The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สรุปผลโครงการพัฒนาสังคมหน้าบ้านสวย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

สรุปผลโครงการพัฒนาสังคมหน้าบ้านสวย

สรุปผลโครงการพัฒนาสังคมหน้าบ้านสวย

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม
กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

คานา

การดาเนินงานการจัดกิจกรรมการศึกษาพัฒนาสังคมและชุมชน โครงการหน้าบ้านสวย
หลังบ้านสว น ในเรือนงาม กศน. ตาบลนาด่าน ไตรมาสที่ 1-2 ประจาปีงบประมาณ 2565
ซ่ึงดาเนินการจัดกิจกรรมในวันที่ 16 – 17 ธันวาคม 2564 โดยยึดการดาเนินงานตามนโยบาย วิสัยทัศน์
และยุทธศาสตร์ของงานการศึกษานอกระบบ ซึ่งมีพันธกิจท่ีได้ดาเนินการ คือการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
การศึกษาต่อเนื่อง ( การศึกษาเพ่ือพัฒนาอาชีพ การศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต การศึกษาเพ่ือพัฒนาสังคม
และชุมชน โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ) และการพัฒนางาน
การศกึ ษานอกระบบ พรอ้ มทัง้ การนาเสนอปญั หา อุปสรรค แนวทางการดาเนินงานตอ่ ไป

กศน.ตาบลนาด่าน หวังเป็นอย่างย่ิงว่าสรุปผลการดาเนินงานการจัดกิจกรรมดังกล่าวจะเป็น
ประโยชน์ต่อผู้ต้องการศึกษา และจะเป็นแนวทางในการนาไปพัฒนา และปรับปรุงงานการศึกษานอกระบบ
ในปงี บประมาณตอ่ ไป

กศน.ตาบลนาด่าน
ศนู ย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอสวุ รรณคูหา

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

สารบัญ

คานา หน้า
สารบญั
บทท่ี 1 บทนา 1
บทท่ี 2 เอกสารที่เก่ยี วขอ้ ง 2-8
บทที่ 3 วิธดี าเนินงาน 9 - 10
บทที่ 4 ผลการดาเนนิ โครงการ 11 - 15
บทท่ี 5 สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ 16
ภาคผนวกรปู ภาพ 17 - 23
โครงการ
บญั ชลี งเวลาผูเ้ ข้าร่วมโครงการ
คณะทางาน

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

บทที่ 1
บทนา

ความเป็นมาและความสาคัญ
การศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชนเป็นการจัดการศึกษาเพ่ือพัฒนาทักษะความสามารถและ

ศักยภาพของ คนในชุมชน รวมทั้งกลไกทุกภาคส่วนในชุมชนให้ร่วมกันรับผิดชอบและเห็นถึงความสาคัญใน
การ ฟ้ืนฟูพัฒนาสังคม และชุมชนของตนเอง โดยหน่วยงานสถานศึกษาการศึกษานอกระบบโรงเรียนต้องให้
ความสาคัญต่อการใช้ กระบวนการทางการศึกษาส่งเสริมให้ประชาชน ชุมชน เกิดการเรียนรู้และบูรณาการ
ความรู้ ประสบการณ์ เข้ามาใช้ ให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาสังคมและชุมชนโดยรวม และบริบทของชุมชน
แต่ละพ้นื ทโี่ ดยเนน้ การสรา้ งจิตสานกึ ความเป็นประชาธิปไตย ความเป็นพลเมืองดี การบาเพ็ญประโยชน์ การ
เสริมสรา้ งค่านิยมความรักชาติ ความภูมิใจ ในความเป็นไทย ใฝุหาความรู้ หม่ันศึกษาเล่าเรียนท้ังทางตรงและ
ทางอ้อม และการมีจิตอาสาสมัคร ใช้ความรู้ ความสามารถของตน ความรักความสามัคคี การให้ การแบ่งปัน
การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชน สังคม และ เฝูาระวัง และหวงแหนสมบัติของชาติ โดยเห็นแก่ส่วนรวมเป็น
สาคัญ

วัตถุประสงค์
1. เพอื่ เป็นการเสริมสรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ และพฒั นาสงั คมและชุมชนให้มีความเขม้ แขง็ สามารถ

พงึ่ พาตนเองได้
2. เพือ่ เป็นการคน้ หาปัญหา และกาหนดแนวทางในการแกป้ ญั หารว่ มกนั ในชุมชนตามวถิ ีความ

พอเพยี ง
3. เพอ่ื สร้างจิตสานึกความเป็นประชาธปิ ไตย ความเป็นพลเมืองดีเศรษฐกจิ ชมุ ชน และการอนรุ กั ษ์

พฒั นาทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ ม

เปาู หมาย
เชิงปรมิ าณ

ประชาชนท่ัวไปในพ้ืนที่ตาบลนาดี จานวน 36 คน ประกอบด้วย

เชิงคุณภาพ
ประชาชนร้อยละ 80 ทเี่ ข้ารบั การอบรมมจี ติ สานกึ ของประชาชนในการสร้างความรู้ความเข้าใจ ตาม

หลักสุขภาวะในบ้านของตนเองให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนา ปรับปรุงสภาพแวดล้อมในหมู่บ้านและบ้าน
ของตนเอง ให้เกิดประโยชน์ท้ังหน้าบ้าน ในบ้าน และหลังบ้าน เพ่ือให้เกิดการความเข้าใจและพัฒนาคุณค่า
ของสถานท่ีสาคัญ บุคคลสาคัญของชุมชน สู่การสร้างความ ภาคภูมิใจในชุมชน สร้างจิตสานึกความเป็น
พลเมืองดใี นระบอบประชาธปิ ไตย

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

บทที่ 2
เอกสารทเี่ ก่ยี วข้อง

การพฒั นาชมุ ชน

ความหมาย มผี ใู้ ห้ความหมายของคาวา่ “การพฒั นาชุมชน”ไว้อย่างหลากหลาย พอสรปุ ไดบ้ างสว่ นคอื
T.R Batten : ขบวนการที่คนในชุมชนเล็ก ๆ ได้ร่วมกันปรึกษาหารือถึงความต้องการร่วมกันวางแผนและ
ลงมอื ปฏบิ ัตริ ่วมกนั จนเปน็ ทพี่ อใจและสนองความต้องการของคนในชมุ ชน
Dunham : การร่วมดาเนินการปรับปรุงสภาพความเป็นอยู่ของชุมชนให้ชุมชนมีความเป็นปึกแผ่น และ
ดาเนนิ การไปในแนวทางท่ีตนตอ้ งการ การทางานในชน้ั แรกตอ้ งอาศัยความร่วมแรงร่วมใจของ
ประชาชนในชมุ ชนน้ัน ๆ โดยช่วยตัวเองและร่วมมือกันดาเนินงาน แต่มักจะได้รับความช่วยเหลือด้านวิชาการ
จากหน่วยราชการ หรือองคก์ รเอกชนอ่ืน ๆ
องค์การสหประชาชาติ : เป็นขบวนการวมกาลงั ของประชาชนกบั เจา้ หน้าที่ของรัฐบาล เพ่ือปรับปรุงสภาพ
ทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของชุมชนน้ันให้เจริญย่ิง ๆ ขึ้น และผสมผสานชุมชนนั้นเข้าเป็นชีวิตของชาติ
และเพ่ือให้ประชาชนสามารถอุทิศตนเอง เพือ่ ความก้าวหน้าของประเทศชาติได้อย่างเต็มท่ี
อยา่ งไรก็ตามอาจกลา่ วสรุปไดว้ ่า การพัฒนาชุมชนก็คือการพัฒนาคุณภาพชีวิต ซึ่งหมายถึงชีวิตของบุคคล
ท่ีสามารถดารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างเหมาะสม ไม่เป็นภาระและไม่ก่อให้เกิดปัญหาให้แก่สังคม เป็น
ชีวิตท่ีมีความสมบูรณ์ท้ังทางร่างกาย จิตใจ และสามารถดาเนินชีวิตที่ชอบธรรม สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม
ค่านิยมของสังคม สามารถแก้ไขปัญหา ตลอดจนการแสวงหาสิ่งท่ีตนปรารถนาให้ได้มาอย่างถูกต้อง ภายใต้
เครอื่ งมือ และทรัพยากรทมี่ ีอยู่ โดยมจี ุดเนน้ ของคุณภาพชีวติ เป็น 3 ประเด็น
1. ทางด้านรา่ งกาย : บุคคลตอ้ งมสี ขุ ภาพร่างกายท่ีสมบูรณ์แข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บ เป็นผลจากการ
ไดร้ บั การตอบสนองทางด้านปจั จยั ความจาเปน็ ข้ันพน้ื ฐานท่ีพอเหมาะ
2. ทางด้านจิตใจ : คือจะต้องมีสภาพจิตใจท่ีสมบูรณ์ร่าเริงแจ่มใส ไม่วิตกกังวล รู้สึกพอใจในชีวิตของตน
ครอบครวั และสังคมในสภาพแวดลอ้ มทีด่ ี มคี วามปลอดภยั ในชวี ติ และทรพั ย์สนิ
3. ด้านสังคม : บุคคลที่สามารถดารงชีวิตภายใต้บรรทัดฐาน และค่านิยมทางสังคมในฐานะเป็นสมาชิกของ
สังคมได้อย่างปกตสิ ขุ

