คู่มือการปฏิบัติงาน
สำหรับพนักงาน
2565
บริษัท สำนักกฎหมายประชาชน จำกัด
บทนำ
บริษัท สำนักกฎหมายประชาชน จำกัด ได้จัดทำคู่มือการปฏิบัติงานเบื้องต้นสำหรับพนักงานโดย
มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติงานสำหรับการเป็นพนักงานติดตามทวงถามหนี้ของบริษัทฯ อีกทั้ง
จำเป็นต้องมีความเข้าใจในการปฏิบัติตามหน้าที่ความรับผิดชอบของตนเอง ซึ่งจะนำมาสู่ประสิทธิภาพในการ
ทำงานที่ส่งผลใหอ้ งคก์ รบรรลุเป้าหมายสูงสุด
คู่มือการปฏิบัติงานเบื้องต้นสำหรับพนักงานของบริษัท สำนักกฎหมาย จำกัด นั้นถือว่าเป็น
เอกสารที่พนักงานทุกคนต้องรับทราบ เข้าใจและปฏิบัติตามระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ซึ่งคู่มือฉบับนี้
อาจจะมีส่วนท่ีเปลีย่ นแปลงแก้ไขหรือเพิ่มเตมิ ตามความเหมาะสม ซึ่งบริษัทฯ จะแจ้งให้พนักงานทราบลว่ งหน้าบน
บอรด์ ประกาศระเบยี บต่าง ๆ และให้ยดึ ถอื เป็นสว่ นหนึง่ ของระเบียบข้อบงั คับการทำงานนีด้ ว้ ย
สารบัญ หนา้
เรื่อง 1
1
ประวัตคิ วามเปน็ มาของบรษิ ัท 2
วิสยั ทศั นข์ องบรษิ ทั 2
ความหมายของผูต้ ดิ ตามทวงถามหนี้ 3
คุณสมบัตขิ องผตู้ ิดตามทวงถามหน้ี 5
พรบ.การทวงถามหนี้ พ.ศ. 2558
แผนภมู ิโครงสร้างของบริษทั 8
ขั้นตอนการปฏิบตั งิ านในฐานะพนักงานตดิ ตามทวงถามหนี้ 9
10
- การจัดการเม่อื ไดร้ ับงานใหม่ 11
- การแบง่ กลมุ่ ลูกหนต้ี าม CODE ในโปรแกรม 12
- หลักของการเจรจาหนี้ 6 ประการ
- เทคนคิ ในการเจรจาใหเ้ กดิ ฐานลกู ค้า 14
- ตวั อย่างบทสนทนา 14
ระเบียบขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั สำนักกฎหมายประชาชน จำกัด 15
- ประเภทของพนักงาน 15
- วนั และเวลาทำงาน 16
- การแต่งกายและเครื่องแบบ
- วันหยุดและหลกั เกณฑก์ ารหยดุ
- วันลาและหลกั เกณฑ์การลา
สารบญั (ตอ่ )
เรือ่ ง หนา้
- หลกั เกณฑก์ ารทำงานลว่ งหน้าและการทำงานในวนั หยดุ 19
- วนั และสถานทจ่ี ่ายค่าจ้าง ค่าล่วงเวลา คา่ ทำงานในวนั หยุดและคา่ ลว่ งเวลาในวันหยุด 19
- วนิ ัยและโทษทางวนิ ยั 20
- การร้องทกุ ข์ 22
- การเลิกจา้ ง ค่าชดเชยและค่าชดเชยพเิ ศษ 24
- เบด็ เตล็ด 26
1
ประวตั คิ วามเป็นมา
บริษัท สำนักกฎหมาย จำกัด เริ่มก่อต้ังเม่ือกลางปีพ.ศ. 2536 (1993) ในนาม “สำนักกฎหมาย
ประชาชน” ต่อมาได้มีการจดทะเบียนเป็นนิติบุคคลประเภท “บริษัทจำกัด” ตามประมวลกฎหมายแพ่งและ
พาณิชย์เมื่อวันท่ี 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2538 เป็น “บริษัท สำนักกฎหมายประชาชน จำกัด (Prachachon Law
Office)” ต้ังอยเู่ ลขที่ 1/106-112 หมู่ 1 ต.บางศรเี มือง อ.เมือง จ.นนทบรุ ี 11000 โทร 02-4237000
บริษัท สำนักกฎหมาย จำกัด เป็นบริษัทเอกชนที่ติดตามทวงถามหน้ีให้กับสถาบันทางการเงินในประเทศ
ไทยทัง้ ทเี่ ป็น BANK และ NON – BANK รวมถึงการดำเนินคดตี ามกฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ตามขนั้ ตอน
วสิ ัยทศั นข์ องบริษทั ฯ
“การสร้างความพึงพอใจในผลงานใหแ้ ก่ลูกคา้
และดำเนินงานภายใต้กรอบของกฎหมายเป็นสิ่งสำคัญ”
1. การสร้างยอดจัดเกบ็ ใหเ้ ป็นไปตามที่ลูกคา้ (BANK / NON - BANK) มอบหมายใหก้ ับเรา
2. การดำเนนิ งานตอ้ งถกู ตอ้ งท้ังในด้านคุณธรรม – จริยธรรมโดยอย่ภู ายใตก้ รอบของพรบ.การทวงถามหนี้
พ.ศ. 2558
2
ความหมายของผ้ตู ิดตามทวงถามหน้ี
ผูต้ ิดตามทวงถามหนี้ หมายความว่า เจ้าหน้าท่ีซ่ึงเป็นผู้ให้สินเช่อื ผู้ประกอบธรุ กจิ ตามกฎหมายวา่ ด้วยการ
คุ้มครองผู้บริโภค ผู้จัดให้มีการเล่นการพนันเป็นปกติธุระตามกฎหมายว่าด้วยการพนันและเจ้าหนี้อื่น ซึ่งมีสิทธิรับ
ชำระหนีอ้ นั เกิดจากการกระทำที่เปน็ ทางการค้าปกตหิ รือเป็นปกตธิ รุ ะของเจ้าหนี้ ทงั้ น้ีไมว่ า่ หนี้ดงั กลา่ วจะชอบดว้ ย
กฎหมายหรือไม่ก็ตาม และให้หมายความรวมถึง ผู้รับมอบอำนาจจากเจ้าหนี้ดังกล่าว ผู้รับมอบอำนาจช่วงในการ
ทวงถามหนี้ ผ้ปู ระกอบธุรกจิ ทวงถามหนแี้ ละผู้รบั มอบอำนาจจากผู้ประกอบธุรกิจทวงถามหนด้ี ว้ ย
หน้าที่ของการปฏิบัติงานเปน็ ผูท้ วงถามหนี้
คือ การติดต่อประสารงานกับลูกหนี้ทางโทรศัพท์เพ่ือแจ้งยอดค้างชำระและให้คำแนะนำและข้อมูล
เกีย่ วกับการชำระเงินแก่ลูกหน้ี รวมถงึ การติดตามทวงถามหนี้เพื่อให้เกดิ การชำระหน้ีสินกับทาง BANK หรือ NON
– BANK ตอ่ ไป
คณุ สมบตั ิของผูต้ ดิ ตามทวงถามหน้ี
1. มีความรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกบั ขอ้ สัญญาและขอ้ กฎหมายเบอ้ื งตน้
2. เปน็ คนทนั เหตกุ ารณบ์ า้ นเมืองหรือเกาะติดสถานการณ์
3. มไี หวพริบเชาว์ปัญญา มีความสามารถในการแกไ้ ขปัญหาเฉพาะหน้า
4. เปน็ นักเจรจาตอ่ รอง ยน่ื ข้อเสนอหรอื ทางเลือกให้กบั บุคคลอืน่
5. มีความสามารถในการเจรจาโน้มนา้ วเปลีย่ นใจคน
6. มีสมั มาคารวะ รจู้ ักกาลเทศะ ให้เกยี รตผิ อู้ ่ืน เป็นผ้ฟู งั ท่ีดี
7. มีความอดทน ควบคมุ อารมณ์ตนเองได้เป็นอยา่ งดี
8. มคี วามเชื่อมัน่ ในตนเอง
9. มคี วามรักหรอื ตัง้ ใจในการทำหนา้ ที่เป็นผู้ติดตามทวงถามหนี้
3
พ.ร.บ.การทวงถามหน้ี
เรม่ิ มผี ลบังคบั ใชแ้ ล้วตง้ั แต่วันที่ 2 กนั ยายน พ.ศ. 2558 เปน็ ต้นมา
มาตรา 8 ห้ามทวงถามหนีก้ บั บคุ คลท่ี 3
1. ต้องแจ้งชอื่ – สกุลและแสดงเจตนาว่า ต้องการตดิ ต่อเพือ่ สอบถามขอ้ มลู เก่ียวกับสถานท่ีตดิ ตอ่ ลูกหนีห้ รือบุคคลซ่งึ ลูกหน้ี
ได้ระบไุ ว้เพือ่ การทวงถามหน้ี
2. ห้ามแจง้ ความเปน็ หน้กี ับบุคคลที่ 3 หรือขอ้ มลู ต่าง ๆ ทีเ่ ก่ยี วกบั หน้แี ละหา้ มทวงถามหนก้ี ับบคุ คลท่ี 3
3. หา้ มตดิ ต่อหรือแสดงตนทีท่ ำให้เขา้ ใจผิดเพอื่ ได้มาของขอ้ มลู ต่าง ๆ เกีย่ วกบั ลูกหน้ีกับบคุ คลอืน่ ที่ไม่ใชล่ ูกหนี้
มาตรา 9 ข้อปฏิบตั กิ ารติดตอ่ เพอ่ื ทวงถามหน้ี
1. ติดตอ่ ลกู หน้ไี ด้เฉพาะเบอร์หรือสถานทที่ ลี่ กู หน้รี ะบุให้สามารถติดตอ่ ไดเ้ ท่านนั้
1.2) ในกรณีท่ีไม่สามารถติดตอ่ ลูกหนี้ตามข้อมูลที่ลกู หน้ีระบุ สามารถติดต่อและขยายผลข้อมูลเพ่ิมเติมได้ เช่น ภูมิลำเนา,
ถ่ินทอี่ ย่หู รือสถานท่ที ำงานของลกู หนี้
2. เวลาในการติดต่อจนั ทร์ – ศกุ ร์ เวลา 08.00 – 20.00 น. ในวันหยดุ ราชการ 08.00 – 18.00 น.
