สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรุปผลการดาเนนิ กิจกรรมการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชีวติ โครงการดแู ลสขุ ภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน
คานา
การดาเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษาพัฒนาทักษะชีวิต โครงการการดูแลสุขภาวะและ
สุขอนามัยของประชาชนในชุมชน กศน.ตาบลนาด่าน ไตรมาสที่ 1-2 ประจาปีงบประมาณ 2565
ซ่ึงดาเนินการจัดกิจกรรมในวันที่ 1 ธันวาคม 2564 โดยยึดการดาเนินงานตามนโยบาย วิสัยทัศน์
และยุทธศาสตร์ของงานการศึกษานอกระบบ ซ่ึงมีพันธกิจท่ีได้ดาเนินการ คือการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
การศึกษาต่อเนื่อง ( การศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคม
และชุมชน โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ) และการพัฒนางาน
การศกึ ษานอกระบบ พรอ้ มทง้ั การนาเสนอปญั หา อปุ สรรค แนวทางการดาเนินงานต่อไป
กศน.ตาบลนาด่าน หวังเป็นอย่างยิ่งว่าสรุปผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมดังกล่าวจะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ต้องการศึกษา และจะเป็นแนวทางในการนาไปพัฒนา และปรับปรุงงานการศึกษานอกระบบ
ในปีงบประมาณตอ่ ไป
กศน.ตาบลนาดา่ น
ศนู ยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสุวรรณคหู า
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรุปผลการดาเนนิ กิจกรรมการศึกษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต โครงการดแู ลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
สารบัญ
คานา หนา้
สารบัญ
บทที่ 1 บทนา 1
บทท่ี 2 เอกสารทีเ่ ก่ยี วข้อง 2-8
บทที่ 3 วธิ ดี าเนนิ งาน 9 - 10
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ โครงการ 11 - 15
บทท่ี 5 สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ 16
ภาคผนวกรปู ภาพ 17 - 23
โครงการ
บญั ชลี งเวลาผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
คณะทางาน
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนนิ กิจกรรมการศึกษาเพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต โครงการดแู ลสขุ ภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชุมชน
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญ
การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต มีความสาคัญต่อการเรียนรู้ของประชาชนและการพัฒนา
คุณภาพของประชาชน กระบวนการจัดการศึกษาท่ีสมบูรณ์จึงเปรียบเสมือนเหรียญสองด้าน ด้านหน่ึงคือการ
พัฒนาประชาชนในด้านวิชาการการเรียนรู้ตามหลักสูตร อีกด้านหน่ึงคือการพัฒนาประชาชนทางด้านจิตใจ
ด้านคุณธรรมทั้งนี้เพ่ือให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ไปพร้อมๆกัน มีการนาเอาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
ตนเองครอบครวั สงั คม และประเทศชาติ และสถานศกึ ษามีนโยบายในการส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ประพฤติปฏิบัติ
ประชาธิปไตย ท้ังน้ีเพ่ือ ให้ประชาชนมีความรู้ มีทักษะในการดาเนินวิถีชีวิต และเป็นพลเมืองท่ีดีของ
ประเทศชาติ สบื ไป
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั จึงได้ดาเนินการจัดโครงการกระบวนการ
เสรมิ สร้างและพัฒนาทกั ษะชีวิต
วตั ถุประสงค์
1. เพ่ือให้ประชาชนท่ัวไปในอาเภอสุวรรณคูหาสามารถพัฒนาทักษะชีวิตของตนเอง ครอบครัว ชุมชน
และสังคมได้
2. เพ่ือให้ประชาชนในอาเภอสวุ รรณคูหาได้ฝึกกระบวนการมีส่วนรว่ ม คดิ เปน็ แกป้ ญั หาเปน็
3. เพื่อใหป้ ระชาชนในอาเภอสวุ รรณคหู าสามารถนาความรทู้ ี่ไดไ้ ปประยุกตใ์ ช้ในชวี ติ ประจาวัน
เปาู หมาย จานวน 25 คน
เชิงประมาณ
ประชาชนท่วั ไป ตาบลนาดี
เชิงคณุ ภาพ
ประชาชนทัว่ ไปในอาเภอสวุ รรณคูหา สามารถพฒั นาทักษะชีวิตของตนเอง ครอบครวั ชมุ ชน และสังคมได้
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรมการศกึ ษาเพ่อื พฒั นาทักษะชวี ติ โครงการดูแลสุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
ขอบเขตของโครงการ
1. ดา้ นเนือ้ หา โครงการนมี้ งุ่ ให้ผู้เรียนกลุ่มเปูาหมายทเ่ี ขา้ รบั การอบรมสามารถนา