ณรงค์ เทยี นส่ง ไดร้ ะบุว่าคณุ ภาพชวี ิตของมนษุ ย์ ประกอบด้วย
1. บคุ คลได้สงิ่ จาเป็นแกก่ ารมชี วี ิต ไดแ้ ก่อาหาร ทีอ่ ย่อู าศัย เสือ้ ผ้า สุขภาพแข็งแรง และมคี วามม่ันคงในชวี ติ
2. มคี า่ นยิ มที่เหมาะสมในการดาเนนิ ชีวิตทส่ี อดคล้องกับสังคม วฒั นธรรม การเมือง และสภาพแวดล้อมทาง

เศรษฐกิจ ซ่ึงจะเป็นรากฐานการตัดสินใจทจ่ี ะนาไปสจู่ ดุ หมายปลายทางของการมีชีวติ ที่ดี

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

คณะกรรมการประเมินผลโครงการพัฒนาชนบทยากจน ไดก้ าหนดเกณฑ์พิจารณาคุณภาพชีวิตโดยดจู าก
ความจาเปน็ พนื้ ฐาน (จปฐ) ซึ่งเป็นเกณฑ์ในการประเมินคุณภาพชวี ิตขน้ั พ้นื ฐานของคนไทย ไว้ดังน้ี

1. ได้กินอาหารที่ถูกสุขลักษณะในปริมาณที่พอเพียง
2. มที อ่ี ยอู่ าศยั และสภาพแวดล้อมการทางานทเ่ี หมาะสม
3. มงี านทาอยู่ในสภาพแวดลอ้ มการทางานท่ีเหมาะสม
4. ไดบ้ รกิ ารขนั้ พ้ืนฐานท่จี าเปน็
5. มีความปลอดภยั ในชีวติ และทรัพยส์ ิน
6. มีการผลติ ทพ่ี อเพยี ง
7. มีส่วนรว่ มในการปกครองท้องถ่นิ
8. สามารถควบคมุ ชว่ งเวลาของการมบี ุตร และจานวนบุตร
9. ประพฤติตามธรรมเนยี ม ประเพณี หลกั ธรรมศาสนา และรกั ษาสง่ เสรมิ กิจกรรมทางศิลปวัฒนธรรม

เปาู หมายในการพฒั นาชมุ ชน
การพฒั นาชมุ ชน มเี ปาู หมายสาคญั ทจ่ี ะต้องพฒั นา ดังนี้
1. การพัฒนาคน คือการทาให้คนในชุมชนนั้นมีคุณภาพดีข้ึน ทั้งกายใจและสติปัญญา ซึ่งในแต่ละ

แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติต่างก็มีจุดมุ่งเน้นที่จะพัฒนาคนต่าง ๆ กัน ไป แต่ท่ีปรากฏชัดเจน
เป็นรูปธรรมคือในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับท่ี 8 ได้ระบุเปูาหมายของการพัฒนา
คณุ ภาพคนไว้สามลกั ษณะดงั น้ี

เก่ง : มีความสามารถและรู้จักความสามารถของตนเอง มีแรงจูงใจมุ่งม่ันสู่จุดหมาย สามารถตัดสินใจได้
แกป้ ญั หาเปน็ แสดงออกได้อยา่ งเหมาะสม มคี วามยดื หยุน่ และมนุษย์สัมพันธ์ดีกบั คนอ่นื (IQ)

ดี : รู้จักควบคุมอารมณ์ตนเองได้ แสดงออกได้เหมาะสมกับบุคคล โอกาสและสถานท่ี รู้จักเห็นอกเห็นใจ
คนอน่ื มีความรบั ผิดชอบ ร้จู กั การใหแ้ ละการรบั รู้จกั ยอมรับผดิ ใหอ้ ภยั และเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม (EQ)

สขุ : ภูมิใจในตวั เอง เห็นคณุ คา่ และมคี วามเชอื่ มั่นตนเอง พอใจชีวิต มองโลกในแง่ดี มีอารมณ์ ขัน มีความ
สงบทางใจ รู้จกั การผอ่ นคลาย กิจกรรมเสริมความสุข (การผสานประโยชนร์ ะหวา่ ง IQ กบั EQ)

2. การพัฒนาส่ิงแวดลอ้ ม ซ่งึ จะตอ้ งคานงึ ถงึ สิ่งแวดล้อมทเ่ี ป็นวตั ถุได้แกอ่ าคารสถานท่ี ส่ิงปลูกสร้างต่าง ๆ
และสภาพแวดลอ้ มตามธรรมชาติ เปาู หมายสาคัญคือ จะต้องพัฒนาให้สภาพแวดล้อมไม่ถูกทาลาย มีวิสัยท่ีจะ
รับภาระ (Carrying Capacety) ให้ประโยชน์แก่ชุมชน ในปัจจุบันสภาพสิ่งแวดล้อมธรรมชาติได้ถูกทาลายลง
ไปมากทง้ั ในเชงิ คณุ ภาพ (อากาศเป็นพิษ น้าเสีย ขยะ ฯลฯ) และในเชิงปริมาณ (ความหลากหลายทางชีวภาพ
แร่ธาตุทรัพยากรธรรมชาติบางชนิด ภาวะขาดแคลนน้า ฯลฯ) ซ่ึงสภาพการณ์เหล่าน้ีส่งผลกระทบโดยตรงต่อ
การดารงชีวิตของมนุษย์

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

หลกั การพฒั นาชมุ ชน
การดาเนินงานพฒั นาชมุ ชนน้ัน มหี ลกั การสาคัญท่ีเป็นรากฐานในการดาเนนิ งานอยู่ 3 ประการด้วยกันคอื
1. ความคิดริเริ่มมาจากประชาชน กิจกรรมทุกกิจกรรมและทุกข้ันตอนจะต้องเกิดจากการคิด ตัดสินใจ