3. จำนวนครัง้ ในการโทรตามความเหมาะสม
4. การติดต่อเพื่อทวงถามจากลูกหนี้ ต้องแจ้งให้ลูกหนี้ทราบถึงช่ือ - สกุล หน่วยงาน ข้อมูลหนี้ทุกคร้ังและจำนวนยอดหนี้
ดว้ ยความเป็นจรงิ
มาตรา 10 การรบั ชำระหน้ี
1. การแจ้งหน้ีเพือ่ ให้ลกู หนี้ไปชำระหน้ี ลกู หน้ีต้องชำระด้วยความเต็มใจและสมัครใจ แจ้งข้อมูลต่าง ๆ ในการชำระครบถว้ น
สมบรู ณ์
มาตรา 11 หา้ มทวงหน้ใี นลกั ษณะตอ่ ไปนี้
1. ห้ามข่มขหู่ รือทำใหเ้ สียหายแก่ร่างกายและชื่อเสียงของลูกหนี้
2. หา้ มใชว้ าจาหรอื ภาษาที่เปน็ การดูหม่ินลกู หน้ี
3. ห้ามเปิดเผยเกี่ยวกับความเป็นหนแ้ี ก่บุคคลอืน่
4
มาตรา 12 หา้ มทวงถามหนใ้ี นลกั ษณะท่ีเป็นเท็จหรอื ทำให้เกดิ ความเข้าใจผิดต่อไปนี้
1. การแสดงออกทท่ี ำใหเ้ ข้าใจวา่ เปน็ การกระทำของศาล เจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐหรือหนว่ ยงานรัฐ
2. การแสดงออกที่ทำให้เชอื่ วา่ การทวงถามหน้ีเปน็ การกระทำโดยทนายความสำนักงานทนายความ
3. การแสดงออกทีท่ ำให้เชอ่ื ว่า จะถูกดำเนนิ คดีหรอื ถกู ยดึ หรืออายดั ทรพั ย์หรือเงนิ เดือน
4. การตดิ ตอ่ หรือการแสดงตนให้เชือ่ วา่ ผูท้ วงถามหนดี้ ำเนนิ การให้แก่บริษทั ขอ้ มูลเครดติ หรอื รบั จ้างบรษิ ัทขอ้ มลู เครดิต
มาตรา 13 ห้ามผูท้ วงถามหนกี้ ระทำการทวงถามหนี้ในลักษณะท่ไี ม่เปน็ ธรรมต่อไปนี้
1. การเรยี กเก็บคา่ ธรรมเนยี มหรือค่าใชจ้ ่ายใด ๆ เกนิ กว่าอัตราที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
2. การเสนอหรือจูงใจใหล้ ูกหนีอ้ อกเชค็ ท้ังทร่ี อู้ ยวู่ ่า ลูกหน้ีอยใู่ นฐานะทไี่ มส่ ามารถชำระหนไ้ี ด้
มาตรา 14 ห้ามเจ้าหน้าทข่ี องรฐั กระทำการดงั ต่อไปน้ี
1. ประกอบธรุ กิจทวงถามหนี้
2. ทวงถามหน้ีหรือสนับสนการทวงถามหนี้ที่ไม่ใช่ของตน เว้นแต่ในกรณีที่เป็นหนี้ของสามี ภริยา บุพการีหรือผู้สืบสันดาน
หรอื ในกรณที เี่ จ้าหน้าทรี่ ฐั นน้ั มอี ำนาจกระทำได้ตามกฎหมาย
(เพื่อประโยชน์แก่มาตรานี้ “เจ้าหน้าท่ีรัฐ” หมายถึง ข้าราชการ พนักงาน ลูกจ้างหรือผู้ปฏิบัติงานอ่ืนในกระทรวง ทบวง
กรม ส่วนราชการท่เี รียกชื่ออืน่ และมฐี านะเปน็ กรม ราชการส่วนภูมิภาค ราชการสว่ นท้องถน่ิ หรือหน่วยงานอน่ื ของรฐั )
สรปุ
ผตู้ ิดตามทวงถามหน้ีทุกคนตอ้ งทำหน้าที่เจรจาหนี้ดว้ ยวาจาท่ีสุภาพและขอ้ ความต้องเป็นจริงในฐานะผู้รับ
มอบอำนาจของเจ้าหน้ีเท่านั้น ไม่เจรจาหนี้ในลักษณะข่มขู่หรือการกระทำที่ทำให้เกิดความเสียหายแก่ร่างกาย
ช่ือเสียงหรือทรพั ยส์ ินของลกู หน้ีและผอู้ ื่น อีกทง้ั ยังห้ามเปดิ เผยข้อมูลการเป็นหน้ใี หค้ นอืน่ รู้ยกเวน้ บุคคลทลี่ ูกหน้ีได้
ระบุไวต้ ามมาตรา 8 ถึงมาตรา 14
5
แผนภมู โิ ครงสรา้ งของบรษิ ทั
นายวชั รนิ ทร์ นิลโมจน์
กรรมการผู้จดั การ
นายพะเยาว์ ภู่ปรางค์ นายอดลุ ย์ รักใหม่
กรรมการบริหารดา้ นการเงิน กรรมการบรหิ ารทรพั ยากรบคุ คล
นายเอกราช กลิน่ หอม นางจุฑาภรณ์ นลิ โมจน์
กรรมการบริหารด้าน IT กรรมการด้านการจดั ซอ้ื
6
แผนภูมิโครงสร้างของบรษิ ทั (ต่อ)
ผจู้ ัดการแผนก
(ประมาณ 17 แผนก)
หวั หนา้ สายงาน
พนักงาน แอดมนิ
7
ขนั้ ตอนการปฏิบัตงิ าน
ในฐานะพนักงานตดิ ตามทวงถามหน้ี
8
การจัดการเมอ่ื ไดร้ บั งานใหม่
รับงานใหม่
B นัดเจรจา
โทรทุกเบอรท์ ม่ี ี
C ขยายผลการตดิ ตาม ไม่ เป็นผล เป็น A นดั ชำระ
ไม่มีเบอร์ตดิ ตอ่ หรือไม่
ชำระ
B1 ปฏเิ สธการชำระ ยังไม่ได้ จริงไหม
หรือ บัญชีมปี ญั หา ขอ้ สรุป
B1 เกิดการเจรจา ไมช่ ำระ ชำระจริง
ชำระหนีก้ ับลูกคา้
B1 กลมุ่ ผิด
B1 ร้ตู ัวลูกคา้ นัดชำระ
แต่ไม่เกดิ การเจรจา
B1 ยังไมร่ ู้ขอ้ สรปุ
ของเบอร์
9
การแบง่ กลมุ่ ลูกหน้ีตาม CODE ในโปรแกรม
งานย
CODE A
คือ กลุ่มลูกหนี้ท่ีมีการติดต่อแล้วสามารถ CONFIRM การนัดชำระ, การปิดบัญชีแบบมีส่วนลด/
เตม็ จำนวน, ตรวจสอบการชำระหนี้ของลกู หน,้ี รอผลการชำระ ฯลฯ โดยสามารถตดิ ต่อไดต้ ามท่ลี ูกหนน้ี ดั หมาย
CODE B
คือ นัดเจรจา ในกรณีท่ีรับงานมาใหม่แล้วยังไม่ไดเ้ กิดการตดิ ตาม (ตอ้ งติดต่อไปภายใน 3 วันโดย
เรยี งจากยอดหน้สี งู )
CODE B1
คอื กลมุ่ ลกู หนท้ี ี่ตดิ ตามแลว้ แต่จะแบ่งออกเป็น
