The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คู่มือปฏิบัติงานการใช้มัลติมิเตอร์แบบเข

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by SAKCHAY RUANGRIT, 2022-03-23 21:17:58

คู่มือปฏิบัติงานการใช้มัลติมิเตอร์แบบเข

คู่มือปฏิบัติงานการใช้มัลติมิเตอร์แบบเข

คู่มือปฏิบัติงาน

การใช้งานมัลติมิเตอร์แบบเข็ม

สาขาวิฃาฟสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์
ม ห า วิ ท ย า ลั ย ทั ก ษิ ณ

คู่มอื ปฏิบัติงาน
การใช้มัลตมิ ิเตอรแ์ บบเขม็ เบอื้ งตน้

นายธีรเดช ใหญ่บก
นกั วิทยาศาสตร์สายสนบั สนุน ปฏิบตั ิการ

สาขาวชิ าฟสิ กิ ส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ทักษณิ

~ก~

คํานํา

การทําปฏบิ ัตกิ ารทางฟสิ กิ ส์พน้ื ฐาน ในบทปฏบิ ตั ิจะมีรายวิชาที่เก่ียวข้องกับไฟฟ้าซ่ึงเป็นส่วนหน่ึงของ
รายวิชาในสาขาฟิสิกส์และพื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ ในการศึกษาเร่ืองท่ีเกี่ยวข้องกับไฟฟ้านั้นเป็นสิ่งที่มองไม่
เหน็ ส่ิงสาํ คัญทเี่ ก่ยี วข้องกับการศกึ ษาทางไฟฟ้าคอื เคร่อื งมอื วัดค่าหรือปริมาณทางไฟฟ้าต่างๆ มัลติมิเตอร์แบบ
เข็มก็เป็นเคร่ืองมือท่ีสามารถวัดค่าปริมาณทางไฟฟ้าชนิดต่างๆได้หลากหลาย การเรียนรู้ถึงการใช้งานมัลติ
มิเตอร์จึงมีความจําเป็นและสําคัญอย่างยิ่งสําหรับผู้ที่ศึกษาและสนใจในด้านท่ีเก่ียวกับไฟฟ้า คู่มือฉบับนี้ได้มี
ข้อแนะนําและบอกวิธีการใช้งานมัลติมิเตอร์แบบเข็มเบื้องต้น เพ่ือสามารถให้ผู้ท่ีศึกษาและสนใจสามารถใช้
เคร่อื งมือวัดมลั ติมิเตอรไ์ ด้อย่างถูกตอ้ งและปลอดภัย

นักวิทยาศาสตร์สายสนับสนุนนับเป็นบุคลากรท่ีมีความสําคัญอย่างย่ิงในการเรียนการสอนวิชา
ปฏิบัติการพ้ืนฐานท่ีเก่ียวข้องกับไฟฟ้าหรือผู้ท่ีมาปฏิบัติงานแทนได้เข้าใจและสามารถปฏิบัติงานแทนได้ จึงได้
ทาํ คมู่ ือการการปฏบิ ตั งิ านการใช้มัลติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบื้องตน้ ข้ึนมา โดยคาดหวังว่าคู่มือเล่มนี้จะมีประโยชน์ต่อ
ผู้ท่ีมีความสนใจและสามารถทําให้ผู้ท่ีอ่านหรือผู้ปฏิบัติงานแทนสามารถนําไปใช้ปฏิบัติงานได้จริงตาม
วัตถปุ ระสงค์ของผูจ้ ดั ทาํ

นายธีรเดช ใหญ่บก

นักวทิ ยศาสตร์ สายสนบั สนนุ สาขาฟสิ กิ ส์ ปฏบิ ัติการ

พ.ศ. 2565

~ข~

สารบญั

หัวข้อ หนา้

บทนํา ก
สารบัญ ข
สารบญั ภาพ ง
สารบญั ตาราง จ
บทที่ 1 บทนํา 1
1
ความเปน็ มาและความสาํ คญั 2
วัตถุประสงค์ 2
ประโยชนท์ ี่คาดวา่ จะไดร้ ับ 2
ขอบเขตการศกึ ษา 2
นิยามศพั ทท์ ่เี กี่ยวข้อง 4
บทที่ 2 โครงสรา้ งหนว่ ยงานที่สังกัด ภารกจิ ของหน่วยงาน บทบาทหน้าท่ี
ความรบั ผิดชอบของตาํ แหนง่ 4
โครงสรา้ งหน่วยงานที่สงั กดั 5
ภาระหน้าที่ของหนว่ ยงาน 7
บทบาทหนา้ ที่และความรบั ผดิ ชอบของตาํ แหนง่ 9
บทท่ี 3 หลักเกณฑ์การปฏิบตั ิงาน ขั้นตอนการขอใชเ้ ครื่องมือวัดทางไฟฟ้ามัลติมิเตอร์
ขั้นตอนและวิธีการใชง้ านเคร่ืองมือวดั ทางไฟฟ้ามัลติมิเตอร์ 9
การใช้งานมัลติมเิ ตอร์ 9
หลักเกณฑก์ ารปฏบิ ตั ิงาน 10
ขัน้ ตอนการขอใช้เครื่องมอื วัดทางไฟฟ้ามลั ตมิ ิเตอร์ 29
ขนั้ ตอนและวธิ กี ารใช้งานเครื่องมอื วัดทางไฟฟ้ามลั ตมิ ิเตอร์ 29
บทที่ 4 ขั้นตอนการปฏบิ ัติงาน จริยธรรมในการปฏิบตั งิ าน วิธกี ารประเมินผลการปฏบิ ตั งิ าน
ขนั้ ตอนการปฏบิ ัตกิ าร

~ค~

จริยธรรมในการปฏบิ ัติงาน 30
หัวข้อ หนา้

วิธกี ารประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน 31
บทที่ 5 สรปุ ความสาํ คญั ขอ้ แนะนําปญั หาและแนวทางแก้ไข 34
34
สรปุ ความสําคญั ข้อแนะนาํ ของการใช้งานมลั ตมิ เิ ตอร์ 35
ปญั หาและแนวทางแก้ไข 37
บรรณานุกรม 38
ภาคผนวก 40
ประวัติผู้เขียน

~ง~

สารบญั ภาพ

ภาพท่ี หน้า

1 โครงสร้างการบรหิ ารงานคณะวทิ ยาศาสตร์ 4

2 โครงสรา้ งการบรหิ ารงานของสาขาวชิ าฟสิ ิกส์ 5

3 มลั ติมิเตอร์แบบเข็มยหี่ อ้ sanwaร่นุ YX360TRF ที่ประจําหอ้ ง 10

ปฏิบตั กิ ารฟสิ กิ ส์พื้นฐาน

4 มัลตมิ ิเตอร์แบบตวั เลขยี่ห้อ PeakTechร่นุ 2005 (ก) และ มัลตมิ เิ ตอร์แบบ 11

ตัวเลขยห่ี อ้ PeakTechรนุ่ 3335 DMM (ข) ประจําห้องปฏิบัติการฟสิ ิกส์พืน้ ฐาน

5 สว่ นประกอบหลักของมัลติมิเตอร์ 12

6 สว่ นประกอบหลักของตัวเลือกในการวัดคา่ ต่างๆ ของมลั ติมเิ ตอร์ 13

7 ตัวต้านทานชนดิ ต่างๆ (ก) ตวั ตา้ นทานชนิดคงตัว (ข) ตัวตา้ นทานชนดิ ปรับค่าได้ 14

(ค) ตัวตา้ นทานชนดิ พิเศษ

8 ภาพของเขม็ แสดงผลของมัลตมิ เิ ตอรเ์ มื่อนาํ ปลายข้ัวสายวัดทง้ั สองมาแตะกัน 15

ในยา่ นการวดั ความต้านทาน

9 ภาพแสดงเข็มของมัลติมิเตอรข์ ณะท่ียังไม่ทาํ การวัดค่าความต้านทานไฟฟา้ 16

10 ภาพแสดงผลของเข็มมลั ติมิเตอร์ขณะทที่ าํ การวัดตวั ต้านทานไฟฟา้ (เลือกยา่ น x10) 16

11 ภาพแสดงผลของเข็มมลั ติมเิ ตอร์เม่ือเลือกย่านการวดั ทไ่ี ม่เหมาะสม 17

(ก)เลือกยา่ นการวัดท่ีx100 (ข) เลือกย่านการวดั ที่x1

12 การเลือกยา่ นการวดั ความต่างศกั ย์ไฟฟา้ กระแสตรงที่วัดได้สูงสุด 10 โวลต์ 19

13 แสดงการวดั คา่ ความต่างศกั ย์ไฟฟ้ากระแสตรงโดยสายสีแดงตอ่ เขา้ กบั ขัว้ บวก 20

และสายสดี ําต่อเขา้ กับขวั้ ลบ

14 แถวตัวเลขแสดงผลการวดั ค่าความศักย์ไฟฟ้ากระแสตรงในวงจร 21

15 แสดงเขม็ มลั ติมเิ ตอร์การวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟา้ กระแสตรง 22

ในการเลอื กยา่ นการวดั 10 VDC

16 การเลอื กย่านการวัดความตา่ งศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั ทวี่ ดั ได้สูงสดุ เท่ากับ 10 โวลต์ 23

17 การตอ่ สายมลั ติมิเตอร์เพื่อวัดความต่างศักย์ไฟฟา้ กระแสสลับเขา้ กับ 23

แหล่งจ่ายไฟกระแสสลบั

~จ~

สารบญั ภาพ(ต่อ)

ภาพท่ี หนา้
18 แสดงผลการวดั วดั ความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั เม่ือต่อ 24

เขา้ กับแหล่งจ่ายไฟกระแสสลบั 6 โวลต์ 25
19 แสดงยา่ นการวัดปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ตรง 26
20 วธิ วี ัดความปริมาณกระแสไฟฟ้าตรงในวงจร 26
21 แสดงขั้วไฟฟ้าของวงจรทีไ่ ด้ทําการวดั กระแสไฟฟ้า 27
22 แสดงผลการวดั คา่ ปริมาณกระแสไฟฟ้าในวงจรไฟฟา้ กระแสตรง
28
ในยา่ นการวัดสงู สุดไมเ่ กิน 0.25 A
23 แสดงปริมาณการวัดกระแสไฟฟา้ ตรงทีป่ ริมาณเทา่ กนั (ก) เลอื กยา่ น

การวัดสงู สุด 250 มลิ ลแิ อมแปร์ (ข) เลอื กย่าการวดั สูงสดุ ท่ี 25 มิลลแิ อมแปร์

~ฉ~ หนา้
7
สารบัญตาราง 34
35
ตารางท่ี
1 หนา้ ทแ่ี ละความรับผดิ ชอบและลักษณะงานทป่ี ฏิบตั ิ
2 ตารางสรุปความสาํ คัญของการใชง้ านมัลตมิ เิ ตอรว์ ัดค่าต่างๆ
3 ปญั หาและแนวทางแก้ไขปัญหา

บทท่ี 1

บทนาํ

1. ความเปน็ มาและความสาํ คัญ
สาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ได้มุ่งเน้นการพัฒนาด้าน

การเรยี นการสอนและการวิจยั โดยเปา้ หมายสงู สุดคอื การผลติ บัณฑติ ในสาขาไดใ้ ช้ศาสตรค์ วามรู้ที่เก่ียวข้องกับ
ฟิสิกส์เพื่อมาศึกษาปรากฏการณ์ต่างๆ ให้มีความเช่ียวชาญและมีทักษะการใช้เคร่ืองมือ นอกจากมีการเรียน
การสอนภาคทฤษฏีจากการบรรยายของอาจารย์ผู้สอนแล้ว ส่ิงที่มีความสําคัญที่ทําให้บัณฑิตมีความเข้าใจได้
ถูกตอ้ งและครบถว้ นมากข้นึ คือ การไดล้ งมอื ปฏิบัติจริงเกย่ี วกับสิง่ ทีไ่ ด้เรียนรู้มา ซึ่งรายวิชาปฏิบัติการสามารถ
ทําใหน้ ิสิตเขา้ ใจและถอดความรจู้ ากภาคปฏบิ ัติไปประยุกต์การใช้งานได้จริงในในรายวิชาภาคบรรยาย รายวิชา
โครงงานระดบั ปริญญาตรี และนําความรทู้ ไี่ ด้จากการปฏบิ ัติไปในการฝึกงาน สหกิจศึกษา การทําวิจัย และการ
ออกไปปฏิบัตงิ านจรงิ หลังจากการจบการศึกษาได้

ในการเรียนรายวิชาปฏิบัติการพ้ืนฐานในสาขาฟิสิกส์ ประกอบไปด้วยการทดลองที่แตกต่างกันไป
หลากหลายการทดลองตามเน้ือหาทางทฤษฏีที่อาจารย์ผู้สอนได้บรรยาย ทฤษฏีท่ีเรียนในสาขาหนึ่งในน้ันคือ
เรื่องระบบไฟฟ้าเบ้ืองต้น กฎของโอห์ม การเรียนรู้ถึงทฤษฏีทางไฟฟ้าเป็นการเรียนรู้ถึงส่ิงที่มีอยู่แล้วใน
ชีวิตประจําวันว่าการได้มาซึ่งไฟฟ้าท่ีใช้ในปัจจุบันได้มาอย่างไร เคร่ืองใช้ไฟฟ้ามีหลักการทํางานที่ได้ใช้ทฤษฏี
ทางไฟฟา้ อยา่ งไรบ้าง ปัจจุบนั ไฟฟ้าเปรียบเสมอื นปัจจยั หลกั ท่เี พม่ิ เขา้ มาในการดํารงชีวิตท่ีขาดไม่ได้ ไฟฟ้าเป็น
ส่วนหนึ่งของการดํารงชีวิตประจําวัน เครื่องใช้ไฟฟ้าต่างๆกลายเป็นเคร่ืองมือท่ีคอยอํานวยความสะดวกใน
ชีวติ ประจาํ วัน การที่นิสิตได้รับความรู้เบ้ืองต้นเกี่ยวกับไฟฟ้าประเภทต่างๆ การใช้งานเคร่ืองมือวัดทางไฟฟ้าท่ี
ถูกต้อง สามารถทําให้นิสิตได้มีความรู้เกี่ยวกับการใช้ไฟฟ้าในชีวิตประจําวัน และสามารถใช้มัลติมิเตอร์เพ่ือ
ตรวจสอบความเสียหายหรือซอ่ มแซมเคร่อื งใช้ไฟฟา้ หรือระบบไฟฟ้าเบือ้ งตน้ ได้

การเรียนวิชาปฏิบัติการฟิสิกส์พ้ืนฐานประเภทต่างๆวิชาปฏิบัติการฟิสิกส์ 2 และวิชาปฏิบัติการ
ฟิสิกส์สําหรับวิศวกรรมศาสตร์ เพ่ือให้นิสิตตระหนักถึงความรู้และข้อปฏิบัติในการใช้งานมัลติมิเตอร์เบื้องต้น
และได้ทําการศึกษาคู่มือเล่มนี้ได้มีการลงมือปฏิบัติงานจริง นักวิทยาศาสตร์ที่รับผิดชอบรายวิชาปฏิบัติการ
สามารถทําการสาธติ และใช้งานมัลตมิ ิเตอร์ได้อยา่ งถูกต้อง จึงได้จดั ทาํ คมู่ อื การใชง้ านมัลติมิเตอร์เบื้องต้นขึ้นมา
เพือ่ ให้ความรู้และสามารถศึกษาจากค่มู อื ฉบับนี้แลว้ นาํ ไปใช้งานได้ รวมทั้งสําหรับผู้ท่ีสนใจที่ต้องการศึกษาการ
ใช้งานมัลตมิ เิ ตอรส์ ามารถนาํ คมู่ อื เลม่ น้เี พ่ือการศึกษาเรยี นรแู้ ละปฏบิ ัติการใชง้ านจรงิ ได้