วางแผน และดาเนินการโดยประชาชน นักพัฒนาต้องไม่เป็นผู้กาหนดกิจกรรม แผนงาน หรือโครงการไว้
ล่วงหน้า แต่นักพัฒนามีหน้าท่ีกระตุ้นให้ชาวบ้าน กล้าคิด สามารถค้นหาปัญหาและความต้องการ และ
ตัดสินใจริเร่มิ โครงการต่าง ๆ ไดเ้ อง ซ่ึงการท่นี ักพัฒนาจะทาได้จาเป็นต้องเข้าไปหาประชาชน กระตุ้นยั่วยุโดย
ใช้มาตรการต่าง ๆ (การฝกึ อบรม, ประชมุ กลุม่ อภิปราย กลุ่มสัมพันธ์ การแสดงบทบาท ฯลฯ) ให้ชาวบ้านกล้า
คิดกลา้ แสดงออก โดยนักพัฒนาอาจใหข้ ้อมลู หรอื การช้ีแนะท่จี าเปน็ เพอื่ ประกอบการตัดสนิ ใจของชาวบา้ น

สญั ญา สญั ญาววิ ตั น์ ไดร้ ะบวุ า่ มมี าตรการต่าง ๆ ที่อาจนาไปใช้ได้ในการกระตุ้นให้ประชาชนเกิดความคิด
และตดั สนิ ใจ ได้ ดังต่อไปนี้

1. การให้การศึกษา ทาได้ทง้ั ในระบบ (การจดั การศกึ ษาอยา่ งเป็นทางการ) และนอกระบบ ซ่งึ เกดิ
จากการเรยี นร้จู ากประสบกรณ์

2. การอภิปรายกลุม่ โดยมกี ารรวมกลุ่มกนั ระหวา่ งคนท่ีสนใจ หรอื คนท่ีมผี ลประโยชน์ร่วมกัน โดยนักพัฒนา
ต้องกระตุ้นใหส้ มาชิกในกลุ่มมีการอภิปรายแสดงความคิดเหน็ แลกเปลยี่ นแนวคดิ และประสบการณ์ซ่ึงกันและ
กัน โดยตอ้ งสรา้ งบรรยากาศในการประชุมให้มีความเปน็ มิตร ให้เกียรติและเคารพความเห็นซึ่งกันและกัน การ
ลงมตจิ ะตอ้ งเปน็ ไปโดยไม่มอี ิทธิพลครอบงา และควรให้สมาชกิ ส่วนใหญพ่ อใจ

3. การสาธติ เป็นวิธีท่ีจะแสดงให้เห็นถึงขัน้ ตอน และผลของการปฏิบตั ิ โดยอาจเป็นวิธกี ารใหม่ ๆ ที่ชาวบ้าน
ยังไมร่ ู้จัก หรือรจู้ ักแล้วแตย่ งั ทาไม่ได้ หลักสาคัญในการสาธิตให้เกิดผล ก็คือจะต้องมีทรัพยากรหรือผู้สาธิตท่ีมี
ความรู้ ความชานาญในเร่ืองนั้น ๆ และเรื่องที่สาธิตต้องตรงกับความต้องการ เกิดประโยชน์ และประชาชน
สามารถนาไปปฏิบตั ิได้

4. การประชุม เป็นการเรียกประชุมให้ชาวบ้านมารับทราบข่าวข้อมูล ความรู้หรือเพ่ือปรึกษาหารือ กันใน
การจัดกิจกรรมการพัฒนา

5. การจดั นิทรรศการ เป็นการนาสิง่ ของ กระบวนการ และอุปกรณ์ต่าง ๆ มาแสดงให้ชม เพ่ือให้ผู้ชมได้เห็น
และเกิดความคิดท่ีจะนาไปใช้ประโยชน์ ท้ังน้ีการจัดนิทรรศการท่ีดีนั้น ผู้จัดจะต้องกาหนดวัตถุประสงค์ให้
ชัดเจน ในปัจจุบันการจัดนิทรรศการใหญ่ ๆ ระดับชาติ จะใช้บริษัทเอกชนที่เป็นมืออาชีพเป็นผู้จัด ซ่ึงผลที่ได้
จะเกิดความสวยงาม นา่ ดู เช่น นิทรรศการสนิ ค้า OTOP

6. ทัศนศึกษา เป็นวิธีการที่ใช้มาในปัจจุบัน มีการนาประชาชนกลุ่มหนึ่งไปดูงานยังต่างพ้ืนท่ี ทั้งในประเทศ
และตา่ งประเทศ เพอื่ ให้เกิดความรู้ และความคิด ได้เห็นแบบอย่างทมี่ ีคนทาและประสบความสาเร็จ ซึ่งจะเป็น
แรงกระตุ้นให้นาไปใช้ในการพัฒนาชุมชนของตนเอง ปัจจุบันวิธีนี้เป็นที่แพร่หลาย และนิยมของชาวบ้านมาก
ชาวบ้านกลุ่มต่าง ๆ มีการเดินทางไปดูงานแลกเปลี่ยนความรู้ และประสบการณ์กัน มีการสร้างเครือข่ายการ
ทางานร่วมกัน เช่น เครือข่ายกลุ่มทอผ้าในเขตจังหวัดภาคเหนือ ส่ิงสาคัญท่ีต้องพิจารณาคือ วิธีการท่ีทาแล้ว

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

ประสบความสาเร็จในพ้ืนท่หี นึ่ง อาจใชไ้ ด้หรอื ใชไ้ มไ่ ดก้ ับอีกพืน้ ทห่ี น่ึงก็ได้ ดังน้ันผู้ท่ีจะนาไปใช้จะต้องพิจารณา
และปรับใชใ้ ห้เหมาะสมกบั ชุมชนของตน

7. การรณรงค์ เหมาะสาหรับกิจกรรมที่ต้องการเร่งรัดให้เกิดผลสาเร็จในระยะเวลาอันส้ัน ซ่ึงผู้เกี่ยวข้อง
จะต้องให้ความรู้ โฆษณา ประชาสัมพันธ์อย่างดีในระดับหน่ึงถึงความจาเป็น และลักษณะกิจกรรมน้ันให้
ชาวบ้านรับรู้ รับทราบ เม่ือมีการเร่ิมดาเนินการ ชาวบ้านจะได้ให้ความร่วมมือ การรณรงค์นั้นอาจใช้วิธีเกล้ีย
กล่อม การสรา้ งกระแสนิยมรักชาติ การให้ผู้นาท่มี ีอทิ ธิพลเปน็ ผู้รเิ ร่ิมทาก่อนเป็นตัวอย่าง รวมไปถึงการโฆษณา
ประชาสมั พันธ์ ผ่านสอ่ื ต่าง ๆ เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ เสียงตามสาย ปูายประกาศ ใบปลิว การแสดง
มหรสพ ฯลฯ

2. หลักการให้ประชาชนมีส่วนร่วม การที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในโครงการต่าง ๆ จะก่อให้ เกิด
ความรู้สกึ เป็นเจ้าของ มีความรักผูกพันธ์ต่อโครงการน้ัน ๆ จะช่วยเน้นย้าให้เกิดความรู้สึกว่า โครงการนั้นเป็น
ความรบั ผิดชอบ และเกิดจากน้าพักน้าแรงของพวกเขาเอง ซึ่งในกระบวนการพัฒนาชุมชนน้ัน ประชาชนจะมี
ส่วนร่วมในข้นั ตอนต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี

2.1 มีส่วนร่วมในการคิดค้นหาปัญหาและศึกษาสาเหตุของปัญหา ขั้นตอนนี้ถึงเป็นข้ันตอนแรกท่ีมี
ความสาคัญมาก เพราะบางคร้ังปัญหาต่าง ๆ ของชาวบ้าน เป็นสิ่งที่ชาวบ้านต้องพบสัมผัสอยู่ทุกวันจนเกิด
ความเคยชินไมค่ ิดว่าสิง่ นั้นเปน็ ปัญหา จึงไมก่ ระตือรืนลน้ ท่จี ะหาทางแกป้ ัญหา