- ยังไมไ่ ด้ข้อสรปุ ในการเจรจา สามารถตดิ ตอ่ ไปไดเ้ ดอื นละ 2 ครั้ง
- เจรจาชำระหนี้ สามารถติดต่อไปได้สปั ดาหล์ ะ 1 ครง้ั
- รู้ตวั ลกู ค้า สามารถตดิ ต่อไปไดเ้ ดือนละ 2 ครงั้
- กลุ่มปฏิเสธการชำระหน้ี สามารถติดตอ่ ไปได้เดอื นละ 2 คร้งั
- กลุม่ ผิดนดั ชำระ สามารถตดิ ตอ่ ไปอย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 2 คร้ัง
CODE C
คอื ไม่สามารถตดิ ตอ่ ลูกคา้ ได้เน่ืองจากไม่มเี บอรต์ ดิ ต่อ Action เดือนละ 1 ครง้ั
CODE D
คอื กล่มุ ลูกคา้ เสียชีวติ แล้ว
10
หลกั ของการเจรจาหน้ี 6 ประการ
1. แนะนำตวั ชอ่ื - สกุลของตนเอง จากสำนกั กฎหมาย รับมอบอำนาจจากธนาคารอะไร
2. การบอกภาระหน้ี ทล่ี ูกคา้ มอี ยูเ่ ป็นสนิ เช่ืออะไร มภี าระหนี้คงค้างจำนวนเท่าไหร่
3. การรับฟงั ขอ้ อา้ งตา่ ง ๆ ตามท่ีลกู หน้ีแจ้งให้ทราบอยา่ งเขา้ ใจ
4. การจดบันทึกเหตุ หรอื ขอ้ อา้ งของลกู คา้ เพือ่ เจรจาตามประเดน็
5. การถามตามข้ออ้าง เพื่อให้ทราบความจริง ความเท็จในเหตุขัดข้องต่าง ๆ เพื่อความเข้าใจที่ดีด้วย
ความสุภาพ ให้เกียรติลูกหนี้ ถูกต้องตามกฎหมายตามพ.ร.บ.การทวงถามหนี้ ตามประกาศธนาคารแห่งประเทศ
ไทย ตามกฎขอ้ บงั คบั ของบรษิ ทั ตามกฎของลูกความสถาบันการเงนิ ต่าง ๆ ในฐานะผูว้ ่าจา้ ง
6. การนำเสนอโปรแกรมทเ่ี หมาะสม กบั ลูกค้าตามสถานการณแ์ ละมีความเป็นไปได้ เป็นตวั ชว่ ยที่ดีใหแ้ ก่
ลกู หนี้ ท้ังนโี้ ดยอยภู่ ายใตห้ ลักเกณฑ์ การให้ส่วนลดของผวู้ า่ จา้ ง
เทคนิคในการเจรจาให้เกดิ ฐานลูกค้า
1. ตอ้ งขยนั อดทน ไมท่ ิ้งบัญชี พยายามตดิ ตอ่ ลูกคา้ อย่างตอ่ เน่อื งทกุ เดอื น
2. ควรเจรจาดว้ ยวาจาทส่ี ุภาพ ใชน้ ำ้ เสียงนมุ่ นวล ให้เกยี รติลูกคา้
3. การเจรจาต้องสร้างความเชื่อม่ันในกับลูกค้าว่า ถ้าผ่อนชำระตามเง่ือนไขท่ีกำหนดตกลงกันไว้ ลูกค้าก็
สามารถจบหนี้แนน่ อน
4. อธิบายข้อดแี ละข้อเสีย ชี้แจ้งให้ลูกค้ามองเห็นความแตกต่างระหว่างการชำระผ่อนเข้ามาดีกวา่ ท่ีลูกค้า
ไม่ชำระเลยอยา่ งไร
5. แจ้งให้ลูกค้าทราบว่า หากลูกค้าตกลงผ่อนชำระ ทางเราจะก็มีหนังสือยืนยันเง่ือนไขผ่อนชำระให้ลูกค้า
เก็บไว้เปน็ หลักฐานด้วย
6. ให้ความสำคัญตอ่ ลูกค้า ตดิ ตอ่ แจง้ ผลการชำระและยอดคงเหลอื ของลูกค้าอยา่ งต่อเนอ่ื งทุก ๆ เดือน
7. ควรแจ้งรายละเอยี ดวิธีการชำระท่สี ะดวกใหก้ บั ลกู คา้
8. ควรแจง้ ให้ลกู ค้าทราบเลยว่า หากชำระครบหนแ้ี ลว้ ลกู คา้ กจ็ ะได้รับหนงั สอื ครบหนจ้ี ากทางธนาคาร
11
ตัวอยา่ งบทสนทนา
พนกั งาน : สวัสดีครับ/คะ่ ตดิ ต่อจาก (ชื่อ - สกุลของตนเอง) ขอเรียนสายกับคณุ (ชอื่ - สกลุ ของลกู หน้ี) ครับ/ค่ะ
* ลูกหนี้ : กำลงั พดู สายอยคู่ รับ/ค่ะ
** บุคคลอน่ื : ไม่อยคู่ รับ/ค่ะ มอี ะไรหรือเปลา่ ?
* กรณที ค่ี ุยกับลกู หน้ี
พนักงาน : คุณ (ช่ือ - สกุลของลูกหน้)ี กำลังพูดสายอยนู่ ะครบั /คะ่
เม่ือแน่ใจแล้ว “ขอรบกวนเวลาสักครู่นะครับ/ค่ะ (ชื่อ – สกุลของตนเอง) เป็นเจ้าหน้าที่ของบริษัท สำนัก
กฎหมายประชาชน รับมอบอำนาจจากธนาคาร... ครับ/ค่ะ” ขออนุญาตสอบถามเกี่ยวกับสินเช่ือ... ปัจจุบันมียอด
คงคา้ งอยู่ท.่ี .. บาท ไม่ทราบวา่ คณุ (ชอื่ - สกลุ ของลกู หน้ี) ได้ชำระเรียบรอ้ ยแล้วหรือยงั ครับ/คะ?”
1. ชำระแล้ว = (ช่ือ - สกุลของตนเอง) ขออนุญาตตรวจสอบยอดการชำระนะครับ/ค่ะ ไม่ทราบว่า
ลูกหน้ีชำระเข้ามาในยอดที่เท่าไหร่? วันที่เท่าไหร่? ชำระผ่านช่องทางไหน? (ถ้าผ่านทางธนาคาร
โดยตรงใหส้ อบถามสาขาด้วย)
2. ยังไม่ได้ชำระ = สอบถามลูกหน้ีว่า สามารถชำระได้ภายในวันไหน? สามารถชำระได้ภายในอาทิตย์นี้
ไหม? (หากลูกหน้ีไม่ทราบวิธกี ารชำระ สามารถอธิบายวา่ ทำได้อย่างไรบ้าง) ถ้าชำระแล้วรบกวน (ช่ือ
- สกุลของลูกค้า) เก็บหลักฐานการชำระไว้เพ่ือตรวจสอบยอดด้วยนะครับ/นะคะ เดี๋ยว (ชื่อ - สกุล
ของตนเอง) จะขออนุญาตติดต่อกลับไปเพ่ือตรวจสอบการชำระอีกคร้ังครับ/ค่ะ ขอบคุณครับ/ค่ะ
สวสั ดคี รับ/ค่ะ
** กรณที ไี่ มใ่ ชล่ ูกหน้ี แตเ่ ป็นบบุคคลอืน่
ให้หลีกเล่ียงการเจรจา “ไม่ทราบว่า (ชื่อ - สกุลของลูกหน้ี) สะดวกให้ติดต่อกลับอีกทีช่วงเวลาใดบ้าง?”