ความรู้ ทักษะ และประสบการณก์ ารเรยี นรู้ตา่ งๆ ไปใชใ้ นชีวิตประจาวันได้
2. ดา้ นระยะเวลา ระยะเวลาในการดาเนนิ งาน วันท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
ณ ศาลาประชาคมบ้านราษฎร์เกษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคูหา
จงั หวัดหนองบัวลาภู
3. ด้านประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชาชนตาบลนาดี จานวน 48 คน
และครู กศน.ตาบลนาดี จานวน 3 คน
ประโยชน์ทีค่ าดวา่ จะไดร้ บั
- ประชาชนตาบลนาดีทเี่ ข้ารว่ มโครงการรจู้ กั กระบวนการเสรมิ สร้างของการพฒั นาทักษะชีวติ ของ
ตนเองในแตล่ ะดา้ น
- ประชาชนท่ีเขา้ รว่ มโครงการอยรู่ ่วมกับสงั คมได้อยา่ งมีความสุขและสามรถนาความรูท้ ีไ่ ดไ้ ปใชใ้ น
ชีวติ ประจาวัน
ตวั ชี้วัด
ตวั ช้ีวดั ผลผลติ
รอ้ ยละ 80 ของประชาชนทเ่ี ข้ารว่ มโครงการ ตาบลนาดี ท่เี ข้าร่วมโครงการดูแลสขุ ภาพของตนเองได้
และอยู่รว่ มกับสงั คมได้อยา่ งมีความสขุ
ตัวช้วี ัดผลลพั ธ์
ประชาชนตาบลนาดี ที่เขา้ รว่ มโครงการสามรถนาความรู้ที่ไดไ้ ปใชใ้ นชวี ิตประจาวนั ได้อย่างมีความสขุ
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรุปผลการดาเนนิ กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ โครงการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
บทที่ 2
เอกสารทเี่ ก่ียวขอ้ ง
ความหมายและความสาคัญของกระบวนการพัฒนาทกั ษะชีวิต
การดูแลสขุ ภาพ เปน็ ความรับผิดชอบของบุคคล ชุมชน และสังคม การดูแลสุขภาพจึงเป็นภารกิจร่วม
ของ ทุกภาคส่วนในชุมชนการที่จะทราบถึงปัญหาและความต้องการ ทางสุขภาพของแต่ละชุมชนท้องถิ่นนั้น
พยาบาลชุมชน ต้องใช้กระบวนการในการดูแลสุขภาพชุมชน ซึ่งเป็นวิธี การศึกษาภาวะสุขภาพและความ
ต้องการของประชาชนเพอ่ื น ไปสูก่ ารแกไ้ ขปญั หาร่วมกับชุมชน โดยต้องมีกระบวนการ ประเมินปัญหาสุขภาพ
ชุมชนท่ีชัดเจนและสอดคล้องกับ สภาพจริง ใช้เครื่องมือหลายอย่างประกอบ เช่น การสังเกต การสัมภาษณ์
การสนทนากลุ่มการใช้แบบสอบถามและนา ข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์เพ่ือกาหนดปัญหาและความต้องการ ของ
ชุมชน วางแผนเพ่ือแก้ไขปัญหา ดาเนินการตามแผน ร่วมกับชุมชนและประเมินผลการปฏิบัติงานร่วมกันเพ่ือ
นา ไปสู่การปรับปรุงรูปแบบการดาเนินงานเพื่อสร้างสุขภาพของ คนในชุมชนต่อไป สาระของบทความนี้
ประกอบด้วยเน้ือหา3ส่วน ได้แก่ แนวคิดของสุขภาพชุมชน บทบาทขององค์กรภาคีในการดูแล สุขภาพชุมชน
และกระบวนการในการดแู ลสขุ ภาพชุมชนใน บทบาทของพยาบาลชมุ ชน
กระบวนการในการดูแลสุขภาพชุมชน: บทบาทของ พยาบาลชุมชน กระบวนการในการดูแลสุขภาพ
ชุมชน เป็นเครื่องมือ สาคัญท่ีพยาบาลชุมชนใช้เพื่อทาการศึกษาภาวะสุขภาพ และความต้องการด้านสุขภาพ
ของประชาชน และร่วมกับ ชุมชนในการแก้ไขปัญหาสุขภาพด้วยการปูองกันโรค ส่งเสริมสุขภาพ ให้บริการ
พยาบาล และฟ้ืนฟูสุขภาพแก่ ประชากรกลุ่มเปูาหมาย ซ่ึงกระบวนการในการดูแลสุขภาพ ชุมชนใช้หลักการ
เดยี วกบั กระบวนการพยาบาลชมุ ชน ดงั นี้
1. การประเมินสุขภาพชุมชน เป็นขั้นตอนของ การรวบรวมข้อมูลพ้ืนฐาน ภาวะสุขภาพ ข้อมูล
ส่ิงแวดลอ้ ม ขอ้ มูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ ตลอดจนความสามารถของ ชุมชนและหน ่วยงานที่เก่ียวข้องในการ
แก้ไขปัญหา เพื่อช่วยให้เข้าใจปัญหาสุขภาพของคนในชุมชน (Shuster, 2014) กระบวนการนี้ให้ความสาคัญ
กับ 3 ประเดน็ ได้แก่
1) การคน้ หา เขา้ ถึงข้อมลู ที่เก่ียวกับสุขภาพคนในชมุ ชน
2) การเปดิ เผยใหเ้ หน็ ปัญหาสขุ ภาพของคนในชมุ ชน พรอ้ มท้ังศกั ยภาพในการแก้ไขปญั หาและ
3) กระบวนการ สร้างการมีส่วนร่วมของผู้ที่เก่ียวข้อง ทั้งภาคส่วนของ องค์กรหน่วยงานรัฐ ภาค
ประชาชน และองค์กรชุมชน ในการให้ข้อมูล เก็บข้อมูล และรับทราบข้อมูลร่วมกัน (Severtson, Baumann,
& Will, 2002; Cibula, Novick, Morrow, & Sutphen, 2003) ข้อมูลที่จาเป็นในการประเมินสุขภาพชุมชน
ประกอบด้วย1) ข้อมูลท่ัวไปของชุมชนท่ีแสดงถึงลักษณะ ทางกายภาพของชุมชน สามารถแสดงได้ด้วยแผนที่
เดินดนิ การทาแผนที่ชุมชน ซ่ึงจะทาให้เห็นลกั ษณะความเป็นอยู่ ของชมุ ชน