-2-

2 วตั ถปุ ระสงค์

2.1 เพือ่ รวบรวมหลกั เกณฑ์การปฏบิ ตั ิบัติงานของมลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มในการวดั ปรมิ าณทางไฟฟ้าให้
มีหลักเกณฑป์ ฏิบตั งิ านไปในแนวทางเดยี วกัน

2.2 เพื่อนําเสนอขั้นตอนการขอใช้งานและวิธีใช้งานมัลติมิเตอร์แบบเข็มเพื่อวัดปริมาณทางไฟฟ้าได้
อยา่ งถูกต้อง

2.3 เพอ่ื นาํ เสนอวธิ กี ารประเมินผลความพึงพอใจในการปฏิบตั ิงานของนักวทิ ยาศาสตร์

3. ประโยชนท์ คี่ าดวา่ จะได้รับ

3.1 นักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์มีความเข้าในในกระบวนการใช้งานมัลติมิเตอร์แบบเข็มในการวัด
ปรมิ าณทางไฟฟา้ ได้อยา่ งถูกตอ้ ง

3.2 สามารถลดปัญหาและอุปสรรค์ในขั้นตอนกระบวนการขอและการใช้งานมัลติมิเตอร์แบบเข็มใน
การวดั ปริมาณทางไฟฟ้าได้

4. ขอบเขตของคู่มือปฏบิ ัติงาน

คู่มือการปฏิบัติงานเร่ืองการใช้งานมัลติมิเตอร์เบื้องต้นเล่มนี้ มีเน้ือหาครอบคุลม เกี่ยวกับโครงสร้าง
และภารกิจของหน่วยงาน บทบาทหน้าท่ีและความรับผิดชอบโดยท่ัวไปในของตําแหน่งนักวิทยาศาสตร์
หลักการและรายละเอียดการใช้งานมัลติมิเตอร์เบื้องต้น สิ่งท่ีต้องคํานึงถึงข้อควรระวังขณะใช้งาน เพ่ือให้
ผูใ้ ช้งานได้ใช้เครอ่ื งมือไดอ้ ย่างถกู ต้องและมแี นวทางปฏิบัติของการใช้งานไปทางเดียวกัน ขั้นตอนในการปฏิบัติ
เพื่อขอใช้งานมัลติมิเตอร์ การประเมินผลการใช้งานจากผู้ใช้งาน สรุปความสําคัญ ข้อควรระวัง ข้อแนะนํา
ปัญหาที่เกิดข้ึนและแนวทางการแก้ไขตามปัญหาท่ีได้จากให้บริการ เอกสารที่เก่ียวข้องกับคู่มือปฏิบัติงาน
รวมทัง้ ประวตั ขิ องผู้จัดทาํ คู่มอื

5. นิยามศพั ทท์ ่ีเกยี่ วข้อง

มัลติมิเตอร์ (Multimeter) มัลติมิเตอร์ถือว่าเป็นเครื่องมือวัดที่จําเป็นสําหรับงานด้าน
อิเล็คทรอนิกส์ เพราะว่าเป็นเคร่ืองวัดที่ใช้ค่าพื้นฐานทางไฟฟ้าคือ แรงดันไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าและความ
ตา้ นทานไฟฟ้า ไม่วา่ จะเป็นการทดสอบหรอื การตรวจซ่อมวงจรตา่ ง ๆ ก็จําเปน็ ต้องวดั คา่ เหลา่ นนั้ ทงั้ สิ้น

มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) เป็นมัลติมิเตอร์ที่แสดงข้อมูลจากการวัดค่าปริมาณ
ทางไฟฟ้าจากลักษณะการแบนของเข็มจากซ้ายไปขวา ซึ่งวิธีการต้ังค่าและวิธีการวัดในค่าต่างทางไฟฟ้าจะมี
ลกั ษณะการอ่านค่าทแ่ี ตกตา่ งกนั ไป มีความสลบั ซับซ้อนและกระบวนการแปลผลขอมูลในแต่ละค่าแตกต่างกัน
ออกไป ต้องมีการนําข้อมูลจากค่าทเี่ ข็มช้ีมาแสดงมาคํานวณเป็นคา่ ท่ไี ด้จากการวดั คา่ ปริมาณต่างๆทางไฟฟา้

ค่มู ือปฏบิ ตั ิงาน การใชม้ ลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มเบอ้ื งตน้

-3-

วงจรไฟฟ้า คือ การนําเอาสายไฟฟ้าหรือตัวนําไฟฟ้าท่ีเป็นเส้นทางเดินให้กระแสไฟฟ้าสามารถไหล
ผ่านต่อถึงกันได้นั้นเราเรียกว่า วงจรไฟฟ้า การเคล่ือนท่ีของอิเล็กตรอนที่อยู่ภายในวงจรจะเริ่มจากแหล่งจ่าย
ไฟฟ้าไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้า ดังการแสดงการต่อวงจรไฟฟ้าเบ้ืองต้นโดยการต่อแบตเตอร่ีต่อเข้ากับหลอดไฟ
หลอดไฟฟ้าสวา่ งได้เพราะว่ากระแสไฟฟา้ สามารถไหลได้ตลอดท้ังวงจรไฟฟ้าและเม่ือหลอดไฟฟ้าดับก็เพราะว่า
กระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลไดต้ ลอดท้งั วงจร เน่อื งจากสวิตซ์เปิดวงจรไฟฟ้าอย่นู ่ันเอง

วงจรไฟฟ้าแบบอนุกรม คือ การนําเอาอุปกรณ์ทางไฟฟ้ามาต่อกันในลักษณะที่ปลายด้านหนึ่งของ
อุปกรณ์ตัวที่ 1 ต่อเข้ากับอุปกรณ์ตัวท่ี 2 จากนั้นนําปลายท่ีเหลือของอุปกรณ์ตัวที่ 2 ไปต่อกับอุปกรณ์ตัวท่ี 3
และจะตอ่ ลักษณะนีไ้ ปเรื่อยๆ ซึ่งการต่อแบบน้ีจะทําให้กระแสไฟฟ้าไหลไปในทิศทางเดียวกระแสไฟฟ้าภายใน
วงจรอนุกรมจะมีค่าเท่ากันทุกๆจุด ค่าความต้านทานรวมของวงจรอนุกรมน้ันคือการนําเอาค่าความต้านทาน
ทั้งหมดนํามารวมกันส่วนแรงดันไฟฟ้าในวงจรอนุกรมนั้นแรงดันจะปรากฏคร่อมตัวต้านทานทุกตัวท่ีจะมี
กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ นซ่ึงแรงดนั ไฟฟ้าทเี่ กิดข้ึนจะมคี ่าไม่เท่ากันโดยสามารถคาํ นวณหาได้จากกฎของโอห์ม

วงจรไฟฟ้าแบบขนาน คือ วงจรท่ีเกิดจากการต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าต้ังแต่ 2 ตัวข้ึนไปให้ขนานกับ
แหล่งจ่ายไฟมีผลทําให้ค่าของแรงดันไฟฟ้าที่ตกคร่อมอุปกรณ์ไฟฟ้าแต่ละตัวมีค่าเท่ากัน ส่วนทิศทางการไหล
ของกระแสไฟฟ้าจะมีต้ังแต่ 2 ทิศทางข้ึนไปตามลักษณะของสาขาของวงจรส่วนค่าความต้านทานรวมภายใน
วงจรขนานจะมีค่าเท่ากับผลรวมของส่วนกลับของค่าความต้านทานทุกตัวรวมกัน ซึ่งค่าความต้านทานรวม
ภายในวงจรไฟฟ้าแบบขนานจะมคี ่าน้อยกวา่ ค่าความตา้ นทานภายในสาขาทีม่ คี ่าน้อยที่สุดเสมอ และค่าแรงดัน
ท่ตี กคร่อมความต้านทานไฟฟา้ แต่ละตวั จะมคี า่ เทา่ กบั แรงเคล่ือนของแหล่งจ่าย

คมู่ อื ปฏิบตั ิงาน การใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็ เบอื้ งตน้

บทที่ 2
โครงสร้างหนว่ ยงานที่สังกัด ภารกจิ ของหน่วยงาน บทบาทหน้าท่ีความรับผดิ ชอบของ

ตาํ แหน่ง

การจัดทาํ คู่มือการปฏบิ ัติงานเรื่องการใช้งานมัลติมิเตอร์เบื้องต้นเป็นคู่มือท่ีใช้ในสนับสนุนการเรียนการ
สอนปฏิบัติการในด้านวิทยาศาสตร์ของสาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ เป็นการทํา
คู่มือเพ่ือให้ผู้ท่ีได้มาศึกษาคู่มือฉบับนี้ เม่ือได้ศึกษาแล้วสามารถนําไปปฏิบัติงานจริงได้ ในบทน้ีได้ทําการ
กล่าวถึงโครงสร้างของหน่วยงานที่ตัวของนักวิทยาศาสตร์สังกัด ภารกิจของหน่วยงานหลักที่ได้รับ บทบาท
หนา้ ทต่ี ําแหนง่ ของนักวิทยาศาสตร์ดงั นี้

1.โครงสรา้ งหนว่ ยงานทส่ี งั กดั
1.1 สํานักงานคณะวิทยาศาสตร์ เป็นศูนย์กลางในการบริหารจัดการส่วนงานของคณะวิทยาศาสตร์

ประกอบด้วยทมี งานที่เข้มแข็ง มุ่งเน้นการพัฒนางาน มีความรับผิดชอบ มีความโปร่งใส สามารถตรวจสอบได้
ภายใต้การบริหารงานแบบการรวมบริการประสานภารกิจ โดยบุคลากรด้านนักวิทยาศาสตร์ นักวิชาการ
คอมพวิ เตอร์ นักวิชาชีพ สังกัดอยู่กบั งานสนบั สนนุ การเรียนการสอนดา้ นวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ภาพท่ี 1 โครงสรา้ งการบริหารงานคณะวทิ ยาศาสตร์

นักวิทยาศาสตร์เป็นบุคลากรท่ีสังกัดอยู่กับหน่วยงานสนับสนุนการเรียนการสอนด้านวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยี และจะมีงานสนับสุนนการเรียนการสอนตามสาขาวิชาต่าง ๆ ตามที่ตนเองสังกัด เช่น
นักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์มีการกํากับดูแลและทําข้อตกลงร่วมกันระหว่างตัวนักวิทยาศาสตร์และประธาน
สาขาวิชาฟิสิกส์ มีภาระการปฏิบัติงานหลักในด้านกาสนับสนุนการเรียนการสอนในรายวิชาปฏิบัติการ
สนับสนุนการเรียนการสอนในส่วนของรายวิชาโครงงาน และภาระการทํางานรองในส่วนของการตอบสนอง

-5-

การทํางานตามยุทธศาสตร์ของคณะวิทยาศาสตร์และมหาวิทยาลัย รวมถึงการท่ีพัฒนาประสิทธิภาพด้าน
ความรู้และการพัฒนาการทํางานของตัวเอง ร่วมท้งั การร่วมกนั พฒั นาศกั ยภาพหน่วยงานทส่ี งั กัด

1.2 โครงสรา้ งการบริหารงานของสาขาวิชาฟิสิกส์ คณะวิทยาศาสตร์

ภาพที่ 2 โครงสร้างการบรหิ ารงานของสาขาวิชาฟิสิกส์
2 ภาระหนา้ ทีข่ องหน่วยงาน

การทํางานและภาระหน้าท่ีหลักสาขาวิชาฟิสิกส์ ทําหน้าท่ีผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ความเช่ียวชาญ
เกี่ยวกับในศาสตร์ความรู้ด้านฟิสิกส์ บัณฑิตที่จบการศึกษาออกไปสามารถนําความรู้ทางศาสตร์ฟิสิกส์ไป

ค่มู ือปฏบิ ัติงาน การใช้มลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็ เบอ้ื งตน้

-6-

ประกอบอาชีพได้ การจัดการเรียนการสอนของสาขาวิชาฟิสิกส์ มีการจัดการเรียนการสอนให้นิสิตได้มีความรู้
ความเข้าใจท้ังทางด้านทฤษฏี ให้เกิดความเข้าใจและความชํานาญทางทักษะในด้านการปฏิบัติการโดยแบ่ง
ออกเป็นหลกั สูตรดังตอ่ ไปน้ี

2.1 หลกั สูตรวทิ ยาศาสตรบัณฑติ สาขาวชิ าฟสิ ิกส์

ปรชั ญา: รอบรู้ทฤษฎี มีทักษะปฏิบัติ พัฒนาสังคมด้วยศาสตรฟ์ สิ ิกส์

การนําวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมาใช้เพื่อการพัฒนาชาติต้องอาศัยความรู้ความสามารถใน
วิทยาการสาขาวิชาต่างๆ ฟิสิกส์เป็นสาขาวิชาหนึ่งซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของวิทยาศาสตร์ธรรมชาติและวิทยาศาสตร์
ประยกุ ต์ของทุกสาขาเนอ่ื งจากขอบเขตของฟิสิกส์มีการศึกษาละเอียดระดับเล็กกว่าอะตอมจนถึงระดับเอกภพ
ดังน้ันฟสิ ิกส์จึงมคี วามสาํ คัญต่อวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยที ุกสาขาทง้ั ในดา้ นเนื้อหา วธิ กี ารวดั การใช้เครื่องมือ
และการแปลผลการวดั เปน็ ตน้ มีวัตถุประสงค์ของหลักสูตรดังนี้

เพ่อื ผลิตบัณฑติ สาขาวชิ าฟสิ ิกส์ ท่มี คี ุณธรรม จรยิ ธรรมความรบั ผิดชอบ และมคี ณุ ลักษณะดงั นี้
1. มคี วามร้ทู ฤษฎี มที ักษะปฏบิ ัติ สามารถปฏบิ ัตงิ านทางด้านฟิสิกสไ์ ด้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ
2. สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และอาศัยหลักการทางวิทยาศาสตร์ในการแก้ปัญหาอย่างเป็น
ระบบได้
3. มีความคิด สร้างสรรคร์ ู้เท่าทันเทคโนโลยี และเลือกใช้เทคโนโลยีได้อยา่ งคุ้มคา่

2.2หลกั สตู รวทิ ยาศาสตรมหาบณั ฑติ สาขาวิชาฟิสกิ ส์

ปรชั ญา : เขา้ ใจศาสตร์และสามารถบูรณาการองคค์ วามรู้ฟิสกิ ส์เพอื่ นําไปส่กู ารพัฒนาประเทศ