และสามารถฝากเบอร์ติดตอ่ กลับเทา่ นนั้ ไมส่ ามารถเปดิ เผยข้อมลู ได้เลยไมจ่ ำเปน็ ต้องพดู คยุ ตอ่
12
ในกรณที ่ีบคุ คลท่ี 3 มีความประสงคจ์ ะชำระหนแี้ ทน
ซงึ่ บุคคลที่ 3 นนั้ หมายถงึ ผู้มีเชือ้ สายเดยี วกบั ลกู หนี้ เช่น พ่อ แม่ พ่ีนอ้ ง ญาติ ฯลฯ หรอื ผู้คำ้ ประกัน
จำเป็นตอ้ งให้สง่ สำเนาบัตรประชาชน 2 ฉบับ
1. เป็นสำเนาบตั รประชาชนของลูกหน้ี
โดยระบุขอ้ ความว่า “มีความประสงค์ให้ (ชอื่ – สกลุ ของบคุ คลท่ี 3) เปน็ ผู้ติดตอ่ ในการเจรจาชำระหนี้
แทนพรอ้ มระบุเบอรต์ ิดต่อกับบคุ คลที่ 3”
2. เป็นสำเนาบัตรประชาชนของบุคคลท่ี 3
โดยระบุขอ้ ความว่า “ขา้ พเจ้า (ช่อื - สกลุ ของบคุ คลท่ี 3)” มปี ระสงค์ทจ่ี ะชำระหน้ีแทน (ช่อื - สกลุ ของ
ลูกหนี้) พรอ้ มเบอร์ติดตอ่
ชอ่ งทางในการส่งเอกสารการติดต่อชำระหน้ีแทน
FAX : 024464177
ไปรษณยี ์ : 1/106-112 หมู่ 1 ต.บางศรีเมอื ง อ.เมือง จ.นนทบุรี 11000 โทร 02-4237000
*ขอ้ สำคัญ : แนะนำตวั เองกอ่ นเกดิ การเจรจาชำระหนกี้ บั ลกู ค้าทุกคร้ังและยำ้ ใหแ้ น่ชดั ว่ากำลังเรียนสายอยู่กบั ลกู คา้ *
13
ระเบียบข้อบงั คับ
ของ สำนกั กฎหมายประชาชน
14
1. ประเภทของพนักงาน
พนักงานของบริษัทฯ มี 3 ประเภทดงั นี้
1) พนักงานประจำรายเดอื น หมายถงึ พนักงานท่บี ริษทั ฯ ตกลงจา้ งซึ่งคำนวณจากการทำงานรายเดือน
2) พนักงานประจำรายวนั หมายถึง พนกั งานท่บี รษิ ัทฯ ตกลงจา้ งซึ่งคำนวณจากการทำงานรายวนั
3) พนักงานทดลองงาน หมายถึง พนักงานท่ีบริษัทฯ ตกลงจ้างเพ่ือทดลองการปฏิบัติงาน โดยมีลักษณะ
การจ้างที่มีการคำนวณค่าจ้างเป็นรายเดือนหรือการคำนวณเป็นรายวัน มีกำหนดระยะเวลาทดลองงาน 119 วัน
พนักงานจะมสี ิทธไิ์ ดร้ ับสวสั ดิการทบี่ รษิ ัทฯ กำหนดไวต้ ่อเมื่อไดร้ บั การบรรจเุ ป็นพนกั งานประจำ
2. วนั และเวลาทำงาน
1) วันทำงาน
วนั จันทร์ – วันศุกร์ เรมิ่ ทำงานเวลา 08.30 น. – 17.30 น.
วนั เสาร์ เร่ิมทำงานเวลา 09.00 น. – 15.00 น.
2) เวลาพกั
พักเลก็ นอ้ ย 10 นาทใี นช่วงระหว่างเวลา 10.30 น. – 10.40 น. กบั 15.30 น. – 15.40 น.
พักใหญ่ 1 ชว่ั โมง ทกุ วันทำงานในช่วงระยะเวลา 12.00 น. – 13.00 น.
3) การมาทำงานสาย
หากพนักงานมาทำงานสายเกนิ กว่า 3 ครั้งใน 1 เดอื นจะตอ้ งถูกตักเตือน
4) การบันทึกเวลา
เปน็ หนา้ ที่ของพนักงานทุกคนต้องบันทึกเวลาเข้าทำงานตอนเชา้ และบันทกึ เวลาออกตอนเลกิ งาน
หากไมบ่ นั ทกึ เวลา เข้าหรอื ออก ถอื วา่ ขาดงาน
15
3. การแต่งกายและเครื่องแบบ
การแต่งกายของบริษัท สำนักกฎหมายประชาชน จำกัดจะให้เป็นไปตามท่ีทางบริษัทฯ กำหนด ถูกต้อง
ตามระเบยี บข้อบังคบั ให้แต่งกายสภุ าพทัง้ ชายและหญงิ ไม่สวมเสื้อแขนกุดและกางเกง/กระโปรงส้ันมากจนเกินไป
สำหรบั เคร่ืองแบบพิธกี ารให้เป็นไปตามท่คี ณะกรรมการของบริษัทฯ กำหนด
วันจนั ทร์ เสอ้ื สเี หลอื ง
วนั องั คาร เส้อื สขี าว
วันพธุ เสื้อสดี ำ
วันพฤหสั บดี เสอ้ื สีแดง
วันศุกรแ์ ละวันเสาร์ ชดุ ไปรเวท
* หมายเหตุ : ในกรณีทไี่ ม่มี สามารถติดต่อขอซ้อื ไดท้ พี่ ก่ี ระทนิ *
4. วนั หยดุ และหลักเกณฑ์การหยุด
1) วันหยุดประจำสปั ดาห์
เป็นทกุ ๆ วันอาทิตย์ และ 2 เสารต์ น้ เดอื น
2) วนั หยดุ ตามประเพณี
เป็นวันหยุดตามประเพณีท่ีทางบริษัทฯ ได้กำหนดไว้ปีละ 13 วัน โดยรวมวันแรงงานแห่งชาติ
ตามท่ีประกาศกำหนดไวด้ ว้ ยโดยได้รับค่าจ้างกำหนดวันหยุดในแตล่ ะปี บรษิ ัทฯ จะปิดแจ้งให้ทราบล่วงหน้าไม่น้อย
กว่า 30 วัน ซ่ึงวันหยุดตามประเพณีวันใดตรงกับวันหยุดประจำสัปดาห์ให้หยุดชดเชยวันหยุดตามประเพณีในวัน
ทำงานถดั ไป
16
3) วันหยุดพกั ผ่อนประจำปี
พนกั งานประจำซงึ่ ทำงานตดิ ต่อกันมาครบ 1 ปีมสี ทิ ธิห์ ยุดพักผอ่ นโดยได้รบั คา่ จา้ งดังน้ี
(1) ทำงานครบ 1 ปี มีสิทธล์ิ าพักร้อนได้ 6 วัน
(2) ทำงานครบ 2 ปี มสี ทิ ธลิ์ าพกั รอ้ นได้ 7 วนั
(3) ทำงานครบ 3 ปี มสี ทิ ธลิ์ าพกั รอ้ นได้ 8 วนั
(4) ทำงานครบ 4 ปี มสี ิทธิ์ลาพกั ร้อนได้ 9 วัน
(5) ทำงานครบ 5 ปขี นึ้ ไป มสี ิทธลิ์ าพกั ร้อนได้ 12 วนั
ขอ้ ปฏิบตั ใิ นการลาพกั ร้อน
1) ต้องแจ้งเพื่อขออนุมัติตามแบบฟอร์มต่อหัวหน้าสาย หัวหน้าแผนก (ผู้จัดการทีมงาน) โดยแจ้งเพ่ือขอ
อนมุ ัติล่วงหนา้ 3 วัน
2) กรณีที่ลาพักร้อนตั้งแต่ 3 วนั ขึ้นไปหัวหน้าสาย หัวหน้าแผนก (ผู้จัดการทีมงาน) นำเสนอต่อกรรมการ
ฝ่ายบุคคลหรือกรรมการท่ีกำกับดูแลทันทีพร้อมให้ความคิดเห็นว่าควรอนุมัติหรือไม่ โดยให้เหตุผลลงในใบขอ
อนุมตั ทิ ้งั น้ีกรรมการฝา่ ยบคุ คลหรอื กรรมการทก่ี ำกับดแู ล พิจารณาตามความเหมาะสมและแจง้ อนมุ ัติหรอื ไมอ่ นมุ ตั ิ
โดยให้เหตุผลแก่พนักงานที่ลาพักรอ้ นทราบหรอื หวั หน้าสายหวั หนา้ แผนกน้นั ๆ ทราบ
3) กรรมการฝ่ายบุคคลหรือกรรมการที่กำกับดูแลแจ้งและนำส่งใบอนุมัติหรือไม่อนุมัติ พร้อมเหตุผล
ดงั กล่าวต่อกรรมการผู้จดั การรบั ทราบ
4) หากพนักงานท่านใดใช้สิทธกิ์ ารหยดุ พกั ร้อนประจำปีไม่ครบตามสทิ ธจิ์ ะไมส่ ามารถนำมาคดิ ทบสะสมใน
ปีถัดไปได้
5. วันลาและหลกั เกณฑ์การลา