2. ข้อมูลด้านประชากร โครงสร้างประชากร เช่น เพศ อายุเชื้อชาติศาสนา การศึกษา อาชีพ รายได้
ความหนาแนน่ ของประชากร เช่น จานวนประชากรตอ่ พืน้ ที่อาศยั วัฒนธรรม ความเช่อื และคา่ นยิ มของชุมชน
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนนิ กจิ กรรมการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต โครงการดูแลสขุ ภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน
3. ข้อมูลด้านเศรษฐกิจและสังคม เป็นข้อมูลที่แสดงให้เห็นฐานะวิถีการดาเนินชีวิต และความเป็นอยู่
ของชุมชน เช่น กจิ กรรมในรอบปีกจิ กรรมตามประเพณีกลมุ่ คนท่ี เกี่ยวข้อง
4. ข้อมูลด้านสุขภาพ เปน็ ขอ้ มลู หลักในการวนิ ิจฉยั
ปัญหาสุขภาพของชุมชน เช่น จานวนผู้ปุวยด้วยโรคต่างๆ ข้อมูลการรับบริการด้านการสร้างเสริม
สขุ ภาพและปูองกัน โรค อตั ราปุวย อัตราตาย
5. ข้อมูลด้านพฤติกรรมสุขภาพ ท้ังพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพและพฤติกรรมเส่ียงต่อสุขภาพ ของ
ประชาชน
6. ขอ้ มลู ด้านบริการสุขภาพ ระบบบริการ สุขภาพ ความพอเพียง รวมท้ังบริการสุขภาพแบบพื้นบ้าน
สมนุ ไพรแพทย์แผนโบราณ รา้ นขายยา(ขนษิ ฐา นันทบตุ ร, 2551; วนดิ า ดุรงค์ฤทธิชัย และจริยาวัตร คมพยัคฆ์
, 2553; ศิวพร อ้ึงวัฒนา และพรพรรณ ทรัพย์ไพบูลย์กิจ, 2555; Shuster, 2010) วิธีการรวบรวมข้อมูล
สุขภาพชุมชน พยาบาล ชุมชนสามารถเลือกใช้วิธีการได้ตามความเหมาะสม แต่ควร เป็นวิธีท่ีให้คนในชุมชน
เขา้ มารว่ มเรียนรู้ข้อมูลสุขภาพ ชุมชนและเห็นปัญหาสุขภาพ เพื่อนาไปสู่การวางแผน การดูแลสุขภาพร่วมกัน
การรวบรวมข้อมูลสุขภาพชุมชน มีหลายวิธีดังน้ี(สมใจวินิจกุล,2550;วนิดา ดุรงค์ฤทธิชัย และจริยาวัตร คม
พยัคฆ,์ 2553; สุนยี ล์ ะกาปน่ั , 2558)
1. การวิเคราะหข์ ้อมูลทตุ ิยภมู ิที่มีอยู ่ เป็นการรวบรวมข้อมูลที่มีอยู่จากแหล่งต่างๆ มาวิเคราะห์ แยก
ตามหมวดหมูท่ ่ตี ้องการ ข้อมูลที่ได้มาเบ้ืองต้น เช่น ประวัติศาสตร์ชุมชน ข้อมูลสุขภาพที่มีอยู่ เช่น ข้อมูล จาก
บันทึกรายงานต่างๆ ท่ีทาอยู่ในงานประจาของหน่วยงาน จะใช้เป็นข้อมูลเร่ิมต้นในการทาความรู้จักชุมชนใน
แง่มุม ต่างๆ เพ่ือนาไปขยายความในการศึกษาจากข้อมูลปฐมภูมิ ต่อไป การวิเคราะห์ข้อมูลทุติยภูมิอาจทาได้
โดยใชค้ วามรู้ ทางวิทยาการระบาดเกี่ยวกับโรค การกระจายโรค และสาเหตุ ของการเกิดโรค มาประกอบการ
วิเคราะหข์ อ้ มลู ว่าเพยี งพอ ต่อการอธิบายภาวะสุขภาพของคนในชุมชนหรอื ไมซ่ ง่ึ ถ้า ขอ้ มูลส่วนใดยังไม่สามารถ
อธบิ ายไดช้ ัดเจน จาเปน็ ต้อง ศกึ ษาข้อมูลเพิม่ เตมิ ตอ่ ไป
2. การสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลัก ซ่ึงเป็น กลุ่มเปูาหมายท่ีต้องการการดูแล และผู้ที่เก่ียวข้องกับ การ
ดูแลสุขภาพของกลุ่มเปูาหมายเช่น ผู้ดูแล ผู้นาชุมชน ผู้อาวุโส เจ้าอาวาส กลุ่มแม่บ้าน อาจเร่ิมสัมภาษณ์
เกย่ี วกบั สมาชกิ หรือกลุ่มและเหตุการณ์ในชมุ ชน ภาวะสุขภาพของ คนในชุมชน และการจัดการตามความเห็น
ของบุคคลทีถูกสมั ภาษณ์ขอ้ มลู ทไี่ ด้มักเป็นข้อมูลเชิงคุณภาพ เช่น วิธีการดูแลสุขภาพของกลุ่มคนต่างๆ วิธีการ
รกั ษาตวั เมื่อ เจบ็ ปุวย ประวตั ิชุมชน การดาเนนิ กิจกรรมของกลุ่มต่างๆ ในชุมชน ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการดูแล
สุขภาพชมุ ชน เช่น การจัดการขยะในครัวเรือน บทบาทของชมุ ชนต่อการจดั การ สุขภาพ
3. การสังเกต เป็นการหาข้อเท็จจริงโดย การเฝูาดูส่ิงท่ีเกิดข้ึนอย่างเอาใจใส่ เพื่อวิเคราะห์หา
ความสมั พนั ธ์ของสิง่ ที่เกดิ ขน้ึ กับสง่ิ อนื่ การสงั เกตแบง่ ออกเป็น
1) การสงั เกตแบบมีสว่ นรว่ มผสู้ ังเกตเข้าไปร่วม กิจกรรมของผู้ถูกสังเกตโดยมีการซักถาม สังเกต และ
บันทึก ข้อดีของวิธีนี้คือทาให้ได้ข้อมูลที่แท้จริง ส่วนข้อด้อยคือ อาจเกิดอคติได้ง่ายตามประสบการณ์ของผู้
สังเกต และ
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรุปผลการดาเนินกจิ กรรมการศกึ ษาเพอื่ พัฒนาทักษะชวี ติ โครงการดแู ลสขุ ภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชุมชน
2) การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม ผู้สังเกตจะไม่เข้าร่วมใน กิจกรรมของผู้ถูกสังเกตแต่ใช้การเฝูาดูจาก