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเพ่ือการพัฒนาชาติต้องอาศัยความรู้ความสามารถในวิทยาการ
สาขาวิชาต่างๆ ฟิสกิ ส์เป็นสาขาวิชาหน่ึงซงึ่ เปน็ พน้ื ฐานของวิทยาศาสตรธ์ รรมชาติและวทิ ยาศาสตร์ประยุกต์ทุก
สาขาเน่ืองจากฟิสิกส์ศึกษาละเอียดลึกถึงระดับเล็กกว่าอะตอมจนถึงระดับใหญ่เท่าเอกภพ ดังนั้นฟิสิกส์จึงมี
ความสําคัญต่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทุกสาขาท้ังในด้านหลักทฤษฎี วิธีการวัด การใช้เคร่ืองมือ และการ
แปลผลการวัด การพัฒนาหลักสูตรสาขาวิชาฟิสิกส์ในระดับมหาบัณฑิตขึ้นในคณะวิทยาศาสตร์จะมีส่วนช่วย
สร้างมหาบัณฑิตที่มีศักยภาพสูง มีความรับผิดชอบ มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย มีความรอบรู้ในวิชาชีพ
สามารถปรบั ตวั ให้เขา้ กบั สถานการณ์ของโลก เพิ่มพูนความรู้ให้กับนักวิจัย นักวิชาการในท้องถิ่น และสามารถ
บูรณาการองค์ความรู้ฟิสิกส์เพ่ือนําไปสู่การพัฒนาประเทศเพ่ือผลิตมหาบัณฑิต สาขาวิชาฟิสิกส์ท่ีมีคุณธรรม
จริยธรรม และมคี ุณลักษณะดงั นี้

1. เป็นผู้มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี ทักษะการวิจัยและการใช้เคร่ืองมือ การ
สร้างองค์ความร้ใู หมแ่ ละสามารถเชือ่ มโยงความรูก้ บั สาขาท่ีเกย่ี วขอ้ งได้

คมู่ ือปฏบิ ตั งิ าน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบอ้ื งต้น

-7-

2. สามารถติดตามความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขาฟิสิกส์และสาขาที่เก่ียวข้อง สามารถพัฒนา
ตนเองไดอ้ ยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

3. มีความเป็นผู้นําทางวิชาการ สามารถนําเสนอข้อมูลวิชาการและให้บริการวิชาการอย่างมี
ประสทิ ธภิ าพ

4. มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ รู้บทบาทหน้าที่ของตนเคารพในคุณค่าและศักดิ์ศรีของ
ความเป็นมนุษย์ และตระหนักถึงผลกระทบของการประยุกต์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีต่อธรรมชาติ
สิง่ แวดลอ้ มและสงั คม

3.บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของตาํ แหน่ง

ลักษณะงานท่ีปฏิบัติของนักวิวิทยาศาสตร์จะถูกแบ่งออกเป็นลักษณะงานตามภาระงานหลักและภาระ
งานรอง ภาระงานหลักคือเน้นการสนับสนุนด้านการเรียนการสอนในรายวิชาปฏิบัติการ ซึ่งในหลักสูตรของ
วิทยาศาสตร์บัณฑิตนั้นจําเป็นท่ีต้องศึกษาวิชาปฏิบัติการ และฟิสิกส์พื้นฐานด้านวิทยาศาสตร์ นิสิตที่ได้เข้ามา
ศึกษาในหลกั สูตรทีเ่ กี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ต้องเรียนฟิสิกส์เป็นพ้ืนฐาน และเรียนวิชาปฏิบัติเพื่อให้เกิดความ
เข้าใจอยา่ งถ่องแท้และสําหรับนิสิตท่ีเรียนหลักสูตรวิทยาศาสตร์บัณฑิตสาขาฟิสิกส์จําเป็นต้องเรียนปฏิบัติการ
ฟิสกิ ส์ข้นั สูง และภาระงานรองของตําแหน่ง ดังแสดงในตาราง

ตารางที่ 1 หน้าทแี่ ละความรับผิดชอบและลกั ษณะงานท่ีปฏบิ ตั ิ

หน้าท่แี ละความรับผดิ ชอบ ลักษณะงานทีป่ ฏิบัติ

สนับสนุนการเรียนการสอน -ทําหน้าที่จัดเตรียมชุดปฏิบัติการเกี่ยวกับการทดลองของฟิสิกส์พื้นฐานให้มี

รายวชิ าปฏิบตั กิ าร ความพร้อมสําหรับการเรยี นในรายวิชาปฏบิ ัตกิ ารของสาขา

- ทําหน้าท่ีจัดเตรียมชุดปฏิบัติการฟิสิกส์สําหรับนิสิตภายในสาขาฟิสิกส์ให้มี

ความพรอ้ มสําหรบั การเรียนในรายวชิ าปฏิบัตกิ ารของสาขา

- จดั หาอุปกรณแ์ ละซอ่ มแซมชุดปฏบิ ัตกิ ารฟิสิกส์ ให้อยู่ในสภาพสมบูรณ์พร้อม

สําหรับการใช้งาน

- แนะนําและอธิบายการใช้เคร่ืองมือและการทําปฏิบัติการทดลองรวมท้ังการ

แปรผลการทดลองแกน่ ิสติ หรือผูใ้ ชบ้ รกิ าร

- ตรวจสอบสภาพของเครอื่ งมอื หรอื อปุ กรณ์ที่ใชท้ ดลอง หลังจากที่มีการใช้งาน

วา่ อยูใ่ นสภาพเดิมหรือไม่ และจดั เกบ็ อปุ กรณ์หลงั ใช้งานใหเ้ รียบรอ้ ย

สนับสนุนการเรียนการสอน -อํานวยความสะดวกในการยืม-คืน และการใช้เคร่ืองมือหรือวัสดุอุปกรณ์ของ

รายวชิ าโครงงานฟิสกิ ส์ สาขาวิชาเพอื่ ให้นิสิตใช้ในการรายวิชาโครงงาน

- แนะนําและอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับการใช้เคร่ืองมือในการทําโครงงาน

ของนิสิต

ค่มู ือปฏบิ ัติงาน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มเบ้ืองตน้

-8-

หน้าทแี่ ละความรับผิดชอบ ลกั ษณะงานทีป่ ฏิบัติ

- คอยตรวจสอบดูแลให้อุปกรณ์และเครื่องมือต่างๆให้อยู่สภาพท่ีพร้อมสําหรับ

ใช้งาน

- ใหค้ าํ ปรกึ ษาหรือแนะนาํ แกน่ ิสิตทที่ าํ โครงงาน

ง า น ด้ า น ห ลั ก สู ต ร ข อ ง -เป็นเลขาในการประชุมต่างๆของสาขาที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตร เช่น การ

สาขาวชิ า ประชุมประจําเดือนของสาขา การประชุมประกันคุณภาพข้อสอบ การ

ประชมุ ประกนั คุณภาพระดบั ข้นั

- หาข้อมูลต่างๆที่เกี่ยวข้องกับสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ดูแล เพ่ือนําข้อมูลมากรอก

ในการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษาระดับหลักสตู ร

ส นั บ ส นุน ด้ า น กา ร ดู แ ล -ตรวจสอบดูแลครุภณั ฑ์ของสาขาวชิ าฟสิ กิ ส์

ครุภัณฑ์ ห้องเรียนอาคาร - ดูและความเรยี บร้อยของหอ้ งเรียนและอาคารปฏบิ ัติต่างๆ ของสาขาวชิ า

และสถานที่ของสาขา - คอยอํานวยความสะดวกแก่อาจารย์ผู้สอนที่มีการเรียนการสอนภายใน

หอ้ งเรยี นและอาคารตา่ งๆของสาขา

- คอยอํานวยความสะดวกการใช้สอยพ้ืนท่ีบริเวณห้องเรียน และพ้ืนท่ีบริเวณ

อาคารตา่ งๆในการทาํ กจิ กรรมของสาขา

ภาระงานรองและงานอ่ืนที่ -เป็นวิทยากรการบรรยาย ให้ความรู้แก่กับบุคลากรและและบุคคลท่ีสนใจ

ได้รบั มอบหมาย ท่วั ไปในโครงการบรกิ ารวิชาการต่างๆ ตามทีไ่ ด้รับมอบหมาย

- การทํางานในส่วนการเป็นคณะกรรมการทํางานในโครงการต่างๆ ตามท่ี

มหาวิทยาลยั และคณะวทิ ยาศาสตร์ไดม้ กี ารแตง่ ต้งั และจัดทําโครงการ

- การตรวจครุภัณฑป์ ระจําปรี ะดับสาขาและระดบั คณะวิทยาศาสตร์

- ภาระงานอ่ืนที่ได้รับมอบหมายจากคณะวิทยาศาสตร์ ซึ่งเป็นงานท่ีใช้ความ

ถนัดดา้ นวทิ ยาศาสตร์ทีเ่ กย่ี วข้องกบั ฟสิ ิกส์

งานในเชิงพัฒนาตนเองและ - การเข้าร่วมการประชุมวิชาการต่างๆ การนําเสนอผลงานทางวิชาการในเวที

หน่วยงาน งานประชมุ วิชาการต่างๆ

- การทํางานวิจัยและการเป็นผู้ร่วมวิจัยในการทําวิจัยร่วมในส่วนความชํานาญ

และการนําความรู้ทางสาขาฟิสกิ สไ์ ปประยุกตใ์ ช้

- การเข้าร่วมประชมุ และอบรม และการนําองค์ความรู้เพ่ือพัฒนาศักยภาพการ

ทาํ งานตนเองและหน่วยงาน

คมู่ อื ปฏิบัติงาน การใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็ เบื้องต้น

บทที่ 3

หลกั เกณฑ์การปฏบิ ตั งิ าน ข้นั ตอนการขอใชเ้ ครื่องมอื วัดทางไฟฟ้ามลั ตมิ เิ ตอร์
ข้นั ตอนและวธิ ีการใช้งานเครื่องมอื วัดทางไฟฟา้ มลั ตมิ ิเตอร์

1. หลกั เกณฑ์การปฏบิ ตั งิ าน

คู่มือปฏิบัติงานฉบับน้ี เขียนข้ึนมาเพ่ือเน้นการใช้งานในวิชาปฏิบัติการฟิสิกส์พ้ืนฐานและปฏิบัติการ
อิเล็กทรอนกิ สเ์ บอื้ งตน้ ซึ่งเปน็ ส่วนหนึ่งของปฏบิ ตั ิการของสาขาฟิสิกส์ ซึง่ จะประกอบด้วยปฏิบัติการทางฟิสิกส์
หลายรูปแบบและมีความยากง่ายแตกต่างกันไป เช่น ปฏิบัติการฟิสิกส์พื้นฐาน ปฏิบัติการฟิสิกส์ขั้นกลาง
ปฏิบัติการฟิสิกส์ขั้นสูง ดังน้ันรูปแบบการเรียนปฏิบัติฟิสิกส์พื้นฐานของนิสิตนิสิตจะมีลักษณะการเรียน
ภาคทฤษฎีและการปฏบิ ตั ิการทดลองในด้านต่างๆพร้อมกัน แต่การเรียนภาคปฏิบัติน้ัน รูปแบบการทดลองจะ
มีรายละเอียดปลีกย่อยและต้องอาศัยกระบวนการและความรู้ที่ได้เรียนมาก่อนหน้าอย่างมาก การทดลองจึง
ต้องอาศัยความตั้งใจและการพัฒนากระบวนการทางความคิดของผู้ทดลอง ดังนั้นการทําปฏิบัติการผู้ทําควร
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดงั ตอ่ ไปน้ี

1. การกรอกแบบฟอร์มการขอใช้งานเครื่องมือต่างๆ ของสาขาฟิสิกส์ ท่ีอยู่ในส่วนของอุปกรณ์และ
เครอื่ งมือตา่ งๆ ที่เป็นอปุ กรณ์รว่ มกันของสาขา

2. การตรวจสอบความพร้อมของมลั ตมิ เิ ตอร์ทีน่ ําไปใชง้ าน ว่าอย่ใู นสภาพทพี่ รอ้ มใช้งานหรอื ไม่

3. ในการเรียนรายวิชาปฏิบัติการพ้ืนฐานควรศึกษาวิธีการใช้งานมัลติมิเตอร์มาล่วงหน้าจากคู่มือ
ปฏบิ ตั ิการฟสิ กิ ส์พื้นฐาน

4. สาํ หรบั ผูท้ ข่ี อยืมใชม้ ลั ติมิเตอร์ท่ีไม่ได้เกี่ยวข้องกับการเรียนการสอนและเป็นการใช้งานคร้ังแรก ต้อง
ทาํ การติดต่อนกั วิทยาศาสตรข์ องสาขาล่วงหน้า เพ่ือให้นักวิทยาศาสตร์ได้นัดเวลาเพ่ือทําการสอนทักษะการใช้
งานก่อนนําไปใชง้ านจรงิ

2. ขน้ั ตอนการขอใช้เครื่องมอื วดั ทางไฟฟ้ามัลตมิ ิเตอร์

อาคารศนู ยเ์ ครอ่ื งมือกลาง หอ้ งปฏิบัตกิ ารพ้ืนฐานทางฟสิ ิกส์ มีภารกจิ ในการรองรับการเรียนการสอนใน
ราวิชาปฏิบัติการพื้นฐานฟิสิกส์ ของนิสิตท้ังมหาวิทยาลัย และสามารถรองรับการอบรมหรือการให้บริการ
วชิ าการเก่ยี วกับการปฏิบัตกิ ารพ้นื ฐานทางฟสิ กิ ส์แกน่ ักเรียน หนว่ ยงานหรอื ประชาชนทสี่ นใจ

- 10 -

ดังน้ันการของใช้บริการของเครื่องมือในศูนย์เคร่ืองมือกลางจะเป็นการขอใช้ปฏิบัติพื้นฐานต่างๆ โดย
จะตอ้ งมกี ารระบุว่าจะมกี ําหนดการงานหอ้ งปฏบิ ัติในระหว่างวันท่เี ทา่ ไร ใช้ในส่วนของหัวข้ออะไร พร้อมทั้งกับ
การกรอกข้อมูลว่าในการขอในได้มีการของใช้เครื่องมืออะไรบ้างตามแบบฟอร์มที่สามารถดาวน์โหลดได้จาก
https://www.sci.tsu.ac.th/org/sci/UserFiles/file/Research/Form-CenterLab.pdf
3. ขนั้ ตอนและวธิ ีการใช้งานเครื่องมอื วดั ทางไฟฟ้ามัลติมิเตอร์

มัลติมิเตอร์ (Multimeters) คือ เคร่ืองมือวัดทางไฟฟ้าท่ีสามารถวัดปริมาณไฟฟ้าได้หลายปริมาณ แต่
วัดไดท้ ลี ะปรมิ าณ โดยสามารถต้ังเป็นโวลท์มิเตอร์สําหรับการวัดความต่างศักย์ต้ังเป็นแอมป์มิเตอร์สําหรับการ
วดั ค่ากระแสไฟฟา้ หรือ ต้งั เปน็ โอหม์ มิเตอร์สาํ หรบั การวัดคา่ ตวามตา้ นทานของตัวนํา หรือตัวต้านทานได้ และ
เลือกไฟฟ้ากระแสตรง (DC) หรือไฟฟ้ากระแสสลับ (AC) ได้ มัลติมิเตอร์บางชนิดมีคุณสมบัติการวัดเพิ่มเติม
เช่น วัดค่าความจุ วัดความถ่ี และทดสอบทรานซสิ เตอร์ เป็นต้น (พนั ธ์ศกั ดิ พฒุ มิ านิตพงศ์ และคณะ. 2548)