2.2 มีสว่ นร่วมในการวางแผนดาเนินกจิ กรรม โดยทว่ั ไปแล้วนักพฒั นาหรอื นกั วชิ าการมกั จะคิดว่าชาวบ้านไม่
มีศักยภาพพอท่ีจะวางแผนดาเนินกิจกรรมด้วยตัวเองได้ ซ่ึงก็อาจมีความเป็นจริงแต่เพียงบางส่วน แต่หาก
นักพัฒนามีความเช่ือม่ันในศักยภาพของความเป็น “คน” ของทุกคนว่ามีศักยภาพที่จะพัฒนาได้ ก็เป็นหน้าท่ี
ของนักพัฒนาที่จะเสริมความรู้ หรือใช้เทคนิคต่าง ๆ เพ่ือหาแนวทางในการจัดระบบความคิดของชาวบ้านให้
สามารถวางแผนได้

2.3 มีส่วนรว่ มในการลงทุนและปฏบิ ัติ คาวา่ ทุนในที่นี้อาจไมไ่ ดห้ มายถึงเฉพาะเงินทุนเท่าน้ันแต่ชาวบ้านยังมี
ทรัพยากรที่อาจหามาได้เอง เช่น ทรัพยากรธรรมชาติ (ทราย หิน ไม้ไผ่ ฯลฯ) หรือวัสดุตามธรรมชาติใน
หมู่บ้าน และรวมถึงแรงงานของชาวบ้านเอง ส่วนในการปฏิบัติน้ันก็เช่นกัน ชาวบ้านสามารถท่ีจะเข้าร่วม
ดาเนินการในกิจกรรมต่าง ๆ ได้ สิ่งเหล่าน้ีจะส่งผลให้เกิดความรู้สึกมีส่วนร่วม เป็นเจ้าของและเห็นคุณค่า
พรอ้ มทจี่ ะดูแลรักษา รวมท้งั การได้เรียนรู้การทางานในกจิ กรรมน้นั ดว้ ย

2.4 มสี ่วนร่วมในการติดตามและประเมินผลงาน ซึ่งเป็นขั้นตอนสุดท้ายที่จาเป็นเพราะ การประเมินผลงาน
จะช่วยให้ทราบถึงข้ันตอนการทางาน ผลสาเร็จและหรือปัญหาอุปสรรคต่าง ๆ ทาให้สามารถปรับเปลี่ยนแผน
ให้เกิดผลงานทด่ี ีท่ีสุด ตอบสนองความตอ้ งการของชมุ ชนอยา่ ถูกจุด

3. หลกั การช่วยตัวเอง การพัฒนาชุมชนน้ันหลักสาคัญท่ีสุด และเป็นเปูาหมายสูงสุดด้วย ก็คือการที่จะให้
ประชาชน มีความเป็นอยู่ท่ีดี สามารถพึ่งตัวเองได้อย่างยั่งยืน อย่างไรก็ตามการส่งเสริมให้ชาวบ้านช่วยตัวเอง
ได้นน้ั กจ็ าตอ้ งคานึงถงึ ข้อจากัดของชาวบ้านเองด้วย โดยเฉพาะข้อจากัดด้านเศรษฐกิจ การดาเนินงานพัฒนา

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

ควรเร่ิมจากโครงการที่ไม่ใหญ่จนเกินกาลังชาวบ้าน ชาวบ้านมีศักยภาพพอที่จะดาเนินโครงการนั้นจนประสบ
ความสาเร็จ อาทิ เช่น พัฒนาตัวเองและครอบครัวก่อน และในบางกรณีรัฐบาลหรือหน่วยงานท่ีรับผิดชอบ
โครงการนั้น อาจต้องให้ความช่วยเหลือสนับสนุนด้านงบประมาณลงทุนประเดิมให้ก่อน เช่น การสนับสนุน
พันธว์ วั ต้นกลา้ ผลไม้ และเม่ือชาวบ้านดาเนินโครงการประสบความสาเร็จก็ชดชดใชท้ นุ คนื

ปจั จยั แวดล้อมทมี่ อี ิทธิพลต่อการพัฒนาชุมชน
การพัฒนาทีจ่ ะประสบความสาเร็จได้ จาต้องอาศยั สภาพแวดลอ้ มท่ีเอ้ือต่อการพัฒนา อนั ได้แก่
1. ลักษณะทางกายภาพ ได้แก่ สภาพแวดล้อมดา้ นวัตถุ อันได้แก่ สงิ่ ก่อสร้างพน้ื ฐาน : ถนน สะพานคลองส่ง

น้า และสภาพแวดล้อมตามธรรมชาติ เช่น ลักษณะภูมิประเทศ อันได้แก่ สภาพดิน แหล่งต้นน้าลาธาร
อุณหภูมิ สิ่งเหล่านี้จะต้องส่งเสริมและเอ้ือให้การพัฒนาประสบความสาเร็จ เช่น พื้นที่อุดม มีภูมิอากาศ
เหมาะสมกับการปลูกพืช มีระบบการชลประทาน และแหล่งน้าหล่อเล้ียงให้พืชเจริญเติบโต มีถนนลาเลียง
ขนส่งผลผลติ และสนิ คา้ ออกสตู่ ลาด

2. ลักษณะทางเศรษฐกิจ หมายถึงภาวะการถือครองที่ดิน ระบบการขาย-ซ้ือผลผลิต ระบบราคา, ภาวะ
หน้ีสิน ระบบการกู้ยืมและแหล่งสินเช้ือ ความยากจนของประชาชนในพื้นท่ี จะส่งผลต่อการลงทุนในการผลิต
และนาไปส่ภู าวะการสูญเสียกรรมสิทธท์ิ ่ดี นิ ซงึ่ เป็นผลให้เกิดความรสู้ กึ ผูกพนั ต่อการพัฒนา

3. สภาพแวดล้อมทางการเมือง ได้แก่นโยบายการพัฒนาของรัฐบาล ซ่ึงอาจแตกต่างกันไปตามยุคสมัย เช่น
สมัย พณ.จอมพลสฤษด์ิ ธนะรชั ต์ เนน้ การพัฒนารากฐานของการพัฒนาประเทศ มีการลงทุนในสาธารณูปโภค
สาธารณูปการ สร้างถนนสายสาคัญ สร้างเข่ือนก้ันน้า โรงไฟฟูา ฯลฯ ส่วนในยุคของ พณ. พลเอกชาติชาย
ชุณหวัณ ก็เน้นด้านเศรษฐกิจ “แปรสนามรบให้เป็นสนามค้า” สมัย พณ. พลเอก ชวลิต ยงใจยุทธ เน้นความ
สงบร่มเย็นจากปัญหาผู้ก่อการร้าย “ใต้ร่มเย็น-อีสานเขียว” สมัย พณ. นายชวน หลีกภัย เน้นการจัดที่ดินทา
กินและสมยั พต.ท. ดร.ทกั ษิณ ชินวตั ร “เน้นการฟื้นฟูเศรษฐกิจ” เป็นตน้

4. สภาพแวดล้อมทางสังคมอันเป็นเรื่องท่ีเก่ียวกับความเชื่อ ค่านิยมของคนในสังคม ความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคล การรวมกลุ่ม และอิทธิพลของกลุ่ม ซึ่งมีผลต่อการดาเนินชีวิต พฤติกรรมและความสัมพันธ์ของคนใน
ชมุ ชน