ภายนอก ข้อดี คือ ใช้เวลาน้อย ประหยัด ส่วนข้อด้อยคือ ผู้สังเกตจะเก็บ ข้อมูลได้ไม่ครบทุกเรื่อง เน่ืองจาก
อาจไม่ได้สนใจในสิ่งท่ี ผู้ถูกสังเกตให้ความสาคัญหรือผู้ถูกสังเกตรู้ตัวว่าถูกสังเกต อยู่อาจไม่แสดงพฤติกรรมท่ี
แท้จรงิ ออกมา ซ่ึงการสังเกต อาจสังเกตสิ่งท่ีเกิดข้ึนในชุมชนในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับ สุขภาพและการจัดการ
ข้อมลู ท่ไี ดเ้ ช่น พฤติกรรมการกนิ อาหารและดื่มสรุ าในงานบุญประเพณตี า่ งๆ ของชมุ ชน การใช้ สารเคมีในการ
ทาเกษตรกรรมของคนในชุมชน
4. การสนทนากลุ่ม เป็นการอภิปรายกับ คนกลุ่มเล็กๆ ประมาณ 5-10 คน โดยมีจุดเน้นเฉพาะใน
ประเด็นที่อภิปราย วิธีการนี้ใช้เพื่อเก็บรวบรวมข้อมูล เม่ือต้องการข้อมูลจากหลากหลายคนพร้อมกัน เพ่ือ
ยืนยัน รว่ มกนั ในประเด็นทีเ่ ป็นปัญหาหรือประเด็นสาคญั เชน่ หาข้อคดิ เห็นเกี่ยวกบั การดาเนินงานเพื่อปูองกัน
การดื่ม เคร่อื งด่ืมแอลกอฮอลข์ องเดก็ วัยรุ่นในชุมชน
5. การใช้แบบสารวจ แบบสอบถามเป็น การค้นหาข้อมูลโดยภาพรวม ส่วนใหญ่มักใช้ในการรวบรวม
ข้อมลู เกี่ยวกับข้อมูลด้านประชากร ความรู้เจตคติและ พฤติกรรมการสารวจอาจใช้แบบสอบถามโดยให้ผู้ตอบ
อา่ นและตอบด้วยตนเอง หรือใช้การสัมภาษณ์ที่มีผู้ถาม และอธิบายให้ก่อนตอบ เช่น แบบสารวจค่าใช้จ่ายใน
ครัวเรือนแบบสอบถามความคิดเห็นเร่ืองการใช้สารเสพติด การดื่ม เคร่ืองด่ืมแอลกอฮอล์ของเด็กวัยรุ่นใน
ชมุ ชน
6. การประเมินชุมชนแบบเร่งด่วน เป็น กลวิธีท่ีให้คนในชุมชนเข้ามาร่วมเรียนรู้ข้อมูลสุขภาพ ชุมชน
และเหน็ ปัญหาสขุ ภาพ นาไปสู่การวางแผนการดูแล สุขภาพร่วมกัน โดยมีการสร้างทีมวิจัยชุมชน ซ่ึงประกอบ
ด้วยองค์กรในพื้นที่ ได้แก่ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ประชาชน ผู้นาชุมชน เช่น กานัน ผู้ใหญ่บ้าน และ
หน่วยงาน ราชการในพ้ืนท่ีโดยเฉพาะหน่วยงานด้านสุขภาพ องค์กร ในพ้ืนท่ีจะเข้ามาร่วมเก็บข้อมูลเรียนรู้
ข้อมูลสุขภาพร่วมกัน หลังจากน้ัน ทีมวิจัยชุมชนมาร่วมกันวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหา ปัญหาสุขภาพและแนว
ทางการแก้ไขปัญหาร่วมกัน (ขนิษฐา นันทบุตร, 2551) เมื่อพยาบาลชุมชนได้ข้อมูลสุขภาพชุมชนแล้ว ควรนา
ขอ้ มลู มาวเิ คราะหต์ ามหมวดหมู่ โดยอาจแบง่ เป็น 4 หมวดใหญ่ๆได้แก่
1) ลักษณะท่ัวไปของชุมชน ประกอบ ด้วยท่ีตั้งชุมชน สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคม ข้อมูล
ด้านประชากร เช่น อายุเพศ อาชีพ รายไดล้ กั ษณะ ชมุ ชน สภาพแวดล้อม
2) ขอ้ มูลดา้ นสุขภาพอนามัย เช่น อตั ราการเกดิ อัตราการตาย การเกิดโรค การเจบ็ ปุวย ในชุมชน
3) ข้อมูลต่างๆ ที่เก่ียวกับโรค เช่น การได้รับ ภูมิคุ้มกันโรคในเด็กอายุ0-6 ปีภาวะโภชนาการ ภาวะ
เจรญิ พนั ธขุ์ องหญิงวยั เจรญิ พันธุอ์ ายุ15-44 ปีรวมถงึ พฤติกรรมของชมุ ชนในการรกั ษาสุขภาพ เปน็ ตน้ และ
4) ข้อมูลระบบบริการต่างๆ สิทธิในการรักษา และการใช้บริการสุขภาพ เช่น โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพ ตาบล ศูนย์สุขภาพชุมชน (อาภาพร เผ่าวัฒนา,2558) ส่วนข้อมูลที่ได้จากการเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพ
สามารถ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้วิธีวิเคราะห์เน้ือหา (content analysis) ซ่ึงเป็นการค้นหาคาหรือกลุ่มคาจาก
ข้อมูลที่ เก็บรวบรวมมาได้เพื่อแสดงรายละเอียดของประเด็นที่มี การกาหนดไว้และควรจัดทาการนาเสนอ
ข้อมูลท่ีเข้าใจง่าย เช่น การนาเสนอข้อมูลสุขภาพเป็นกราฟ แผนภูมิแท่ง การนาเสนอปัจจัยท่ีมีผลกระทบต่อ
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกิจกรรมการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน
สุขภาพชุมชนเป็น รูปภาพ เพ่ือให้ประชาชนในชุมชนเห็นข้อมูลแนวโน้มของ ปัญหาและความต้องการของ
ชมุ ชน จดั สาดบั ความสาคัญของปญั หาและนาไปวางแผนดาเนนิ งานแก้ไขปญั หาร่วมกับ ชมุ ชนตอ่ ไป
2. การจดั ลาดับความสาคญั ของปัญหาสุขภาพ ชมุ ชน เปน็ ข้ันตอนที่บอกให้ทราบว่าชุมชนน้ันมีปัญหา
อะไร สาเหตุเกิดจากอะไร และมีความต้องการสุขภาพอย่างไร หัวใจสาคัญในการจัดลาดับความสาคัญของ
ปัญหาคือ การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพิจารณาขนาดของ ปัญหา ความรุนแรงของปัญหา ความยาก