การแสดงผลของมัลตมิ ิเตอร์แบ่งออกเปน็ 2 แบบ คือ มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) กับ
มัลติมเิ ตอรแ์ บบตัวเลข (Digital Multimeters) เพ่ือให้เหมาะสมกับการทดลองเร่ืองน้ันๆ ซ่ึงมัลติมิเตอร์แต่ละ
เครอ่ื งจะมีรายละเอียดปลกี ยอ่ ยและขอ้ ควรระมัดระวังในการใช้งานแตกต่างกันไป

ประเภทของมัลตมิ ิเตอร์
1. มัลติมิเตอร์แบบเข็ม (Analog Multimeters) เป็นมัลติมิเตอร์ที่แสดงข้อมูลจากการวัดค่าทางไฟฟ้า
จากลักษณะการแบนของเข็มจากซ้ายไปขวา วิธีการตั้งค่าและวิธีการวัดในค่าต่างทางไฟฟ้าจะมีลักษณะการ
อา่ นค่าท่ีแตกตา่ งกนั ไป ต้องมีการนาํ ขอ้ มลู จากค่าทเี่ ขม็ ชมี้ าแสดงมาคาํ นวณเป็นคา่ ทไ่ี ด้จากการวัด

ภาพท่ี 3 มลั ตมิ ิเตอร์แบบเขม็ ยหี่ อ้ sanwaรนุ่ YX360TRF ทป่ี ระจาํ ห้องปฏบิ ตั กิ ารฟิสิกส์พื้นฐาน

คู่มอื ปฏบิ ตั งิ าน การใช้มลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเข็มเบอื้ งตน้

- 11 -

2. มัลติมิเตอร์แบบตัวเลข (Digital Multimeters) เป็นมัลติมิเตอร์ที่แสดงข้อมูลจากการออกทางหน้า
จอแสดงผลเป็นตัวเลข ไม่ต้องมีการแปลงข้อมูล ตัวเลขที่แสดงบริเวณจอแสดงผลคือค่าที่ได้จากการวัดของ
ไฟฟา้ ทีต่ ้องการ

กข

ภาพท่ี 4 มัลติมเิ ตอรแ์ บบตัวเลขยี่หอ้ PeakTechรนุ่ 2005 (ก) และ มลั ติมิเตอร์แบบตัวเลขยี่ห้อ PeakTech
รุ่น 3335 DMM (ข) ประจาํ ห้องปฏิบัติการฟิสกิ ส์พ้นื ฐาน

3.1 การใช้งานมลั ตมิ เิ ตอร์เบื้องตน้
ในการแนะนําการใชง้ านมัลติมเิ ตอร์จะทาํ การแยกเปน็ การสอนการใชง้ านมัลติมิเตอร์แบบเข็ม
3.1.1 การใช้งานมัลตมิ ิเตอร์แบบเข็ม
มัลติมิเตอร์แบบเข็ม จะมีข้ันตอนในการค่าทางไฟฟ้าท่ีมีข้ันตอนสลับซับซ้อนข้ึนมาเล็กน้อย

ส่วนประกอบของมัลติมิเตอร์แบบเข็มยี่ห้อ sanwaรุ่น YX360TRFตัวมัลติมิเตอร์จะประกอบด้วยส่วนหลัก 2
ส่วน คือ ส่วนของตัวเครื่องและส่วนของสายที่ใช้สําหรับการวัด โดยมัลติมิเตอร์รุ่นนี้ไม่ต้องมีการนําสายวัดมา
เสียบในช่องเนื่องจากเป็นสายทใ่ี ชว้ ดั ได้ทําการเชอื่ มต่อมาจากตัวเครอ่ื งเรียบรอ้ ยแล้วดงั ภาพท่ี 5

1. สายที่ทําการวัด ประกอบด้วยสายไฟสีแดงและสีดํา บริเวณปลายสายทั้งคู่เป็นหัววัด
ทองเหลืองสามารถใช้ในการสอดเข้าไปในตําแหน่งที่ต้องการวัด ในกรณีที่ทําการวัดค่าของไฟฟ้าที่เป็นไฟฟ้า

คู่มือปฏิบตั ิงาน การใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเข็มเบอ้ื งตน้

- 12 -

กระสตรงหรือมขี วั้ บวกลบ ตอ้ งทําการต่อสาวัดใหถ้ ูกต้อง สายสีแดงต่อเขา้ กับไฟฟ้าข้ัวบวก และสายสีดําต่อเข้า
กับไฟฟ้าขั้วลบ การทําการวัดผิดขั้วจะทําให้เข็มแสดงผลการวัดชี้กลับด้าน และส่งผลเสียหายต่อเคร่ืองมัลติ
มิเตอร์ได้

ตวั เคร่ือง สายท่ที ําการวดั
มัลตมิ ิเตอร์

จอแสดงผล ปุม่ หมนุ ปรับคา่ ใหเ้ ข็มชีท้ ่ี 0
มัลติมิเตอร์

สวทิ ซ์หมุนปรับตวั เลือกการวัด

ภาพท่ี 5สว่ นประกอบหลักของตวั เคร่อื งมลั ติมเิ ตอร์
ภาพท่ี 5 สว่ นประกอบหลักของมลั ติมเิ ตอร์

2. หน้าจอแสดงผล เป็นเข็มที่มีการเบนอยู่ที่ขีด 0 ด้านซ้ายของหน้าจอ หน้าจอแสดงผลมี
การใชส้ เกลรว่ มกนั หลายๆค่าของการวัด และการอ่านค่าของหน้าจอมีทั้งจากการอ่านจากด้านซ้ายไปขวาและ

คู่มือปฏิบัติงาน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มเบอื้ งต้น

- 13 -

ทางความไปทางซ้าย ค่าท่ีอ่านได้จากจอแสดงผล ได้แก่ ค่าความต้านทาน ค่าความต่างศักย์กระแสตรง-
กระแสสลบั ปรมิ าณกระแสไฟฟ้าตรง-สลบั เป็นตน้

3. ปุ่มหมุนปรับค่า 0( 0 ΩADJ ) ใช้ในการคาริเบสมัลติมิเตอร์ก่อนการใช้งานวัดความ
ต้านทาน เพ่ือใหม้ ลั ตมิ ิเตอร์มีค่าความต้านทานเท่ากับศูนย์ เม่ือนําข้ัวปลายสายวัดทั้งสองมาแตะกัน ก่อนที่จะ
ทาํ การวดั ความต้านทาน

56
1

2
43

ภาพท่ี 6 สว่ นประกอบหลักของตวั เลือกในการวดั คา่ ต่างๆ ของมลั ติมิเตอร์
4. เมนตู วั เลือกต่างๆของการวัดคา่ ต่างๆของมลั ติมเิ ตอร์ ประกอบด้วยเมนูตา่ งๆดังภาพท่ี 6

1. สวทิ ซ์ตัวเลอื กค่าตา่ งๆ สาํ หรับการวดั ปรมิ าณทางกระแสไฟฟ้า ใชว้ ธิ ีการหมุนซ้าย
หรือขวา ไปยงั ตําแหนง่ เมนหู รือตัวเลือกทตี่ อ้ งการ เชน่ ตอ้ งการต้องการวัดความต่างศักย์ของถา่ นไฟฉาย
ขนาด 3A จํานวน 1 กอ้ น ให้หมุนตัวเลอื กไปยงั เมนู 2.5 DCV แลว้ จงึ ทําการวัด เป็นตน้

2. เมนู OFF ให้หมุนสวิทซ์มายังตําแหน่งน้ีเมื่อทําการใช้งานมัลติมิเตอร์เสร็จเรียบร้อย
แลว้ เพอ่ื เป็นการปดิ การใชง้ านมลั ตมิ ิเตอร์ และปอ้ งกนั ความเสยี หายแก่มเิ ตอร์ขณะไมไ่ ด้ทาํ การใชง้ าน

3. ตวั เลือกเมนกู ารวดั ค่าความต้านทาน จะมีเมนูย่อยตามขนาดของความต้านทาน เช่น
X1 Ωใช้วดั ความต้านทานไฟฟ้าในตัวนําที่มีปริมาณน้อยเพื่อการอ่านค่าได้ละเอียดขึ้นส่วนตัวเลือก X1kΩ เป็น
การวัดค่าความตา้ นทานทางไฟฟา้ ในตวั นําทมี่ คี วามต้านทานมาก

ค่มู ือปฏิบตั ิงาน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบอื้ งต้น

- 14 -

4. ตัวเลือกเมนูการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าของไฟฟ้ากระแสตรง ประกอบด้วยปริมาณ
สูงสดุ ทีว่ ดั ไดใ้ นแตล่ ่ะตัวเลือก คือ 0-0.25 A, 0-25 mA, 0-2.5 mA และ 0-50 µ A

5. ตัวเลือกเมนูของการวัดปริมาณความต่างศักย์ไฟฟ้าของวงจรกระแสไฟฟ้าตรง
ประกอบดว้ ยปรมิ าณสูงสดุ ท่สี ามารถวดั ได้ คอื 0.1 V, 0.25 V, 2.5 V, 10 V, 50 V, 250 V และ 1000V

6. ตัวเลอื กเมนูของการวดั ปริมาณความต่างศักยไ์ ฟฟ้าของวงจรกระแสไฟฟ้ากระแสสลับ
ประกอบดว้ ยปรมิ าณสงู สุดทส่ี ามารถวดั ได้ คือ, 10 V, 50 V, 250 V และ 750 V

3.2การใช้งานมัลติมิเตอรแ์ บบเขม็ วดั ความต้านทานทางไฟฟา้
ตัวต้านทาน (Resistor) คือ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ท่ีทําหน้าท่ีต้านการไหลของกระแสไฟฟ้าหรือ

จํากัดปริมาณกระแสไฟฟ้าในวงจร เขียนแทนด้วย R และค่าความต้านทานไฟฟ้ามีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) ทั้งน้ี

เราจะตัวตา้ นทานแบง่ ออกเปน็ 3 ประเภทใหญ่ๆ ดงั นี้
1) ตัวต้านทานชนิดค่าคงตัว (Fixed Value Resistor )คือตัวต้านทานท่ีมีค่าความต้านทานคงตัว

แนน่ อน และนิยมใช้มากในงานด้านอิเล็กทรอนิกส์ แบ่งตามสารที่ใช้ผลิตได้เป็นตัวต้านทานชนิดคาร์บอนผสม
ตัวตา้ นทานชนิดฟลิ ม์ คาร์บอน ตวั ต้านทานชนิดฟิล์มโลหะ ตัวต้านทานชนิดไวร์วาว์ดตัวต้านทานชนิดออกไซด์
ของโลหะ ตัวตา้ นทานชนิดแผ่นฟิลม์ หนา

2) ตัวตา้ นทานชนิดปรับค่าไดส้ ามารถเลือกคา่ ความตา้ นทานท่ตี อ้ งการได้โดยการหมุนท่ีปุ่มปรับค่า
ความต้านทานเพื่อใหไ้ ดค้ า่ ความต้านทานตามท่ีตอ้ งการ

3) ตัวต้านทานชนิดพิเศษ ประกอบด้วย ตัวต้านทานชนิดเปลี่ยนตามอุณหภูมิ (Thermistor)และ
ตวั ต้านทานชนิดเปลยี่ นตามความสว่าง (LDR)

ภาพที่ 7 ตวั ต้านทานชนดิ ตา่ งๆ (ก) ตัวต้านทานชนิดคงตัว (ข) ตัวต้านทานชนดิ ปรบั ค่าได้ (ค) ตัวต้านทานชนดิ
พเิ ศษ

คู่มือปฏิบตั ิงาน การใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเข็มเบื้องต้น

- 15 -

เมื่อทราบถึงประเภทตา่ งๆของตวั ต้านทานไฟฟ้าแลว้ ในการวดั ความต้านทานของไฟฟ้าของตวั
ตา้ นทานประเภทต่างๆ มหี ลกั การใชง้ านมลั ติมิเตอรเ์ พอ่ื วดั ความต้านทานเหมือนกนั

ขั้นตอนการใช้มลั ติมเิ ตอร์เพ่อื ทําการวดั ค่าความต้านทานทางไฟฟ้า
3.2.1 การเลือกย่านการวัดความตา้ นทานของมลั ติมิเตอร์ โดยหมนุ ตวั เลือกการวัดไปยังย่านการวดั

ท่ีมสี ญั ลักษณ์เป็นรปู เคร่ืองหมาย Ω หรือโอห์ม

3.2.2 ในกรณีท่เี ราทราบค่าโดยประมาณของตวั ต้านทีต่ อ้ งการทําการวัด ให้เราเลือกช่วงการวัด

ให้เหมาะสม เช่น ตัวต้านทานขนาด 150 Ω ให้เลือกย่านการวัดท่ี x10 แต่ถ้าไม่ทราบค่าโดยประมาณองตัว

ตา้ นทานท่ตี อ้ งการวัดให้เริ่มต้นเลือกย่านการวัดจาก x1k เนื่องจากเป็นย่านการวัดท่ีสามารถวัดค่าได้มากท่ีสุด
คือ x1k มคี วามหมายวา่ คา่ ที่เราอ่านได้จากเข็มของมิเตอร์ต้องไปคูณกับ 1,000 เช่น เม่ือทําการวัดแล้วเข็มช้ีท่ี

ตัวเลข2 แสดงวา่ ค่าท่อี า่ นได้เท่ากบั 2,000 Ω

3.2.3 เมื่อทําการเลือกย่านการวัดแล้วให้ทําการปรับเข็มของมัลติมิเตอร์ให้เร่ิมต้นที่ 0 Ω ทํา
การทดสอบโดยการเอาปลายท้งั สองของสายวัดของเครือ่ งมัลติมิเตอร์มาแตะกันให้แน่น เข็มมัลติมิเตอร์จะเบน

ไปยังเลข 0 Ωดังภาพท่ี 8 โดยสังเกตสเกลบนสุดของหน้าปัดและด้านข้างของสเกลท่ีเข็มช้ีจะมีสัญลักษณ์ Ω

จากภาพท่ี 8 จะสังเกตเห็นว่าเข็มมัลติมิเตอร์เริ่มต้นชี้ที่ตัวเลขมากกว่า 0แสดงว่าเข็มเร่ิมต้นขณะยังไม่ทําการ
วดั ทีม่ คี า่ ที่วัดไดม้ ากกว่าศูนย์ ต้องทําการตั้งค่าให้เข็มการวัดเร่ิมต้นที่ 0 โดยทําการหมุนปุ่ม 0ΩADJ การหมุน
ไปทางซา้ ยเข็มจะเบนไปทางซ้าย เนอ่ื งจากการเปลี่ยนยา่ นการวดั ในโหมดการวดั ความต้านทานแต่ล่ะครั้งทําให้
เข็มไมเ่ รมิ่ ตน้ ท่ี0

ภาพที่ 8 ภาพของเข็มแสดงผลของมัลติมเิ ตอรเ์ ม่ือนําปลายข้ัวสายวดั ท้ังสองมาแตะกันในย่านการวัด
ความตา้ นทาน