5. สภาพแวดล้อมทางเทคโนโลยี เป็นสิ่งท่ีเกิดจากการสร้างสรรค์ปรุงแต่งของมนุษย์ ท่ีจะนามาใช้ในการ
พัฒนาความเป็นอยู่ของประชาชนให้มีความสะดวกสบายขึ้น สิ่งสาคัญคือต้องเลือก และนาเทคโนโลยีท่ี
เหมาะสม (Appropriate technology) ไปใช้ โดยไม่ให้เกิดผลเสียต่อส่ิงแวดล้อม ประชาชน และ
ความสัมพันธ์ระหว่างประชาชน ซ่ึงในสังคมไทยเรามีเทคโนโลยีเหมาะสมมากมาย อันได้แก่ “ภูมิปัญญา
ชาวบ้าน” ที่นักพัฒนาจะต้องรู้จักนามาใช้และผสมผสานกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
สภาพแวดล้อมท่ีควรเป็น การพัฒนาต้องคานึงถึงการพัฒนาที่สอดคล้องกับสภาพความ เราอาจเปรียบภูมิ
ปัญญาชาวบ้านเสมือน ต้นไม้ผลท้องถ่ินที่มีรากแก้ว มีความทนทานต่อสภาพสิ่งแวดล้อม ส่วนเทคโนโล ยี
สมัยใหม่ เปรยี บได้เสมือน กิง่ ตอนช้ันดี ท่ีเอาเข้าไปติดตาทาบก่งิ เพ่อื ให้ออกดอกออกผลทด่ี ี

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

6. สภาพแวดล้อมที่ควรเป็น การพัฒนาต้องคานึงถึงการพัฒนาที่สอดคล้องกับสภาพที่เป็นจริงและเกิด
ประโยชน์แก่ประชาชนในชุมชนน้ันเป็นส่วนใหญ่ อันเกิดจากการผสมผสานระหว่างสภาพแวดล้อมท้ัง 5 ข้อท่ี
กล่าวมาแล้ว ในขณะท่ีประชาชนมีคุณภาพชีวิตท่ีดี สังคมและสิ่งแวดล้อมก็ต้องไม่เส่ือมโทรม ประชาชน
สามารถพึง่ ตนเองไดใ้ นทีส่ ุด

แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ประเทศไทยได้ประกาศใช้แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม ฉบับแรกตั้งแต่ปี 2504 โดยอยู่ในสมัยของ

พณ. นายกรัฐมนตรีจอมพล สฤิษดิ์ ธนะรัชต์ จนถึงปี พ.ศ. 2547 ประเทศไทยได้ประกาศใช้แผนพัฒนาการ
เศรษฐกิจและสังคม มาแล้ว 9 ฉบบั ด้วยกนั โดยในแผนฯ แต่ละฉบับ มจี ดุ เน้นพอสรุปได้ดังนี้

แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
ฉบับที่ 1 (พ.ศ. 2504 – 2509) เป็นแผน ฯ ฉบับแรกและฉบับเดียวที่มีระยะเวลาของแผน 6 ปี

จุดเนน้ ของแผน ฯ น้ีคอื การปูพน้ื ฐานเพ่อื การเรง่ รัดพฒั นาประเทศดา้ นเศรษฐกจิ โดยเน้นลงทุนด้านโครงสร้าง
พนื้ ฐาน (Infrastructure Facilities) อนั ไดแ้ กก่ ารแรง่ รดั สรา้ งระบบชลประทาน พลังงาน ถนน ทางรถไฟ และ
การคมนาคมอื่น ๆ รวมทั้งโครงการบริการต่าง ๆ (Services Project) เช่น โครงการวิจัยทดลองด้านเกษตร
อตุ สาหกรรม และโครงการพฒั นาการศึกษาสาธารณสขุ

แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 2 (พ.ศ. 2510 – 2514) เน้นการพัฒนาสังคม ยกระดับมาตรฐานการครองชีพ ขยายพลังการ

ผลิต รักษาเสถยี รภาพทางเศรษฐกิจของประเทศ กระจายการพฒั นา และเรง่ รดั การพัฒนาสชู่ นบท

แผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสังคม
ฉบับที่ 3 (พ.ศ. 2515 – 2519) ยังมีจุดเน้นด้านการกระจายความเจริญสู่ชนบท พยายามลดช่องว่าง

คนรวยกับคนจน ขยายการผลิตและรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ เน้นให้เอกชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
พฒั นาประเทศ และใหค้ วามสาคญั กับการวางแผนครอบครัว และการมงี านทาเปน็ คร้งั แรก

แผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ
ฉบับที่ 4 (พ.ศ. 2520 – 2524) มีการกระจายการพัฒนาในรูปแบบภาค และภูมิภาคเพ่ือการเพิ่ม

ผลผลิตทางการเกษตร ปรบั ปรุงโครงสรา้ งอุตสาหกรรม มีโครงการผันเงิน อาสาพัฒนาชนบท การสร้างงานใน
ชนบท(กสช) โดยมีการเนน้ การอนรุ กั ษแ์ ละฟ้ืนฟทู รัพยากรธรรมชาตทิ สี่ ูญเสียไป

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

แผนพฒั นาการเศรษฐกจิ และสงั คม
ฉบับท่ี 5 (พ.ศ. 2525 – 2529) เป็นแผนท่ีมีการกาหนดการดาเนินงานในเชิงรับ และเชิงรุก เน้นการ

แก้ปัญหาความยากจน โดยการกาหนดพน้ื ทีต่ ามระดบั ความยากจน มีพ้นื ที่เปาู หมาย ชนบทยากจนทั่วประเทศ
286 อาเภอ และรกั ษาวินัยทางการเงิน การคลงั แกป้ ัญหาการขาดดุลการค้า

แผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแห่งชาติ
ฉบับที่ 6 (พ.ศ. 2530 – 2534) เป็นแผนที่เน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมให้เอกชนเข้ามามี

บทบาทในการพฒั นามากข้นึ เนน้ ให้มกี ารกระจายความเจรญิ สภู่ มู ภิ าคและชนบทมากข้ึน

แผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสงั คมแหง่ ชาติ
ฉบับท่ี 7 (พ.ศ. 2535 – 2539) มุ่งเน้นการสร้างความสมดุลทางเศรษฐกิจ การกระจายรายได้ การ

พฒั นาทรัพยากรมนุษย์ และการพัฒนาคณุ ภาพส่งิ แวดล้อมควบค่กู ันไป

แผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสงั คมแหง่ ชาติ
ฉบับท่ี 8 (พ.ศ. 2540 – 2544) ในแผนนี้ กาหนดให้ คนเป็นจุดหมายหลักของการพัฒนา เน้นเร่ือง

การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Development) เน้นการวางแผนพัฒนาแบบองค์รวม หรือ
บูรณาการระหว่างเศรษฐกิจกบั สังคมเข้าด้วยกนั มงุ่ เนน้ ความเปน็ ไทย และสามารถแขง่ ขันในเวทีโลกได้

แผนพัฒนาการเศรษฐกจิ และสังคมแห่งชาติ
ฉบับท่ี 9 (พ.ศ. 2544 – 2549) เป็นแผนที่มีปรัชญาการพัฒนาบิรหารประเทศตามกระแส