1) การลาปว่ ย
พนักงานมีสิทธ์ิลาป่วยโดยได้รับค่าจ้างในอัตราค่าจ้างเท่ากับวันทำงานปกติได้ รวมแล้วไม่เกินปีปฏิทินละ
30 วัน ยกเว้นพนกั งานท่ีเข้าในระหว่างปมี สี ทิ ธลิ าได้ 30 วันเชน่ กัน ซ่ึงการลาปว่ ยให้ถอื ปฏิบตั ติ ามระเบยี บดงั นี้
17
(1) พนักงานซ่ึงเจ็บป่วยไม่สามารถทำงานได้ให้ทำการแจ้งให้ผู้บงั คับบัญชาทราบโดยด่วนในวันท่ี
ไมส่ ามารถมาทำงานได้ถงึ สาเหตุทีเ่ จบ็ ปว่ ยและใหย้ ่ืนใบลาปว่ ยในวันแรกทีม่ าทำงาน
(2) ให้พนักงานมีสิทธลิ าป่วยได้เท่าที่ป่วยจริงการลาป่วยตั้งแต่ 3 วนั ทำงานข้ึนไปนายจ้างอาจให้
พนักงานแสดงใบรับรองของแพทย์แผนปัจจุบันชั้นหน่ึงหรือของสถานพยาบาลของทางราชการในกรณีที่พนักงาน
ไม่อาจแสดงใบรับรองแพทย์แผนปัจจุบันช้ันหนึ่งหรือของสถานพยาบาลของทางราชการได้ให้พนักงานช้ีแจงให้
นายจ้างทราบ
2) การลากิจ
พนักงานมีสิทธล์ิ ากิจโดยได้รับค่าจ้างปีปฏิทินละไม่เกิน 12 วัน การใช้สิทธิล์ ากิจเกินกว่า 12 วันในรอบ 1
ปี การทำงานจะไม่ได้รับค่าจ้างตามจำนวนวนั ที่ลาเกินจำนวนเวลาท่ีลากิจโดยคำนวณจากอัตราเงินเดือนหารด้วย
24 วัน
(1) การลากิจตอ้ งเปน็ ลายลักษณ์อักษรแบบฟอร์มการลาล่วงหน้าต่อผู้บังคับบัญชาไม่น้อยกวา่ 3
วันโดยต้องได้รับความเห็นชอบการลาจากผู้บังคับบัญชาเสียก่อนแล้วนำส่งกรรมการฝ่ายบุคคลเพื่อดำเนินการ
ต่อไป
(2) การลากิจฉุกเฉินที่ไม่อาจทราบล่วงหน้าต้องมีเหตุผลแห่งความจำเป็นจริง ๆ ต้องลาเป็นลาย
ลักษณ์อักษรตามแบบฟอร์มโดยต้องได้รับความเห็นชอบการลาจากผู้บังคับบัญชาในวันแรกที่มาทำงานแล้วนำส่ง
กรรมการฝ่ายบคุ คลเพ่ือดำเนนิ การต่อไป
(3) การลากิจท่ีไม่ปฏิบัติตามหัวข้อข้างต้น ถือว่า มีความผิดและถือเป็นการขาดงานจะไม่ได้รับ
คา่ จ้างตามจำนวนวันท่ผี ิดระเบียบว่าด้วยการลากจิ โดยคำนวณจากอัตราเงนิ เดือนหาร 24 วัน
(4) การลากิจกรณพี เิ ศษ ซึง่ จะต้องมีสาเหตุและหลกั ฐานแน่ชดั วา่ เปน็ การลาเก่ียวกบั
- ลาเพื่อประกอบพิธีศพ บิดา/มารดา/คู่สมรส/บุตรธิดา/พี่น้องร่วมมารดา/เพ่ือนร่วมงาน ซึ่งลากิจได้ไม่
เกนิ ปีละ 3 วนั
- ลาในกรณีพนกั งานประสบภัยพบิ ตั ิ เช่น บ้านไฟไหม้ ฯลฯ ลากจิ ได้ไมเ่ กนิ ปลี ะ 3 วนั
การลากิจกรณีพิเศษจะต้องลาเป็นลายลักษณ์อักษรต่อผู้บังคับบัญชา ซึ่งทราบการลาชัดแจ้งแล้วอาจ
อนุโลมให้ส่งหลกั ฐานในวนั แรกทีม่ าทำงานแลว้ นำส่งกรรมการฝา่ ยบุคคลเพอ่ื ดำเนินการต่อไป
18
3) การลาเพื่อตลอดบตุ ร
(1) พนักงานหญิงมีครรภ์ มีสิทธิ์ลาเพื่อการคลอดบุตรครรภ์หน่ึงไม่เกิน 90 วนั โดยวนั ลาดังกล่าว
ให้นับรวมวันหยุดท่ีมีในระหว่างการลาด้วย ซึ่งการลาดังกล่าวน้ีจะหมายรวมถึงการเพื่อเตรียมตวั ในการคลอดบุตร
การอยู่ดูแลบุตรทั้งก่อนการคลอดและหลังการคลอดโดยบริษัทฯจะจ่ายค่าจ้างเท่ากับค่าจ้างในวันทำงานตลอด
ระยะเวลาทลี่ า แตไ่ มเ่ กิน 45 วัน
(2) ให้พนักงานยื่นใบลาต่อผู้บังคับบัญชาพร้อมแนบใบรับรองแพทย์แผนปัจจุบันช้ันหนึ่งในวัน
แรกท่ีมาทำงานแล้วนำส่งกรรมการฝ่ายบุคคลเพอ่ื ดำเนินการอนุมัตติ ่อไป
4) การลาเพ่อื รบั ราชการ
(1) พนักงานประจำมีสิทธ์ิลาเพื่อรับราชการทหาร เมื่อถูกเรียกระดมพลเตรียมความพร้อมหรือ
ฝึกวิชาทหารตามหมายเรียกของราชการทหารได้ตามท่ีราชการกำหนดโดยได้รับค่าจ้างวันทำงานปกติแต่ไม่เกินปี
ละ 60 วนั รวมทงั้ วันหยดุ
(2) ให้พนักงานยื่นใบลาต่อผู้บังคับบัญชาเพื่อขออนุมัติพร้อมแนบหมากเรียกจากทางราชการ
ทหารเป็นหลกั ฐานประกอบดว้ ยแล้วนำส่งกรรมการฝ่ายบคุ คลเพื่อดำเนนิ การอนมุ ตั ิตอ่ ไป
5) การลาเพ่ืออุปสมบท
(1) พนกั งานชายที่ปฏิบัตงิ านกับบริษัทฯ ติดต่อกันมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปีและยังไม่เคยอปุ สมบท
มาก่อน มสี ทิ ธิข์ อลาอปุ สมบทได้ไมเ่ กิน 15 วนั โดยได้รบั ค่าจา้ งและต้องนำเอกสารรับรองทางศาสนามาแสดงด้วย
(2) พนักงานชายแต่ละคนจะมีสิทธิ์ลาอุปสมบทได้เพียงคร้ังเดียวตลอดเวลาท่ีทำงานกับบริษัทฯ
และจะตอ้ งย่ืนใบลาต่อผู้บังคับบัญชาล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 15 วนั พร้อมหนังสือรับการอุปสมบทจากเจ้าอาวาสแล้ว
นำสง่ กรรมการฝ่ายบุคคลเพ่อื ดำเนินการอนมุ ัติต่อไป
6) ลาเพ่อื การฝกึ อบรม
พนักงานมีสิทธิ์ลาเพ่ือการฝึกอบรม หรือพัฒนาความรู้ความสามารถตามกฎกระทรวงฉบับที่ 5
(พ.ศ.2541) ในกรณดี ังตอ่ ไปน้ี
(1) เพื่อประโยชน์ต่อการแรงงานและสวัสดิการสังคมหรือการเพ่ือทักษะความชำนาญเพ่ือเพิ่ม
ประสทิ ธิภาพการทำงานของพนกั งานซ่ึงจะต้องมโี ครงการหรอื หลักสูตรและกำหนดเวลาท่ีแน่นอนชัดเจน
19
(2) การสอบวัดผลทางการศึกษาท่ีทางราชการจัดหรอื อนญุ าตใหจ้ ัดขนึ้ ในการลาดังกลา่ วพนกั งาน
ต้องแจ้งเหตุที่ลาโดยชัดแจ้งพร้อมแสดงหลักฐานที่เก่ียวข้อง (ถ้ามี) ให้บริษัทฯ ทราบล่วงหน้าไม่น้อยกว่า 7 วัน
ทั้งนี้บริษัทจะไม่อนุญาตให้พนักงานลาก็ได้ ถ้าปีนั้นพนักงานลามาแล้ว 3 ครั้งหรือเกินกว่า 30 วันหรือการลาน้ัน
อาจก่อให้เกดิ ความเสยี หายตอ่ การประกอบธุรกิจของบรษิ ัท