คู่มอื ปฏิบตั งิ าน การใชม้ ลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบ้อื งต้น

- 16 -

3.2.4 เมื่อต้ังค่าเข็มเร่ิมต้นของมัลติมิเตอร์ท่ีศูนย์แล้ว สามารถนําสายวัดของมัลติมิเตอร์ไปไป
ต่อวดั กบั ตวั ตา้ นทานทีต่ ้องการวัดได้เลย กอ่ นทาํ การวดั เมอ่ื สายวัดท้ังสองไม่แตะกัน เข็มแสดงผลจะชี้ที่ดังภาพ
ท่ี 9คอื ความตา้ นทานมีคา่ มากจนอา่ นคา่ ไม่ไดห้ รอื วงจรไฟฟา้ ไม่มกี ารเชื่อมต่อกันหรือวงจรไฟฟ้ามีการขาดออก
จากกัน

ภาพท่ี 9 ภาพแสดงเข็มของมัลติมเิ ตอร์ขณะทยี่ งั ไมท่ ําการวัดคา่ ความตา้ นทานไฟฟา้
3.2.5 การวัดคา่ ความต้านทานของตัวต้านทานในวงจรไฟฟ้าจะไม่มีการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับ

วงจรทท่ี าํ การวัดคา่ ความตา้ นทานเป็นการเอาสายวดั จากมัลติมิเตอร์ชนิดเข็มไปต่อยังขาของตัวทานทานแต่ละ
ข้างไดเ้ ลย เน่ืองจากการไมม่ ีกระแสไฟฟ้าในวงจรทําให้ไม่ต้องคํานึงถึงขั้วไฟฟ้า สามารถเอาสายวัดเชื่อมต่อกับ
ขาตัวต้านทานข้างไหนก็ได้ ค่าท่ีวัดได้จากมัลติมิเตอร์แบบเข็มจากการวัดตัวต้านทานขนาด 100 Ωและเลือก
ย่านการวดั x10 ดังแสดงในภาพท่ี 10

คมู่ ือปฏบิ ตั งิ าน การใช้มลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็ เบ้อื งต้น

- 17 -

ภาพท่ี 10 ภาพแสดงผลของเขม็ มลั ตมิ ิเตอร์ขณะท่ีทาํ การวัดตัวต้านทานไฟฟ้า(เลอื กย่านx10)
3.2.6 ค่าผลของการวัดทอี่ ่านได้จากวัดค่าความตา้ นทางไฟฟา้ ในภาพท่ี 10 การเลือกอา่ นหนา้ ปดั

ตวั เลขให้สงั เกตวา่ สเกลไหนมีหน่วยของตวั ตา้ นทานกํากับอยู่ด้านขา้ งอยู่ จากภาพสังเกตว่าหน้าปดั ตวั เลข
บนสดุ จะมีสัญลักษณ์ Ω กํากับอยู่โดยคา่ น้อยสุดของสเกลคือ 0 และค่ามากสดุ ของสเกลคือและตัวเลขท่ีเขม็ มลั
ตมิ เิ ตอร์ชี้ คือ เลข 10

ดงั นนั้ คา่ ท่ีอ่านได้ คือ ตัวเลขที่เขม็ มลั ติเตอร์ช้ี X คา่ ตวั คูณทีเ่ ลอื กในยา่ นการวดั
จากภาพค่าที่อ่านได้ 10x 10 = 100 โอห์ม หรือ 100 Ω
3.2.7 การวัดความต้านทานทางไฟฟ้าเม่ือเลือกย่านการวัดท่ีไม่เหมาะสม(ตัวคูณค่าท่ีอ่านได้ไม่
เหมาะสม) อาจทําให้หน้าปัดไปช้ีแสดงผลค่าท่ีได้ไปยังสเกลท่ีอ่านค่าได้ยากหรือช่วงสเกลมีความถ่ีของสเกล
มากเกินไปดังภาพที่ 11คือการใช้มัลติมิเตอร์ทําการวัดค่าความต้านทานทางไฟฟ้าของตัวต้านทานขนาด 100
Ωโดยการแสดงผลของเข็มในภาพท่ี 11(ก) ที่เลือกย่านการวัด x100 เข็มจะชี้มาเกินเลข 1 เล็กน้อย ค่าท่ีอ่าน
ไดป้ ระมาณ 100 กว่าๆโอห์ม หรือ ภาพที่ 11(ข)เลือกย่านการวัดเป็น x1 เข็มแสดงผลการวัดจะชี้ตัวเลขท่ีเกิน
100 ไปเลก็ น้อยคา่ ท่ีอา่ นได้มีคา่ ประมาณ 100 กว่าๆเชน่ เดียวกัน

คมู่ อื ปฏบิ ัตงิ าน การใชม้ ลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบ้อื งต้น

- 18 -

(ก) (ข)
ภาพที่ 11 ภาพแสดงผลของเขม็ มลั ติมิเตอร์เมื่อเลือกยา่ นการวัดทไ่ี ม่เหมาะสม (ก)เลือกย่านการวัดที่x100

(ข)เลือกย่านการวัดท่ีx1
หมายเหตุข้อควรระวงั ในการใช้มลั ตมิ เิ ตอร์วดั ความตา้ นทานทางไฟฟ้า
1. ขณะทําการวัดต้องไมม่ ีกระแสไฟฟา้ ไหลในวงจร
2. เลือกยา่ นตัวคูณสําหรบั ทาํ การวัดให้เหมาะสม
3.3การใช้งานมลั ติมเิ ตอร์แบบเขม็ วดั คา่ ความต่างศักยท์ างไฟฟ้า
ความตา่ งศักย์ (V) คือ ผลตา่ งคา่ ศักยไ์ ฟฟ้าระหว่าง 2 จุดในวงจรไฟฟ้า เช่น ความต่างศักย์ระหว่าง
ข้ัวบวกและลบของแบตเตอร่ีหรือถ่านไฟฉาย แหล่งกําเนิดไฟฟ้าทุกแหล่งเมื่อผลิตใหม่ๆ จะมีแรงเคล่ือนไฟฟ้า
สูงสุด และเม่ือใช้ไปนานๆแรงเคลื่อนไฟฟ้าจะมีค่าลดลง จนกระทั้งเหลือน้อยมากซึ่งเป็นสภาวะแหล่งกําเนิด
หมดไฟ หรือเรียกง่ายว่าแบตเตอร่หี มดไฟนน้ั เอง
3.3.1 การใช้งานมัลติมิเตอร์แบบเข็มเพื่อทําการวัดความต่างศักย์ระหว่างจุดสองจุดของวงจร
กระแสไฟฟ้า จะทําการแบ่งเป็นการวัดค่าความต่างศักย์ของไฟฟ้ากระแสตรงและความต่างศักย์ไฟฟ้า
กระแสสลับ เริม่ จากการวดั ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้ากระแสตรงกอ่ น
(1) เลือกย่านการวัดเป็นความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรงหรือ DCVโดยตัวเลือกย่าน DCV มี
ตวั เลขระบเุ ป็นตวั เลขตา่ งๆ ตามลําดับดังน้ี คือ 0.1, 0.25, 2.5, 10, 50, 250 และ 1,000 โวลต์ ตัวเลขที่เลือก
แต่ละตัวมีความหมายว่า มัลติมิเตอร์ท่ีเลือกตัวเลขตัวนั้นสามารถวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุดได้เท่ากับ
ตัวเลขน้ัน จากภาพที่ 12 เป็นการเลือกย่านการวัดท่ี 10 DCV คือการวัดสามารถวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้า
กระแสตรงไดส้ งู สดุ 10 โวลต์

คูม่ อื ปฏิบัติงาน การใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็ เบอ้ื งตน้

- 19 -

ภาพที่ 12 การเลือกย่านการวัดความตา่ งศักย์ไฟฟา้ กระแสตรงท่วี ัดไดส้ งู สดุ 10 โวลต์
(2) ในการเลือกย่านการวัดว่าใช้ค่าสูงสุดเท่าไร ต้องทราบค่าของความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุดที่

จ่ายให้กับวงจรไฟฟ้าเช่น เมื่อแหล่งกําเนิดไฟฟ้าจ่ายไฟฟ้าเข้าไปในวงจรเท่ากับ 12 โวลต์กระแสตรง มัลติ
มิเตอรค์ วรเลือกยา่ นการวัดท่ีสูงกว่า จากภาพที่ 12 ยา่ นการวดั ที่ความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้าที่ 50 VDC

(3) เม่ือเลือกย่านการวัดที่เหมาะสมแล้ว การวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรงคือการต่อสาย
วัดมัลติมิเตอร์คร่อมกับจุดสองจุดท่ีทําการวัดหรือการต่อขนานเข้ากับจุดในวงจรที่ต้องการวัดความต่าง
ศกั ยไ์ ฟฟา้

(4) การตอ่ สายวัดมัลตมิ เิ ตอร์ในการวัดวงจรไฟฟ้าแสตรงระหว่างจุดที่ต้องการวัดต้องเลือกข้ัวที่
ต้องตอ่ สายวัดให้ถกู ตอ้ งโดยสายมัลตมิ ิเตอร์สแี ดงให้ต่อวัดเข้ากับการไหลของกระแสไฟฟ้าขั้วบวกในวงจร ส่วน
สายสีดําให้ต่อวัดเข้ากับการไหลของกระแสไฟฟ้าขั้วลบในวงจรดังภาพท่ี 13 เมื่อมีการต่อสายวัดผิดขั้วหรือผิด
ทิศทางการไหลของกระแสไฟฟ้า เข็มของมิเตอร์จะแสดงผลการวัดผิดด้านและอาจก่อให้เกิดความเสียหายกับ
มเิ ตอรไ์ ด้

คูม่ ือปฏบิ ตั ิงาน การใชม้ ลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มเบ้ืองตน้

- 20 -

+-

ภาพท่ี 13แสดงการวดั ค่าความต่างศักยไ์ ฟฟ้ากระแสตรงโดยสายสแี ดงต่อเข้ากับข้วั บวกและสายสีดําต่อเขา้ กับ
ข้วั ลบ

(5) การอ่านคา่ ความตา่ งศกั ยไ์ ฟฟา้ ทไี่ ด้จากวดั วงจรไฟฟ้ากระแสตรง เนื่องจากหน้าปัดของมัลติ
มิเตอร์แบบเขม็ มีตัวเลขหน้าปัดหลายแถวมากๆ คา่ ทอี่ า่ นควรเลอื กแถวตวั เลขหน้าปัดท่ีถูกต้องมาใช้ในการอ่าน
ค่า โดยดูจากปริมาณทกี่ าํ กบั ตัวเลขดา้ นข้าง ว่าตรงกับปริมาณใด เช่น การอ่านค่าความต่างศักย์ทางไฟฟ้าควร
เลอื กแถวตัวเลขทม่ี ีอกั ษร V-A คือ หนา้ ปัดแสดงผลการวัดคา่ ความต่างศกั ย์และค่ากระแสไฟฟ้าดังภาพที่ 14ซ่ึง
ประกอบดว้ ตวั เลขสามแถวแตใ่ ช้สเกลเดียวกัน คอื (0,0,0) , (50,10,2)…จนกระทง่ั ถึง (250,50,10)

ค่มู ือปฏบิ ัติงาน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบอื้ งต้น

- 21 -

ภาพที่ 14 แถวตัวเลขแสดงผลการวดั ค่าความศกั ย์ไฟฟา้ กระแสตรงในวงจร
(6) จากภาพที่ 14 ผลของความตา่ งศักย์ไฟฟ้าท่ีอา่ นไดจ้ ากหน้าปัดมีด้วยกนั หลายวิธี

- การเลือกสเกลในการอ่านค่าท่ีเหมาะสม จากภาพที่ 14 เราทราบแล้วแล้วว่าก่อนท่ีจะทํา
การวัดค่าความต่างศักย์เราได้ตั้งค่าย่านการวัดมัลติมิเตอร์ท่ี 10 VDC ดังนั้นเมื่อเราสังเกตหน้าปัดตามภาพที่
14 ด้านขวามือของช่องวัด V-A จะประกอบด้วยแถวตัวเลข (250,50,10) ตัวเลขท่ีเหมาะสมในที่นี่คือ สเกล
สงู สดุ ทเ่ี ทา่ กับ 10 เขม็ ชี้ของมัลตมิ เิ ตอร์จะชี้บนสเกลสีดาํ ท่ีตวั เลขชดุ (150,30,6)

ดังนั้นค่าความตา่ งศักย์ทวี่ ดั ได้ จะมีค่าเทา่ กับ 6 โวลต์
- การอ่านค่าโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ จากภาพที่ 14 เข็มมัลติมิเตอร์ช้ีท่ีตัวเลข ชุด
(150,30,6) ในกรณีตัวอย่าง ถ้าเลือกตัวเลขท่ีเข็มช้ีคือ 150 ต้องมีการเทียบบัญญัติไตรยางศ์เพราะค่าที่อ่านได้
ควรมีคา่ นอ้ ยกวา่ 10 โวลต์ ดงั นี้

ถ้าเข็มชี้ 250 มีคา่ ความตางศกั ยไ์ ฟฟ้ากระแสตรงเทา่ กบั 10 โวลต์
ในภาพเข็มชี้ 150 มคี า่ ความตางศักย์ไฟฟ้ากระแสตรงเทา่ กับ (ଵହ଴×ଵ଴)โวลต์

ଶହ଴

ดงั นั้น คา่ ความตา่ งศกั ย์ไฟฟา้ กระแสทไี่ ดเ้ ทา่ กบั 6 โวลต์
(7) ตัวอย่างการอ่านค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสตรงมัลติเตอร์แบบเข็ม จากภาพที่ 15
สังเกตเหน็ วา่ ถา้ เราเลือกอ่านคา่ สงู เกลสูงสดุ 10 โวลต์ของ V-A พบว่าเข็มขี้ท่ีระหว่างตัวเลข 4 และ 6 โดยจะมี
ขีดสเกลเข้มและหนาท่ีอยู่ระหว่าง 4 กับ 6 คือ 5 ในภาพเราจะเห็นได้ว่าเข็มช้ีเลยเลข 5 ไป 1 สเกลย่อย จาก
5 ไปถึง 6 จะถูกแบ่งเป็น 5 สเกลย่อย ทําให้ 1 สเกลย่อยจะมีค่าเท่ากับ 0.2 โวลต์ ดังนั้นค่าที่สามารถอ่านได้
จากรูปเม่ือทําการวัดโดยเลือกย่านการวดั ความต่างศักยส์ ูงสุด 10 โวลต์ มคี ่าเทา่ กับ 5.2 โวลต์

คู่มือปฏิบัตงิ าน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบ้ืองต้น

- 22 -

ภาพที่ 15 แสดงเข็มมัลติมิเตอร์การวดั คา่ ความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้ากระแสตรงในการเลอื กย่านการวดั 10 VDC
- การอ่านค่าโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ จากภาพที่ 15 เข็มมัลติมิเตอร์ชี้ท่ีระหว่างชุด

