The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

OHS_SOP_ร่างการทำงานเฉพาะ(ความร้อน ความสูง ที่อับอากาศ)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by lovemagic_19, 2022-05-04 05:06:46

OHS_SOP_ร่างการทำงานเฉพาะ(ความร้อน ความสูง ที่อับอากาศ)

OHS_SOP_ร่างการทำงานเฉพาะ(ความร้อน ความสูง ที่อับอากาศ)

สถาบันวจิ ยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ (องคก์ ารมหาชน)
National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

Document type : Standard operation Procedure

เร่ือง
การทางานอันตรายเฉพาะ(ความร้อน ความสงู ไฟฟา้ อบั อากาศ)
Hazard Work (Hot work / Work at height / Electrical / Confine space)

หมายเลขเอกสาร :
แก้ไขครง้ั ที่ :
วนั ที่มีผลบังคบั ใช้ :

ผจู้ ัดทา ผ้ตู รวจสอบ ผอู้ นมุ ัติ

DOCUMENT TYPE : Standard Operation Procedure

Doc. No. SOP-5620-01 Rev. 00

Eff. Date Page

หัวขอ้ : การทางานอันตรายเฉพาะ(ความรอ้ น ความสูง ไฟฟา้ อับอากาศ)

บนั ทกึ ประวัตกิ ารแกไ้ ข

REVISION HISTORICAL RECORD

แกไ้ ขวันท่ี วนั ท่ีบงั คับใช้ รายละเอยี ดการแกไ้ ข จัดทาโดย ทบทวนโดย อนุมัตโิ ดย
Rev. No. Effective Date. Description Prepare By
Reviewed By Approved by

สารบญั ก

วตั ถปุ ระสงค์ ก-ค
ขอบเขต 1
คาจากดั ความ 2
หน้าที่ความรบั ผิดชอบ 3-6
กฎความปลอดภัยทั่วไปในการปฏิบัตงิ านอันตรายเฉพาะ
การขออนญุ าตทางานอันตรายเฉพาะ (ความร้อน ความสงู ไฟฟ้า) 7-9
งานความร้อน 10-11
12-13
- ความปลอดภัยในงานเชอื่ มใช้แกส๊ / ไฟฟ้า
- ความปลอดภัยในงานตัดด้วยแก๊ส 14-15
- ความปลอดภยั ในงานตัดด้วยเครอ่ื งตดั ไฟเบอร์ 16-17
งานความสูง 18-19
- ความปลอดภัยในงานใช้บันได
- ความปลอดภยั ในงานใช้นง่ั รา้ น 20-21
- ความปลอดภัยในงานใช้รถกระเช้า 22
งานไฟฟา้
- ความปลอดภัยในการทางานไฟฟา้ 23-25
- ขนั้ ตอนการ Log out /Tag out
26
งานอับอากาศ 26-27
- ความปลอดภัยในการทางานในท่อี บั อากาศ 27

การลงโทษหากฝ่าฝืนกฎระเบยี บ /มาตรการควบคมุ

เอกสารท่ีเก่ยี วข้อง

แหล่งอ้างอิง

Hazard Work|ก

1. วตั ถปุ ระสงค์ (Purpose)

1.1 เพอ่ื ให้กจิ กรรมทีม่ ีความเส่ยี ง และเป็นงานอนั ตราย มีการควบคมุ การดาเนินงานอย่างปลอดภัยและเหมาะสม
1.2 เพ่ือใหผ้ ้ปู ฏบิ ัติงาน/ผู้รับเหมาสามารถใชง้ านเครื่องจักร/อปุ กรณ์ได้อย่างถกู ต้องและปลอดภัย
1.3 เพอื่ ให้เครอื่ งจักร/อุปกรณไ์ ดร้ ับการดแู ลให้มีความพร้อมในการใช้งานได้อย่างมปี ระสิทธิภาพและปลอดภัย

2. ขอบเขต (Scope)
2.1 ครอบคลุมกจิ กรรมทมี่ ีความเสย่ี งดา้ นOHS ทีส่ าคัญของสถาบนั วจิ ัยดาราศาสตรแ์ ห่งชาติ (องค์การมหาชน)
2.2 ครอบคลุมอุปกรณแ์ ละเคร่ืองจักรที่ใช้งานภายในสถาบัน
2.3 ครอบคลุมการปฏิบัติงานของผ้ปู ฏบิ ัตงิ านและผ้รู ับเหมาทุกรายของสดร.

3. คาจากดั ความ (Definition)

ลาดับ คาศพั ท์ คาจากัดความ

1 ความเสีย่ งด้านOHS ผลลพั ธ์จากการพิจารณา “ความเป็นไปได้ของผลกระทบต่อความปลอดภยั และอาชี
วอนามัยของบุคคล สิง่ แวดล้อม ชุมชน หรอื ทรัพยส์ นิ ” และ “ความรุนแรงของ
ผลกระทบนน้ั ” ซึ่งความเสยี่ งท่สี าคญั เป็นความเส่ยี งท่ีมผี ลลัพธ์หรอื มีศักยภาพทที่ า
ใหเ้ กดิ ผลกระทบที่สาคัญดา้ นชวี ิต สง่ิ แวดลอ้ ม ของผปู้ ฏิบตั ิงาน

2 พน้ื ทค่ี วบคุม พ้ืนทที่ ่ีเส่ียงต่อการเกดิ อนั ตรายต่อผูป้ ฏิบตั ิงาน และถ้าเกิดอุบตั เิ หตแุ ลว้ มีแนวโนม้ ที่
จะทาให้เกิดความเสยี หายท่รี ุนแรง เชน่ บริเวณหม้อแปลงไฟฟา้ เคร่ืองกาเนิดไฟฟา้
พ้ืนทเ่ี ก็บน้ามันเชอ้ื เพลิง พ้นื ทโ่ี รงงาน เป็นต้น

3 อปุ กรณ์เครอ่ื งจักรที่ อุปกรณ์ เครอ่ื งจักร หรอื โครงสร้าง ซึ่งหากได้รับความเสียหาย หรือไมส่ ามารถ
สาคัญ ดาเนนิ การตามทีร่ ะบุไว้ตามข้อจากัดของการออกแบบ แลว้ จะทาให้เกิดประเดน็
ตา่ งๆอย่างใดอย่างหน่ึง หรอื หลายๆอย่างรวมกัน ดังนี้

- เปน็ อุปกรณ/์ เคร่ืองจักรท่ีสง่ ผลทาให้ หรือมศี ักยภาพท่ีจะก่อใหเ้ กดิ อบุ ัตเิ หตุ
ข้นั รนุ แรงถงึ ขั้นเสยี ชีวติ เชน่ ต้คู วบคุมระบบไฟฟ้าเครื่องกาเนดิ ไฟฟ้า หรอื
กอ่ ให้เกดิ อันตรายรา้ ยแรง เช่น มีการแผ่กัมมนั ตภาพรังสี

- เปน็ อุปกรณ์/เครื่องจักรท่ีเกยี่ วข้องกบั การตอบสนองตอ่ สถานการณฉ์ ุกเฉนิ

- เป็นอปุ กรณ์/เครื่องจักรท่ีเมื่อได้รบั ความเสยี หายจะสามารถสง่ ผลกระทบ
ต่อสิง่ แวดล้อม และชุมชนรุนแรง เป็นอุปกรณ/์ เคร่ืองจักรทเี่ มือ่ ไดร้ บั ความ
เสียหายจะส่งผลทาให้ธรุ กิจเสียหาย เช่น กระบวนการผลติ หยุดชะงกั /
สญู เสียเวลาในการผลติ /ทรพั ย์สินเสียหายรนุ แรง

- เปน็ เครื่องจักรหรืออุปกรณท์ ่ีเมือ่ มีการชารดุ ไม่พร้อมใช้ หรอื เสยี หายแลว้

Hazard Work|ข

ลาดบั คาศัพท์ คาจากัดความ

นามาใช้ จะส่งผลกระทบต่อชวี ิตและทรพั ยส์ ิน

4 การบารงุ รกั ษา การดูแล ตรวจเช็คเคร่ืองจกั ร/อุปกรณ์ และทาการปรับปรงุ แก้ไข สว่ นท่มี ีแนวโน้ม
จะก่อให้เกิดความเสยี หายต่อเครือ่ งจักร/อุปกรณ์ หรือผู้ปฏิบัติงาน กอ่ นท่ี
เคร่อื งจักร/อุปกรณจ์ ะไดร้ บั ความเสียหาย ซ่งึ หากดาเนินการโดยชา่ งหรือบคุ ลากร
ภายในหน่วยงานเรยี กว่าการบารงุ รักษาภายใน หากดาเนินการโดยหน่วยงาน
ภายนอกเรยี กว่าการบารงุ รักษาจากหนว่ ยงานภายนอก

5 การซอ่ ม การปรับปรงุ แก้ไขเคร่อื งจักร/อปุ กรณ์ ทไี่ ด้รับความเสยี หายหรือไม่สามารถใชง้ าน
ได้ ให้สามารถใชง้ านได้ตามปกติ

6 ผู้ปฏิบตั งิ าน บุคลากรของสถาบันวจิ ยั ดาราศาสตร์และบุคลลภายนอก ท่เี ข้ามาปฏิบัตงิ านภายใน
สถาบัน

7 งานประจา งาน Operate หรอื ตรวจพ้ืนที่ หรอื งานตรวจสอบอุปกรณ์ ข้นั พืน้ ฐาน โดยเจา้ ของ
(Operating พืน้ ที่
Routine)

8 งานไมป่ ระจา(Non- งานท่ที าโดยบุคคลอน่ื ท่ีไม่ใช่เจ้าของพื้นที่ หรืองานที่ทา โดยเจา้ ของพนื้ ท่ีทไ่ี ม่ใช่งาน
Operating Routine) Operate หรือตรวจพนื้ ที่ หรอื งานตรวจสอบอปุ กรณ์ขั้นพื้นฐาน

9 การใช้งาน การปฏิบตั งิ านกบั เครื่องจกั ร/อุปกรณ์ ตามหนา้ ท่ีการทางานของเครื่องนั้นๆ

10 งานความร้อน การทางานทก่ี ่อให้เกิดความร้อน และประกายไฟที่ต้องปฏิบัติงานบริเวณพ้ืนทท่ี ่ถี ูก
กาหนดให้ทางานที่มีความรอ้ นและประกายไฟ ตวั อย่าง งานตัดไฟเบอร์ งานเช่ือม
โลหะ งานตัดแกส็ หรอื งานเจียรโลหะ เป็นตน้

11 งานที่สงู การทางานทีส่ งู กว่าพ้นื ดินขนึ้ ไปมากกวา่ 2 เมตรขนึ้ ไป จากพ้ืนหรอื โครงสรา้ งหรือส่ิง
12 งานไฟฟา้ ปลกู สรา้ งทกุ ประเภทไม่วา่ แบบถาวรหรอื ชัว่ คราวที่มีความสูงเหนือพ้ืนดนิ ซงึ่ จะต้อง
13 ท่ีอบั อากาศ มคี นขน้ึ ไปทางานอย่างใดอยา่ งหนึ่ง รวมถึงสว่ นพืน้ ล่างของหลมุ ซึ่งกวา้ งพอท่ีคน
สามารถพลัดตกลงไปได้
14 ระบบลอ็ ก
การปฏบิ ัติงานท่เี ก่ยี วกบั ไฟฟ้าในการสร้างหรอื ผลิต การซ่อมแซม การปรับปรุง การ
ตดิ ตั้งอปุ กรณ์หรือวงจรไฟฟา้

สถานที่ทางานที่มีทางเข้าออกจากดั มีการระบายอากาศโดยวธิ ีธรรมชาตไิ ม่เพยี ง
พอที่จะทาใหอ้ ากาศภายในอยใู่ นสภาพถกู สุขลักษณะ และปลอดภยั ซง่ึ อาจเป็นที่
สะสมของสารเคมีเปน็ พิษ สารไวไฟ รวมท้ังออกซิเจนไมเ่ พียงพอ เช่น อโุ มงค์ ถ้า บ่อ
หลมุ ห้องใตด้ นิ ห้องนิรภยั ถังน้ามนั ถังหมัก ถงั ไซโล ทอ่ เตา ภาชนะหรือสงิ่ อน่ื ทีม่ ี
ลักษณะคลา้ ยกัน และเปน็ สถานท่ที ไ่ี มไ่ ด้ออกแบบให้เขา้ มาทางานอย่างตอ่ เนือ่ ง

เปน็ ระบบที่ใช้ในการตดั แยกอุปกรณท์ ี่เปน็ แหล่งกาเนิดพลังงาน โดยการใช้อปุ กรณท์ ี่

Hazard Work|ค

ลาดบั คาศพั ท์ คาจากดั ความ

(Lock Out) ออกแบบมาสาหรับใชเ้ ปน็ เครื่องมือในการล็อก ทาไปล็อกท่ีแหล่งกาเนดิ พลังงาน

15 ระบบปา้ ยทะเบียน คอื การควบคุมอันตรายทีอ่ าจเกดิ ข้นึ กับผ้ปู ฏิบตั ิงาน โดยมลี กั ษณะเป็นแผ่นปา้ ย
(Tag Out) แสดงขอ้ ความเตือนอนั ตราย หลังจากทาการลอ็ กท่แี หลง่ กาเนิดพลังงานก็จะต้องทา
การแขวนป้ายทะเบียนไวท้ อี่ ุปกรณน์ ั้นดว้ ย