7) การลาเพอ่ื ทำหมนั
พนกั งานชายหรือพนกั งานหญิงมสี ิทธิลาเพ่ือทำหมันไดแ้ ละมสี ิทธลิ าเนือ่ งจากการทำหมันตามระยะเวลาที่
แพทยแ์ ผนปัจจุบนั ชน้ั หน่งึ กำหนดและออกใบรับรองโดยไดร้ ับค่าจา้ ง
8) การลาหยดุ ในกรณอี น่ื
การลาหยุดด้วยเหตุผลอ่ืนนอกเหนือจากที่ระบุในระเบียบ พนักงานสามารถยื่นใบลาได้แต่จะได้รับการ
อนุมตั หิ รอื ไม่ขึ้นอยกู่ บั การพิจารณาของคณะกรรมการหรอื กรรมการผู้จัดการเทา่ น้ัน ซงึ่ ปกติจะไม่ไดร้ ับคา่ จา้ ง
6. หลกั เกณฑก์ ารทำงานลว่ งเวลาและการทำงานในวันหยุด
การทำงานล่วงเวลาในวันทำงาน ทำงานในวันหยุดและล่วงเวลาในวันหยุดต้องไม่เกินสัปดาห์ละ 36
ชว่ั โมง
7. วนั และสถานที่จ่ายค่าจ้าง ค่าลว่ งเวลา คา่ ทำงานในวันหยุดและคา่ ลว่ งเวลาในวนั หยุด
บริษัทฯ จ่ายค่าจ้างและเงินผลประโยชน์อื่น ๆ เนื่องในการจ้างให้กับพนักงานเดือนละ 1 คร้ัง โดยจ่าย ณ
ท่ีตั้งบริษัทฯ หรือจ่ายผ่านธนาคารโดยโอนเข้าบัญชีเงินฝากของพนักงาน (331*26 = 8,606 บาท ไม่รวมกับค่า
คอมมิชชนั่ ที่พนักงานแตล่ ะแผนกจะไดร้ ับ)
20
1) คา่ ลว่ งเวลา
(1) ถ้าให้พนักงานทำงานเกินเวลาทำงานปกติในวันทำงาน พนักงานจะต้องได้รับค่าล่วงเวลาใน
อตั รา คือ ไมน่ อ้ ยกว่าหนึง่ เท่าคร่ึงของอัตราคา่ จา้ งต่อชว่ั โมงในวนั ทำงานตามจำนวนชวั่ โมงทีท่ ำ
(2) ถ้าให้พนักงานทำงานในวันหยุดเกินเวลาทำงานของวันทำงาน พนักงานจะได้รับค่าล่วงเวลา
ในวนั หยดุ ในอตั รา คอื สามเทา่ ของอัตราคา่ จ้างตอ่ หนว่ ยในวนั ทำงานตามจำนวนชัว่ โมงทที่ ำ
2) คา่ ทำงานในวนั หยุด
พนักงานท่ีมีสิทธิได้รับค่าจ้างในวันหยุด วันหยุดประจำสัปดาห์ วันหยุดประเพณีและวันหยุดประจำปี
(รายเดือน) ถ้ามาทำงานในวันหยุดดังกล่าวจะได้รับค่าทำงานในวันหยุดเพิ่มขึ้นอีกไม่น้อยกว่าหน่ึงเท่าของอัตรา
ค่าจ้างต่อช่ัวโมงในวันทำงานตามจำนวนช่ัวโมงท่ีทำหรืออัตราค่าจ้างต่อหน่วยตามจำนวนผลงานที่ทำสำหรับ
พนกั งาน ซ่งึ ได้รับคา่ จา้ งตามผลงานโดยคำนวณเป็นหน่วย
พนกั งานท่ไี ม่มสี ิทธไิ ดร้ ับค่าจ้างในวนั หยดุ ประจำสัปดาห์ (รายวนั ) ถา้ มาทำงานในวนั หยุดดังกลา่ วจะไดร้ ับ
ค่าจ้างทำงานในวันหยุดไม่น้อยกว่าสองเท่าของอัตราค่าจ้างต่อชั่วโมงที่ทำหรืออัตราค่าจ้างต่อหน่วยตามจำนวน
ผลงานที่ทำสำหรบั พนักงาน ซ่งึ ไดร้ ับค่าจา้ งตามผลงานโดยคำนวณเป็นหนว่ ย
7. วินยั และโทษทางวนิ ยั
1) วนิ ยั
พนักงานต้องปฏิบัติหนา้ ทีต่ ามคำสง่ั ของบรษิ ัทฯ ผู้บังคับบญั ชาอนั ชอบด้วยกฎหมายและระเบยี บขอ้ บังคับ
ของบริษัทฯ อย่างเต็มใจขยันหม่ันเพยี ร ซอ่ื สตั ย์และเต็มความสามารถ
(1) พนกั งานจะต้องปฏบิ ัตหิ นา้ ที่ตามกฎระเบียบ ประกาศและขอ้ บงั คับตา่ ง ๆ ของบริษทั ฯ
(2) พนักงานจะต้องปฏิบตั ิในกรอบของศีลธรรมอันดงี ามและกฎหมายของบา้ นเมือง
(3) พนกั งานจะตอ้ งประพฤตติ นในกรอบของจรรยาบรรณแหง่ วชิ าชพี พน้ื ฐานของตน
(4) พนักงานจะต้องไม่นำพาหรือพกพาหรือครอบครอง อาวุธ วัตถุระเบิด ยาเสพติดในบริเวณ
บริษทั ฯ หรอื ขณะปฏบิ ัติหนา้ ทีน่ อกบริเวณบรษิ ัทฯ
21
(5) พนักงานต้องไม่เสพสุรา ยาเสพติด ของมึนเมาในระหว่างเวลาทำงานหรือมาทำงานใน
ลักษณะมนึ เมา
(6) พนักงานจะต้องแต่งกายให้เรียบร้อยหรือสวมเครื่องแบบให้ถูกต้องตามระเบียบการแต่ง
เคร่อื งแบบพนักงานตลอดเวลาที่ปฏบิ ตั ิงานอยู่
(7) พนักงานจะต้องไม่ละท้ิงหน้าท่ี ละเลย กลับก่อนเวลาเลิกงาน นอนหรือหลับในเวลาทำงาน
หรือหลีกเลยี่ งการทำงานหรอื ขาดงานโดยไมม่ เี หตผุ ลอันสมควรหรือมาทำงานสายบ่อยคร้ัง
(8) พนักงานจะต้องไม่เปิดเผยข้อมูลหรือข้อความใด ๆ อันเป็นเรื่องปกปิดเกี่ยวกับกิจการของ
บรษิ ทั ฯ ตอ่ ผูอ้ ่นื หรือพนักงานผไู้ มม่ หี นา้ ทเี่ กยี่ วขอ้ ง
(9) พนกั งานจะต้องไม่เข้าไปมีสว่ นร่วมในการดำเนินการ ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อมกับกิจการอ่ืน
ที่มีลักษณะเป็นการแข่งขันโดยตรงหรือโดยออ้ มกับบริษัทฯ เว้นแต่ได้รับความยินยอมจากบริษัทฯ เป็นลายลักษณ์
อกั ษรหรอื เป็นกิจการของบรษิ ัทฯ ในเครอื
(10) พนักงานจะต้องมีความประพฤติสุภาพเรียบร้อย ไม่ทะเลาะวิวาทหรือทำร้ายร่างกายซึ่งกัน
และกัน หรือต่อบุคคลอื่น ไม่ว่าเวลาทำงานหรือนอกเวลาทำงานในบริเวณบริษัทฯ หรือในระหว่างท่ียังสวม
เครอื่ งแบบพนักงานของบรษิ ทั ฯ อยู่
(11) พนักงานจะต้องไม่เผยแพร่ข่าวอกุศลให้ร้ายผู้อ่ืนหรือก่อกวนความสงบหรือยุแหย่ให้
พนักงานแตกแยกความสามัคคหี รือแสดงความกระด้างกระเด่ืองต่อผู้บังคับบัญชาและบรษิ ัทฯ
(12) พนักงานจะต้องระวังรักษาในการใช้วัสดุอุปกรณ์เครื่องมือเคร่ืองใช้ สถานที่และทรัพย์สิน
ของบริษัทฯ และจะต้องไม่นำไปใช้เพ่อื ประโยชนส์ ่วนตวั หรือผู้อน่ื เว้นแต่จะไดร้ ับอนุญาตจากบริษทั ฯ
(13) พนกั งานจะต้องไมเ่ ล่นเกมส์ในคอมพิวเตอรท์ ้งั ในเวลาทำงานและนอกเวลาทำงาน
(14) พนกั งานจะต้องไม่เล่นการพนันหรือรว่ มอยู่ในวงพนนั ทกุ ประเภทในสถานทีข่ องบริษทั ฯ