(100,20,4)c]t ชุด (150,30,6) เมื่อกําหนดว่าถ้าเลือกอ่านจากค่าหน้าปัดท่ีวัดได้สูงสุด 250 VDC จะทําให้ได้
ค่าตัวเลขท่ีอ่านได้เท่ากับ 130 โวลต์ซึ่งไม่ใช้ค่าที่แท้จริง ต้องมีการนํามาเทียบบัญญัติไตรยางศ์กับย่านการวัด
สูงสดุ ทีเ่ ลอื ก

ถ้าเขม็ ช้ี 250 มีค่าความตางศกั ยไ์ ฟฟ้ากระแสตรงเท่ากบั 10 โวลต์
ในภาพเข็มช้ี 130 มีค่าความตางศักยไ์ ฟฟ้ากระแสตรงเท่ากับ (ଵଷ଴×ଵ଴) โวลต์

ଶହ଴

ดงั นน้ั คา่ ความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ กระแสทไี่ ดเ้ ทา่ กบั 5.2 โวลต์
3.3.2 การใช้มลั ตมิ ิเตอรแ์ บบเขม็ วัดความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ กระแสสลับระหว่างจุดสองจดุ ของวงจร

(1) เลือกย่านการวดั เป็นความตา่ งศักย์ไฟฟา้ กระแสสลับหรือ ACV โดยตัวเลือกย่านการวัดของ
ACV ซ่ึงระบุเป็นตัวเลขต่างๆ ตามลําดับดังนี้ คือ 10, 50, 250 และ 750 โวลต์ ตัวเลขท่ีเลือกแต่ละตัวมี
ความหมายวา่ มัลตมิ ิเตอร์ทเี่ ลือกตวั เลขตัวนั้นสามารถวดั คา่ ความต่างศักย์ไฟฟ้าสูงสุดได้เท่ากับตัวเลขน้ัน จาก
ภาพท่ี 16 เปน็ การเลือกยา่ นการวัดท่ี 10 ACV คือการวัดสามารถวัดค่าความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสลับได้สูงสุด
เท่ากับ 10 โวลต์ ยา่ นการวัดที่เลือกควรมคี า่ สงู กวา่ ความตา่ งศักยไ์ ฟฟ้ากระแสสลบั ในวงจร

คู่มือปฏบิ ตั ิงาน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มเบื้องตน้

- 23 -

ภาพที่ 16การเลอื กย่านการวัดความตา่ งศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั ทวี่ ดั ได้สงู สุดเทา่ กบั 10 โวลต์
(2) การตอ่ สายวัดมัลตมิ เิ ตอร์ในการวัดความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสลับในวงจร เนื่องจากไฟฟ้าที่

ทาํ การวดั ครั้งน้เี ปน็ ไฟฟ้ากระแสสลบั จะทาํ ให้ไม่มีข้ัวหรือทิศการไหลของกระแสไฟฟ้าไม่มีทิศทางเดียวเหมือน
ไฟฟ้ากระแสตรง การนําสายมัลติมิเตอร์เพื่อมาต่อหรือทําการวัดสามารถเอาสายสายมาวัดระหว่างจุดสองจุด
โดยไม่ตอ้ งคํานงึ ถงึ ขวั้ บวก-ขว้ั ลบของวงจรดังภาพท่ี 17 (ข้อแนะนําในการตอ่ กบั วงจร สายวัดมัลติมิเตอร์สีแดง
ควรต่อวัดในจุดที่มคี วามต่างศกั ย์ไฟฟ้าสงู กว่า สายวัดมลั ตมิ ิเตอรส์ ีดําควรต่อกับขัว้ GND หรอื กราวด์)

ภาพที่ 17การต่อสายมลั ตมิ ิเตอรเ์ พ่ือวดั ความตา่ งศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั เข้ากบั แหลง่ จ่ายไฟกระแสสลบั

คมู่ อื ปฏบิ ัติงาน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มเบอ้ื งตน้

- 24 -

(3) การอ่านผลของการวดั ความตา่ งศักยข์ องมิเตอร์เขม็ จากากวัดความต่างศักย์กระแสสลบั มี
วธิ ีการอ่านคา่ แบบเดยี วกับการอา่ นค่าความตา่ งศกั ย์ไฟฟ้ากระแสตรง คือ เลอื กแถวตวั เลขท่ที ําการอ่านให้มีค่า
ตรงกับการเลือกยา่ นการวดั ของมัลตมิ ิเตอร์เลือกอ่านแถวตวั เลขผลท่อี ยู่ในเสน้ กรอบท่ีทําเคร่อื งหมายดังภาพท่ี
18

ภาพที่ 18 แสดงผลการวดั วัดความตา่ งศักย์ไฟฟ้ากระแสสลบั เม่อื ต่อเข้ากบั แหล่งจ่ายไฟกระแสสลบั 6 โวลต์
(4) จากภาพที่ 18 ผลของความต่างศักย์ไฟฟ้ากระแสสลับที่อ่านไดจ้ ากหนา้ ปัดมีด้วยกันหลายวธิ ี
- การเลือกสเกลในการอ่านค่าท่ีเหมาะสม จากภาพที่ 18 เราทราบแล้วแล้วว่าก่อนท่ีจะทํา

การวัดค่าความต่างศักย์เราได้ต้ังค่าย่านการวัดมัลติมิเตอร์ท่ี 10 ACV ดังน้ันเมื่อเราสังเกตหน้าปัดตามภาพที่
18ด้านขวามือของช่องวัด V-A จะประกอบด้วยแถวตัวเลข (250,50,10) ตัวเลขท่ีเหมาะสมในท่ีนี่คือ สเกล
สูงสุดท่ีเท่ากับ 10 เป็นตัวเลขในบรรทัดท่ี 3 ซ่ึงเท่ากับย่านการวัดท่ีเลือก เข็มช้ีของมัลติมิเตอร์จะชี้บนเส้น
สเกลสีดาํ ที่ประกอบตวั เลขชุด (150,30,6)เราจึงควรอา่ นค่าในแถวลําดับท่ี 3

ดงั น้นั คา่ ความต่างศกั ย์ทวี่ ดั ได้ จะมีคา่ เทา่ กบั 6 โวลต์
- การอ่านค่าโดยการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ จากภาพที่ 18เข็มมัลติมิเตอร์ช้ีที่ตัวเลข ชุด
(150,30,6) ในกรณีตัวอย่าง ถ้าเลือกตัวเลขท่ีเข็มชี้คือ 150 (ตัวเลขบรรทัดแรก) ต้องมีการเทียบ
บญั ญตั ไิ ตรยางศ์เพราะคา่ ทีอ่ ่านไดค้ วรมีคา่ นอ้ ยกวา่ 10 โวลต์ ดังน้ี

ถ้าเขม็ ช้ี 250 มีค่าความตางศกั ยไ์ ฟฟ้ากระแสสลับเท่ากับ 10 โวลต์
ในภาพเขม็ ช้ี 150 มีคา่ ความตางศักย์ไฟฟา้ กระแสสลับเท่ากับ (ଵହ଴×ଵ଴) โวลต์

ଶହ଴

ดงั น้ัน ค่าความตา่ งศักยไ์ ฟฟา้ กระแสสลับท่ไี ดเ้ ทา่ กับ 6 โวลต์

ค่มู ือปฏิบตั งิ าน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มเบ้ืองต้น

- 25 -

3.4การใช้งานมลั ติมิเตอรแ์ บบเขม็ วดั คา่ กระแสไฟฟา้
กระแสไฟฟ้าคือจํานวนประจุท่ีเคลื่อนท่ีผ่านพ้ืนท่ีหน้าตัดต่อหน่วยเวลา หรือปริมาณของไฟฟ้าท่ี

ไหลผ่านเข้าไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้าไฟฟ้า ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ล่ะเคร่ืองจะมีการใช้ปริมาณ
กระแสไฟฟา้ ท่ีไม่เทา่ กัน ในที่น้ีจะมีการแนะนําการใช้มัลติมิเตอร์ทําการวัดปริมาณกระแสไฟฟ้าของวงจรไฟฟ้า
กระแสตรง

3.4.1 การวดั ปริมาณกระแสไฟฟ้ากระแสตรง ต้องเลือกย่านการวัดให้มีความถูกต้องเหมาะสม คือ
เลอื กยา่ นการวัดของมัลติมิเตอร์ที่มีช่วงการวัดของ DCAและเมื่อทําการวัดเราไม่สามารถรู้ได้ว่าวงจรมีปริมาณ
กระแสไฟฟ้าไหลอยู่ปริมาณเทา่ ไร เพ่ือไม่ให้เกดิ ความเสียหายแก่มัลติมิเตอร์จึงต้องเลือกย่านการวัดให้สามารถ
วัดกระไฟฟ้าให้มากท่ีสุดก่อน เมื่อทําการวัดแล้วเข็มมีการขยับเพียงเล็กน้อยไม่สามารถอ่านค่าได้ จึงลดย่าน
ปริมาณสูงสดุ ทว่ี ัดไดล้ งทล่ี ่ะลําดบั เพอื่ ใหเ้ ข็มขยบั และช้ใี นตวั เลขท่สี ามารถอา่ นคา่ ได้

ภาพที่ 19 แสดงย่านการวัดปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ตรง
จากภาพท่ี 19 ตวั เลขทีก่ าํ กับในย่านการวัดแต่ล่ะตวั มีความหมายดังนี้

0.25 คือ วดั ปริมาณไฟฟา้ กระแสตรงไดส้ ูงสุด 0.25 A หรอื 250 mA
25 m คอื วดั ปริมาณไฟฟ้ากระแสตรงได้สงู สุด 25 mA
2.5 m คอื วัดปรมิ าณไฟฟา้ กระแสตรงได้สูงสดุ 2.5 mA
50 µคือวัดปริมาณไฟฟา้ กระแสตรงได้สูงสดุ 50x10-6mA
3.4.2การวัดปรมิ าณกระแสไฟฟ้าในวงจรกระตรง จําเปน็ ต้องรู้หลักก่อนว่า การต่อมัลติมิเตอรเ์ พ่ือทํา
การวัดต้องต่ออนุกรมเข้าไปในวงจรไฟฟ้าท่ตี ้องการทาํ การวัด เปรียบเสมือนการทําให้วงจรขาด กระแสไฟฟ้า
ไมส่ ามารถไหลให้ครบวงจรได้ หลงั จากน้นั นาํ มัลติมเิ ตอรเ์ ข้าไปเชอื่ มต่อกบั วงจรท่ขี าดเพ่ือทําให้กระแสไฟฟ้า
ไหลครบวงจรโดยผา่ นมัลตมิ ิเตอร์ ดังภาพที่ 20

คูม่ ือปฏบิ ตั ิงาน การใช้มลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเข็มเบ้ืองต้น

- 26 -

ภาพที่ 20 วิธวี ัดความปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ตรงในวงจร
จากภาพที่ 20 ในวงกลมคือตําแหน่งทว่ี งจรขาดออกจากกัน แล้วในการวดั ใช้มัลติมเิ ตอรเ์ ปน็
ตัวเชอื่ มระหว่างวงจรทางซา้ ยและทางขวาเพื่อให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจากด้านซา้ ยไปยังดา้ นขวาได้
3.4.3 การวัดปริมาณไฟฟ้ากระแสตรง เน่ืองจากไฟฟ้ากระแสตรงเป็นไฟฟ้าที่มีทิศทางการไหลที่
แน่นอนมีข้ัวทางไฟฟ้า การต่อสายมัลติมิเตอร์เพื่อทําการวัดค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าจึงต้องมีการต่อให้ถูกข้ัว
เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายต่อมัลติมิเตอร์จากภาพท่ี 21 แสดงให้เห็นว่าการวัดค่ากระไฟฟ้าใน
วงจรไฟฟ้ากระแสตรงต้องต่อสายสีแดงของมัลติมิเตอร์ในช่องท่ีท่ีวงจรขาดทางซ้ายมือ เพื่อให้วงจรไฟฟ้าท่ีมี
สนามไฟฟ้าขั้วเป็นบวกไดผ้ า่ นมามาสายวัดสแี ดง และสายสีดําตอ่ ขวามือตรงกับสนามไฟฟ้าของวงจรที่มีค่าเป็น
ลบการต่อขั้วไฟฟ้าของสายวดั มัลตมิ เิ ตอรท์ ผี่ ดิ ทําให้เวม็ จะชกี้ ลับดา้ น อาจส่งผลเสยี หายใหก้ ับมลั ติมิเตอรไ์ ด้

ภาพที่ 21 แสดงข้วั ไฟฟ้าของวงจรทไ่ี ดท้ าํ การวดั กระแสไฟฟา้
3.4.4 การอ่านผลการวดั ค่าปรมิ ารกระแสไฟฟ้าของมลั ตมิ เิ ตอรใ์ นวงจรไฟฟ้ากระแสตรง การอ่าน
คา่ แบ่งออกเปน็ การอ่านโดยการเลอื กสเกลท่ีเหมาะสมและการอ่านแบบเทยี บบญั ญัติไตรยางศ์

คู่มือปฏิบตั งิ าน การใช้มลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็ เบ้ืองตน้

- 27 -

ภาพท่ี 22 แสดงผลการวดั คา่ ปริมาณกระแสไฟฟา้ ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงในย่านการวัดสงู สุดไม่เกนิ 0.25 A
จากภาพที่ 22 พบวา่ การเลือกยา่ นการวัดกระแสไฟฟ้าสูงสุดอยู่ท่ี 0.25แอมแปร์หรือ 250 มิลลิ

แอมแปร์ เมื่อดูเข็มการวัดที่ชุดสเกลตัวเลขของ V-A พบว่า สเกลสูงสุดมีค่าเท่ากับ (250,50,10) ดังน้ันสเกลท่ี
สอดคล้องและเหมาะสมที่อ่านค่าคือ วัดได้สูงสุด 250 มิลลิแอมแปร์ ดังนั้นจากภาพ จะเห็นได้ว่า เข็มช้ีที่เลข
50 ดังนน้ั คา่ ที่อ่านได้จงึ เท่ากบั จงึ เทา่ กบั 250 มลิ ลแิ อมแปร์

กรณีการเทยี บบัญญัติไตรยางศ์ จากภาพท่ี 22 เมื่อต้องการเทียบบัญญัติไตรยางศ์ จากสเกลสูงสุด
เทา่ กับ 50 มลิ ลแิ อมแปร์ หรือตัวเลขบรรทดั ทีส่ องของชดุ สเกล (250,50,10) ใน V-A จะได้ดงั นี้

เข็มชตี้ ัวเลข 50 ปริมาณกระแสไฟฟ้าที่วัดได้มีคา่ 250 มลิ ลแิ อมแปร์
ในภาพเข็มชท้ี ่ี 10 ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ ทีว่ ดั ไดม้ ีค่า (ଶହ଴×ଵ଴)มิลลิแอมแปร์

ହ଴

ค่าปริมาณกระแสไฟฟ้าทวี่ ดั ไดม้ คี า่ 50 มลิ ลแิ อมแปร์

คูม่ ือปฏิบัติงาน การใช้มลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็ เบอ้ื งตน้

- 28 -

3.4.5 ในกรณที ่เี ม่ือทาํ การวดั แลว้ เข็มเบนเพียงนิดเดียวหรือมกี ารขยับเล็กน้อย ควรทําการเปลี่ยน
ย่านการวัดให้มีค่าสูงสุดในการวัดตํ่ากว่าเดิม 1 ระดับ เพ่ือให้สามารถอ่านค่าจากเข็มท่ีเบนได้ง่ายขึ้น ดัง
ยกตัวอย่างในภาพท่ี 23