Hazard Work|1

4. หน้าทีค่ วามรับผดิ ชอบ (Responsibility)

4.1 เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัย/หัวหน้างานหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย จะต้องส่ือสารขั้นตอนการปฏิบัติงาน หรือ
กฎระเบียบการปฏิบัติงาน ไปสู่เจา้ หนา้ ท่ีท่เี ก่ยี วข้อง และผู้จาหนา่ ย/ผรู้ ับเหมาทุกราย รวมไปถึงการตรวจสอบหน้า
งานประจาวัน เพื่อสังเกตุการทางานของผู้ปฏิบัติงาน ผู้จาหน่าย/ผู้รับเหมา ให้ปฏิบัติตามกฏระเบียบความ
ปลอดภัย หากพบว่า ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบฯสามารถสั่งหยุดงานได้ จนกว่าเจ้าหน้าท่ี ผู้จาหน่าย/ผู้รับเหมาจะ
ดาเนินการแกไ้ ขใหม้ คี วามปลอดภยั กอ่ น จงึ เริ่มงานตอ่ ได้

4.2 ผรู้ บั เหมา เจ้าหนา้ ท่ี หรอื ผู้ปฏิบตั งิ านท่ีมีความเสีย่ งจะต้องขออนุญาตทางานตามลักษณะงานตา่ งๆ และจะตอ้ ง
ไดร้ ับการอนุมตั ิก่อนเขา้ ปฏบิ ัติในพน้ื ที่ทุกครัง้

4.3 ผปู้ ฏบิ ัติงาน ต้องปฏบิ ตั ิตามกฎระเบยี บบริษัทและกฎระเบียบด้านความปลอดภยั อาชวี อนามัยอย่างเคร่งครัด

4.4 ผู้อานวยการ/เจ้าของงาน/เจ้าหนา้ ทคี่ วามปลอดภยั /หวั หน้างาน/ผู้ได้รับมอบหมาย เป็นผู้อนุญาตปฏิบัตงิ าน



Hazard Work|2

5. กฎความปลอดภัยท่ัวไปในการปฏบิ ัตงิ านอนั ตรายเฉพาะ (Safety rule for Particular dangerous work )
5.1 ผู้ปฏบิ ัตงิ านจะต้องมสี ภาพรา่ งกายท่ีพร้อมต่อการปฏิบัติงาน พักผ่อนอย่างเพยี งพอ ไม่ป่วย ไมอ่ ยู่ภายใต้ฤทธ์ขิ อง

เคร่ืองดม่ื แอลกอฮอลแ์ ละสารเสพติด
5.2 ผ้ปู ฏิบัตงิ านจะต้องไม่มีโรคประจาตัวที่อาจสง่ ผลต่อการปฏบิ ตั ิงานอนั ตายเฉพาะ เชน่ โรคหัวใจ โรคเบาหวาน

เปน็ ต้น
5.3 ผปู้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งแตง่ กายให้เรยี บรอ้ ย โดยสวมเสือ้ ผ้ารัดกมุ เหมาะสมกบั การทางาน หา้ มสวมเครอ่ื งประดบั

กางเกงทมี่ ีรอยขาด หรือสงิ่ ที่อาจทาให้เกดิ อันตรายไดร้ วมถงึ ตอ้ งรวบผมให้เรยี บรอ้ ย
5.4 ผูป้ ฏบิ ัตงิ านจะตอ้ งทาการจัดเตรียมและสวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายสว่ นบุคคลให้ครบถ้วนตลอดเวลาทป่ี ฏิบตั ิงาน

อนั ตราย
5.5 ผ้ปู ฏบิ ัติงานจะตอ้ งตรวจสอบความพร้อมของเครื่องจักร/อปุ กรณ์ทีใ่ ช้งาน ก่อนเรม่ิ งานทุกครั้ง หากพบความ

ผดิ ปกตใิ ห้แจ้งหัวหนา้ งานเพอ่ื จัดให้มีการซอ่ มแซมใหเ้ ครอื่ งจักร/อุปกรณ์อยูใ่ นสภาพพร้อมใชง้ าน
5.6 ผปู้ ฏบิ ัติงานอันตรายเฉพาะจะต้องเป็นผู้ทีม่ คี วามรู้ ทักษะ ในการปฏิบัตงิ านทางดา้ นงานนัน้ ๆ เคยผา่ นการอบรม

มาแล้ว และมเี อกสารหลักฐาน
5.7 ผปู้ ฏบิ ตั งิ านที่มคี วามเส่ยี งสูง หรืออันตรายเฉพาะ ได้แก่ งานก่อประกายไฟ งานขน้ึ ทส่ี งู งานอบั อากาศ

งานเกยี่ วกับไฟฟา้ แรงสงู จะต้องขออนุญาตทางานตามตามแบบฟอรม์ ใบอนุญาตทางานกอ่ นเร่ิมงานเสมอ
5.8 ขณะท่ปี ฏบิ ตั ิงาน ผูป้ ฏบิ ตั ิงานต้องปฏิบัติงานตามขั้นตอนอย่างปลอดภัย กรณีทผ่ี ้อู านวยการ/เจ้าของงาน/

เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภยั /ผไู้ ดร้ ับมอบหมาย พบเหน็ วา่ ผู้ปฏบิ ัตงิ านไม่ปฏิบัติตามข้นั ตอน ผู้ออกใบอนุญาตทางาน
สามารถสงั่ ใหร้ ะงับการปฏบิ ัติงานดังกล่าวได้ จนกว่าจะมีการปรบั ปรงุ ใหป้ ลอดภยั ตามกฎระเบยี บ
5.9 หา้ มหลอกล้อ เล่นกัน หรอื รบกวนผู้อนื่ ขณะปฏิบตั ิงาน
5.10 ห้ามปฏบิ ตั ิงานอนั ตรายเฉพาะเพยี งลาพัง
5.11 หลังจากปฏบิ ัตงิ านแล้วเสรจ็ ให้มกี ารทาความสะอาดและจัดเกบ็ วัสดุอปุ กรณ์ ตรวจสอบบริเวณพน้ื ทีท่ างานให้
เรียบร้อย และแจง้ หัวหน้างานเพ่ือตรวจสอบงานและพ้ืนทก่ี ่อนการลงชือ่ ปดิ งานอนั ตรายเฉพาะ

Hazard Work|3

6. การขออนญุ าตทางานอันตรายเฉพาะ (ความร้อน ความสงู ท่ีอบั อากาศ ไฟฟ้า)

6.1 การขออนุญาตทางานอนั ตรายเฉพาะ

6.1.1 การปฏบิ ัติงานในพ้ืนทคี่ วบคมุ

1) บคุ คลภายนอกหรอื บุคคลท่ีไม่ใชเ่ จ้าของพ้นื ท่ี จะต้องแจ้งใหเ้ จ้าของพน้ื ท่ีทราบก่อนจะเข้าไปในพ้ืนท่ี
ควบคมุ ดงั กลา่ ว

2) กรณีปฏบิ ตั ิงานท่ีมีความเส่ยี งตอ้ งไดด้ าเนนิ การขออนญุ าตทางานตามแบบฟอรม์ การขออนุญาต
ทางานและตอ้ งไดร้ บั การอนุญาตจากผู้รบั ผิดชอบก่อน จงึ จะเรม่ิ งานได้

6.1.2 งานทต่ี ้องมีการขออนุญาตทางานได้แก่

1) การทางานท่ีมีความร้อนและประกายไฟ (Hot work) งานตดั งานเชื่อม งานเจียรตา่ งๆ ท่มี ผี ลให้เกิด
ความร้อนและประกายไฟ อันได้แก่ กิจกรรมงานซ่อม สร้าง ปรบั ปรุง ดัดแปลง ตอ่ เติม ที่เปน็ งานของ
ผู้รับเหมา และพนักงานบริษัท ทป่ี ฏบิ ัตงิ านในพน้ื ท่สี ถาบันฯ ให้บนั ทึกการขออนุญาตทางานลงในฟอร์ม
ใบฟอร์มขออนุญาตทางาน

2) งานขดุ หลุมลึกเกนิ 2 เมตร

3) การทางานบนทสี่ ูงเกิน 2 เมตร

4) การทางานเก่ยี วกับไฟฟ้าแรงสงู เช่น เปลยี่ นฟิวส์หม้อแปลง

5) การทางานในพน้ื ท่ีอบั อากาศ เชน่ บอ่ พักนา้

6.1.3 แนวทางการพจิ ารณาการขออนญุ าตทางาน

1) งานที่ตอ้ งขอหรือไม่ต้องขอใบอนุญาตทางาน จะขึ้นอยู่กับงานนน้ั เปน็ งาน Operation Routine
หรือไม่ โดยถ้าเป็นงาน Operate หรือตรวจพืน้ ท่ี หรืองานตรวจสอบอุปกรณข์ ้นั พื้นฐานโดยเจ้าของ
พื้นที่ ไม่ต้องขอใบอนญุ าตทางาน

2) งานทที่ าโดยบคุ คลอ่นื ที่ไม่ใช่เจา้ ของพ้ืนที่ หรืองานที่ทาโดยเจา้ ของพ้นื ท่ีทไี่ ม่ใชง่ านท่ีกล่าวไว้
ดา้ นบนต้องขอใบอนญุ าตทางาน

3) งานที่ไม่มัน่ ใจว่าจะต้องขออนุญาตหรอื ไม่ ใหท้ าการขอไว้ก่อน เพราะการขออนุญาตจะมีข้อปฏิบัติที่
ทาให้มีความปลอดภัยมากขนึ้

Operating Routine : ไมต่ ้องขอ Work Permit Non-Operating Routine : ตอ้ งขอ Work Permit
- งานตรวจความปลอดภัยโดยเจ้าของพืน้ ที่ - งานทที่ าให้เกดิ ความรอ้ น และประกายไฟ ท้ัง

- ตรวจถังดับเพลิง Hazard Work|4

- งานทาความสะอาด Hazardous และ Non Hazardous Area

- งานบารงุ รกั ษาโดยเจา้ ของพนื้ ที่ - งานซอ่ มบารุง/เปล่ยี นอะไหลใ่ น Hazardous
และ Non Hazardous Area
- งานที่ผู้ปฏิบัติงานกระทาเปน็ ประจา ณ พื้นท่ี
ปฏบิ ตั กิ ารนั้นๆ - งานบารงุ รกั ษาประจาปีโดยผู้รบั เหมา

- งานทอี่ ับอากาศ/ขุดเจาะ/ท่ีสูง/ตัดแยกระบบ/
ฉายรังส/ี นง่ั รา้ น

- การใช้อปุ กรณไ์ ฟฟ้าที่ไมม่ ีการป้องกนั การเกิด
ความร้อน และการประกายไฟใน Hazardous
Area

6.1.4 ผปู้ ระสานงาน/ผู้รบั ผดิ ชอบ/หัวหน้างาน หรือผู้ดูแลด้านความปลอดภยั ในการทางาน จะตอ้ งประจาอยู่ใน
พน้ื ท่คี วามเสีย่ งตลอดระยะเวลาการทางาน

6.1.5 ผู้อนมุ ตั ิใบอนุญาตทางาน/ผู้ท่ีไดร้ บั มอบหมาย จะต้องตรวจสอบความพร้อมของผู้รบั เหมา/ผปู้ ฏิบตั งิ านท่ี
จะเข้าปฏบิ ตั ิงาน รวมถึงอุปกรณ์ปอ้ งกนั อันตรายส่วนบุคคลทใี่ ช้ตอ้ งตรงตามมาตรฐาน สภาพแวดลอ้ มใน
การทางาน อุปกรณฉ์ ุกเฉนิ และอืน่ ๆ ทีเ่ กย่ี วข้องกับลักษณะงาน และทบทวนมาตรการควบคมุ ตามทรี่ ะบุ
ไวใ้ นใบขออนุญาตทางาน

6.1.6 ผ้วู า่ จา้ ง/เจ้าหนา้ ท่ีความปลอดภยั /ผ้ทู ไี่ ด้รบั มอบหมาย จะตอ้ งส่ือสารข้อกาหนดดา้ นความปลอดภัยใน
การทางาน ให้กับผรู้ ับเหมา/ผู้ประสานงาน/ผรู้ บั ผดิ ชอบด้านความปลอดภัยในการทางาน รวมถงึ
ผ้ปู ฏิบัติงานของผ้รู บั เหมาทกุ ระดับทราบก่อนเร่ิมงาน

6.1.7 ผู้ขอจะต้องระบลุ ักษณะงาน และชว่ งเวลาทางานลงในใบขออนุญาตทางานทุกครั้ง กรณีทีก่ ารทางานทม่ี ี
ความเส่ยี งสูงน้ันมีระยะเวลามากกวา่ 1 วัน อนุโลมให้การขออนุญาตนั้นมรี ะยะเวลาครอบคลุมวันเร่มิ ตน้
และสนิ้ สดุ ของงาน ทงั้ นตี้ ้องไมเ่ กนิ 7 วัน โดยทผ่ี ู้อนญุ าตทางานจะต้องเข้าตรวจสอบการปฏบิ ตั งิ านของผู้
ขออนุญาตทางานทุกวัน หากเกิน 7 วันตอ้ งดาเนนิ การขออนุญาตใหม่ ยกเวน้ กรณีการเข้าทางานในที่อับ
อากาศจะต้องขอใบอนุญาตเปน็ รายวนั ไป