พระราชดารขิ องพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยูห่ ัว เรื่อง เศรษฐกิจแบบพอเพียง มุ่งเน้นการพัฒนาท่ียั่งยืนด้วยการ
วางรากฐานการพัฒนาประเทศให้เข้มแข็งยั่งยืน มีภูมิคุ้มกันทางเศรษฐกิจที่สามารถพ่ึงตนเองได้ รวมทั้งความ
เขม้ แข็งของชมุ ชนและเครือข่ายชุมชนให้เกิดการเชื่อมโยงการพัฒนาทั้งชนบทและเมืองอย่างย่ังยืน มีการดูแล
จัดการทรัพยากร สิ่งแวดล้อม ควบคู่ไปกับการพัฒนาวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับสังคมไทย
เปูาหมายสาคัญของแผนฯ ฉบับนี้คือ การสร้างดุลภาพทางเศรษฐกิจ การยกระดับคุณภาพชีวิต การบริหาร
จัดการระบบราชการทั้งส่วนกลาง ภูมิภาค และท้องถ่ินที่ดี กระจายอานาจให้เกิดการบริหารท่ีโปร่งใส
ตรวจสอบได้ และเน้นการปราบปรามการทุจริตประพฤติมิชอบให้เกิดผล มีการดาเนินการทางเศรษฐกิจท่ีเอ้ือ
อาทรต่อคนจน เปิดโอกาสและสร้างศักยภาพในการพัฒนาให้คนจนมีความเข้มแข็ง มีภูมิคุ้มกัน สามารถ
พึ่งตนเองได้ สามารถลดอัตราคนจนให้เหลือไม่เกินร้อยละ 12 ของประชากรทั้งประเทศ ในปี พ.ศ. 2549 ซ่ึง
เปน็ ปีส้ินสุดแผน

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

บทท่ี 3
วิธีการดาเนนิ การ

ในการดาเนนิ งานจัดโครงการหน้าบา้ นสวย หลงั บา้ นสวน ในเรือนงาม กศน.ตาบลนาดี มีรายละเอยี ด
ดงั ตอ่ ไปน้ี

ขัน้ ตอนการวางแผน (plan)
ขั้นตอนการลงมือทา (Do)
ขั้นตอนการตรวจสอบ (Check)
ข้ันตอนการปรับปรงุ แก้ไข (Act)

ข้นั ตอนการวางแผน (plan)
1. ดาเนินการประชาคมกลมุ่ ผสู้ นใจเขา้ รว่ มโครงการ
2. ได้กลุ่มเปูาหมาย
3. เตรยี มหลกั สูตร เสนอโครงการเพอ่ื ขออนุมตั ิ
4. แตง่ ตงั้ คณะทางานภายในตาบล คณะกรรมการนเิ ทศกิจกรรม
5. ประสานวทิ ยากร

ข้ันตอนการลงมือทา (Do)
1. ดาเนินการประสานงานผูท้ ่เี กย่ี วข้อง
ครู กศน.ตาบล ครู ศรช. ผนู้ าชุมชน คณะกรรมการหมู่บา้ นและชาวบา้ นจัดเตรยี ม

สถานท่ี
2. นาประชาชนทส่ี นใจมาเขา้ ร่วมกิจกรรม
3. ประเมินผลโครงการโดยให้ผู้เขา้ ร่วมโครงการออกแบบประเมนิ ความพึงพอใจในการเขา้ ร่วม

โครงการ
4. รวบรวมขอ้ มูลจากแบบประเมนิ
5. สรุปผลความพงึ พอใจของผเู้ ข้ารว่ มโครงการ

ข้นั ตอนการตรวจสอบ (Check)
1.เครื่องมอื ท่ใี ช้ในการตรวจสอบ
แบบประเมินความพงึ พอใจของผู้เข้ารว่ มโครงการ
2. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
กศน.ตาบลดงมะไฟ ได้ดาเนินการเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากผู้เข้าร่วมโครงการ
- ประชาชนกลุ่มเปาู หมาย จานวน 36 คน

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

3. การวเิ คราะหข์ ้อมูล การประเมนิ ผลการดาเนินงานของโครงการหนา้ บา้ นสวย หลงั บ้านสวน ใน
เรอื นงาม กศน.ตาบลนาดี ดาเนินการวเิ คราะหข์ ้อมลู ดงั นี้

3.1 แบบประเมินตอนที่ 1 ข้อมูลทวั่ ไป วเิ คราะห์หาค่าร้อยละ
3.2 แบบประเมินตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจตวั บ่งชข้ี องโครงการ

3.2.1 ให้คะแนนตามนา้ หนักแบบประเมนิ ฉบบั สมบรู ณ์ ตามเกณฑ์ มาตรฐานของ
สมศ. โดยมเี กณฑ์ใหค้ ะแนน ดังนี้

ระดบั 5 หมายถึง ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑข์ องตัวบ่งชดี้ ีมาก
ระดบั 4 หมายถงึ ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑข์ องตวั บ่งช้ดี ี
ระดับ 3 หมายถงึ ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑ์ของตัวบง่ ชพ้ี อใช้
ระดับ 2 หมายถึง ดาเนนิ งานได้ตามเกณฑข์ องตัวบง่ ชป้ี รับปรุง
ระดับ 1 หมายถึง ดาเนนิ งานไดต้ ามเกณฑ์ของตัวบง่ ชี้ต้องปรับปรุง
1.2.2 วิเคราะหข์ ้อมูลโดยการหาค่าเฉลย่ี ร้อยละความพงึ พอใจ
1.3 แบบประเมินตอนท่ี 3 ข้อคิดเหน็ และข้อเสนอแนะอืน่ ๆ วเิ คราะหด์ ว้ ยเนื้อหา
(Content analysis)

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

บทท่ี 4
ผลการดาเนนิ งาน

การจัดกจิ กรรมโครงการหนา้ บ้านสวย หลังบ้านสวน ในเรือนงาม ณ ศาลาประชาคมบา้ นราษฎร์

เกษมศรี หมู่ 7 ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคหู า จังหวัดหนองบัวลาภู

สรปุ ผลการดาเนนิ งานได้ดังน้ี

ชอื่ โครงการ วันท่ีดาเนนิ การ เปาู ทีไ่ ด้รบั จดั สรร ผล คิดเป็นร้อยละ

โครงการการหนา้ 16-17 ธนั วาคม 32 36 100

บ้านสวย หลงั บา้ น 2564

สวน ในเรือนงาม

การประเมินความพึงพอใจในการดาเนินงานตามโครงการหน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน ในเรือนงาม
กศน.ตาบลนาดี ของผู้รับบริการที่เข้าร่วมโครงการ โดยเสนอรายละเอียดตามลาดับคือ สัญลักษณ์ที่ใช้ใน
การวิเคราะห์ข้อมูล ลาดับข้ันตอนในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิเคราะห์ข้อมูล และการแปลความหมาย
ขอ้ มูลดังตอ่ ไปนี้

สัญลกั ษณท์ ่ีใช้ในการวเิ คราะหข์ อ้ มูล
การเสนอผลการประเมนิ คร้งั น้ไี ดก้ าหนดสญั ลักษณ์ทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ข้อมูล ดังน้ี
N แทน ขนาดของกลมุ่ ผปู้ ระเมนิ การใช้ค่มู ือ (Sample size)
% แทน ค่าร้อยละ (Percentage)

ลาดับข้ันตอนในการวิเคราะห์ข้อมลู
การวิเคราะห์ขอ้ มูล ผ้ปู ระเมินไดเ้ สนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลเปน็ ตอนๆ เรยี งลาดบั ดังน้ี
ตอนท่ี 1 การวิเคราะห์ข้อมูลเกีย่ วกับข้อมลู ท่วั ไป
ตอนท่ี 2 การวเิ คราะหข์ ้อมูลดา้ นความพึงพอใจของผู้รบั บรกิ าร
ตอนท่ี 3 การวิเคราะห์ข้อมูล ขอ้ คดิ เห็นและข้อเสนอแนะอ่นื ๆ