ง่ายในการแก้ไข ปัญหาและความวิตกกังวลของชุมชนที่มีต่อปัญหา (อาภาพร เผ่าวัฒนา,2558) ซึ่งการ
จัดลาดับความสาคัญของปญั หา สุขภาพชุมชนเน้นการใช้แนวทางการทาประชาคม ซึ่งเป็น การจัดประชุมเพ่ือ
รับทราบปัญหา ประชาชนทกุ คนมีสทิ ธิ เขา้ ร่วมและเสนอความคดิ เหน็ ที่เปน็ ประโยชน์ต่อชุมชน อย่างเท่าเทียม
กัน ซงึ่ แบ่งออกเป็น 3 ข้ันตอน ไดแ้ ก่
1) ข้ันเตรียมการ พยาบาลชุมชนต้องมีการสรุปข้อมูลที่ ได้จากชุมชน โดยเป็นปัญหาที่พบท้ังหมด
เพ่อื ให้ชุมชน รบั ทราบวา่ ภาพรวมของชมุ ชนนั้น ปัญหาของชุมชนมีเรื่อง ใดบ้าง ซึ่งอาจนาเสนอด้วยภาพถ่ายที่
เห็นบริบทปัญหา และผลกระทบท่ีเกิดข้ึนได้อย่างชัดเจน นอกจากน้ียังต้อง เตรียมคนที่เข้าร่วม โดยต้องเป็น
ตวั แทนของคนในชุมชน และเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเช่น ตัวแทนภาคประชาชน ตัวแทนภาครัฐ ท้ังน้ีเวลาและ
สถานที่ทจ่ี ัดควรเอ้อื อานวย ใหค้ นในชุมชนสามารถเขา้ ร่วมได้
2) ขั้นดาเนนิ การจะต้อง มีการอธบิ ายวัตถปุ ระสงคท์ ีส่ าคัญคือ การเลือกปัญหาท่ี ต้องการให้ได้รับการ
แกไ้ ขในชมุ ชน โดยพยาบาลชมุ ชนควร สรปุ ประเด็นปัญหา พร้อมบอกข้อมูลสนับสนุนในแต่ละ ปัญหา และให้
ผูเ้ ขา้ ร่วมไดร้ ่วมกันจัดลาดับความสาคญั ของ ปัญหา และ
3) ระยะสรุป เปน็ การสรปุ วา่ ปัญหาท่ีชุมชน ตอ้ งการแก้ไขอยา่ งเร่งดว่ นคือปัญหาใด และเพื่อเป็น การ
วางแผนการแก้ไขปัญหา พยาบาลชุมชนควรถาม ความคิดเห็นของชุมชนว่ามีแนวทางแก้ไขปัญหาอย่างไร
ชุมชนควรเข้ามามสี ่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาในส่วนใด บ้าง ใครเป็นผู้ท่ีเก่ียวข้องและมีบทบาทอย่างไรในการ
เข้ามา มีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหา เพ่ือนาข้อมูลไปวางแผนใน การดูแลสุขภาพชุมชนในประเด็นที่ชุมชน
ต้องการแกไ้ ข ต่อไป
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกิจกรรมการศึกษาเพ่อื พฒั นาทกั ษะชวี ติ โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน
บทท่ี 3
วิธีการดาเนนิ การ
ในการดาเนินงานจัดโครงการกระบวนการเสรมิ สรา้ งและพัฒนาทกั ษะชีวติ กศน.ตาบลนาดี มีรายละเอียด
ดังตอ่ ไปน้ี
ขั้นตอนการวางแผน (plan)
ขน้ั ตอนการลงมือทา (Do)
ขนั้ ตอนการตรวจสอบ (Check)
ขัน้ ตอนการปรับปรุงแก้ไข (Act)
ขน้ั ตอนการวางแผน (plan)
1. ดาเนนิ การประชาคมกลุ่มผ้สู นใจเข้ารว่ มโครงการ
2. ไดก้ ล่มุ เปูาหมาย
3. เตรียมหลกั สูตร เสนอโครงการเพอ่ื ขออนุมัติ
4. แต่งตั้งคณะทางานภายในตาบล คณะกรรมการนิเทศกจิ กรรม
5. ประสานวิทยากร
ข้นั ตอนการลงมือทา (Do)
1. ดาเนินการประสานงานผู้ท่เี ก่ยี วข้อง
ครู กศน.ตาบล ครู ศรช. ผนู้ าชุมชน คณะกรรมการหมู่บา้ นและชาวบ้านจดั เตรียม
สถานท่ี
2. นาประชาชนทีส่ นใจมาเข้ารว่ มกิจกรรม
3. ประเมนิ ผลโครงการโดยให้ผเู้ ข้ารว่ มโครงการออกแบบประเมนิ ความพึงพอใจในการเขา้ ร่วม
โครงการ
4. รวบรวมข้อมลู จากแบบประเมนิ
5. สรุปผลความพึงพอใจของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ
ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check)
1.เครื่องมอื ทใ่ี ช้ในการตรวจสอบ
แบบประเมนิ ความพงึ พอใจของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ
2. การเกบ็ รวบรวมข้อมูล
กศน.ตาบลนาดี ได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมลู จากผเู้ ขา้ รว่ มโครงการ
- ประชาชนกล่มุ เปาู หมาย จานวน 50 คน
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกิจกรรมการศกึ ษาเพือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน
3.การวเิ คราะห์ข้อมูล การประเมินผลการดาเนนิ งานของโครงการกระบวนการเรียนรแู้ ละพฒั นา
ทกั ษะชีวติ กศน.ตาบลนาดี ดาเนินการวเิ คราะห์ข้อมลู ดังนี้
3.1 แบบประเมินตอนที่ 1 ข้อมูลท่วั ไป วิเคราะหห์ าคา่ ร้อยละ
3.2 แบบประเมนิ ตอนที่ 2 ความพึงพอใจตัวบง่ ชข้ี องโครงการ
3.2.1 ให้คะแนนตามนา้ หนักแบบประเมนิ ฉบับสมบูรณ์ ตามเกณฑ์ มาตรฐานของ
สมศ. โดยมเี กณฑ์ใหค้ ะแนน ดังนี้
ระดบั 5 หมายถึง ดาเนินงานไดต้ ามเกณฑ์ของตัวบ่งชี้ดีมาก
ระดบั 4 หมายถงึ ดาเนินงานไดต้ ามเกณฑข์ องตัวบง่ ชีด้ ี