(15) พนักงานจะต้องให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน รวมทั้งสอบสวนหาผู้กระทำผิดหรือ
หลักฐานใด ๆ และไม่ชว่ ยปดิ บังการกระทำความผิดของผู้อ่นื
(16) พนักงานจะต้องไม่จงใจหรือประมาทเป็นเหตุให้บริษัทฯ ได้รับความเสียหายหรือถูกดูหม่ิน
เกลยี ดชัง
(17) พนักงานจะต้องไม่โอนเงินลูกหน้ีหรือลูกค้าอื่น ๆ ของบริษัทเข้าบัญชีตัวเองหรือบัญชบี ุคคล
อื่น ซ่งึ ถอื เป็นความผิดร้ายแรง
22
2) โทษทางวนิ ยั
พนักงานท่ีกระทำความผิดทางวินัยจะถูกลงโทษหนัก – เบาตามสมควรแก่ความผิด ซ่ึงกำหนดไว้ 5 สถาน
ดงั ตอ่ ไปน้ี
(1) ตกั เตือนหรอื ภาคทณั ฑ์ดว้ ยวาจา
(2) ตกั เตือนหรอื ภาคทณั ฑ์ด้วยลายลักษณอ์ ักษร
(3) พักงานโดยไมไ่ ด้รับค่าจา้ งตามจำนวนวันทีถ่ กู สัง่ พักงานในอตั ราทีก่ ำหนดในหมวดท่ี 4
(4) ตดั เงนิ เดอื นหรอื เงนิ รางวลั
(5) เลกิ จา้ ง
3) การอทุ ธรณ์
ในกรณีที่พนักงานท่ีถูกลงโทษทางวินัยเห็นว่า ตนไม่ได้รับความเป็นธรรมและมีหลักฐานท่ีแสดงความ
บริสุทธ์ใิ ห้พนักงานผนู้ ัน้ มสี ิทธอ์ิ ุทธรณ์คำส่ังโทษทางวินัย ดังนี้
(1) ให้อทุ ธรณ์ โดยทำเป็นลายลักษณอ์ กั ษรยื่นแสดงตอ่ ผบู้ ังคับบญั ชาตามลำดับชน้ั ภายใน 30 วัน
นับแต่วันท่ีทราบคำส่ัง
(2) ในกรณที ่เี กรงวา่ จะไมไ่ ด้รบั ความเปน็ ธรรมจากผ้บู งั คับบญั ชาระดับใดกใ็ หย้ ่นื ตอ่ ผูบ้ ังคับบญั ชา
ระดบั ถดั ไป
(3) ในการอุทธรณ์ให้ถอื ว่าคำวินิจฉยั ของกรรมการผู้จดั การเป็นทสี่ ดุ
8. การรอ้ งทุกข์
1) ขอบเขตและความหมาย
การร้องทุกข์ หมายถึง กรณีที่ลูกจ้างมีความไม่พอใจหรือมคี วามทุกข์ อนั เนอื่ งจากการทำงาน ไม่ว่าจะเป็น
เร่ืองสภาพการทำงานสภาพการจ้าง การบังคับบัญชา การสั่งหรือการมอบหมายงาน การจ่ายค่าตอบแทนในการ
ทำงานหรือประโยชน์อื่น ๆ หรือการปฏิบัติใดท่ีไม่เหมาะสมระหว่างนายจ้างหรือผู้บังคับบัญชาต่อลูกจ้างหรือ
ระหว่างลูกจ้างด้วยกันและลูกจ้างไดเ้ สนอความไม่พอใจหรือความทุกข์นั้นต่อนายจ้างเพื่อให้นายจ้างได้ดำเนินการ
23
แก้ไขหรือยุติเหตุการณ์นั้น ทั้งนี้เพ่ือให้เกิดความสัมพันธ์อันดีระหวา่ งนายจ้างและลูกจ้างและเพื่อให้ลูกจ้างทำงาน
ด้วยความสขุ
2) วิธกี ารและขน้ั ตอน
ลูกจ้างที่มีความไม่พอใจหรือมีความทุกข์ เน่ืองจากการทำงานดังกล่าวข้างต้นควรยื่นคำร้องทุกข์ต่อ
ผูบ้ งั คบั บัญชาชัน้ แรกของตนโดยเร็ว เวน้ แต่เรอื่ งทีจ่ ะรอ้ งทกุ ขน์ ้ันเก่ยี วกบั การปฏบิ ตั ิของผู้บงั คับบญั ชาดังกลา่ วหรือ
ผู้บังคับบญั ชาดังกลา่ วเปน็ เหตุกใ็ ห้ย่นื คำรอ้ งทุกข์ต่อผู้บังคบั บัญชาระดบั สูงข้ึนไปอีกช้นั หนงึ่
การย่นื คำรอ้ งทกุ ขใ์ ห้กรอกขอ้ ความลงในแบบพิมพ์ท่ีนายจ้างได้กำหนดขนึ้ (เพือ่ ให้เป็นแบบเดียวกนั และได้
ข้อมูลทส่ี ำคัญครบถว้ น
3) การสอบสวนและพิจารณา
เมื่อผู้บังคับบัญชาได้รับคำร้องทุกข์จากลูกจ้างแล้วให้รีบดำเนินการสอบสวนเพื่อให้ทราบข้อเท็จจริงใน
เรื่องท่ีร้องทุกข์นั้นโดยละเอียดเท่าที่จะทำได้ โดยดำเนินการด้วยตนเองหรือด้วยความช่วยเหลือจากนายจ้าง ท้ังน้ี
ลูกจ้างผยู้ ืน่ คำรอ้ งทุกข์ชอบทีจ่ ะให้ขอ้ เทจ็ จริงโดยละเอียดแกผ่ ู้บังคับบัญชาดว้ ย
เม่ือสอบสวนข้อเท็จจริงแล้วให้ผู้บังคับบัญชาพิจารณาเรื่องราวร้องทุกข์นั้น หากเป็นเรื่องท่ีอยู่ในขอบเขต
ของอำนาจหน้าท่ีของผู้บังคับบัญชาน้ันและผู้บังคับบัญชาสามารถแก้ไขได้ก็ให้ผู้บังคับบัญชาดำเนินการแก้ไขให้
เสร็จสน้ิ โดยเรว็ แล้วแจ้งใหล้ กู จ้างผู้ย่ืนคำรอ้ งทกุ ขท์ ราบ พรอ้ มทง้ั รายงานให้นายจ้างทราบดว้ ย
หากเรื่องราวทีร่ ้องทกุ ข์น้ันเป็นเรื่องทอ่ี ยู่เหนืออำนาจหน้าที่ของผู้บังคับบญั ชานั้นให้ผ้บู ังคบั บัญชาดังกล่าว
เสนอเรื่องราวมรอ้ งทุกข์ พรอ้ มทัง้ ข้อเสนอในการแกไ้ ขหรอื ความเห็นต่อผบู้ งั คับบัญชาระดบั สูงขนึ้ ไปตามลำดับ
ให้ผู้บังคับบัญชาระดับสูงข้ึนไปดำเนินการสอบสวนและพิจารณาคำร้องทุกข์เช่นเด่ียวกับผู้บังคับบัญชา
ระดับตน้ ทไ่ี ด้รบั คำร้องทกุ ข์ ซึ่งผูบ้ ังคับบัญชาแตล่ ะชนั้ ดำเนินการเกย่ี วกบั คำร้องทกุ ขโ์ ดยเรว็ อยา่ งช้าไม่เกนิ 7 วัน
4) กระบวนการยุตขิ อ้ รอ้ งทุกข์
เมื่อผู้บังคับบัญชาแต่ละช้ันได้พิจารณาคำร้องทุกข์ ดำเนินการแก้ไขหรือยุติเหตุการณ์ท่ีเกิดการร้องทุกข์
และได้แจ้งให้ลูกจ้างผู้ยื่นคำร้องทุกข์ทราบ หากลูกจ้างผู้ยื่นคำร้องทุกข์พอใจก็ให้แจ้งให้ผู้บังคับบัญชาทราบ
โดยเร็ว แตถ่ ้าลูกจ้างผู้ยื่นคำร้องทุกข์ไม่พอใจก็ให้ยื่นอุทธรณ์โดยกรอกข้อความท่ีอุทธรณ์ลงในแบบพิมพ์ท่ีนายจ้าง
ไดก้ ำหนดข้ึนยื่นต่อผ้บู ังคบั บญั ชาสูงสุดภายใน 7 วนั นบั ต้งั แต่วนั ท่รี าบผลการรอ้ งทุกข์จากผู้บังคับบัญชาระดับต้น
24
ผู้บังคับบัญชาระดับสูงสุดจะพิจารณาและดำเนินการแก้ไขหรือยุติเหตุการณ์ตามคำร้องทุกข์และแจ้งผล
การพจิ ารณาดำเนนิ การใหล้ กู จา้ งผู้ย่นื คำรอ้ งทกุ ข์ทราบภายใน 15 วัน
หากลกู จา้ งยนื่ คำร้องทุกข์ยงั ไม่พอใจผลการพจิ ารณาอุทธรณข์ องผบู้ ังคบั บญั ชาสูงสดุ ยอ่ มมีสทิ ธิดำเนินการ
ในทางอ่ืนอันชอบดว้ ยกฎหมายต่อไปไดห้ รืออาจเสนอต่อนายจ้างเพื่อร่วมกนั ตงั้ ผชู้ ้ขี าดข้ึน