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

ในการสรุปผลการดาเนินงานโครงการหนา้ บ้านสวย หลังบา้ นสวน ในเรือนงาม ณ ศาลาประชาคม
บ้านราษฎร์เกษมศรี ม.7 ตาบลนาดี อาเภอสุวรรณคุหา จังหวัดหนองบัวลาภู ได้จัดทาเครื่องมือเป็น
แบบสอบถาม วัดระดับความคิดเห็นและความพึงพอใจในการดาเนินการพัฒนาซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ
ส่วนแรกเป็นคาถามปลายเปิด มาตราส่วนประมาณค่า (Rating scales) ส่วนที่ 2 มาตราส่วนประมาณ
ค่าของ ลิเคิร์ท likert’s Scales 5 ระดับ ส่วนที่สามเป็นคาถามปลายเปิด ข้อเสนอแนะอื่นๆ ส่วนที่สาม
เป็นคาถามปลายเปิดเน้ือหาสาระที่ต้องการพัฒนาในคร้ังต่อไป ซึ่งในการเก็บรวบรวมนั้น ได้แจก
แบบสอบถามแก่ผู้เข้าร่วมโครงการหน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน ในเรือนงาม จานวน 36 คน ได้
แบบสอบถามคืนจานวน 36 ฉบบั จากผู้เข้าร่วมโครงการ คิดเป็นร้อยละ 100 กระทาการวิเคราะห์ข้อมูล
ตามประเภทและลักษณะของข้อมูล โดยหาค่าเฉลี่ยเป็นค่าร้อยละ ซ่ึงได้วัดระดับความคิดเห็นและความพึง
พอใจทม่ี ีต่อโครงการจะปรากฏดงั น้ี

สรุปผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ความพึงพอใจ โครงการการบริหารจัดการขยะเพ่ือส่ิงแวดล้อมในชุมชน

ตอนท่ี 1 ข้อมูลทวั่ ไป

รายการข้อมลู พ้ืนฐาน จานวน รอ้ ยละ
(ƒ) (%)

1.เพศ

1.1 ชาย 14 38.89

1.2 หญงิ 22 61.11

รวม 36 100.00

2.อายุ

2.1 ต่ากวา่ 15 ปี 00

2.2 อายุ 15 – 39 ปี 00

2.3 อายุ 40 – 59 ปี 23 63.89

2.4 อายุ 60 ปีขึน้ ไป 13 36.11

รวม 36 100.00
3.ระดับการศกึ ษา
17 47.22
3.1 ป.4 8 22.22
3.2 ป.6 4 16.12
3.3 ม.ต้น 7 14.44
3.4 ม.ปลาย 00
3.5 ปวช. 00
3.6 ปวส.
กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

3.7 ปริญญาตรี 00
3.8 อนื่ ๆ 00
รวม 36 100.00
4.อาชพี
4.1 ผู้นาท้องถิน่ 00
4.2 อบต/เทศบาล 00
4.3 พนักงานรัฐวิสาหกจิ 00
4.4 ทหารกองประจาการ 00
4.5 เกษตรกร 36 100
4.6 รับราชการ 00
4.7 ค้าขาย 00
4.8 รับจ้าง 00
4.9 อสม. 00
4.10 แรงงานต่างดา้ ว 00
4.11 ว่างงาน 00
4.12 อ่นื ๆ 00
รวม 36 100.00

จากตาราง ผลการวิเคราะห์ข้อมูลความพึงพอใจของผู้เข้าร่วมโครงการหน้าบ้านสวย หลังบ้านสวน
ในเรือนงาม ผลการวิเคราะห์ปรากฏว่า ผู้เข้าร่วมโครงการ 36 คน เป็นเพศหญิง จานวน 22 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 61.11 เพศชายจานวน 14 คน คิดเป็นร้อยละ 38.89 ดา้ นอายุ อายุ 40-59 ปี จานวน 23 คน
คิดเป็นร้อยละ 63.89 อายุ 60 ปี ข้ึนไป จานวน 13 คน คิดเป็นร้อยละ 36.61 ตามลาดับ ระดับ
การศึกษา ป.4 จานวน 17 คน คิดเป็นร้อยละ 47.22 ป.6 จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 22.22 ม.
ปลาย จานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 14.44 และม.ต้น จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 16.12 ตามลาดับ
ดา้ นอาชพี เกษตรกร จานวน 36 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

สรุปผลการวเิ คราะหข์ ้อมูลความพงึ พอใจ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หลกั สตู รหน้าบ้านสวน หลังบ้าน
สวน ในเรอื นงาม
ตอนท่ี 2 ความพงึ พอใจในการให้บรกิ าร
ตารางที่ 2.1 จุดมุ่งหมาย/เน้อื หาหลักสูตร

ระดับความพงึ พอใจ/จานวน หมาย

ขอ้ รายการประเมนิ ความพงึ พอใจ มาก มาก ปาน นอ้ ย นอ้ ย เหตุ

ท่ีสดุ กลาง ทสี่ ดุ

ตอนที่ ๑ ความพงึ พอใจดา้ นเนื้อหา

1 เนอ้ื หาตรงตามความต้องการ 34 2

94.44 5.56

2 เนื้อหาเพยี งพอต่อความต้องการ 36

100

3 เน้ือหาปัจจบุ ันทันสมัย 35 1

97.22 2.78

4 เน้อื หามีประโยชน์ต่อการนาไปใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพ 36

ชวี ติ 100

ตอนที่ ๒ ความพึงพอใจดา้ นกระบวนการจดั กจิ กรรมการอบรม

5 การเตรยี มความพร้อมก่อนอบรม 35 1

97.22 2.78

6 การออกแบบกจิ กรรมเหมาะสมกบั วตั ถปุ ระสงค์ 33 3

91.67 8.33

7 การจัดกิจกรรมเหมาะสมกับเวลา 36

100

8 การจดั กิจกรรมเหมาะสมกับกลมุ่ เปาู หมาย 36

100

9 วิธีการวดั ผล/ประเมินผลเหมาะสมกับวตั ถปุ ระสงค์ 34 2

94.44 5.56

ตอนท่ี ๓ ความพึงพอใจตอ่ วิทยากร

10 วทิ ยากรมคี วามรู้ความสามารถในเร่ืองท่ีถา่ ยทอด 36

100

11 วทิ ยากรมีเทคนคิ การถ่ายทอดใช้สื่อเหมาะสม 34 2

94.44 5.56

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

12 วิทยากรเปิดโอกาสให้มีสว่ นรว่ มและซกั ถาม 36
100
ตอนที่ ๔ ความพึงพอใจดา้ นการอานวยความสะดวก
13 สถานท่ี วัสดุ อุปกรณ์และสงิ่ อานวยความสะดวก 36
100
14 การสือ่ สาร การสร้างบรรยากาศเพื่อใหเ้ กดิ การเรียนรู้ 36
100
15 การบริการ การช่วยเหลือและการแก้ปัญหา 34 2
94.44 5.56

สรปุ ความคดิ เห็นและความพึงพอใจของผ้รู ับบริการ โครงการพัฒนาสังคมและชุมชน หลกั สูตรหน้า
บ้านสวย หลงั บา้ นสวน ในเรือนงาม สรุปได้ดังนี้

ตอนท่ี 1 ความพึงพอใจด้านเนอ้ื หา
ผู้ตอบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านเน้ือหา ดังนี้ เน้อื หามปี ระโยชนต์ ่อการนาไปใช้ในการพัฒนา