ระดับ 3 หมายถงึ ดาเนินงานไดต้ ามเกณฑ์ของตวั บ่งชพ้ี อใช้
ระดบั 2 หมายถึง ดาเนินงานไดต้ ามเกณฑ์ของตัวบง่ ชีป้ รบั ปรงุ
ระดบั 1 หมายถึง ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑ์ของตวั บง่ ช้ีต้องปรับปรงุ
3.2.2 วเิ คราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลย่ี ร้อยละความพงึ พอใจ
3.3 แบบประเมนิ ตอนท่ี 3 ขอ้ คิดเห็นและข้อเสนอแนะอ่ืนๆ วิเคราะหด์ ว้ ยเนื้อหา
(Content analysis)
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรุปผลการดาเนินกจิ กรรมการศึกษาเพือ่ พฒั นาทักษะชีวติ โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
บทที่ 4
ผลการดาเนินงาน
การจดั กิจกรรมโครงการดูแลสุขภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน ณ กศน.ตาบลนาดี
อาเภอสุวรรณคหู า จังหวัดหนองบวั ลาภู
สรปุ ผลการดาเนินงานได้ดังนี้
ชอ่ื โครงการ วันท่ีดาเนินการ เปูาทไ่ี ดร้ ับจดั สรร ผล คดิ เป็นรอ้ ยละ
โครงการดแู ลสขุ 1 ธันวาคม 2564 48 50 100
ภาวะและ
สขุ อนามยั ของ
ประชาชนในชุมชน
การประเมนิ ความพงึ พอใจในการดาเนินงานตามโครงการดูแลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชน
ในชุมชน กศน.ตาบลนาดี ของผู้รับบริการท่ีเข้ารว่ มโครงการ โดยเสนอรายละเอียดตามลาดบั คือ สญั ลกั ษณ์
ทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล ลาดับขน้ั ตอนในการวิเคราะหข์ ้อมูล ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู และการแปล
ความหมายข้อมูลดังตอ่ ไปน้ี
สญั ลกั ษณท์ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
การเสนอผลการประเมนิ ครง้ั นีไ้ ด้กาหนดสญั ลักษณ์ทใ่ี ชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มลู ดังน้ี
N แทน ขนาดของกลมุ่ ผู้ประเมินการใช้ค่มู ือ (Sample size)
% แทน คา่ รอ้ ยละ (Percentage)
ลาดับข้ันตอนในการวิเคราะห์ข้อมูล
การวเิ คราะห์ขอ้ มูล ผปู้ ระเมินไดเ้ สนอผลการวิเคราะหข์ ้อมลู เปน็ ตอนๆ เรยี งลาดับดังน้ี
ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเกี่ยวกบั ข้อมลู ทว่ั ไป
ตอนที่ 2 การวเิ คราะหข์ ้อมูลด้านความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร
ตอนที่ 3 การวเิ คราะหข์ ้อมูล ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะอนื่ ๆ
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรุปผลการดาเนินกิจกรรมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชีวติ โครงการดูแลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชุมชน
ในการสรุปผลการดาเนินงานโครงการดูแลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน ณ ศาลา
ประชาคมบา้ นราษฏร์เกษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคหุ า จังหวัดหนองบัวลาภู ได้จัดทาเครื่องมือ
เป็นแบบสอบถาม วัดระดับความคิดเห็นและความพึงพอใจในการดาเนินการพัฒนาซึ่งแบ่งออกเป็น 3 ส่วน
คือ ส่วนแรกเป็นคาถามปลายเปิด มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scales) ส่วนท่ี 2 มาตราส่วน
ประมาณค่าของ ลิเคิร์ท likert’s Scales 5 ระดับ ส่วนที่สามเป็นคาถามปลายเปิด ข้อเสนอแนะอ่ืนๆ
ส่วนท่ีสามเป็นคาถามปลายเปิดเน้ือหาสาระที่ต้องการพัฒนาในคร้ังต่อไป ซึ่งในการเก็บรวบรวมน้ัน ได้แจก
แบบสอบถามแก่ผู้เข้าร่วมโครงการกระบวนการเสริมสร้างและพัฒนาทักษะชีวิต จานวน 50 คน ได้
แบบสอบถามคนื จานวน 50 ฉบบั จากผเู้ ข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 กระทาการวิเคราะห์ข้อมูล
ตามประเภทและลักษณะของข้อมูล โดยหาค่าเฉลี่ยเป็นค่าร้อยละ ซ่ึงได้วัดระดับความคิดเห็นและความพึง
พอใจที่มีต่อโครงการจะปรากฏดังน้ี
สรปุ ผลการวเิ คราะห์ข้อมูลความพงึ พอใจ โครงการกระบวนการเสริมสรา้ งและพัฒนาทักษะชวี ิต
ตอนที่ 1 ข้อมลู ทวั่ ไป
รายการข้อมลู พื้นฐาน จานวน รอ้ ยละ
(ƒ) (%)
1.เพศ
1.1 ชาย 2 4.00
1.2 หญิง 48 96.00
รวม 50 100.00
2.อายุ
2.1 ตา่ กว่า 15 ปี 00
2.2 อายุ 15 – 39 ปี 00
2.3 อายุ 40 – 59 ปี 21 42.00
2.4 อายุ 60 ปีขึน้ ไป 29 58.00
รวม 50 100.00
3.ระดบั การศกึ ษา
3.1 ป.4 27 54.00
3.2 ป.6 18 36.00
3.3 ม.ต้น 3 6.00
3.4 ม.ปลาย 2 4.00
3.5 ปวช.