6.1.8 กรณที ีม่ ีการเปลีย่ นแปลงลักษณะงาน ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน/ผู้รับเหมาจะต้องดาเนินการขออนุญาตทางานเพ่มิ เตมิ
ตามลักษณะงานทมี่ ีความเสย่ี ง

6.1.9 ผ้รู บั เหมาท่จี ะนาอุปกรณ์ เครื่องมือ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เขา้ มาปฏิบัตงิ านในหน่วยงาน จะต้องผา่ นการ
ตรวจสอบจากเจา้ หน้าที่ความปลอดภยั หรือผู้ที่ไดร้ บั มอบหมายของสถาบนั ทุกคร้งั ก่อนเร่ิมปฏิบตั งิ านทุก
คร้งั



Hazard Work|5

6.1.10 ผอู้ นมุ ัตใิ บอนญุ าตทางาน/ผ้ทู ่ีไดร้ บั มอบหมาย จะต้องตรวจสอบการทางานและประเมนิ ผลการปฏบิ ตั งิ าน
ของผู้จาหนา่ ย/ผู้รับเหมา/ผ้ปู ฏิบตั ิงานของสถาบนั ท้งั กอ่ นเรม่ิ งาน ระหว่างปฏบิ ตั ิงาน และหลงั จบงาน
ทกุ ครง้ั ที่เข้ามาปฏบิ ตั ิงาน

6.1.11 หลงั จากจบงานแตล่ ะครั้ง ผู้ปฏิบัตงิ าน/ผ้รู ับเหมาจะต้องทาความสะอาดพนื้ ทแ่ี ละสะสางขยะให้เรียบร้อย

การทางานอนั ตรายเฉพาะ(ความร

รายละเอยี ดขน้ั ตอน เจ้าหน้าที่/ผู้ปฏิบัติงาน หัว

ขน้ั ตอนที่ 1 ผปู้ ฏิบัติงานจดั เตรยี มอุปกรณ์คุ้มครองอันตราย จัดเตรียมอุปกรณค์ ้มุ ครองอันตราย
สว่ นบุคคลและตรวจสอบอปุ กรณ์ สว่ นบคุ คล
1.1 จัดเตรียมอปุ กรณ์ป้องกนั อนั ตรายส่วนบคุ คลให้ครบถว้ น
ตรวจความปลอดภัยของสภาพ
และเหมาะสมกบั ลกั ษณะงาน อุปกรณ์ /สวมอปุ กรณ์คมุ้ ครอง
อนั ตรายส่วนบุคคลใหค้ รบถ้าน
1.2 สวมอุปกรณป์ อ้ งกันอนั ตรายส่วนบุคคลใหค้ รบถ้วน
1.3 ตรวจสอบสภาพของเครือ่ งจักรและอุปกรณ์ทีเ่ กย่ี วขอ้ ง เขยี นใบขออนุญาตปฏบิ ัตงิ าน
ข้นั ตอนที่ 2 ขออนญุ าตปฏบิ ตั ิงานเฉพาะ อันตรายเฉพาะและขออนมุ ัตกิ บั
2.1 ผู้ปฏบิ ตั งิ านทาการเขียนใบขออนญุ าตปฏิบัตงิ านอนั ตราย
เฉพาะ (Work permit ) โดยให้ระบุรายละเอียดการปฏิบัติงาน หวั หนา้ งาน
ใหค้ รบถ้วน
ปฏบิ ตั ิงานดว้ ยความปลอดภยั และ ช้ีแจงอ
ขน้ั ตอนที่ 3 หวั หน้างานทาการตรวจสอบและอนมุ ัติ สวมอปุ กรณ์คุ้มครองความ ให้ปฏบิ
3.1 หัวหนา้ งานทาการอบรมความปลอดภยั และช้ีแจงความ
เป็นอนั ตรายของงานดังกล่าว ปลอดภยั สว่ นบุคคลตลอดเวลาท่ี ไมผ่ ่าน
3.2 หวั หน้างานตรวจสอบอุปกรณค์ ุ้มครองอนั ตรายสว่ นบุคคล/ ปฏิบัตงิ าน
สภาพของอปุ กรณ์ สภาพพืน้ ท่ที างาน ความพรอ้ มของ
ผู้ปฏิบตั งิ าน และอนมุ ัตใิ หเ้ จ้าหน้าทีป่ ฏบิ ตั งิ านโดยลงชือ่ ในใบ จดั เก็บอุปกรณ์และทาความสะอาด
สถานที่ปฏบิ ัตงิ านให้เรียบร้อยหลัง
ขออนญุ าตปฏบิ ัติงานอนั ตรายเฉพาะ (Work permit )
3.3 ตรวจสอบความปลอดภัยระหว่างปฏบิ ัตงิ าน ปฏบิ ัตงิ านแลว้ เสร็จ
ข้นั ตอนท่ี 4 เจ้าหนา้ ท่ีปฏิบตั ิงาน
4.1 ผู้ปฏิบตั งิ านจัดเก็บเอกสารขออนุญาตไว้บริเวณท่ี นาส่งเอกสารตอ่ ผ้คู วบคมุ งานหรือ นาส
ปฏิบตั งิ าน หวั หนา้ งาน
4.2 ทาการก้นั พืน้ ทกี่ รณีทป่ี ฏบิ ัติงานบริเวณทเี่ ป็นทส่ี ญั จรรว่ ม

4.3 เจ้าหน้าท่ปี ฏิบตั ิงานโดยจะต้องเปน็ ไปตามมาตรการความ
ปลอดภัยของงานอนั ตรายเฉพาะ และจะตอ้ งสวมอุปกรณ์
คมุ้ ครองอนั ตรายสว่ นบุคคลตลอดเวลาทปี่ ฏบิ ัติงาน
ขั้นตอนท่ี 5 ทาการจัดเก็บอปุ กรณแ์ ละทาความสะอาด
5.1 หลังจากปฏิบตั ิงานเสรจ็ ผู้ปฏิบัติงานจะต้องจัดเก็บอปุ กรณ์
และสถานทีป่ ฏิบัติงานให้สะอาดและเรียบรอ้ ย

ขั้นตอนท่ี 6 หัวหนา้ งานทาการตรวจสอบหลังปฏิบัตงิ านและ
อนมุ ตั ิ
6.1 หัวหนา้ งานดาเนนิ การตรวจสอบความเรียบร้อยของงาน
และพนื้ ทีป่ ฏบิ ตั ิงาน และลงช่อื รบั รองเพอื่ ปิดงานดังกลา่ ว
ข้นั ตอนที่ 7 หัวหนา้ งานนาสง่ เอกสารขอนุญาตปฏบิ ัติงาน
อนั ตรายเฉพาะแก่เจา้ หนา้ ที่ความปลอดภยั อาชีวอนามยั ฯ

7.1 เจ้าหน้าทค่ี วามปลอดภัย อาชีวอนามยั ฯทาการลงช่ือและ
บนั ทึกขอ้ มลู
หมายเหตุ
กรณีทผี่ ปู้ ฏบิ ตั ิงานฝ่าฝืน ไม่ปฏบิ ัตติ ามกฎความปลอดภยั
หัวหนา้ งานหรือ จป.วชิ าชพี มีสิทธ์ิสงั่ ระงับการปฏบิ ตั ิงาน

รอ้ น ความสูง ทอี่ ับอากาศ ไฟฟ้า) จป.วิชาชพี Hazard Work|6
วหน้างาน / ผู้ควบคมุ งาน
เอกสารท่ีเกย่ี วข้อง
ไม่ผา่ น

ทาการตรวจสอบ ทาการตรวจสอบรายละเอยี ด/
ความปลอดภยั ของ พน้ื ทหี่ นา้ งาน และบันทกึ หลักฐาน
สถานท่ี , อปุ กรณ์ , การขออนญุ าตปฏบิ ตั งิ านอนั ตราย
สภาพความพรอ้ ม เฉพาะ
ของผู้ปฏบิ ัตงิ าน

ผ่าน

อันตราย และ ลงชือ่ อนุมัติ
บตั งิ านดงั กล่าว

พจิ ารณาความ
เรยี บร้อยของงาน

และพ้นื ท่ี

ผ่าน

สง่ เอกสารต่อ จป.วชิ าชพี

Hazard Work|7

ความปลอดภัยในงานเช่อื มโดยใชแ้ กส๊ /ไฟฟ้า

กอ่ นปฏิบตั ิงาน

- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องทาการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ให้ครบถ้วนก่อนใช้งานและบันทึกผลการ
บารงุ รักษาลงในแบบฟอรม์ FM-5620-04 หรอื FM-5620-08

รายการตรวจเชค็ วธิ กี าร การแกไ้ ขกรณีผดิ ปกติ
เคร่อื งเช่ือมแก๊ส
1. ถงั บรรจกุ ๊าซออกซเิ จนและ LPG - ได้มาตรฐาน ไมบ่ ุบ ผกุ รอ่ น - เปลย่ี นอุปกรณ์
2. อปุ กรณ์ควบคมุ ความดนั และ - ไมช่ ารดุ แตกหัก - เปลยี่ นอุปกรณ์
มาตรวดั ความดนั
3. หวั เชือ่ มแก๊ส - ไมแ่ ตกหัก - เปลย่ี นอุปกรณ์
4. สายลมและแกส๊ - ไม่รว่ั หรือแตก - เปล่ยี นอปุ กรณ์
5. ตดิ ต้งั ตัวกนั ไฟย้อน - ไมช่ ารุดแตกหัก/มีการตดิ ตัง้ - ตดิ ต้ังอปุ กรณ์
เครือ่ งเช่อื มไฟฟ้า
1. ตัวเครื่อง - ไมช่ ารดุ ผุกรอ่ น - เปลี่ยนอุปกรณ์
2. สายเชอ่ื ม - ไม่รวั่ หรอื แตก - เปลยี่ นอุปกรณ์
3. หัวเชือ่ ม - ไม่แตกหัก - เปลี่ยนอปุ กรณ์
4. กราวด์ - จุดต่อแนน่ สายไม่ขาดชารดุ - เปลย่ี นสายหรอื เชอ่ื มต่อใหม่

Hazard Work|8

- ผูป้ ฏิบัติงานต้องทาการตรวจสอบบริเวณโดยรอบ จะต้องไม่มีวัสดุที่ติดไฟได้อยู่ในรัศมีที่สะเก็ดไฟจาก
การปฏบิ ัติงานจะกระเด็นไปถึง ทั้งนี้ให้รวมถึงการเช่ือมในท่สี ูงที่สะเก็ดไฟจะตกลงไปได้ โดยใหท้ าการ
เคลื่อนย้ายวัสดุที่ติดไฟดังกล่าวออกไป หรือจัดหาวัสดุที่ไม่ติดไฟปิดก้ันบริเวณพ้ืนที่ปฏิบัติงานเพื่อ
ป้องกันประกายไฟหรือ สะเก็ดไฟกระเด็นไปตกบริเวณสารไวไฟ/ วัสดุติดไฟหรือกระเด็นถูกผู้อยู่
ใกลเ้ คียง

- ต้องเคลือ่ นย้ายสารท่ีสามารถติดไฟไดใ้ ห้พ้นบริเวณทีป่ ระกายไฟจากการเชือ่ มสามารถกระเด็นไปถึง
- การเชอ่ื มภาชนะบรรจสุ ารไวไฟหรือแกส๊ ทุกครัง้ ตอ้ งถ่ายและล้างทาความสะอาด สารไวไฟหรอื แกส๊ ที่

ตกค้างอยใู่ นภาชนะ แล้วทาการระบายอากาศภายในภาชนะจนแนใ่ จวา่ ไม่มีสารไวไฟหรือแก๊สตกค้าง
หรอื ตอ้ งเป็น 0% ของขดี จากัดล่างของช่วงการติดไฟ (Lower Explosive Limit) แล้วเทา่ น้นั
จงึ ทาการเชือ่ มได้
- ในบริเวณท่ีมีการเช่ือมตัดจะต้องจัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงติดต้ังไว้ใกล้บริเวณพ้ืนที่ทางานให้เพียงพอ
และสามารถหยิบใชไ้ ดโ้ ดยสะดวกในกรณีเกิดเหตุฉุกเฉนิ
- ควรวางถังแก๊สในแนวต้ังให้ห่างจากบริเวณเชื่อมตัดเพื่อป้องกันสะเก็ดไฟ จากการเช่ือมกระเด็นไปถูก
และยึดถังให้ม่ันคงป้องกันการล้ม และควรตรวจสอบอุปกรณท์ ุกชิ้นเพื่อป้องกันการรั่วให้อยใู่ นสภาพที่
พร้อมจะใชง้ านก่อนเรม่ิ ทางาน
- ควรตรวจสอบสายลมและสายแกส๊ รวมท้งั อุปกรณป์ ้องกันไฟย้อนกลับ (Flashback Arrestors) ให้อยู่
ในสภาพพรอ้ มใชง้ าน
- ผปู้ ฏิบัตงิ าน จะตอ้ งขออนุญาตทางานตามตามแบบฟอร์มใบอนญุ าตทางานก่อนเริ่มงานเสมอ
- ผปู้ ฏิบัติงานจะตอ้ งสวมอุปกรณป์ อ้ งกนั อนั ตรายส่วนบคุ คล ไดแ้ ก่ หนา้ กากสาหรบั งานเชื่อม
ถุงมือหนัง รองเทา้ นิรภัย
- ไดม้ ีการติดตงั้ ป้ายเตอื น/สัญลักษณ์เตือน บรเิ วณพืน้ ท่ที างานเรยี บรอ้ ยแลว้