คณุ ภาพชีวิต ตอบมากทีส่ ดุ ร้อยละ 100 เน้อื หามีความเพียงพอต่อความต้องการ ตอบมากทส่ี ุดร้อยละ 100
เนอื้ หาปัจจุบันทันสมยั ตอบมากท่ีสดุ ร้อยละ 97.22 ตอบมากรอ้ ยละ 2.78 .เนือ้ หาตรงตามความต้องการ
ตอบมากที่สุดร้อย 94.44 และตอบมากร้อยละ 5.56 ตามลาดบั
ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจด้านการจดั กิจกรรมการอบรม

ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจดา้ นการจัดกจิ กรรมเหมาะสมกับกลุ่มเปาู หมาย ตอบมากท่ีสดุ
ร้อยละ 100 จัดกจิ กรรมเหมาะสมกบั เวลา ตอบมากท่สี ดุ ร้อยละ 100 การเตรยี มความพร้อมก่อนการ
อบรม ตอบมากทสี่ ดุ รอ้ ยละ 97.22 ตอบมากร้อยละ 2.78 และ วธิ กี ารวัดผล ประเมินผลเหมาะสมกบั
วตั ถปุ ระสงค์ ตอบมากทส่ี ุดร้อยละ 94.44 ตอบมากร้อยละ 5.56 และการออกแบบกิจกรรมเหมาะสมกบั
วัตถุประสงค์ ตอบมากท่ีสุดร้อยละ 91.67 ตอบมากรอ้ ยละ 8.33 ตามลาดบั
ตอนท่ี 3 ความพงึ พอใจต่อวิทยากร

ผตู้ อบแบบสอบถามมคี วามพึงพอใจดา้ นวทิ ยากรมีความรู้ความสามารถในเรื่องท่ีถา่ ยทอด ตอบมาก
ท่สี ุดรอ้ ยละ 100 วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีส่วนรว่ มและซกั ถาม ตอบมากทส่ี ุดร้อยละ 100 วทิ ยากรมี
เทคนิคการถา่ ยทอดใชส้ ื่อทเ่ี หมาะสม ตอบมากทส่ี ุดร้อยละ 94.44 และตอบมากร้อยละ 5.56 ตามลาดับ
ตอนท่ี 4 ความพงึ พอใจดา้ นการอานวยความสะดวก

ผตู้ อบแบบสอบถามมีความพึงพอใจด้านสถานที่ วสั ดุ อปุ กรณแ์ ละสิ่งอานวยความสะดวก ด้าน
การสือ่ สาร การสรา้ งบรรยากาศเพอื่ ให้เกดิ การเรียนรู้ ตอบมากทส่ี ุดร้อยละ 100และด้านการบริการ การ
ชว่ ยเหลือและการแก้ปัญหา ตอบมากท่สี ดุ ร้อยละ 94.44 ตอบมากรอ้ ยละ 5.56

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

บทท่ี 5
สรปุ ผลและขอ้ เสนอแนะ

การดาเนินงานโครงการพฒั นาสงั คมและชุมชน หลกั สูตรหน้าบา้ นสวย หลงั บา้ นสวน ในเรอื นงาม
สรปุ ผลการดาเนินงานไดด้ ังนี้

1.เพอื่ เป็นการเสริมสรา้ งกระบวนการเรยี นรู้ และพฒั นาสังคมและชุมชนให้มคี วามเข้มแขง็ สามารถ
พ่ึงพาตนเองได้

2.เพ่ือเปน็ การค้นหาปัญหา และกาหนดแนวทางในการแก้ปัญหารว่ มกนั ในชมุ ชนตามวถิ ีความ
พอเพยี ง

3.เพื่อสร้างจติ สานึกความเปน็ ประชาธิปไตย ความเปน็ พลเมืองดเี ศรษฐกจิ ชุมชน และการอนรุ ักษ์
พฒั นาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม

เปา้ หมาย
เชิงประมาณ

ประชาชนตาบลนาดี จานวน 36 คน

เชิงคณุ ภาพ
ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการฯ ร้อยละ 80 ของกลุ่มเปูาหมาย มีความรู้ทักษะด้านต่างๆท่ีผู้เข้าร่วม

กจิ กรรมสามารถนาความรู้ทีไ่ ด้รับมาใช้ให้เกดิ ประโยชน์ต่อตนเองและสังคมนาไปใช้ในชีวิตประจาวันเพ่ือแก้ไข
ปญั หาของตนเองและทอ้ งถิ่น

ผลการดาเนินโครงการ

ประชาชนตาบลนาดี ท่เี ขา้ รว่ มโครงการหนา้ บา้ นสวย หลงั บ้านสวน ในเรอื นงาม มคี วามพอใจใน
การจดั กจิ กรรมในระดบั ดขี ้นึ ไป รอ้ ยละ 100 และประชาชนที่เข้าร่วมกจิ กรรมสามารถนาความรู้ทไ่ี ด้ไปใช้ใน
ชีวติ ประจาวนั

ปญั หา-อปุ สรรค
-

แนวทางแก้ไขปัญหา

ข้อเสนอแนะ
ประชาชนทเี่ ข้าร่วมโครงการสามารถนาความรทู้ ีไ่ ด้ไปใชใ้ นชีวติ ประจาวนั ได้

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

ภาคผนวก

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

ภาพประกอบกิจกรรมกิจกรรมการศกึ ษาเพื่อพฒั นาสงั คมและชุมชน

โครงการหนา้ บา้ นสวย หลังบา้ นสวน ในเรอื นงาม
ดาเนนิ การระหว่างวนั ท่ี 16-17 ธนั วาคม พ.ศ. 2564
ณ ศาลาประชาคมบา้ นราษฎรเ์ กษมศรี ม.7 ตาบลนาดี อาเภอสวุ รรณคูหา

ลงทะเบยี นผู้เข้าร่วมโครการฯ

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

นายฤาชัย สาจันทร์ นายกเทศบาลตาบลนาดี ให้เกียรติมาเปน็ ประธานเปดิ โครงการฯ

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

.

วทิ ยากรให้ความรู้

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

วทิ ยากรให้ความรู้เร่อื ง การดแู ลหน้าบ้านใหส้ วยงาม

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนินโครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

ใหช้ าวบา้ นนายางรถยนต์ท่ีไม่ไดใ้ ชแ้ ล้วมาทากระถาง เพอื่ ไปปลกู พืชผกั ต่างๆ

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม
กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม

คณะทางาน

ทีป่ รึกษา รกั ษาการในตาแหนง่ ผอู้ านวยการ กศน.อาเภอสวุ รรณคหู า
1. นายวนิ ยั แสงใส ครูผชู้ ่วย
2. นางสาวพชิ ชาพิมพ์ เพ็ชรเวียง ครผู ู้ชว่ ย
3. นางสาวอารยา วชิ าสวัสด์ิ ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
4. นายอภชิ าติ สุทธโิ สม ครอู าสาสมัครการศึกษานอกโรงเรยี น
5. นางสวุ รรณา สทุ ธโิ สม ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
6. นายวชรพล เพยี เทพ
ครู กศน.ตาบล
คณะทางาน ครู กศน.ตาบล
1. นางฐติ พิ รรณ ใหม่วงษ์ ครูศูนย์การเรียนชุมชน
2. นางสาววงคเ์ ดือน พันธล์ ี
3. นางสาวจุฑามาศ ดูป่ อู ง ครู กศน.ตาบล

ผจู้ ดั พิมพ์/ออกแบบปก
นางสาววงคเ์ ดือน พันธล์ ี

กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า

สรุปผลการดาเนนิ โครงการพฒั นาสงั คมและชมุ ชน หน้าบ้านสวย หลงั บ้านสวน ในเรือนงาม
กศน.ตาบลนาดา่ น ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั อาเภอสวุ รรณคหู า


Click to View FlipBook Version