3.6 ปวส. 00
3.7 ปริญญาตรี 00
3.8 อน่ื ๆ 00
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกิจกรรมการศึกษาเพือ่ พัฒนาทักษะชีวติ โครงการดูแลสขุ ภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
รวม 50 100.00
4.อาชพี
00
4.1 ผูน้ าท้องถิน่ 00
4.2 อบต/เทศบาล 00
4.3 พนักงานรฐั วิสาหกิจ 00
4.4 ทหารกองประจาการ 50 100
4.5 เกษตรกร 00
4.6 รับราชการ 00
4.7 ค้าขาย 00
4.8 รบั จา้ ง 00
4.9 อสม. 00
4.10 แรงงานต่างด้าว 00
4.11 ว่างงาน 00
4.12 อ่นื ๆ 50 100.00
รวม
จากตาราง ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ความพึงพอใจของผเู้ ข้าร่วมโครงการดแู ลสุขภาวะและสุขอนามัย
ของประชาชนในชุมชน ผลการวเิ คราะห์ปรากฏว่า ผเู้ ข้ารว่ มโครงการ 50 คน เปน็ เพศหญิง จานวน 48
คน คดิ เป็นร้อยละ 96.00 เพศชาย จานวน 2 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 4.00 ด้านอายุ อายุ 60 ปี ขนึ้ ไป
จานวน 29 คน คดิ เป็นร้อยละ 58.00 อายุ 40-59 ปี จานวน 21 คน คิดเปน็ ร้อยละ 42.00 อายุ15-
39 ปี จานวน -คน คดิ เปน็ ร้อยละ ระดับการศึกษา ป.4 จานวน 27 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 54.00 ป.6
จานวน 18 คน คิดเป็นร้อยละ 36.00 ม.ปลาย จานวน 2 คน คดิ เป็นร้อยละ 4.00 ม.ต้น จานวน 3
คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 6.00 ด้านอาชพี เกษตรกร จานวน 50 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 100
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทักษะชีวติ โครงการดูแลสขุ ภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน
สรุปผลการวิเคราะหข์ ้อมลู ความพงึ พอใจ โครงการ ดแู ลสุขภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชมุ ชน
ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจในการให้บริการ
ตารางที่ 2.1 จุดมงุ่ หมาย/เน้อื หาหลกั สตู ร
ระดบั ความพึงพอใจ/จานวน หมาย
เหตุ
ข้อ รายการประเมินความพึงพอใจ มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย
ทีส่ ดุ กลาง ทีส่ ุด
ตอนท่ี ๑ ความพงึ พอใจด้านเน้ือหา
1 เนือ้ หาตรงตามความต้องการ 43 7
2 เน้อื หาเพยี งพอต่อความต้องการ 17 33
3 เน้อื หาปัจจุบันทันสมัย 50
4 เนอ้ื หามีประโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการพัฒนาคุณภาพชีวติ 50
ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กิจกรรมการอบรม
5 การเตรยี มความพร้อมกอ่ นอบรม 43 7
6 การออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 17 33
7 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกบั เวลา 43 7
8 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกบั กล่มุ เปูาหมาย 50
9 วิธกี ารวัดผล/ประเมนิ ผลเหมาะสมกับวตั ถุประสงค์ 43 7
ตอนที่ ๓ ความพึงพอใจต่อวิทยากร
10 วิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรอ่ื งที่ถา่ ยทอด 50
11 วทิ ยากรมเี ทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ื่อเหมาะสม 43 7
12 วิทยากรเปดิ โอกาสให้มสี ว่ นรว่ มและซกั ถาม 50
ตอนท่ี ๔ ความพงึ พอใจด้านการอานวยความสะดวก
13 สถานที่ วัสดุ อุปกรณ์และสิง่ อานวยความสะดวก 50
14 การส่อื สาร การสรา้ งบรรยากาศเพ่ือให้เกดิ การเรียนรู้ 50
15 การบรกิ าร การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 44 6
สรุปความคดิ เห็นและความพึงพอใจของผ้รู บั บรกิ าร โครงการดแู ลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนใน
ชุมชน สรปุ ไดด้ งั นี้
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนนิ กิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทกั ษะชีวติ โครงการดแู ลสขุ ภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชุมชน
ตอนที่ 1 ความพงึ พอใจด้านเนอ้ื หา
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านเน้ือหา ดังน้ี มีเนื้อหาปัจจุบันทันสมัย และเน้ือหามี
ประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ตอบมาก ท่ีสุด จานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100
เนื้อหาตรงตามความต้องการ ตอบมากท่ีสุด จานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ 86.00 และตอบมาก จานวน 7
คน คิดเป็นร้อยละ 14.00 เนื้อหามีความเพียงพอต่อความต้องการ ตอบมากที่สุด จานวน 17 คน คิดเป็น
ร้อยละ 30.00 และตอบมาก จานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 66.00 ตามลาดบั
ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านการจัดกจิ กรรมการอบรม
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านการจัดกิจกรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปูาหมาย ตอบมากที่สุด
จานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 การเตรียมความพร้อมก่อนการอบรม จัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา
และ วิธีการวัดผล ประเมินผลเหมาะสมกับวัตถุประสงค์ ตอบมากที่สุด จานวน 43 คน คิดเป็นร้อยละ
86.00 ตอบมาก จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14.00 และการออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกับวัตถุประสงค์
ตอบมากท่ีสุด จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 34.00 ตอบมาก จานวน 33 คน คิดเป็นร้อยละ 66.00
ตามลาดับ
ตอนที่ 3 ความพงึ พอใจตอ่ วิทยากร