(ก) (ข)
ภาพที่ 23 แสดงปริมาณการวดั กระแสไฟฟ้าตรงทป่ี ริมาณเทา่ กัน (ก) เลอื กยา่ นการวัดสงู สุด 250 มิลลิ

แอมแปร์ (ข) เลือกย่าการวัดสูงสดุ ที่ 25 มิลลิแอมแปร์
ภาพที่ 23 แสดงใหเ้ ห็นถงึ ผลของการวัดคา่ ปรมิ าณกระไฟฟ้าตรงในวงจรท่ีเทา่ กนั แต่ระดับยา่ น
การวดั สงู สดุ ตา่ งกัน ภาพที่ 23 (ก) จะสังเกตเหน็ วา่ เขม็ มัลตมิ ิเตอรเ์ บนไปทางขวาเพยี งเลก็ น้อย เนื่องจากการ
เลอื กยา่ นการวดั สูงสดุ ท่ี 250 มิลลแิ อมแปร์ แตภ่ าพท่ี 23 (ข) เข็มมลั ติมิเตอร์เบนไปจากเลข 0 ไปยงั เลข 100
ซึง่ เบนมากกวา่ ภาพ 23(ก) สามารถทาํ ใหอ้ ่านผลการวดั ได้ง้ายและแม่นยํายิง่ ขึ้น

ค่มู อื ปฏบิ ัตงิ าน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบอ้ื งต้น

บทท่ี 4

ขน้ั ตอนการปฏิบัติงาน จรยิ ธรรมในการปฏิบัติงาน วธิ ีการประเมินผลการปฏบิ ัติงาน

1. ข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิงาน

ข้ันตอนปฏิบัติงานในการขอใช้งานมัลติมิเตอร์สามารถแยกออกเป็น 2 รูปแบบ คือ การใช้มัลติ
มิเตอร์ในวิชาเรียนปฏิบัติการตามตารางเรียนของนิสิตประจําภาคเรียนต่าง ๆ และการขอยืมมัลติมิเตอร์ไปใช้
งานนอกเหนอื เวลาเรียน

1.1 การใช้มัลติมิเตอร์ในรายวิชาปฏิบัติการตามภาคเรียนปกติมีข้ันตอนการเตรียมมัลติมิเตอร์ให้
ผ้เู รยี นดังนี้

(1) นกั วิทยาศาสตร์ประจาํ หอ้ งปฎิบัติการทําการเตรยี มมลั ติมิเตอร์ให้ก่อนถึงคาบเรียนล่วงหน้า
อยา่ งนอ้ ย 1 วนั โดยวางไวท้ ่โี ตะ๊ ทาํ ปฏิบัติการในห้องเรยี น

(2) นักวิทยาศาสตร์ประจําห้องปฏิบัติการจะทําการตรวจสอบมัลติมิเตอร์แบบเข็มก่อนทุกคร้ัง
ตรวจสอบว่ามัลติมิเตอร์ตัวนั้นอยู่ในสภาพพร้อมใช้งานหรือไม่โดยวิธีการตรวจสอบเบื้องต้นคือ การปรับย่าน
การวดั ไปยงั ความต้านทานแลว้ เอาสายวัดมาแตะกัน เพื่อให้เข็มแสดงผลมีการเบนหรือขยับไปอีกข้างหนึ่ง เม่ือ
เข็มเบนแสดงวา่ มลั ติมิเตอรต์ ัวน้ันอยูใ่ นสภาพพร้อมท่จี ะใช้งานในเบ้อื งตน้

(3) ก่อนใช้งานมัลติมิเตอร์ในแต่ละรายวิชาปฏิบัติการ นักวิทยาศาสตร์ประจําห้องจะทําการ
สาธิตการใช้งานในรปู แบบต่างๆที่เหมาะสม เชน่ การบรรยายพร้อมการสาธิตการใช้งานหน้าช้ันเรียน การให้ดู
วิดีโอสาธิตการใชง้ านเครื่องมอื บอกข้อแนะนาํ และขอ้ ควรระวงั ในการใช้มัลติมเิ ตอร์

(4) ในกรณีมัลติมิเตอร์ไม่สามารถใช้งานได้ระหว่างทดลองหรือผลของค่าท่ีวัดได้มีความ
คลาดเคลื่อนจากความเป็นจริง จะทําการแก้ไขดังน้ี คือมีการเปล่ียนมัลติมิเตอร์สํารองให้กับผู้ที่ใช้งานหรือถ้า
อาการเสียหายเพยี งเล็กน้อย ทาํ การซ่อมและแก้ไขให้มลั ตมิ ิเตอร์มีการใชง้ านได้ในขณะทาํ การทดลอง

(5) เม่ือทําการทดลองเสร็จเรียบร้อย นักวิทยาศาสตร์จะทําการทวนถามนิสิตหรือผู้ท่ีใช้งาน
เก่ียวกับมัลติมิเตอร์ว่าได้เกิดความเสียหายหรือไม่ และเม่ือมีมัลติมิเตอร์ท่ีเกิดความเสียหาย จะทําการแยก
ออกมาและทาํ การซอ่ มแซม

(6) ก่อนการทําการเก็บมัลติมิเตอร์ท่ีเข้าตู้เก็บอุปกรณ์ จะมีการทดสอบว่ามัลติมิเตอร์แต่ละตัว
ใช้งานได้หรือไม่ โดยวิธีการตรวจสอบเบื้องต้นคือ การปรับย่านการวัดไปยังความต้านทานแล้วเอาสายวัดมา
แตะกัน เมื่อเข็มเบนแสดงว่ามัลติมิเตอร์ตัวนั้นอยู่ในสภาพพร้อมท่ีจะใช้งาน เมื่อพบมัลติมิเอตร์ที่เสียหายจะมี
การนาํ ไปซอ่ มแซมก่อนเกบ็ เข้าตู้

- 30 -

(7) เม่อื ไมม่ กี ารใช้งานมัลลิมิเตอร์แล้วนักวิทยาศาสตร์ประจําห้องปฏิบัติการจัดเก็บมัลติมิเตอร์
เข้าตเู้ กบ็ อปุ กรณ์

1.2 การขอใชง้ านมัลตมิ เิ ตอร์นอกเวลาเรียนหรือการยืมเพ่ือใชง้ านนอกหอ้ งปฏบิ ตั ิการ
(1) ผยู้ ืมทําการติดต่อนักวทิ ยาศาสตร์ประจาํ ห้องปฏิบัตกิ ารล่วงหนา้ อยา่ งนอ้ ย 3 วนั
(2) ผยู้ ืมเขยี นแบบฟอร์มการยมื /คืน เคร่ืองมือและอุปกรณ์สาขาวิชาฟสิ ิกส์ ที่สาขาวชิ า
(3) นักวิทยาศาสตรป์ ระจาํ ห้องปฏิบัติการทาํ การเตรียมมัลตมิ ิเตอรใ์ หผ้ ยู้ มื ล่วงหน้า 3 ชั่วโมง

กอ่ นถึงกาํ หนดเวลายืม
(4) นักวิทยาศาสตร์ประจําห้องปฏิบัติการอธิบายวิธีการใช้งาน สาธิตการใช้งานเครื่องมือ

ตรวจสอบสภาพของมัลติ ิมเิ ตอร์ และบอกขอ้ ปฏบิ ตั ิและข้อควรระวงั ของการใชง้ านแก่ผู้ทมี่ าขอยืม
(5) นักวิทยาศาสตร์ประจําห้องปฏิบัติการต้องลงช่ือผู้ให้บริการในแบบฟอร์ม ณ วันท่ียืม โดย

แบบฟอรม์ จะถกู เกบ็ ไว้ท่สี าขาวิชา
(6) เมื่อผู้ยืมต้องการคืนอุปกรณ์ต้องทําการติดต่อนักวิทยาศาสตร์ประจําห้องปฏิบัติการก่อน

อยา่ งนอ้ ง 1 ชว่ั โมงในกรณที ีผ่ ยู้ ืมไม่สามารถคืนมัลติมิเตอร์หรืออุปกรณ์ต่างๆ ได้ตามเวลาท่ีได้ทําการขอ ให้ทํา
การติดตอ่ นักวิทยาศาสตรผ์ ้ทู ่ีดูแล เพื่อบอกเหตุผลและให้ทําการเขยี นใบยนื อุปกรณเ์ พ่ิมเตมิ จากเดิม

(7) นกั วทิ ยาศาสตร์ประจาํ หอ้ งปฏิบัตกิ ารตรวจสอบอปุ กรณท์ ่ยี ืม ทาํ การเปรียบเทียบอุปกรณ์ที่
ยมื ก่อนและหลังยืม สภาพของอุปกรณ์ ลักษณะการใช้งานเบอ้ื งตน้

(8) ผู้ยืมต้องลงชื่อผู้คืนในแบบฟอร์มฉบับเดิม และนักวิทยาศาสตร์ประจําห้องปฏิบัติการต้อง
ลงชอ่ื ในช่องผู้รับคืนพรอ้ มกบั การตรวจสภาพ

(9) หมายเหตุกรณีที่อุปกรณ์ชํารุดเสียหายระหว่างการยืม ผู้ยืมต้องรับผิดชอบตามมูลค่าของ
อปุ กรณช์ ิน้ นั้น

2. จริยธรรมในการปฏิบตั งิ าน

ในการปฏบิ ัตงิ านตอ้ งมกี ฎเกณฑท์ ่เี ป็นแนวทางในการปฏิบัติเพื่อให้การทํางานประสบความสําเร็จใน
ขณะเดียวกันการปฏิบัติงานของนักวิชาชีพ ต้องมีจริยธรรม กฎเกณฑ์ ข้อควรปฏิบัติ เพ่ือเป็นแนวทางในการ
ปฏิบตั งิ านเชน่ กนั ดังตอ่ ไปนี้

คมู่ ือปฏิบัตงิ าน การใชม้ ลั ติมเิ ตอรแ์ บบเข็มเบอื้ งต้น

- 31 -

2.1 การตรงต่อเวลา เป็นการท่ีทําให้ผู้ปฏิบัติงานสามารถวางแผนการทํางานให้เป็นระบบ และ
สามารถจัดสรรเวลาในการทํางานในงานแต่ละข้ันตอนได้เพื่อให้สําเร็จเสร็จสิ้นตามระยะเวลาที่วางแผนเอาไว้
อีกทัง้ การทํางานสามารถทจ่ี ะทาํ ใหผ้ ้รู ว่ มงานมคี วามพงึ พอใจ

2.2 ความชํานาญในวิชาชีพ การทําปฏิบัติการในทางฟิสิกส์นักวิชาชีพต้องทําการหมั่นฝึกฝน เล่า
เรียน ฝึกประสบการณ์ต่างๆ และทําการทดลองปฏิบัติการเหล่าน้ันมาก่อนเพ่ือให้เกิดความชํานาญ และ
สามารถบ่งบอกถึงเทคนิคหรือทักษะในการทําปฏิบัติการเหล่าน้ันเพ่ือให้เกิดความชํานาญและสามารถท่ีจะ
แกไ้ ขปัญหาท่ีเกิดขึน้ ไดอ้ ย่างทันท่วงที

2.3 การรักษาระเบียบวินัย การทํางานในองค์กรต่างๆ ในองค์กรเหล่าน้ันต้องมีกฎระเบียบของ
องค์กรหรือหน่วยงานเหล่านั้นนักวิทยาศาสตร์จะต้องปฏิบัติตามระเบียบของหน่วยงานเพื่อให้การทํางานใน
หน่วยงานหรือองค์กร เพื่อให้ทุกคนในหน่วยงานหรือองค์กรสามารถทํางานอย่างมีระเบียบและมีแนวทาง
ปฏบิ ตั ทิ ถี่ กู ต้อง

2.4 การพดู จาดี นกั วิทยาศาสตรต์ ้องเจอกบั ผ้ทู ี่เข้ามาใช้บริกาท่ีมีความหลากหลาย การกล่าววาจาท่ี
เหมาะสม การสื่อสารด้วยถ้อยคําท่ีสุภาพ มีความจริงใจ การกล่าวถ้อยคําที่มีประโยชน์ต่อการทํางาน การให้
คําแนะนําท่ีเป็นประโยชน์ สามารถทําให้ทํางานได้สําเร็จลุล่วงได้ และเป็นที่ประทับใจผู้ท่ีมาเข้าใช้บิกการได้

3. วิธีการประเมินผลการปฏบิ ัติงาน

3.1ข้นั ตอนการประเมินความพึงพอใจ

การประเมินความพึงพอใจในการบริการและการควบคุมดูแล หลังจากผู้รับบริการหรือนิสิต
นักศึกษาที่ได้เรยี นปฏบิ ตั ิการผ่านไปแล้ว จะให้มีการประเมินความพึงพอใจจากรับบริการ โดยใช้แบบประเมิน
ความพงึ พอใจในการทํางานปฏิบัติการของนักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ เพ่ือนําผลจากการประเมินมาปรับปรุง
และพัฒนาการให้บริการเกี่ยวกับการทํางานในด้านต่างๆ การอํานวยความสะดวกแก่ผู้มาใช้บริการ (แบบ
ประเมนิ ความพงึ พอใจ แสดงในภาคผนวก)

แบบประเมินความพึงพอใจในการทําปฏิบัติการทางฟิสิกส์ สร้างขึ้นเพื่อประเมินความพึงพอใจ
ในการให้บริการของนักวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ เพื่อให้การบริการได้พิจารณาตามความเป็นจริงว่ามีความพึง
พอใจในระดับใด แบบประเมินได้ออกแบบเปน็ แบบมาตรวดั การประมาณค่า 5 ระดบั คอื

5 หมายถึง ความพึงพอใจมากที่สุด
4 หมายถึง ความพึงพอใจมาก
3 หมายถงึ ความพึงพอใจปานกลาง
2 หมายถงึ ความพึงพอใจน้อย

คมู่ ือปฏบิ ัตงิ าน การใชม้ ลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบ้อื งตน้

- 32 -

1 หมายถงึ ความพงึ พอใจนอ้ ยทส่ี ดุ

โดยสรา้ งแบบประเมนิ ความพงึ พอใจในทํางานของนักวิทยาศาสตร์ของสาขาวิชา 3 ด้าน คือ (1)
ด้านการให้บริการของนักวิทยาศาสตร์จํานวน 4 ข้อ (2) ด้านประสิทธิภาพและความเช่ียวชาญของ
นักวิทยาศาสตร์ จํานวน 3 ข้อ และ (3) ด้านอุปกรณ์และเคร่ืองมือสําหรับการทําปฏิบัติการ จํานวน 4 ข้อ
รวมท้ังข้อเสนอแนะเพิ่มเตมิ เปน็ คําถามแบบปลายเปิด เพื่อให้ผู้ท่ีมาติดต่อใช้งานได้เสนอแนะความคิดเห็นและ
สามารถนาํ ไปปรบั ปรงุ การทาํ งานให้เกดิ ประสทิ ธิภาพเพิ่มมากขึน้

3.2 การวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน
ใช้สตู รดังนี้

1. สูตรการหาค่าเฉลี่ย ‫ ̅ݔ‬เพื่อใช้ในการหาระดับความพึงพอใจในการ โดยใช้คอมพิวเตอร์
คํานวณ ใชส้ ตู รดงั น้ี

‫ ∑ = ̅ݔ‬௫ (8)



เม่อื กําหนดให้ ‫ ̅ݔ‬คอื คะแนนเฉล่ยี ความพึ่งพอใจในการบรกิ าร

∑ ‫ ݔ‬คอื ผลรวมของคะแนนทไ่ี ดม้ าในแตล่ ะข้อ

݊ คือ จาํ นวนผู้ผรู้ ับบริการทท่ี าํ การประเมิน

การวิเคราะห์แบบประเมินความพึงพอใจ กําหนดช่วงของค่าเฉลี่ยตามแนวของจอห์น ดับบลิว

เบสท์ และเจมส์ วคี าห์น (John W.Best and James V. Kahn) ดังนี้ (Best, John W.and Kahn, James V.