5) ความคุ้มครองผรู้ อ้ งทกุ ขแ์ ละผู้เก่ยี วขอ้ ง
เนื่องจากการร้องทุกข์ที่กระทำไปโดยสุจริตย่อมก่อให้เกิดประโยชน์อันย่ิงใหญ่แก่นายจ้างและลูกจ้างเป็น
ส่วนรวม ดังน้ันลูกจ้างผู้ยื่นคำร้องทุกข์ ลูกจ้างผู้ให้ถ้อยคำ ให้ข้อมูล ให้ข้อเท็จจริงหรือพยานหลักฐานใดเกี่ยวกับ
การร้องทุกข์และลูกจ้างที่เป็นผู้พิจารณาคำร้องทุกข์เม่ือได้กระทำไปโดยสุจริตใจ แม้จะเป็นเหตุให้เกิดข้อยุ่งยาก
ประการใดแก่นายจ้างก็ย่อมได้รับการประกันจากนายจ้างว่าจะไม่เป็นเหตุถือเป็นเหตุท่ีจะเลิกจ้าง ลงโทษหรื อ
ดำเนนิ การใดทเี่ กิดผลรา้ ยตอ่ ลกู จา้ งดงั กล่าว
9. การเลกิ จา้ ง ค่าชดเชยและคา่ ชดเชยพเิ ศษ
1) การเลกิ จ้าง
สภาพการจา้ งงานของพนักงานจะส้นิ สดุ ในกรณดี ังตอ่ ไปนี้
(1) ถึงแก่กรรม
(2) ลาออก พนักงานท่ีมีความประสงค์จะลาออกต้องยื่นใบลาออกเป็นลายลักษณ์อักษรต่อ
ผู้บังคับบญั ชาลว่ งหนา้ ไมน่ อ้ ยกว่า 30 วันและจะไมม่ สี ทิ ธิรบั ค่าชดเชย
(3) เกษียณอายุ พนักงานชายและหญิงจะครบเกษียณอายุเมื่อครบ 55 ปีบริบูรณ์ยกเวน้ บริษัทฯ
เห็นควรว่าจ้างผู้น้ันต่อไปอีกโดยให้เป็นพนักงานประเภทท่ีมีกำหนดระยะเวลาจ้างที่แน่นอน ซึ่งจะจ่ายค่าชดเชย
ตามอายุงานท่ที ำก่อนวา่ จ้างตอ่
(4) สิ้นสุดสัญญาจ้าง พนักงานประเภทที่มีกำหนดระยะเวลาจ้างที่แน่นอนจะพ้นสภาพการเป็น
พนักงาน เมอื่ สุดระยะเวลาทีก่ ำหนดไวใ้ นสัญญาจา้ งและจะจา่ ยคา่ ชดเชยตามอายงุ าน
25
(5) ไม่ผ่านการทดลองงาน พนักงานทดลองงานที่ได้รับการประเมินผลการทดลองงานไม่ผ่าน
เกณฑม์ าตรฐานที่บรษิ ัทฯ กำหนดไวใ้ หพ้ น้ สภาพการเป็นพนักงานและจะไมม่ สี ิทธิ์รับคา่ ชดเชย
(6) ถูกเลิกจ้าง พนักงานท่ีถูกเลิกจ้างจะไดร้ ับค่าชดเชย หากมิได้ถูกเลิกจ้างด้วยสาเหตุดังตอ่ ไปนี้
- ทุจรติ ต่อหน้าท่ี
- กระทำความผิดอาญาโดยเจตนาแกน่ ายจ้าง
- จงใจให้นายจ้างไดร้ ับความเสียหาย
- ฝ่าฝืนข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน ระเบียบหรือคำส่ังผู้บังคับบัญชาอันชอบด้วยกฎหมายและเป็นธรรม
และผู้บังคับบัญชาได้ตักเตือนเป็นหนังสือแล้ว ซึ่งหนังสือเตือนนั้นต้องมีผลบังคับไม่เกินหน่ึงปี นับตั้งแต่วันท่ี
พนักงานทราบหนังสอื เตือน เวน้ แต่กรณรี ้ายแรงไมจ่ ำเป็นตอ้ งตกั เตอื น
- ละทิ้งหน้าที่เป็นเวลา 3 วันทำงานติดต่อกันไม่ว่าจะมีวันหยุดค้ันหรือไม่ก็ตาม โดยไม่มีเหตุอันควรและ
ทางบริษัทฯ ให้พ้นสภาพการเป็นพนักงานและยกเลิกรหัสคีย์การ์ดออกจากระบบของบริษัทฯ ในวันท่ีได้รับแจ้ง
จากผจู้ ัดทมี งาน
- พฤตกิ รรมประมาทเปน็ เหตใุ ห้บรษิ ทั ฯ ได้รบั ความเสยี หายอย่างรา้ ยแรง
- ไดร้ ับโทษจำคุกตามคำพิพากษาถึงทีส่ ุดให้จำคกุ
2) คา่ ชดเชยและค่าชดเชยพิเศษ
ใหน้ ายจ้างจา่ ยค่าชดเชยใหแ้ กล่ ูกจา้ งซง่ึ เลิกจา้ งดงั นี้
(1) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบหนึ่งร้อยย่ีสิบวัน แต่ไม่ครบหนึ่งปีให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้าง
อัตรา อัตราสุดท้ายสามสิบวันหรือไม่น้อยกวา่ ค่าจา้ งของการทำงานสามสิบวนั สุดท้ายสำหรับลูกจ้างซ่ึงได้รบั ค่าจ้าง
ตามผลงานโดยคำนวณเปน็ หน่วย
(2) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบหน่ึงปี แต่ไม่ครบสามปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
เก้าสิบวันหรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานเก้าสิบวันสุดท้ายสำหรับลูกจ้าง ซ่ึงได้รับค่าจ้างตามผลงานโดย
คำนวณเป็นหน่วย
(3) ลูกจ้างซ่ึงทำงานติดต่อกันครบสามปี แต่ไม่ครบหกปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
หนึ่งรอ้ ยแปดสิบวันหรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานหน่ึงร้อยแปดสบิ วันสุดท้ายสำหรับลูกจ้าง ซ่ึงได้รับค่าจ้าง
ตามผลงานโดยคำนวณเปน็ หน่วย
26
(4) ลูกจ้างซ่ึงทำงานติดต่อกันครบหกปี แต่ไม่ครบสิบปี ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้าย
สองร้อยยี่สิบวันหรือไม่น้อยกว่าค่าจ้างของการทำงานสองร้อยยี่สิบวันสุดท้ายสำหรับลูกจ้าง ซึ่งได้รับค่าจ้างตาม
ผลงานโดยคำนวณเปน็ หน่วย
(5) ลูกจ้างซึ่งทำงานติดต่อกันครบสิบปีข้ึนไป ให้จ่ายไม่น้อยกว่าค่าจ้างอัตราสุดท้ายสามร้อยวัน
หรือไม่น้อยกวา่ ค่าจ้างของการทำงานสามร้อยวันสุดท้ายสำหรับลูกจ้าง ซ่ึงได้รับค่าจ้างตามผลงานโดยคำนวณเป็น
หน่วย
10. เบด็ เตลด็
- การแก้ไขเปล่ียนแปลงหรือเพิ่มเติมระเบียบข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงาน บริษัทฯ อาจจะเปลี่ยนแปลง
แก้ไขหรือเพ่ิมเติมข้อบังคับเกี่ยวกับการทำงานต่าง ๆ อาจจะมีขึ้นในภายหน้าตามความเหมาะสม ซึ่งบริษัทฯ
จะแจ้งให้พนักงานทราบล่วงหน้าและส่วนท่ีเปลี่ยนแปลงแก้ไขหรือเพิ่มเติมท่ีบริษัทฯ จะถือว่าเป็นส่วนหน่ึงของ
ระเบยี บขอ้ บังคบั การทำงานนีด้ ้วย
- ในกรณีที่กฎหมายได้กำหนดเรื่องการคุ้มครองแรงงานเป็นอย่างอ่ืนหรือนอกเหนือจากที่ได้กำหนดไว้ใน
ระเบียบน้ใี หถ้ อื ปฏบิ ตั ิตามกฎหมาย