ขณะปฏบิ ตั ิงาน
- ผู้รับผดิ ชอบในการอนญุ าตทางาน/ เจา้ ของพ้ืนท/่ี เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ทาการตรวจสอบพ้ืนทแ่ี ละ
อุปกรณ์ ต่างๆ ตามรายละเอียดท่ีกาหนดไว้ ใบขออนุญาตทางานทม่ี ีความร้อนและประกายไฟ (Hot
Work Permit) ว่าอยู่ในสภาพท่ปี กตแิ ละปลอดภัยหรือไม่ หากพบสภาพผดิ ปกติ ใหส้ ั่งการหยดุ งาน
และแจง้ ผ้ปู ฏิบัติงาน/ชา่ ง/ผู้รับเหมา ดาเนินการแก้ไขปรบั ปรุงทันทีจนเรียบรอ้ ยและถูกตอ้ ง จากนั้น
ผรู้ ับผดิ ชอบในการอนญุ าตทางาน/ เจ้าของพน้ื ที่/เจา้ หน้าที่ความปลอดภยั ตรวจสอบอกี ครงั้ จนมนั่ ใจ
จงึ อนญุ าตให้ทางานต่อไปได้
- ระหวา่ งปฏิบัตงิ านต้องติดใบขออนุญาตทางานท่ีมีความรอ้ นและประกายไฟ (Hot Work Permit) ไว้
ตลอดเวลาให้สามารถเห็นได้ เม่อื เสร็จงานจงึ นาส่งผรู้ ับผิดชอบอนุญาตทางาน
- ผูป้ ฏิบตั งิ านจะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายสว่ นบคุ คลตลอดเวลาท่ีปฏิบตั ิงาน
- หา้ มสลบั สายลมกบั สายแก๊สอย่างเดด็ ขาด เพราะอาจทาใหเ้ กิดการระเบิดได้
- ห้ามแขวนสิ่งของหรอื อปุ กรณ์อ่นื บนอุปกรณป์ รับความดันก๊าซและท่อก๊าซโดยเดด็ ขาด
- ห้ามเชื่อมในสถานท่ีอับอากาศ เวน้ แต่ไดจ้ ัดให้มกี ารระบายอากาศทเี่ หมาะสมและต้องขออนุญาต
ทางานในสถานทอี่ บั อากาศ

Hazard Work|9

หลังปฏบิ ัติงาน
- ผปู้ ฏิบัติงานจะต้องจดั เกบ็ อุปกรณแ์ ละทาความสะอาดพ้ืนท่ีใหเ้ รยี บรอ้ ย แจง้ เจา้ ของพ้ืนที่ หวั หนา้
งานหรือผู้ท่รี บั ผิดชอบในการอนุมตั ิHot work permit ให้รับทราบเพ่ือตรวจสอบพืน้ ท่ที ันทีหลงั จาก
เสรจ็ งาน
- เจ้าของพืน้ ทีต่ รวจสอบสถานท่ที นั ทีหลงั จากท่ไี ดร้ ับแจง้ กรณีพบสภาพไมป่ กติ ใหแ้ จ้งผปู้ ฏิบตั งิ าน
ดาเนนิ การแก้ไขให้เรียบร้อย ก่อนลงนามและระบุเวลาตรวจสอบ
- เจา้ ของพืน้ ท่ี/หวั หนา้ งาน/ผ้รู ับผิดชอบจะต้องตรวจสอบสถานทห่ี ลงั ปฏิบัตงิ านแล้วเสรจ็ อีกคร้ัง
หลงั จาก 15 นาที นับจากจากการตรวจทันทีหลงั เสร็จงาน เพ่ือให้มน่ั ใจว่าไม่มกี ารลุกติดไฟในพื้นที่
ปฏบิ ัติงาน กรณีเกิดเพลิงไหม้ใหป้ ฏิบตั ติ ามแผนตอบสนองเหตฉุ ุกเฉนิ เพลิงไหม้

Hazard Work|10

ความปลอดภยั ในงานตดั แกส๊

กอ่ นปฏิบัตงิ าน

- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องทาการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ให้ครบถ้วนก่อนใช้งานและบันทึกผลการ
บารุงรักษาลงในแบบฟอร์ม FM-5620-03

รายการตรวจเช็ค วิธีการ การแกไ้ ขกรณผี ิดปกติ
เคร่ืองตัดแกส๊
1. ถังบรรจกุ ๊าซออกซิเจนและ LPG - ไดม้ าตรฐาน ไมบ่ ุบ ผุกรอ่ น - เปลยี่ นอุปกรณ์
2. อุปกรณ์ควบคมุ ความดนั และ - ไมช่ ารุดแตกหัก - เปลี่ยนอุปกรณ์
มาตรวัดความดัน
3. หัวตดั แกส๊ - ไมแ่ ตกหัก - เปล่ยี นอปุ กรณ์
4. สายลมและแกส๊ - ไมร่ วั่ หรอื แตก - เปลี่ยนอปุ กรณ์
5. ตดิ ตง้ั ตัวกนั ไฟยอ้ น - ไมช่ ารุดแตกหัก/มกี ารตดิ ตง้ั - ตดิ ต้งั อปุ กรณ์

- ผู้ปฏิบตั งิ านต้องทาการตรวจสอบบริเวณโดยรอบ จะต้องไม่มีวสั ดุท่ีตดิ ไฟได้อยู่ในรัศมีที่สะเก็ดไฟจาก

การ

ปฏบิ ัตงิ านจะกระเด็นไปถึง หรือจัดหาวัสดุท่ไี ม่ตดิ ไฟปดิ กั้นบรเิ วณพืน้ ทปี่ ฏบิ ัตงิ านเพื่อป้องกนั ประกาย
ไฟหรือสะเก็ดไฟกระเด็นไปตกบรเิ วณสารไวไฟ/ วัสดุติดไฟหรือกระเดน็ ถูกผู้อยูใ่ กลเ้ คียง
- ตอ้ งเคลื่อนย้ายสารท่สี ามารถติดไฟได้ให้พน้ บรเิ วณทปี่ ระกายไฟจากการเชื่อมสามารถกระเด็นไปถึง
- การตดั ภาชนะบรรจุสารไวไฟหรือแกส๊ ทุกครัง้ ต้องถ่ายและลา้ งทาความสะอาด สารไวไฟหรือแก๊สที่

ตกคา้ งอยูใ่ นภาชนะ แล้วทาการระบายอากาศภายในภาชนะจนแนใ่ จว่าไม่มสี ารไวไฟหรือแก๊สตกคา้ ง

หรอื ตอ้ งเปน็ 0% ของขดี จากดั ล่างของชว่ งการตดิ ไฟ (Lower Explosive Limit) แลว้ เทา่ น้นั
จึงทาการเช่อื มได้
- ในบริเวณที่มีการตัดจะต้องจัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงติดตั้งไว้ใกล้บริเวณพื้นท่ีทางานให้เพียงพอ และ

สามารถหยบิ ใชไ้ ด้โดยสะดวกในกรณเี กดิ เหตฉุ ุกเฉิน
- ควรวางถังแก๊สในแนวตั้งให้ห่างจากบริเวณตัดช้ินงาน และยึดถังให้ม่ันคงป้องกันการล้ม และควร

ตรวจสอบอุปกรณ์ทุกชิ้นเพื่อป้องกันการร่ัวให้อยู่ในสภ าพท่ีพร้อมจะใช้งานก่อนเริ่มทางาน

Hazard Work|11

- ควรตรวจสอบสายลมและสายแกส๊ รวมทัง้ อุปกรณ์ป้องกนั ไฟยอ้ นกลับ (Flashback Arrestors) ใหอ้ ยู่
ในสภาพพร้อมใช้งาน

- ผู้ปฏบิ ตั งิ าน จะต้องขออนญุ าตทางานตามตามแบบฟอรม์ ใบอนญุ าตทางานกอ่ นเรม่ิ งานเสมอ
- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ หน้ากากสาหรับงานตัดด้วยแก๊ส

ถุงมอื หนงั รองเทา้ นริ ภัย
- ไดม้ กี ารติดตัง้ ปา้ ยเตือน/สัญลกั ษณ์เตือน บรเิ วณพนื้ ทีท่ างานเรียบรอ้ ยแลว้

ขณะปฏิบัติงาน
- ผูร้ บั ผิดชอบในการอนุญาตทางาน/ เจ้าของพืน้ ท/ี่ เจา้ หนา้ ท่ีความปลอดภยั ทาการตรวจสอบพนื้ ท่ีและ
อปุ กรณ์ต่างๆ ตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ ใบขออนญุ าตทางานที่มีความร้อนและประกายไฟ (Hot
Work Permit) วา่ อยูใ่ นสภาพทป่ี กติและปลอดภยั หรือไม่ หากพบสภาพผิดปกติ ให้สั่งการหยุดงาน
และแจง้ ผปู้ ฏิบตั งิ าน/ช่าง/ผู้รับเหมา ดาเนินการแก้ไขปรบั ปรงุ ทันทจี นเรียบรอ้ ยและถูกตอ้ ง จากน้ัน
ผู้รับผิดชอบในการอนุญาตทางาน/ เจ้าของพ้นื ที/่ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยตรวจสอบอีกครงั้ จนมั่นใจ
จงึ อนุญาตให้ทางานต่อไปได้
- ระหว่างปฏิบัตงิ านต้องตดิ ใบขออนุญาตทางานท่ีมีความรอ้ นและประกายไฟ (Hot Work Permit) ไว้
ตลอดเวลาให้สามารถเห็นได้ เมื่อเสร็จงานจึงนาสง่ ผ้รู ับผิดชอบอนญุ าตทางาน
- ผปู้ ฏิบตั ิงานจะต้องสวมอุปกรณป์ ้องกนั อนั ตรายสว่ นบุคคลตลอดเวลาทป่ี ฏิบตั งิ าน
- ห้ามสลบั สายลมกับสายแกส๊ อย่างเดด็ ขาด เพราะอาจทาใหเ้ กิดการระเบดิ ได้
- ห้ามแขวนสิง่ ของหรอื อปุ กรณ์อ่ืนบนอุปกรณ์ปรับความดนั ก๊าซและท่อก๊าซโดยเดด็ ขาด
- ห้ามตดั งานในสถานท่ีอับอากาศ เวน้ แต่ไดจ้ ดั ให้มกี ารระบายอากาศท่ีเหมาะสมและต้องขออนุญาต
ทางานในสถานท่อี บั อากาศ

หลงั ปฏิบตั ิงาน
- ผปู้ ฏิบัติงานจะต้องจดั เกบ็ อปุ กรณแ์ ละทาความสะอาดพ้ืนทใ่ี ห้เรียบร้อย แจ้งเจา้ ของพื้นท่ี หัวหน้า
งานหรือผูท้ ่ีรบั ผดิ ชอบในการอนุมตั ิHot work permit ให้รบั ทราบเพื่อตรวจสอบพืน้ ทท่ี ันทหี ลงั จาก
เสร็จงาน เจ้าของพ้ืนทต่ี รวจสอบสถานท่ีทันทีหลงั จากทีไ่ ด้รับแจง้ กรณีพบสภาพไม่ปกติ ใหแ้ จ้ง
ผู้ปฏิบัติงานดาเนินการแก้ไขให้เรียบรอ้ ย กอ่ นลงนามและระบเุ วลาตรวจสอบ
- เจ้าของพน้ื ที่/หวั หน้างาน/ผรู้ ับผดิ ชอบจะต้องตรวจสอบสถานทห่ี ลงั ปฏิบตั ิงานแล้วเสร็จอีกครั้ง
หลังจาก 15 นาที นับจากจากการตรวจทันทหี ลงั เสรจ็ งาน เพ่อื ให้ม่ันใจวา่ ไม่มีการลุกตดิ ไฟในพน้ื ที่
ปฏิบัตงิ าน กรณเี กิดเพลิงไหม้ใหป้ ฏิบัติตามแผนตอบสนองเหตุฉกุ เฉนิ เพลงิ ไหม้

Hazard Work|12

ความปลอดภัยในงานตดั ดว้ ยเครื่องตดั ไฟเบอร์

กอ่ นปฏิบัตงิ าน

- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องทาการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ให้ครบถ้วนก่อนใช้งานและบันทึกผลการ
บารงุ รกั ษาลงในแบบฟอร์ม FM-5620-05

รายการตรวจเชค็ วธิ กี าร การแก้ไขกรณีผิดปกติ
1. สภาพตัวเคร่ือง - ไมช่ ารดุ แตกหกั - ซ่อมแซมหรือเปลยี่ น
2. สายไฟ - ไม่ขาด - เปลย่ี นหรอื เช่อื มตอ่ ใหม่
3. สวิช - สามารถกดไดป้ กติ - เปล่ยี น
4. ตวั ล็อกใบเล่อื ย - สามารถล็อกใบเล่อื ยได้ ไมส่ ่ันคลอน - เปลยี่ นหัวสว่าน
5. ใบเลือ่ ย - ไมม่ รี อยแตกร้าว - เปลยี่ นใบเลอื่ ย
6. แท่นวางชิ้นงาน - แท่นวางไมช่ ารดุ ตัวลอ็ คช้ินงานลอ็ คได้ - เปลย่ี นอุปกรณ์
ปกติ