1986: 181-182)

คา่ เฉลีย่ ความหมาย

4.50-5.00 ความพึงพอใจมากทีส่ ดุ

3.50-4.49 ความพงึ พอใจมาก

2.50-3.49 ความพึงพอใจปานกลาง

1.50-2.49 ความพึงพอใจนอ้ ย

1.00-1.49 ความพึงพอใจน้อยทีส่ ดุ

ผลการประเมนิ การเข้าใช้บริการจะมีการวิเคราะห์ในแต่ละด้าน ในกรณีท่ีได้ผลประเมินต่ํากว่า

3.5 คะแนน จะถอื วา่ ผ้ใู ห้บรกิ ารมกี ารให้บรกิ ารท่มี คี ะแนนไมผ่ ่านในด้านน้ัน ควรทําการวิเคราะห์และปรับปรุง

ตนเองในการใหบ้ ริการในด้านนน้ั ๆอยา่ งเร่งดว่ น

คมู่ อื ปฏบิ ตั งิ าน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบอื้ งตน้

- 33 -

2. สูตรค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation – S.D.) (Lefferty, Petterand Rowe,
Julain, 1995: 561-562)

ܵ. ‫ܦ‬. = ට∑ሺ௫೔ି௫̅ሻమ (9)

௡ିଵ

เมอ่ื กาํ หนดให้ ܵ. ‫ܦ‬. คือ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานใช้ในการวิเคราะห์การกระจายของ
ขอ้ มูลผ้ตู อบแบบสอบถาม

∑ሺ‫ݔ‬௜ − ‫̅ݔ‬ሻଶ คือ ของคะแนนของแต่ละด้านลบค่าเฉลี่ยคะแนนใน
ด้านนน้ั

݊ คือ จํานวนผู้ประเมินแบบสอบถามการใชบ้ ริการ

ผลค่าเบยี่ งเบนมาตรฐานในข้อน้เี พื่อใช้วิเคราะห์ของมลู ของผู้ใช้บริการในกลุ่มเดียวกัน ท่ีมาเข้า
ใช้บริการมากกว่า 10 คน ผลท่ีได้ควรมีค่าเบ่ียงเบนท่ีไม่มากเกินไป เน่ืองจากเป็นการให้บริการภายในกลุ่ม
เดียวกันที่มารับบริการน้ัน เพ่ือเป็นการวิเคราะห์ว่าผลที่ได้จากการประเมิณจากกลุ่มผู้รับบริการน้ันมีความ
นา่ เชื่อถือไดห้ รอี ไม่

คู่มือปฏิบัติงาน การใช้มลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบ้อื งต้น

บทท่ี 5

สรุปความสําคัญ ข้อแนะนาํ ปญั หาและแนวทางแกไ้ ข

1. สรุปความสาํ คญั ข้อแนะนําของการใชง้ านมัลตมิ ิเตอร์

ในคู่มือปฏิบัติงานฉบับนี้ ได้อธิบายเกี่ยวกับการใช้มัลติมิเตอร์แบบเข็มเพื่อใช้งานในการวัดค่าต่างๆ
ในทางปริมาณไฟฟ้า โดยเน้นการใช้งานที่เกี่ยวกับรายวิชาปฏิบัติการต่างๆของสาขาวิชา มัลติติมิเตอร์เป็น
เคร่ืองมือที่ใช้วัดค่าต่างๆได้มากมายและมีความหลากหลาย ทางผู้จัดทําคู่มือปฏิบัติงานจึงได้ทําการสรุปสาระ
ประเดน็ สาํ คญั เก่ียวกับใช้งานมลั ตมิ ิเตอรเ์ บือ้ งต้นดงั นี้

ตารางที่ 2 ตารางสรปุ ความสาํ คัญของการใชง้ านมลั ติมเิ ตอร์วดั ค่าต่างๆ

คา่ ปริมาณทางไฟฟ้า การต่อสายวดั มัลติมเิ ตอร์ ขว้ั บวก-ลบ ข้อแนะนํา

ความต้านทานทาง ต่ อ ข น า น กั บ จุ ด ห รื อ ไม่ต้องคําถึงถึงขั้วบวก - ต้องไม่มีกระแสไฟฟ้าไหลใน

ไฟฟา้ วงจรไฟฟา้ ท่ตี อ้ งการวัด และลบ วงจรหรือตัวต้านทานท่ที ําการวดั
- ปรบั เขม็ การวดั ให้เรม่ิ ตน้ ท่ี 0 ทุก
ครั้งเมื่อเปล่ียนย่านหรือช่วงการ
วดั
- ค่ า ที่ อ่ า น ไ ด้ ต้ อ ง คู ณ กั บ ค่ า
สัมประสิทธ์ิท่ีเลือกช่วงของการ
วดั น้นั ๆ
- ช่วงหรอื่ ย่านในการวัดควรมีค่าที่

เหมาะสมเพื่อความถูกต้องและ
แม่นยาํ ของคา่ ท่ีอา่ นได้

ความต่างศักย์ไฟฟ้า ต่ อ ข น า น กั บ จุ ด ห รื อ - ตอ้ งคาํ ถงึ ถึงข้ัวบวกและ - จุดวดั ทอี่ ยู่ใกล้แหลง่ กําเนิดไฟฟ้า

กระแสตรง วงจรไฟฟา้ ทีต่ ้องการวัด ลบ ขั้วบวกให้ใช้สายสีแดงหรือสาย

บวกของมลั ติมิเตอร์

- จุดวดั ทอี่ ยูใ่ กลแ้ หล่งกําเนิดไฟฟ้า

ขั้วลบให้ใช้สายสีดําหรือสายลบ

ของมลั ตมิ ิเตอร์

- ช่วงหรือย่านท่ีใช้การวัดควรมีค่า
มากกว่าคว ามต่างศักย์ของ
แหล่งกําเนดิ ไฟฟ้า

- 35 -

คา่ ปริมาณทางไฟฟ้า การต่อสายวัดมัลติมเิ ตอร์ ขวั้ บวก-ลบ ขอ้ แนะนาํ

ความต่างศักย์ไฟฟ้า ต่อขนานกับจุดหรือวงจร - ไม่ต้องคําถึงถึงขั้วบวก -ช่ ว ง ก า ร วั ด ที่ เ ลื อ ก ค ว ร มี ค่ า

ความต่างศักย์ไฟฟ้า ต่ อ ข น า น กั บ จุ ด ห รื อ และลบ มากกว่าคว ามต่างศักย์ของ

กระแสสลับ วงจรไฟฟา้ ทีต่ ้องการวัด แหล่งกําเนิด

- สามารถใช้สายจากมัลติมิเตอร์สี

อะไรก็ได้ในการวัดความต่างศักย์

ระหวา่ งจุด 2 จดุ ในวงจร

ปริมาณกระไสไฟฟ้า ต่ออนุกรมกับจุดหรือ - ต้องคําถึงถงึ ข้ัวบวกและ - จุดวัดที่อยู่ใกล้แหล่งกําเนิดไฟ

ใ น ว ง จ ร ไ ฟ ฟ้ า วงจรที่ตอ้ งการวดั ลบ ขั้วบวกให้ใช้สายสีแดงของมัลติ

กระแสตรง มเิ ตอร์

- จุดวดั ทอี่ ยูใ่ กล้แหล่งกําเนิดไฟขั้ว

ลบใหใ้ ช้สายสดี ําของมัลติมิเตอร์

- การเลือกย่านการวัดควรเร่ิมต้น

จากย่านท่ีสามารถวัดค่าได้มาก

ท่สี ดุ

- ไม่ควรเปล่ียนย่านการวัดขณะ

มิเตอร์กําลังทําการวัด ควรเอา

สายวัดของมิเตอร์ออกแล้วจึง

เปล่ยี นย่านการวดั

2. ปญั หาและแนวทางแกไ้ ข

ปญั หาอุปสรรคเกยี่ วกับแนวทางปฏบิ ัตเิ กยี่ วกับการขอใช้งานมลั ติมิเตอร์แบบเข็ม เครื่องมือและอุปกรณ์
สําหรับการทําปฏิบัติการอุปกรณ์สําหรับการเรียนการสอน อุปกรณ์วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสาขาวิชา
ผเู้ ขยี นคู่มอื ปฏิบตั งิ านขอสรปุ ปัญหาตามประสบการณ์ของผูเ้ ขยี นท่ไี ด้ให้บรกิ ารมา ดังตารางต่อไปนี้

ตารางท่ี 3 ปัญหาและแนวทางแก้ไขปญั หา

ปัญหาอปุ สรรค แนวทางแก้ไขปัญหา

1. ปัญหาผู้ขอใช้งานไม่มี - ผูข้ อใชง้ านควรมีการตดิ ตอ่ กบั นกั วชิ าชพี ล่วงหน้าอยา่ งนอ้ ย 3 วนั

ความร้ใู นการใช้เครื่องมือและ - นกั วิชาชพี แนะนําการวิธีการใช้อุปกรณ์แก่ผู้ขอใช้งาน ข้อควรระวังในการ

อุปกรณ์ ใช้งาน

- การใช้งานเครื่องมือในห้องปฏิบัติการ มีนักวิชาชีพอยู่ตลอดเวลาการใช้

งาน

คู่มือปฏิบตั ิงาน การใชม้ ลั ติมเิ ตอรแ์ บบเขม็ เบือ้ งตน้

- 36 -

ปัญหาอปุ สรรค แนวทางแก้ไขปัญหา

- การใช้เคร่ืองมือนอกห้องปฏิบัติการ ผู้ยืมต้องสามารถใช้เคร่ืองมือได้ก่อน

การยืม โดยมนี ักวิชาชพี คอยแนะนํา

- ขณะใช้งานภายนอกห้องปฏิบัติการ เกิดมีปัญหาเก่ียวกับการใช้งาน ผู้ยืม

ตอ้ งทาํ การติดต่อนกั วิชาชีพโดยทนั ที

2. ผู้ที่ใช้บริการไม่ได้ทําการ -ผู้ขอใช้บริการต้องมีการทําการติดต่อกับผู้ให้บริการหรือนักวิชาชีพสาขา

ติดตอ่ และนัดล่วงหนา้ ฟิสิกส์อยา่ งน้อยลว่ งหน้า 3 วัน

- ทําแบบฟอร์มบันทึกการใช้และการจองใช้เคร่ืองมือ วัสดุ อุปกรณ์ต่างๆ

ของห้องปฏิบัติการล่วงหน้า และแจ้งแก่ผู้ขอใช้บริการว่าเคร่ืองมือ

อุปกรณอ์ ยใู่ นสภาพพร้อมใชง้ านหรอื ไม่

- จดั ทาํ บนั ทึกการขอใช้เครื่องมือและตารางสรปุ สถานะภาพใชง้ านของ

เครอ่ื งมือ เพื่อแสดงแกผ่ ู้ท่มี าขอใชง้ านให้ทราบ

3.ความเสียหายของอุปกรณ์ - ตรวจสอบความเสียหายท่ีเกิดขึ้นกับเคร่ืองมือเบื้องต้น ว่าเกิดความ

แ ล ะ เ ค รื่ อ ง มื อ ข ณ ะ ทํ า เสยี หายในลักษณะใด

ปฏิบัตกิ าร - ตรวจสอบความเสียหายจากเครอ่ื งมือวา่ เกิดจากสาเหตุใด

* เกิดความเสียหายจากอุปกรณ์เส่ือมหรือชํารุดตามระยะเวลา ทาง

สาขาวิชาเป็นผูร้ บั ซอ่ มความเสยี หายนัน้

* ความเสียหายเคร่ืองมือเกิดจากผู้ยืมใช้งาน ซ่ึงมาจากความประมาท

หรอื การไมป่ ฏิบัติตามคาํ แนะจากนักวิชาชีพ ผู้ยืมต้องรับผิดชอบต่อความ

เสยี หายน้ัน

- การคืนเครื่องมือและอุปกรณ์ นักวิชาชีพทําการตรวจสอบอุปกรณ์หลังยืม

ตอ่ หนา้ ผทู้ ่ีทําการยมื เพื่อเปน็ การยนื ยันวา่ อปุ กรณ์อยู่ในสภาพเดมิ

4. ก า ร คื น อุ ป ก ร ณ์ ห รื อ - ผู้ยืมทําการติดต่อนักวิชาชีพล่วงหน้าอย่างน้อย 1 วัน ก่อนถึงวันกําหนด

เคร่ืองมือท่ีใช้ในปฏิบัติการไม่ คนื อุปกรณ์

ตรงตามระยะเวลาท่กี ําหนด - ผู้ยมื ต้องมาตดิ ต่อทาํ การเขยี นใบยืมอุปกรณ์ใหม่ เพม่ิ เตมิ ระยะเวลาในการ

ยมื อปุ กรณ์นั้น ณ.ห้องปฏิบัตกิ าร

- ในกรณีที่ผู้ยืมไม่ได้ทําการติดต่อมายังนักวิชาชีพ หลังครบกําหนดจากวัน

คืน 7 วัน นกั วชิ าชพี ทําการติดต่อไปยงั ผยู้ ืมเพอื่ ทวงถาม

คู่มอื ปฏบิ ตั งิ าน การใช้มลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเข็มเบื้องตน้

- 37 -

บรรณานุกรม

NAPAT WATJANATEPIN. มัลติมเิ ตอร์ . “เครือ่ งวดั ไฟฟ้า” .ELWE(THAILAND) .
ประภาส สุวรรณเพชร.รีซสิ เตอรเ์ นต็ เวริ ค์ .www.praphas.com. สบื คน้ เมอ่ื 12/4/2563
พนั ธ์ศกั ดิ พฒุ ิมานติ พงศ์ และคณะ. เครืองวดั ไฟฟ้ า (เครืองมือวดั ไฟฟ้ าและอเิ ลก็ ทรอนกิ ส์).

กรุงเทพฯ : ศนู ย์สง่ เสริมอาชีวะ, 2548
อรรถชัย สุกใส.(2552).การใช้เคร่ืองมือวัดทางการไฟฟ้า.TEMCA magazine.Valume 16. ISSUE2.

AUGUST-OCTOTBER.

คมู่ ือปฏิบัติงาน การใชม้ ลั ตมิ เิ ตอรแ์ บบเขม็ เบ้ืองต้น






Click to View FlipBook Version