายเป็นไอเป็นคาเรียก

รวม ๆของการเปล่ียนสถานะของสารจากของเหลวเปน็ กา๊ ซ
2) การระเหย (Evaporation) หมายถึง การเปล่ียนสถานะจาก

ของเหลวกลายเป็นก๊าซ โดยการส่งผ่านพลังงานจากการชนกันของอนุภาคที่อยู่ภายในของ
ของเหลวจนถึงอนุภาคท่ีอยู่ผิวหน้าของของเหลว การระเหยจึงเกิดข้ึนได้ในทุก ๆ ช่วงอุณหภูมิ
เช่น น้าสามารถระเหยได้ ท้ังในที่ท่ีอุณหภูมิสูง และอุณหภูมิต่า (แต่จะระเหยได้เร็วช้าต่างกัน-
เมอื่ อณุ หภูมสิ งู จะระเหยไดเ้ ร็วกวา่ )

3) การเดือด (Boiling) หมายถึงการท่ีของเหลวเปลี่ยนเป็นก๊าซ เมื่อ
ของเหลวถูกทาให้รอ้ นขึน้ จนมอี ณุ หภูมิเท่ากบั จุดเดือดของของเหลวนนั้ เชน่ ถ้าทาให้น้าร้อนขึ้น
จนถงึ 100 ๐C น้าจะเดือด และเปล่ยี นสถานะเป็นไอนา้ ถ้าทาใหเ้ อทิลแอลกอฮอล์ร้อนข้ึนจนถึง
78.5 ๐C เอทิลแอลกอฮอล์จะเดือด และเปลย่ี นสถานะเปน็ ไอของเอทลิ แอลกอฮอล์

4) การหลอมเหลว (Melting) หมายถึงการท่ีของแข็งได้รับความร้อน
แล้วเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เช่น เมื่อนาก้อนน้าแข็งออกจากช่องแช่แข็งมาวางท้ิงไว้ ณ


Click to View FlipBook Version