- ผู้ปฏิบัติงานต้องทาการตรวจสอบบริเวณโดยรอบ จะต้องไม่มีวัสดุที่ติดไฟได้อยู่ในรัศมีที่สะเก็ดไฟจาก

การปฏิบัติงานจะกระเด็นไปถึง หรือจัดหาวัสดุที่ไม่ติดไฟปิดก้ันบริเวณพ้ืนท่ีปฏิบัติงานเพ่ือป้องกัน

ประกายไฟ

หรอื สะเกด็ ไฟกระเดน็ ไปตกบรเิ วณสารไวไฟ/ วัสดุตดิ ไฟหรอื กระเด็นถกู ผูอ้ ยู่ใกลเ้ คยี ง
- ต้องเคล่อื นย้ายสารทสี่ ามารถตดิ ไฟได้ให้พ้นบริเวณทีป่ ระกายไฟจากการเชอื่ มสามารถกระเด็นไปถงึ
- ในบริเวณท่ีมีการตัดจะต้องจัดให้มีอุปกรณ์ดับเพลิงติดตั้งไว้ใกล้บริเวณพื้นที่ทางานให้เพียงพอ และ

สามารถหยิบใช้ได้โดยสะดวกในกรณเี กดิ เหตฉุ กุ เฉนิ
- ควรวางถังแก๊สในแนวต้ังให้ห่างจากบริเวณตัดช้ินงานเพื่อป้องกันสะเก็ดไฟ จากการเชื่อมกระเด็นไป

ถูกและยึดถังให้มั่นคงป้องกันการล้ม และควรตรวจสอบอุปกรณ์ทุกชิ้นเพ่ือป้องกันการร่ัวให้อยู่ใน

สภาพทีพ่ รอ้ มจะใช้งานก่อนเริม่ ทางาน
- ควรจดั ให้มกี ระบะรองสะเกด็ ไฟเพือ่ ใหง้ ่ายต่อการจัดเก็บทาความสะอาด

Hazard Work|13

- จะต้องมีการตดิ ตั้งการด์ กนั สะเก็ดไฟ
- ผูป้ ฏิบตั งิ าน จะต้องขออนญุ าตทางานตามตามแบบฟอรม์ ใบอนุญาตทางานกอ่ นเร่มิ งานเสมอ
- ผู้ปฏบิ ัติงานจะตอ้ งสวมอปุ กรณ์ปอ้ งกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ หน้ากากกนั สะเก็ดไฟ ถุงมอื หนงั

รองเท้านิรภยั ปล๊ักอดุ หู (ear plug)หรือ อุปกรณ์ครอบหู (ear muff)
- ไดม้ กี ารติดต้ังป้ายเตอื น/สญั ลักษณ์เตือน บริเวณพน้ื ท่ีทางานเรยี บรอ้ ยแลว้

ขณะปฏบิ ตั ิงาน
- ผู้ปฏบิ ตั งิ านควรยนื ในท่าที่ถนัด มองในระยะท่พี อเหมาะ
- ผู้ปฏบิ ัตงิ านต้องกดเคร่ืองตดั ไฟเบอร์ลงไปบนช้นิ งานเท่านัน้
- เม่อื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทาการตัดชนิ้ งานด้วยเคร่อื งตัดไฟเบอรไ์ ม่ควรตัดชิน้ งานเกินกาลังของเคร่ืองตดั ไฟ
เบอร์
- ระหวา่ งการทางานแผ่นจานเล่อื ยจะต้องติดแน่นและฝาครอบอนั ตรายท่เี ลอื่ นไปมาไดน้ ้ันจะต้อง
ทางานได้ อยา่ งไม่บกพร่อง
- บริเวณทีผ่ ปู้ ฏิบัติงานทาการตัดชิ้นงานดว้ ยเคร่อื งตดั ไฟเบอร์ยอ่ มมีสะเกด็ ไฟจากชิน้ งาน จงึ ควรมที ี่
ครอบกันสะเก็ดไฟป้องกนั การโดนลกู ไฟ
- เมอ่ื แผน่ จานเลื่อยตดิ ขดั เกดิ แรงกระชากจะทาให้เคร่ืองกระตกุ ถ้าเกดิ เหตุแบบนี้ทาการปิดเครือ่ ง
ทันที
- ในขณะใช้งานแผน่ จานเล่ือยจะรอ้ นมาก “อย่าจับแผน่ จานเลอ่ื ย” รอจนกว่าจะเยน็
- ผรู้ ับผิดชอบในการอนญุ าตทางาน/ เจา้ ของพื้นที่/เจา้ หนา้ ที่ความปลอดภยั ทาการตรวจสอบพ้นื ที่และ
อปุ กรณ์ ต่างๆ ตามรายละเอียดท่ีกาหนดไว้ ใบขออนุญาตทางานทีม่ ีความร้อนและประกายไฟ (Hot
Work Permit) ว่าอย่ใู นสภาพทป่ี กตแิ ละปลอดภัยหรอื ไม่ หากพบสภาพผดิ ปกติ ให้ส่งั การหยุดงาน
และแจ้งผ้ปู ฏิบตั งิ าน/ช่าง/ผ้รู ับเหมา ดาเนนิ การแก้ไขปรับปรุงทนั ทจี นเรียบร้อยและถูกตอ้ ง จากน้ัน
ผรู้ บั ผดิ ชอบในการอนญุ าตทางาน/ เจ้าของพ้นื ท/ี่ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยตรวจสอบอีกครง้ั จนม่นั ใจ
จึงอนญุ าตให้ทางานต่อไปได้

หลงั ปฏิบตั ิงาน
- เม่ือผปู้ ฏบิ ตั งิ าน ปฏบิ ัตงิ านเสร็จแลว้ ใหท้ าการปดิ สวทิ ซ์เบรกเกอรท์ กุ ครงั้ รวมทัง้ จัดเกบ็ อปุ กรณ์
วัสดุตา่ งๆ ให้ เรยี บร้อย แจ้งเจ้าของพ้นื ท่ี หวั หนา้ งานหรือผทู้ ่รี ับผดิ ชอบในการอนมุ ตั ิHot work
permit ใหร้ บั ทราบเพ่ือตรวจสอบพน้ื ท่ีทนั ทหี ลังจากเสรจ็ งาน เจ้าของพ้ืนทต่ี รวจสอบสถานท่ที ันที
หลงั จากทไ่ี ดร้ ับแจ้ง กรณีพบสภาพไม่ปกติ ให้แจง้ ผ้ปู ฏิบตั ิงานดาเนินการแก้ไขใหเ้ รียบร้อย ก่อนลง
นามและระบุเวลาตรวจสอบ
- ระวงั หลงั จากปดิ เครื่องตดั ไฟเบอร์แลว้ แผน่ จานเลอ่ื ยยังคงหมุนต่อไปอีก ทาการล็อคแกนเพลา
เคร่อื ง เมื่อแผน่ จานเล่ือยนิ่งอยกู บั ทเ่ี ทา่ นนั้
- -เจ้าของพ้ืนท/ี่ หวั หน้างาน/ผู้รับผิดชอบจะต้องตรวจสอบสถานทีห่ ลงั ปฏิบัติงานแล้วเสรจ็ อกี คร้ัง
หลังจาก 15 นาที นบั จากจากการตรวจทันทีหลงั เสร็จงาน เพื่อให้มั่นใจว่าไม่มกี ารลุกติดไฟในพน้ื ที่
ปฏิบตั งิ าน กรณเี กิดเพลิงไหม้ให้ปฏิบัติตามแผนตอบสนองเหตฉุ กุ เฉินเพลงิ ไหม้

Hazard Work|14

ความปลอดภัยในงานใชบ้ นั ได

ก่อนปฏิบัติงาน
- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องทาการตรวจสอบสภาพของอุปกรณ์ให้ครบถ้วนก่อนใช้งานและบันทึกผลการ

บารุงรกั ษาลงในแบบฟอร์ม FM-5620-06

รายการตรวจเชค็ วธิ ีการ การแกไ้ ขกรณผี ิดปกติ
1. สภาพทว่ั ไป - โครงสรา้ งแข็งแรง ไม่ผกุ ร่อน บิดงอ - เปล่ยี นอปุ กรณ์
-ข้อต่อทกุ ส่วนแข็งแรง -ทางานซ่อมแซม
-มที ีส่ วมขาบันไดกันล่ืน -จัดใหม้ กี ารรองกนั ลน่ื
-ไมม่ คี ราบน้ามัน -ทาความสะอาด

- ผู้ปฏิบัติงานต้องทาการตรวจสอบบริเวณโดยรอบ โดยพื้นจะต้องไม่มีวัสดุหรืออุปกรณ์วางขวาง

พ้นื ผิวบริเวณที่ตั้งบนั ไดจะตอ้ งเรียบ ไม่เปียก ไม่มคี ราบน้าหรือน้ามันต่างๆที่อาจสง่ ผลให้ล่ืนได้ อีกทั้ง

บริเวณท่ตี ัง้ บนั ไดจะต้องม่นั คง สามารถรับน้าหนักได้
- ผ้ปู ฏบิ ตั งิ าน จะตอ้ งขออนุญาตทางานตามตามแบบฟอรม์ ใบอนุญาตทางานกอ่ นเรมิ่ งานเสมอ
- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ หมวกนิรภัยพร้อมสายรัดคาง

รองเท้านิรภัย หรือรองเท้าหุ้มส้น ถุงมอื แว่นตานิรภัยกรณีถ้าปฏิบัตงิ านใช้บันไดที่สงู เกิน 2 เมตร ข้ึน

ไป ต้องมกี ารพิจารณาความเหมาะสมในการใช้เข็มขัดนิรภัยชนดิ เตม็ ตัวด้วย
- กรณีที่มีการปฏิบัติงานความรอ้ นบนท่ีสูง จะต้องปฏบิ ัติตามกฎความปลอดภยั ในการทางานความรอ้ น

ดว้ ย
- ไดม้ ีการติดต้ังปา้ ยเตือน/สัญลกั ษณ์เตือน บรเิ วณพื้นทที่ างานเรยี บรอ้ ยแลว้

ขณะปฏิบตั งิ าน
- การขึ้น – ลงบันไดแนวตง้ั ใหข้ ึน้ – ลงท่ีละคน บันไดจะต้องถูกจับยดึ ใหแ้ นน่ และม่นั คง ขณะข้นึ –

ลงใหจ้ ับขอบบันไดด้วยมือทง้ั 2 ข้าง และก้าวขน้ึ ลงดว้ ยความเรว็ ปกติ ห้ามถือเคร่ืองมือ หรืออุปกรณ์
ใด ๆ ขณะปนี ข้ึน –ลงบนั ได สาหรับเคร่ืองมือ หรอื อปุ กรณท์ จ่ี าเป็นในการใช้งานให้พกพาโดยใส่ใน

กระเปา๋ ทีต่ ดิ กบั เขม็ ขัดเท่าน้นั
- ห้ามทางานบนทส่ี ูงเพียงลาพังคนเดยี ว โดยจะต้องมีผู้จบั บันไดประจา 1 คนดว้ ย

Hazard Work|15

- หา้ มโยนสงิ่ ของหรือเคร่ืองมือให้แกผ่ ูอ้ ยูบ่ นท่ีสูง
- ห้ามทิ้งส่ิงของหรือเคร่ืองมือลงสเู่ บอื้ งล่าง
- หา้ มขึ้นเหยยี บบนั ใดขัน้ บนสดุ เดด็ ขาด
- ผู้รับผิดชอบในการอนญุ าตทางาน/ เจา้ ของพน้ื ท/ี่ เจ้าหนา้ ท่ีความปลอดภัยทาการตรวจสอบพืน้ ท่แี ละ

อปุ กรณ์ ต่างๆ ตามรายละเอียดทกี่ าหนดไว้ ใบขออนญุ าตทางานที่สงู (Work at height Permit) วา่
อยู่ในสภาพท่ีปกตแิ ละปลอดภัยหรอื ไม่ หากพบสภาพผดิ ปกติ ให้ส่ังการหยุดงาน และแจ้ง
ผปู้ ฏิบัติงาน/ช่าง/ผรู้ ับเหมา ดาเนนิ การแกไ้ ขปรับปรงุ ทนั ทีจนเรียบรอ้ ยและถกู ต้อง จากนัน้
ผรู้ ับผิดชอบในการอนญุ าตทางาน/ เจา้ ของพน้ื ที่/เจา้ หนา้ ที่ความปลอดภยั ตรวจสอบอีกคร้ัง จนมน่ั ใจ
จึงอนุญาตให้ทางานต่อไปได้

หลังปฏบิ ัติงาน
- เมือ่ ผปู้ ฏิบตั ิงาน ปฏิบัติงานเสร็จแลว้ ใหท้ าการจัดเกบ็ บันได อุปกรณ์ วสั ดุตา่ งๆ ให้เรยี บร้อย แจ้ง
เจา้ ของพื้นที่ หัวหน้างานหรือผทู้ ร่ี บั ผดิ ชอบในการอนุมตั ิWork at height permit ใหร้ บั ทราบเพื่อ
ตรวจสอบพ้ืนที่ทนั ทหี ลงั จากเสรจ็ งาน
- เจา้ ของพนื้ ที่ตรวจสอบสถานท่ที นั ทีหลงั จากท่ไี ดร้ ับแจ้ง กรณพี บสภาพไม่ปกติ ใหแ้ จ้งผู้ปฏบิ ตั ิงาน
ดาเนินการแกไ้ ขให้เรยี บรอ้ ย ก่อนลงนามและระบุเวลาตรวจสอบ

Hazard Work|16

ความปลอดภยั ในงานใชน้ ง่ั ร้าน

กอ่ นปฏิบตั ิงาน
- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องทาการติดต้ังน่ังร้านให้เป็นไปตามมาตรฐานความปลอดภัย ตรวจสอบสภาพของ
อุปกรณใ์ หค้ รบถ้วนก่อนใช้งานและบนั ทกึ ผลการบารุงรักษาและตดิ ตั้งลงในแบบฟอร์ม FM-5620-07

รายการตรวจเช็ค วธิ ีการ การแก้ไขกรณผี ดิ ปกติ
1. สภาพโครงสรา้ ง - ไม่ชารุด บิดงอ มีสภาพที่ไม่แขง็ แรง - เปล่ยี นอปุ กรณ์
2. ราวกันตก - สงู จากพน้ื น่ังรา้ น 0.90-1.10 เมตรโดยรอบ - ทาการตดิ ตั้งใหม่
3. บนั ได - มบี นั ไดขึน้ สู่ทุกช้นั ของนัง่ ร้าน - ทาการตดิ ตัง้ เพิ่ม
4. แผ่นปูพนื้ - มีการปูplatformทุกชั้น - ทาการตดิ ตง้ั เพิ่ม
5. ลอ้ - ตอ้ งมที ีล่ ็อคลอ้ - เปล่ยี นอปุ กรณ์
6. ค้ายัน - โครงน่งั ร้านต้องมีการยึดโยง ค้ายัน - ทาการตดิ ตงั้ เพมิ่
หรอื ตรึงกบั พืน้ ดนิ

- ผปู้ ฏิบัตงิ านต้องทาการตรวจสอบบริเวณโดยรอบ โดยพนื้ จะตอ้ งไม่มีวัสดุหรืออุปกรณว์ างขวาง

พนื้ ผวิ บริเวณทต่ี งั้ นงั่ ร้านจะต้องเรยี บ ไม่เปียก ไมม่ ีคราบน้าหรอื น้ามนั ตา่ งๆท่ีอาจส่งผลให้ลื่นได้ อกี

ท้ังบริเวณที่ตั้งน่ังร้านจะต้องม่ันคง สามารถรบั น้าหนักได้
- ผปู้ ฏิบตั ิงาน จะตอ้ งขออนญุ าตทางานตามตามแบบฟอร์มใบอนุญาตทางานก่อนเร่ิมงานเสมอ
- ผปู้ ฏบิ ัตงิ านจะตอ้ งสวมอปุ กรณป์ อ้ งกันอันตรายสว่ นบคุ คล ไดแ้ ก่ หมวกนริ ภยั พร้อมสายรัดคาง

รองเทา้ นริ ภยั หรอื รองเทา้ ห้มุ ส้นเข็มขัดนิรภัยชนิดเต็มตัว แว่นตานริ ภยั ถุงมือ และอุปกรณอ์ ่ืนๆ ตาม

สภาพการทางานอย่างเหมาะสม
- กรณีที่มีการปฏบิ ัตงิ านความร้อนบนทส่ี งู จะต้องปฏิบัติตามกฎความปลอดภยั ในการทางานความรอ้ น

ด้วย

Hazard Work|17

- ไดม้ ีการติดตง้ั ป้ายเตอื น/สัญลักษณเ์ ตือน ต้งั กรวยส้มกั้นบริเวณพ้ืนท่ีทางานเรยี บร้อยแล้ว

ขณะปฏิบตั งิ าน
- ผู้ที่ขึ้นปฏิบัติงานจะต้องขึ้น-ลง ทางบันไดท่ีได้ติดตั้งและตรวจสอบเท่านั้น ห้ามทาการปีนขึ้น-ลง ใน

บรเิ วณอืน่ เพราะอาจจะนามาสูก่ ารเกิดอบุ ัติเหตุ
- ผู้ที่ข้ึนปฏิบัติงานจะต้องคล้องเก่ียวตะขอนิรภัยตลอดเวลาท่ีข้ึน-ลง ท่ีสูงแต่ละชั้นของน่ังร้านเพื่อ

ป้องกันการตกขณะขน้ึ -ลง นัง่ รา้ น และตอ้ งคลอ้ งเกีย่ วตะขอนิรภยั ตลอดเวลาท่ีปฏิบัตงิ านบนนง่ั ร้าน
- กรณีท่ีจาเป็นจะต้องเคลื่อนย้ายตาแหน่งน่ังร้านไปบรเิ วณข้างเคียงเพื่อทีผ่ ู้ปฏิบัติงานข้างบนจะไม่ต้อง

เอ้ียวตัว ผู้ปฏิบัติงานบนน่ังร้านจะต้องนั่งบริเวณแผ่นปูพื้นท่ีถูกติดตั้งบนนั่งร้าน เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงาน

เคล่ือนย้ายได้อย่างปลอดภัย ห้ามผู้ท่ีปฏิบัติงานบนนั่งร้านอยู่ในท่ายืนขณะมีการเคลื่อนย้ายเด็ดขาด

เพราะอาจจะทาให้ตกลงมาได้
- ต้องตรวจสอบใหม้ ีการล็อคลอ้ นงั่ รา้ นทุกดา้ นตลอดเวลาทป่ี ฏิบตั ิงานบนน่งั รา้ น
- หา้ มโยนอปุ กรณห์ รอื เครื่องมือลงมาทีพ่ น้ื ให้ผู้ปฏบิ ตั ิงานใชถ้ งุ เข็มขัดใสเ่ ครอื่ งมอื อปุ กรณ์
- การทางานบนหลังคา ผู้ปฏิบัติงานต้องใช้เข็มขัดนิรภัย และโยงยึดกับสลิงเก่ียวหรือจุดยึดท่ีกาหนดไว้

ทุกครั้ง โดยติดต้ังสายช่วยชีวิต (Life Line) สาหรับให้ผู้ปฏิบัติงานคล้องเกี่ยว กรณีหลังคากระเบ้ือง

ต้องจัดทาแผ่นไม้พาดระหว่างไม้แปรของหลังคา สาหรับเป็นจุดในการยืนทางาน ขณะยืนบนหลังคา

กระเบื้องห้ามเหยียบแผ่นกระเบ้ืองโดยตรง ต้องเหยียบบนพื้นไม้ที่จัดทาข้ึนโดยเฉพาะการปฏิบัติงาน

บนหลงั คาต้องจัดทาลอ็ คเพอื่ ป้องกันการตกลงทุกครัง้

- ผู้รับผิดชอบในการอนุญาตทางาน/ เจา้ ของพืน้ ท่ี/เจ้าหน้าท่ีความปลอดภัยทาการตรวจสอบพ้ืนท่ีและ
อุปกรณ์ ต่างๆ ตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ ใบขออนุญาตทางานท่ีสูง (Work at height Permit) ว่า
อยู่ในสภาพที่ปกติและปลอดภัยหรือไม่ หากพบสภาพผิดปกติ ให้สั่งการหยุดงาน และแจ้ง
ผู้ปฏิบัติงาน/ช่าง/ผู้รับเหมา ดาเนินการแก้ไขปรับปรุงทันทีจนเรียบร้อยและถูกต้อง จากน้ัน
ผ้รู ับผิดชอบในการอนุญาตทางาน/ เจ้าของพ้ืนท/่ี เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยตรวจสอบอกี ครั้ง จนมน่ั ใจ
จงึ อนุญาตให้ทางานตอ่ ไปได้

หลงั ปฏิบตั ิงาน

- เม่อื ผู้ปฏบิ ตั งิ าน ปฏิบตั ิงานเสรจ็ แลว้ ใหถ้ อนการตดิ ตง้ั นั่งร้านแตล่ ะช้ันอยา่ งระมัดระวัง หรือให้
เคล่อื นย้ายเกบ็ ในพืน้ ทท่ี ่ีถกู จัดเตรยี มไว้ เกบ็ อุปกรณ์ วสั ดตุ ่างๆ และทาความสะอาดพ้นื ที่ให้เรียบรอ้ ย
แจ้งเจา้ ของพ้ืนที่ หัวหน้างานหรอื ผูท้ ร่ี ับผดิ ชอบในการอนุมัติWork at height permit ให้รบั ทราบ
เพอ่ื ตรวจสอบพ้ืนท่ีทนั ทหี ลงั จากเสร็จงาน

- เจ้าของพน้ื ทต่ี รวจสอบสถานทท่ี นั ทีหลงั จากทไี่ ด้รับแจง้ กรณพี บสภาพไม่ปกติ ให้แจ้งผ้ปู ฏิบัตงิ าน
ดาเนินการแก้ไขให้เรยี บร้อย ก่อนลงนามและระบเุ วลาตรวจสอบ

Hazard Work|18

ความปลอดภยั ในงานใช้รถกระเช้า

ก่อนปฏิบตั งิ าน
- รถกระเช้าจะต้องผ่านการตรวจสอบความปลอดภัยโดยวิศวกรเคร่ืองกล โดยใช้แบบรับรองประจาปี

เคร่ืองจักรและอุปกรณ์ท่ีใช้ในการทางานก่อสร้าง ตามแนวทางการตรวจรับรองประจาปีเครื่องจักร

และอุปกรณ์ท่ีใช้ในการทางานก่อสร้าง เป็นเอกสารอ้างองิ กาหนดให้มีการทดสอบการรับน้าหนัก ซ่ึง
ตอ้ งทาเอกสารเปน็ หลกั ฐานดว้ ย
- ผู้ปฏิบัติงานที่จะข้ึนปฏิบัติงานจะต้องผ่านการอบรมโดยบริษัทผู้จาหน่าย หรือผู้เชี่ยวชาญ และมี

หลกั ฐานการอบรมเป็นหลักฐาน
- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องทาการตรวจสอบสภาพของรถกระเช้าให้ครบถ้วนก่อนใช้งานและบันทึกผลการ

บารุงรกั ษาและติดต้ังลงในแบบฟอรม์ FM-5620-09

รายการตรวจเชค็ วธิ ีการ การแก้ไขกรณผี ิดปกติ
1. สภาพยาง
2.กระเชา้ - ไมม่ ีรอยแตก ความดนั ยาง - แจง้ บริษทั จัดท่จี าหนา่ ย

3.พิกัดบรรทุก -มีราวปอ้ งกันการตก และพนื้ กระเช้าแขง็ แรง - แจ้งบรษิ ัทจดั ทจี่ าหนา่ ย

4.สัญญานไฟ - แจง้ บรษิ ทั จดั ทจ่ี าหนา่ ย
5.การขบั เคล่ือน
-มีปา้ ยระบุ -ทาการตดิ ตง้ั ป้ายใหเ้ ป็นไปตามผลการ

รบั รอง

- มไี ฟและเสยี งเตือนขณะทางาน - แจ้งบรษิ ทั จดั ทจี่ าหน่าย

-สามารถบังคับทิศทางได้ปกติ ไม่ตดิ ขัด - แจ้งบริษทั จัดทจ่ี าหน่าย

- ตอ้ งตรวจสอบพื้นท่ีสาหรับจอดรถกระเช้าว่าจะสามารถรบั น้าหนกั ได้ พ้นื มคี วามมนั่ คง แข็งแรง
ไมท่ รุด

- ผูป้ ฏบิ ัตงิ าน จะต้องขออนุญาตทางานตามตามแบบฟอรม์ ใบอนญุ าตทางานก่อนเรม่ิ งานเสมอ
- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ หมวกนิรภัยพร้อมสายรัดคาง

รองเทา้ นิรภัยหรือรองเท้าหุ้มสน้ เขม็ ขัดนิรภัยชนิดเต็มตัว แว่นตานิรภยั ถุงมือ และอุปกรณอ์ ื่นๆ ตาม
สภาพการทางานอย่างเหมาะสม
- จะต้องทาการกนั้ บริเวณดว้ ยกรวยสม้ และตดิ ป้าย สัญลักษณ์ เพ่ือแสดงไมใ่ หผ้ ู้ท่ีไมเ่ กย่ี วข้องเข้าใกล้

บริเวณดงั กลา่ ว

-

Hazard Work|19

ขณะปฏบิ ัตงิ าน
- ห้ามปฏบิ ตั งิ านเพยี งลาพัง จะตอ้ งมผี ู้ปฏิบัติงานอยบู่ ริเวณนน้ั ดว้ ยอยา่ งนอ้ ย 1 คน เพอ่ื เฝา้ ระวงั
- ห้ามผ้ปู ฏบิ ัตงิ านขน้ึ ปฏิบตั งิ านบนกระเช้าเกนิ จานวนหรือนา้ หนกั ทไี่ ดม้ กี ารทดสอบและรับรอง
- บังคบั ปมุ่ ควบคมุ ดว้ ยความระมดั ระวัง
- กรณีที่มีลมพายุ ฝนตก ภัยพิบัติ หรือเหตุการณ์อื่นๆที่อาจก่อให้เกิดอุบัติเหตุจากการทางาน จะต้อง
หยุดปฏิบัตงิ านทนั ที
- ผู้ปฏิบัติงานบนกระเช้าจะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคลตลอดเวลาที่ปฏิบัติงาน และ
คล้องเกี่ยวตะขอนิรภยั ตลอดเวลาด้วยเช่นกัน
- หา้ มโยนสงิ่ ของหรือเครื่องมอื ใหแ้ ก่ผอู้ ย่บู นทีส่ ูง
- ผู้ท่อี ยูบ่ นกระเช้าห้ามโยนสิ่งของหรอื เครอื่ งมอื ใหแ้ กผ่ ู้อยดู่ า้ นลา่ ง
- หา้ มใชง้ านรถกระเช้าเกนิ ขดี ความสามารถท่ีได้รบั การทดสอบและรับรอง
- ผูร้ ับผิดชอบในการอนุญาตทางาน/ เจา้ ของพ้ืนท่ี/เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยทาการตรวจสอบพื้นที่และ
อุปกรณ์ ต่างๆ ตามรายละเอียดที่กาหนดไว้ ใบขออนุญาตทางานที่สูง (Work at height Permit) ว่า
อยู่ในสภาพท่ีปกติและปลอดภัยหรือไม่ หากพบสภาพผิดปกติ ให้ส่ังการหยุดงาน และแจ้ง
ผู้ปฏิบัติงาน/ช่าง/ผู้รับเหมา ดาเนินการแก้ไขปรับปรุงทันทีจนเรียบร้อยและถูกต้อง จากนั้น
ผู้รับผิดชอบในการอนุญาตทางาน/ เจ้าของพื้นท/่ี เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยตรวจสอบอกี คร้ัง จนม่ันใจ
จงึ อนญุ าตให้ทางานตอ่ ไปได้

หลงั ปฏิบตั ิงาน
- เม่ือผู้ปฏิบัติงาน ปฏิบัติงานเสร็จแล้ว ให้ทาการลดระดับความสูงของกระเช้าไฟฟ้าลงมาจนถึงพื้น
อย่างระมดั ระวงั
- ห้ามกระโดดลงเดด็ ขาด และตอ้ งลงในด้านท่ีถูกจัดเตรียมให้เทา่ นัน้
- ให้เคลื่อนย้ายรถกระเช้าเก็บในพื้นที่ที่ถูกจัดเตรียมไว้ โดยพื้นจะต้องมีความแข็งแรง สามารถรับ
นา้ หนักได้ ไม่แตกร้าว และไม่เป็นพนื้ ท่ีลาดเอยี ง
- เก็บอุปกรณ์ วัสดุต่างๆ และทาความสะอาดพ้ืนที่ให้เรียบร้อย แจ้งเจ้าของพื้นที่ หัวหน้างานหรือผู้ท่ี
รับผิดชอบในการอนุมัติWork at height permit ให้รับทราบเพ่ือตรวจสอบพื้นที่ทันทีหลังจากเสร็จ
งาน
- เจ้าของพื้นท่ีตรวจสอบสถานที่ทันทีหลังจากที่ได้รับแจ้ง กรณีพบสภาพไม่ปกติ ให้แจ้งผู้ปฏิบัติงาน
ดาเนนิ การแก้ไขใหเ้ รียบร้อย ก่อนลงนามและระบุเวลาตรวจสอบ

Hazard Work|20

ความปลอดภยั ในการทางานไฟฟา้

กอ่ นปฏบิ ตั ิงาน
- ผู้ท่ีปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้าจะต้องได้รับการอบรมความปลอดภัยในการทางานเก่ียวกับไฟฟ้า ตาม
กฎหมายประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงานเรื่องหลักเกณฑ์วิธีการและเงื่อนไขการฝึกอบรม

ความปลอดภัยในการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า สาหรับลูกจ้างซ่ึงปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า ได้รับใบผ่าน

มาตรฐานฝีมือแรงงานแห่งชาติ ตามประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กาหนดสาขาอาชีพที่อาจเป็น
อนั ตรายตอ่ สาธารณะ ยกเว้นวศิ วกรไฟฟา้ ที่มใี บกว.ดา้ นไฟฟา้
- ผู้ปฏิบัติงานจะต้องสวมอุปกรณ์ป้องกันอันตรายส่วนบุคคล ได้แก่ หมวกนิรภัยพร้อมสายรัดคาง

รองเท้านิรภัย แว่นตานิรภัย ถุงมือป้องกันไฟฟ้า และอุปกรณ์อื่นๆ ตามสภาพการทางานอย่าง

เหมาะสม
- ก่อนการดาเนินการทางานเกี่ยวกับไฟฟ้า ผู้ปฏิบัติงานต้องทาการตัดวงจร หรือสบั สวิตช์ แหล่งกาหนด

พลงั งานหรือไฟฟา้ กอ่ นทุกคร้งั
- ผู้ปฏิบัติงานต้องทาการช็อตกราวด์ เพ่ือป้องกันอันตราย ก่อนปฏิบัติงาน โดยเป็นการบายพาส

กระแสไฟฟ้าสพู่ นื้ ดนิ
- การติดป้าย/แขวนป้าย ผู้ปฏิบัติงานต้องแขวนป้ายเตือนท่ีเห็นชัดเจน ป้ายต้องมั่นคงแข็งแรง และ

นาไปใช้กับอุปกรณ์ตัดแยกระบบพลังงานหรือไฟฟ้า ในขั้นตอนการปฏิบัติงาน

และจะตอ้ งควบคมุ ไม่ใหท้ างานจนกว่าป้ายแขวนจะถูกยกเลิกไป
- ลอ๊ คสวิชต์ ผู้ปฏิบัติงานต้องทาการการล็อคตาแหน่งของอุปกรณ์ท่ีมีการตัดแยก

แหล่งพลังงานหรือไฟฟ้า เพ่ือให้ม่ันใจว่าแหล่งพลังงานหรือไฟฟ้า ได้ถูกตัด

แยก รวมถึงอุปกรณ์/เคร่ืองมือท่ีเก่ียวข้องที่อยู่ภายใต้การควบคุม ให้ไม่

สามารถทางานไดจ้ นกว่าอุปกรณ์ล๊อคจะถูกยกเลิกไป อุปกรณ์ทีส่ ามารถ

ใช้สาหรับการล็อค ได้แก่ กุญแจรวมถึงลูกกุญแจ หรืออาจเป็นชนิด

ร่วมกนั

Hazard Work|21

ขณะปฏบิ ัติงาน
- ห้ามผู้ปฏิบัติงานเกี่ยวกับไฟฟ้า เข้าใกล้หรือนาสิ่งท่ีเป็นตัวนาไฟฟ้าที่ไม่มีท่ีถือหุ้มด้วยฉนวนไฟฟ้าท่ี
เหมาะสมกับแรงดันไฟฟ้าเข้าใกล้สิ่งท่ีมีกระแสไฟฟ้าในระยะท่ีน้อยกว่าระยะห่างตามมาตรฐานของ
สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ เว้นแต่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความ
ปลอดภยั ส่วนบุคคลที่เหมาะสมและมีวิศวกรควบคุมงาน
- ห้ามผู้ปฏิบัติงานสวมใส่เคร่ืองนุ่งห่มที่เปียกหรือเป็นส่ือไฟฟ้า ปฏิบัติงานเกี่ยวกับส่ิงที่มีกระแสไฟฟ้าที่
มีแรงดันไฟฟ้าเกินกว่าห้าสิบโวลต์ โดยไม่มีฉนวนไฟฟ้าปิดก้ัน เว้นแต่สวมใส่อุปกรณ์คุ้มครองความ
ปลอดภัยส่วนบคุ คลหรือใช้อุปกรณ์ป้องกนั อนั ตรายท่เี หมาะสมกับแรงดนั ไฟฟา้ สาหรับการปฏิบัตงิ าน
- หน่วยงานจะต้องดูแลบริภัณฑ์ไฟฟ้าและสายไฟฟ้าให้ใช้งานได้โดยปลอดภัย หากพบว่าชารุดหรือมี
กระแสไฟฟ้าร่ัว หรืออาจกอ่ ให้เกิดอันตรายแก่ผู้ใช้งาน ให้ซ่อมแซมหรือดาเนินการให้อยู่ในสภาพท่ีใช้
งานไดอ้ ย่างปลอดภยั และห้ามทาความสะอาดอปุ กรณ์ไฟฟ้าทมี่ ีกระแสไฟฟา้ อยู่
- การติดตง้ั บรภิ ณั ฑ์ไฟฟา้ จะต้องเปน็ ไปตามวธิ กี ารปฏิบัตติ ามมาตรฐานของสมาคมวิศวกรรมฯ

หลงั ปฏบิ ตั ิงาน
- เมือ่ ผูป้ ฏิบตั งิ าน ปฏบิ ัตงิ านเสร็จแล้ว เกบ็ อปุ กรณ์ วัสดุตา่ งๆ และทาความสะอาดพ้ืนท่ใี หเ้ รียบร้อย
แจง้ เจ้าของพื้นท่ี หัวหนา้ งานหรือผทู้ รี่ ับผิดชอบ ให้รบั ทราบเพ่ือตรวจสอบพืน้ ท่ีทันทหี ลังจากเสรจ็ งาน
- เจ้าของพ้ืนท่ตี รวจสอบสถานที่ทนั ทีหลังจากที่ได้รับแจ้ง กรณีพบสภาพไม่ปกติ ให้แจ้งผู้ปฏบิ ัติงาน
ดาเนินการแกไ้ ขให้เรยี บรอ้ ย
- ทาการปลดล็อคป้ายและสวิตสเ์ พ่ือนใหร้ ะบบกลับมาใชง้ านไดป้ กติ

Hazard Work|22

ขั้นตอนการ Log out /Tag out

เป็นระบบที่นามาใช้ในการควบคุมอันตรายที่อาจเกิดขึ้นจากการซ่อมบารุงเครื่องจักร หรืออุปกรณ์ต่างๆท่ีมี
แหล่งจ่ายพลังงาน เช่น พลังงานกล พลังงานไฟฟ้า เป็นต้น ซึ่งแหล่งจ่ายพลังงานเหล่านี้อาจปล่อยพลังงาน
ออกมาอย่างไม่คาดคิด และทาให้เกิดอันตรายแก่ผู้ปฏิบัติงานถึงข้ันเสียชีวิตได้ ซึ่งขั้นตอนการ Log out /Tag
out มดี ังน้ี

1.เตรียมการปิดระบบ (Preparation for Shutdown) ก่อนจะทาการปิดการทางานของเครื่องจักร จะต้องมี
ความรู้และตัดสินใจได้ว่าแหล่งพลังงานนั้นเป็นแหล่งพลังงานชนิดใด อันตรายจากแหล่งพลังงานที่จะต้องถูก
ควบคุมมอี ะไรบา้ ง รวมทั้งจะควบคมุ อันตรายน้นั อยา่ งไร
2.ปิดเคร่ืองจักรหรืออุปกรณ์ (Machine or Equipment Shutdown) การปิดการทางานของเครื่องจักรหรือ
อุปกรณ์ในระบบจะชว่ ยหลกี เลี่ยงอันตรายทีอ่ าจเกดิ ขน้ึ กบั พนักงาน
3.การตัดแยกเคร่ืองจักร (Machine Isolation) อุปกรณ์การตัดแยกแหล่งพลังงาน เป็นส่ิงจาเป็นสาหรับใช้
ควบคมุ พลังงานของเคร่ืองจักรและตัดแยกเครื่องจักรออกจากแหล่งพลังงาน โดยอุปกรณ์ทใี่ ช้ในการตัดแยกจะ
ช่วยปิดระบบหรือทาให้เกิดความปลอดภัย ซึ่งอุปกรณ์ไฟฟ้าที่ต้องทาการตัดแยก มีดังน้ี เช่น อุปกรณ์เบรค
เกอร์ (Breakers) สวิตช์ วาล์ว เป็นต้น
4.อุปกรณ์ระบบล็อกหรือระบบป้ายทะเบียน (Log out/Tag out Device Application) อุปกรณ์ที่ใช้ในการ
ตัดแยกพลังงานประกอบด้วยตัวล็อกและป้ายทะเบียน ซ่ึงใช้โดยผู้ปฏิบัติงานที่ได้รับมอบหมายเพียงผู้เดียว
เทา่ น้ัน ทงั้ ตวั ล็อกและป้ายทะเบยี นต้องตดิ กบั ตวั อปุ กรณ์ท่ที าการตัดแยก
5.การปล่อย/ควบคุมพลังงานสะสม (Stored Energy Release/Restraint) หลังจากตัดแยกแหล่งพลังงาน
แล้ว ก็ต้องพิจารณาถึงศักยภาพของอันตรายที่ถูกสะสมอยู่หรือท่ียังคงเหลือภายในเครื่องจักร อุปกรณ์ หรือ
กระบวนการผลติ ทงั้ น้ีจะตอ้ งมีวิธกี ารควบคุมอนั ตรายน้ันๆดว้ ย
6.การตรวจสอบ (Verification) เม่ือเริ่มทางานกับเครื่องจักรท่ีมีการควบคุมพลังงานด้วยระบบล็อกและป้าย
ทะเบียน ผู้ปฏิบัติงานท่ไี ด้รับอนญุ าตให้ปฏิบัติงานจะต้องมีการตรวจสอบด้วยเครื่องมือทดสอบและ/หรือ ด้วย
การตรวจสอบดว้ ยสายตา

Hazard Work|23

ความปลอดภัยในการทางานในที่อบั อากาศ

ผปู้ ฏบิ ัตงิ าน

- ต้องมีสุขภาพท่ีแข็งแรง ไม่เป็นเป็นโรคหัวใจ โรคทางเดินหายใจหรือโรคท่ีแพทย์กาหนด

ทางานในทีอ่ บั อากาศโดยเด็ดขาด
- ทราบอันตรายทจี่ ะเกิดขึ้นระหวา่ งปฏิบัตงิ านในที่อับอากาศ
- ทราบขีดความสามารถของรา่ งกายตนเองวา่ สามารถทางานในที่อบั อากาศไดห้ รือไม่
- ต้องทาความเข้าใจและซกั ซอ้ มรายละเอยี ดดังต่อไปน้เี ป็นอยา่ งน้อย
- ทราบขนั้ ตอนการปฏบิ ตั งิ านท่ีปลอดภยั ตามท่กี าหนดไว้
- วิธกี ารใช้เครอื่ งมอื อุปกรณท์ ่ีต้องนาเขา้ ปฏิบัติงาน
- วธิ ีใช้ PPE ต่างๆ เช่น ถุงมอื หมวกนิรภยั
- วิธีการส่ือสาร เช่น การใหส้ ัญญาณ
- การขอความชว่ ยเหลือในกรณีฉกุ เฉนิ
- ปฏบิ ตั ติ ามข้ันตอนท่ีระบุในใบอนุญาต อย่างเคร่งครัด
- ตอ้ งสวมใส่ PPE ตลอดการปฏิบตั งิ าน
- ตอ้ งเพิม่ ระมดั ระวังเมอ่ื มสี ถานการณท์ ่ผี ดิ ปกติเกิดขึ้น
- ต้องเรยี นรูว้ ธิ กี ารชว่ ยเหลอื ตวั เองเบ้ืองตน้ เมือ่ พบว่าเรม่ิ มอี าการผิดปกตเิ กิดข้ึนกบั รา่ งกาย
- ฝกึ ทักษะความชานาญในการให้สญั ญาณเพื่อขอความชว่ ยเหลือ เมือ่ พบความผิดปกติ
- ทราบวิธีการอพยพออกจากท่ีอับอากาศได้ทันทีเม่ือผู้ควบคุมงาน หรือผู้ช่วยเหลือให้

สญั ญาณ
- แจ้งผลการปฏิบตั งิ านทุกครัง้ เม่อื ปฏิบัตงิ านน้ัน เสร็จสมบรู ณ์

ผู้อนญุ าตทางานในท่ีอบั อากาศ
- ตรวจสอบบรเิ วณหนา้ งานทป่ี ฏิบัตงิ าน และการใช้อุปกรณค์ ุ้มครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล

วา่ มีความเหมาะสมท่ีจะเข้าทางานในทอ่ี ับอากาศ

- อนุมตั ิให้มีการทางานในท่ีอบั อากาศได้ เมอื่ พิจารณาแลว้ วา่ มีสภาพการทางานทีป่ ลอดภัย
- ประชาสัมพนั ธ์แจง้ ใหห้ น่วยงานท่เี ก่ียวขอ้ งทราบถงึ พน้ื ที่ท่ีมกี ารทางานในทอี่ ับอากาศ

Hazard Work|24

ผู้ควบคมุ การทางานในที่อบั อากาศ ตอ้ งตรวจสอบสถานทก่ี อ่ นปฎบิ ตั ิงาน ดังนี้
- มกี ารตัดแยกกระแสไฟฟา้ ที่กอ่ ใหเ้ กดิ อนั ตรายต่อผูป้ ฎบิ ัตงิ าน/และ Lock out - Tag out
- ต้องตรวจสอบการระบายอากาศของที่อับอากาศว่ามีความปลอดภัยหรือไม่ และทาการ
ระบายอากาศใหเ้ หมาะสมก่อนเร่มิ งาน เช่น เปิดประตู / หน้าตา่ ง ,การใช้พัดลมเป่าหรือดูด
อากาศ เปน็ ต้น
- ทาการตรวจวัดปริมาณสารพิษ สารไวไฟ ปริมาณออกซิเจน ให้อยู่ในสภาพที่ยอมรับได้ถึง
ความปลอดภัยก่อนเข้าปฏิบัติงาน กรณีท่ีอับอากาศน้ันยังมีบรรยากาศอันตรายหรือ
เคร่ืองมือตรวจวัดส่งสอบเทียบให้มีการใช้พัดลมเป่าหรือดูดอากาศ โดยให้ผู้ปฏิบัตงิ านสวม
ใสอ่ ปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบคุ คลและมผี ู้ควบคมุ ดูแลตลอดเวลาการปฏิบตั งิ าน
- ตรวจสอบอุปกรณ์ทีใ่ ช้งานวา่ เปน็ ชนิดปอ้ งกันประกายไฟและการระเบิดหรอื ไม่
- ตรวจสอบปริมาณแสงสว่างว่าเหมาะสมหรือไม่ หากไม่พอ ให้จัดเตรียมโคมไฟชนิดท่ีมี
ครอบปอ้ งกนั กระแทกไปใช้งานใหเ้ หมาะสม
- ผู้ปฎิบัติงานในที่อับอากาศ จะต้องใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลที่เหมาะสม
ตอ่ สภาพงาน หากจะมีการปฎบิ ัตงิ านทมี่ ีความร้อนและประกายไฟจะต้องขออนุญาตทางาน
ทมี่ คี วามร้อนและประกายไฟด้วย
- หลังได้รับการอนุมัติให้ทางานในท่ีอับอากาศ ทาการช้ีแจงแผนการปฏิบัติงานและการ
ป้องกันอันตรายให้ผูป้ ฏิบัติงานได้รบั ทราบและสามารถปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย
- ควบคุมการปฏิบัติงานให้ดาเนินไปอย่างถูกต้องและปลอดภัย ตามมาตรฐานการทางานในที่
อับอากาศและสั่งหยุดทางานช่ัวคราว ในกรณีท่ีมีเหตุหรือสภาพการณ์ท่ีอาจจะก่อให้เกิด
อันตรายต่อผู้ปฏิบัติงาน พร้อมทั้งแจ้งให้ผู้อนุญาตได้รับทราบถึงเหตุหรือสภาพการณ์ที่ไม่
ปลอดภัยในท่ีอบั อากาศ
- เม่ือปฎิบัติงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้ควบคุมจะตรวจสอบว่า ไม่มีผู้ปฎิบัติงาน หรืออุปกรณ์
เครือ่ งมือใดๆ หลงเหลอื อยู่ และแจ้งต่อเจ้าของสถานที่เมื่อตรวจดสู ภาพความเรียบร้อย และ
สง่ ใบอนุญาตคนื ตอ่ เจ้าหน้าทคี่ วามปลอดภัย

ผู้ช่วยชวี ติ ในการทางานในท่อี ับอากาศ
- จัดเตรียมอุปกรณ์ช่วยเหลือและอุปกรณ์ช่วยชีวิตไว้ให้พร้อม ในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินหรือ
อุบัติเหตุกบั ผ้ปู ฏิบตั งิ าน
- คอยเฝ้าดูแลทางเข้าออกที่อับอากาศตลอดเวลาท่ีทางาน และสามารถทาการสื่อสารกับ
ผู้ปฏบิ ตั ิงานภายในทอี่ บั อากาศได้เปน็ ระยะ
- ทาการช่วยเหลือผู้ปฏิบัติงานออกจากที่อับอากาศในกรณีที่เกิดเหตุฉุกเฉินหรืออุบัติเหตุกับ
ผู้ปฏบิ ัติงาน

Hazard Work|25

การปฏิบตั ิงานในที่อบั อากาศ การปฏิบตั งิ านในท่ีปิด การปฏบิ ตั งิ านในทเี่ ปิด
- ตรวจแก๊สพษิ ในหอ้ งก่อนทางาน - ตรวจแก๊สพษิ ในหอ้ งก่อนทางาน
- ตอ้ งระบายอากาศเพียงพอ โดย - ตอ้ งระบายอากาศเพยี งพอ - ตอ้ งมีการระบายอากาศเพียงพอ ไม่
อาจติดพดั ลมเพิ่ม - ตอ้ งมีแสงสวา่ งเพยี งพอ จาเป็นตอ้ งตดิ พดั ลมเพิ่ม
- ตอ้ งมีแสงสวา่ งเพียงพอ
- ตอ้ งมีแสงสวา่ งเพยี งพอ

Hazard Work|26

7. การลงโทษหากฝา่ ฝืนกฎระเบียบ /มาตรการควบคมุ
กรณีเจ้าหนา้ ทข่ี องสถาบนั วจิ ยั ดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
1) หากพบว่าเจ้าหน้าที่มีการฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตาม กฎระเบียบด้านความปลอดภัย อาชีวอนา
มัยฯมาตรการควบคุมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯหรือ ข้ันตอนการปฏิบัติงานให้
ผู้บงั คับบัญชาทาการลงโทษ ตามระเบยี บ ดังน้ี
- ตักเตือนด้วยวาจา เมื่อผู้บังคับบัญชาได้ว่ากล่าวตักเตือนแล้ว ให้บันทึก วนั เวลา สถานที่
และสาเหตุของการวา่ กล่าวตกั เตอื นเกบ็ ไว้ในแฟม้ ประวัตพิ นกั งาน
- ตักเตือนเปน็ ลายลักษณอ์ ักษร เมอื่ ผู้บังคบั บัญชาเห็นวา่ ไม่สมควรตกั เตือนด้วยวาจา
- ส่งั พักงานชัว่ คราวโดยไมไ่ ดร้ บั คา่ จ้าง เจา้ หน้าท่ีที่กระทาผิดวินัย ผ้บู ังคับบัญชาสามารถส่ัง
พกั งานชวั่ คราว โดยไม่ได้รับคา่ จา้ ง มีกาหนดครั้งละไมเ่ กิน 3 วัน
กรณีผู้จาหน่าย/ผ้รู ับเหมา/ผรู้ ับจา้ ง
1) หากพบว่าผู้จาหน่าย และผู้รับเหมา หรือ ผู้รับจ้าง มีการฝ่าฝืน หรือไม่ปฏิบัติตาม กฎระเบียบ
ดา้ น ความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯ มาตรการควบคุมด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยฯ หรือ
ขน้ั ตอนการปฏบิ ัตงิ าน ให้ผูว้ ่าจ้างดาเนินการตามข้อตกลงทรี่ ะบุไวใ้ นเอกสารแนบทา้ ยสญั ญา

8. เอกสารที่เก่ยี วข้อง FM-5620-01-Rev.00
ใบขออนญุ าตทางาน(Work Permit Form) FM-5620-02-Rev.00
ใบขออนุญาตทางานในสถานท่อี บั อากาศ
(Work Permit In The Confined Space) FM-5620-03-Rev.00
แบบการตรวจความปลอดภยั ของเครื่องมอื เครือ่ งจักร อุปกรณ์ FM-5620-04-Rev.00
(เครื่องตัดก๊าซอะเซทิลีน , FM-5620-05-Rev.00
ออกซเิ จนและหรอื กา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลว) FM-5620-06-Rev.00
แบบการตรวจความปลอดภัยของเคร่ืองมือ เครอ่ื งจักร อุปกรณ์ FM-5620-07-Rev.00
(เครอ่ื งเช่ือมไฟฟา้ ) FM-5620-08-Rev.00
แบบการตรวจความปลอดภัยของเครอื่ งมือเครื่องจักร อปุ กรณ์ FM-5620-09-Rev.00
(เครอื่ งตัดไฟเบอร)์
แบบการตรวจความปลอดภยั ของเครอื่ งมือ เครื่องจักร อุปกรณ์
(บันได)
แบบการตรวจความปลอดภยั ของเครื่องมอื เครอ่ื งจักร อปุ กรณ์
(น่งั รา้ น)
แบบการตรวจความปลอดภยั ของเครอ่ื งมอื เครื่องจักร อุปกรณ์
(เคร่ืองเชือ่ มดว้ ยแกส๊ )
แบบการตรวจความปลอดภัยของเครือ่ งมอื เครือ่ งจักร อปุ กรณ์
(รถกระเชา้ ไฟฟา้ )

9. แหลง่ อ้างอิง (Reference)
a. พระราชบญั ญัติความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทางาน พ.ศ.๒๕๕๔
b. กฎกระทรวกาหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดล้อมในการทางานเกย่ี วกับงานก่อสรา้ ง พ.ศ. 2551
c. ประกาศกรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และหลักสูตรการ
ฝึกอบรมความปลอดภัยในการทางานในทอ่ี บั อากาศ พ.ศ.2549 และ พ.ศ. 2551
d. กฎกระทรวง กาหนดมาตรฐานในการบริหารและจดการด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย
และสภาพแวดลอ้ มในการทางานเกีย่ วกับไฟฟา้ พ.ศ. 2554
e. กฎกระทรวงกาหนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจัดการดา้ นความปลอดภัย อาชีวอนามยั
และสภาพแวดล้อมในการทางานในสถานที่ทม่ี ีอนั ตรายจากการตกจากทส่ี ูง วสั ดกุ ระเด็น


Click to View FlipBook Version