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านวิทยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องที่ถ่ายทอด ตอบมาก
ที่สุด จานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีส่วนร่วมและซักถาม ตอบมากที่สุด
จานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100 วิทยากรมีเทคนิคการถ่ายทอดใช้สื่อที่เหมาะสม ตอบมากท่ีสุด จานวน
43 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 86.00 และตอบมาก จานวน 7 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 14.00 ตามลาดบั
ตอนที่ 4 ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านสถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และส่ิงอานวยความสะดวก และด้าน
การส่ือสาร การสร้างบรรยากาศเพ่ือให้เกิดการเรียนรู้ ตอบมากที่สุด จานวน 50 คน คิดเป็นร้อยละ 100
และด้านการบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา ตอบมากท่ีสุด จานวน 44 คน คิดเป็นร้อยละ 88.00
ตอบมาก จานวน 6 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 12.00 ตามลาดับ
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกิจกรรมการศึกษาเพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ิต โครงการดูแลสุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
บทที่ 5
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
การดาเนินงานโครงการกระบวนการเสรมิ สร้างและพฒั นาทักษะชวี ติ สรุปผลการดาเนนิ งานได้ดังน้ี
1. เพื่อให้ประชาชนท่วั ไปในตาบลนาดี สามารถพัฒนาทกั ษะชีวติ ของตนเอง ครอบครวั ชุมชน
และสังคมได้
2. เพ่ือให้ประชาชนในตาบลนาดี ไดฝ้ ึกกระบวนการมีส่วนรว่ ม คิดเปน็ แกป้ ัญหาเป็น
3. เพื่อให้ประชาชนในตาบลนาดี สามารถนาความรู้ท่ไี ด้ไปประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจาวนั
ขอบเขตของโครงการ
4. ด้านเนอ้ื หา โครงการนีม้ ุ่งใหผ้ ู้เรยี นกลุ่มเปูาหมายทเี่ ข้ารับการอบรมสามารถนา
ความรู้ ทกั ษะ และประสบการณก์ ารเรียนรูต้ า่ งๆ ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้
5. ดา้ นระยะเวลา ระยะเวลาในการดาเนินงาน วนั ท่ี 1 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
ณ ศาลาประชาคมบา้ นราษฏร์เกษมศรี หมู่ที่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคหู า
จงั หวัดหนองบวั ลาภู
6. ด้านประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง ประชาชนตาบลนาดี จานวน 50 คน
และครู กศน.ตาบลนาดี จานวน 3 คน
ประโยชนท์ ่ีคาดวา่ จะได้รบั
- ประชาชนตาบลนาดีท่ีเข้ารว่ มโครงการร้จู กั กระบวนการเสรมิ สรา้ งของการพัฒนาทักษะ
ชีวติ ของตนเองในแต่ละด้าน
- ประชาชนทเ่ี ข้าร่วมโครงการอยูร่ ่วมกับสังคมได้อยา่ งมีความสุขและสามรถนาความรทู้ ไ่ี ด้ไป
ใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั
ตวั ช้ีวดั
ตวั ชว้ี ัดผลผลิต
ร้อยละ 80 ของประชาชนที่เข้าร่วมโครงการตาบลนาดี ทเี่ ข้ารว่ มโครงการดูแลสุขภาพของตนเองได้
และอยรู่ ว่ มกบั สงั คมได้อย่างมีความสุข
ตวั ชี้วดั ผลลัพธ์
ประชาชนตาบลนาดี ทเี่ ข้ารว่ มโครงการสามรถนาความรู้ที่ไดไ้ ปใชใ้ นชวี ติ ประจาวนั ได้อย่างมีความสขุ
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนนิ กจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต โครงการดูแลสุขภาวะและสขุ อนามัยของประชาชนในชมุ ชน
ผลการดาเนนิ โครงการ
ประชาชนตาบลนาดี ท่ีเข้าร่วมโครงการกระบวนการเสริมสรา้ งและพัฒนาทักษะชวี ติ มีความพอใจ
ในการจัดกิจกรรมในระดับดีขึ้นไป รอ้ ยละ 100 และประชาชนทีเ่ ข้ารว่ มกิจกรรมสามารถนาความรูท้ ่ีไดไ้ ปใช้
ในชวี ติ ประจาวนั
ปญั หา-อุปสรรค
-
แนวทางแก้ไขปัญหา
-
ข้อเสนอแนะ
ประชาชนท่ีเขา้ ร่วมโครงการควรนาความรู้ที่ได้รบั ไปใชใ้ นชีวิตประจาวนั
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาทักษะชวี ติ โครงการดแู ลสขุ ภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
ภาคผนวก
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทกั ษะชีวติ โครงการดแู ลสขุ ภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
ภาพประกอบกจิ กรรมกจิ กรรมการศกึ ษาเพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต
โครงการดแู ลสุขภาวะและสุขอนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
ดาเนินการวนั ที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2564
ณ ศาลาประชาคมบา้ นราษฏร์เกษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคหู า
นายฤาชยั สาจนั ทร์ นายกเทศมนตรีเทศบาลตาบลนาดี เป็ นประธานในพิธี
เปิ ดโครงการพร้อมถา่ ยรูปกบั ผ้รู ่วมโครงการ
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรมการศกึ ษาเพือ่ พัฒนาทกั ษะชีวติ โครงการดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชมุ ชน
ลงทะเบียนผ้เู ข้าร่วมอบรม
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกิจกรรมการศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาทกั ษะชีวิต โครงการดูแลสขุ ภาวะและสุขอนามัยของประชาชนในชุมชน
วิทยากรอธิบายเน้ือหาสขุ ภาวะของประชาชนในชมุ ชน
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา
สรปุ ผลการดาเนินกจิ กรรมการศึกษาเพอ่ื พัฒนาทักษะชีวติ โครงการดแู ลสุขภาวะและสขุ อนามยั ของประชาชนในชมุ ชน
กศน.ตาบลนาดา่ น ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา