ผลของรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรว ตอสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก และความสามารถในการบริการระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล ของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 THE EFFECTS OF HARROW’S INSTRUCTIONAL MODEL WITH ABILITY OF SMALL ENGINE JOB AND DIESEL SMALL ENGINE OIL FUEL PUMP SKILLS FOR STUDENTS IN THE FIRST YEAR VOCATIONAL CERTIFICATE วุฒิดนัย ณะวงวิเศษ1 และชญานนท แสงมณี2 Wudthidanai Nawongwiset1 and Chayarnon Saengmanee2 1 นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมเครื่องกล คณะครุศาสตร หมาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี 1 Student in Bachelor of Science in Technical Education (Mechanical Engineering) , Faculty of Education, UdonThani Rajabhat University 2 อาจารยประจำหลักสูตรหลักสูตรครุศาสตรอุตสาหกรรมบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมเครื่องกล คณะครุศาสตร Assistant Professor, Bachelor of Science in Technical Education (Mechanical Engineering) , Faculty of Education, UdonThani Rajabhat University บทคัดยอ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา 1) เพื่อศึกษาสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมัน เชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตร วิชาชีพปที่ 1 2) เพื่อศึกษาความสามารถในการบริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบการ สอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 3) เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะรายวิชา งานเครื่องยนตเล็ก ที่โดยใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 กอนเรียนกับหลังเรียน กลุมตัวอยางที่ใชในการวิจัยครั้งนี้ นักศึกษาประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 จำนวน 18 คน ภาคการเรียนที่ 1 ปการศึกษา 2566 ไดมาจากการสุมตัวอยางแบบกลุม แบบแผนการวิจัยเปนการวิจัยเชิงทดลอง แบบกลุมเดียวทดสอบกอนเรียนและหลังเรียน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย ประกอบดวย แผนการจัดการเรียนรู จำนวน 1 แผน แบบวัดทักษะการปฏิบัติงาน จำนวน 8 หัวขอ แบบทดสอบสมรรถนะวิชา ดำเนินการทดลองใช 1 ผูประสานงาน : วุฒิดนัย ณะวงวิเศษ E-Mail : [email protected]
ระยะเวลา 7 ชั่วโมง วิเคราะหขอมูลโดยใช คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน รอยละ ทดสอบที่แบบกลุมเดียว และ ทดสอบทีแบบไมอิสระ ผลการวิจัยสรุปไดวา 1. สมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซลที่โดยใชรูปแบบ การสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 มีคาเฉลี่ยหลังเรียน เทากับ 15.06 คะแนน คิดเปนรอยละ 75.28 เมื่อเปรียบเทียบคะแนนสอบหลังเรียนกับเกณฑ พบวา นักเรียนมีสมรรถนะ รายวิชาหลังเรียนเฉลี่ยสูงกวาเกณฑ 2. ผลวิเคราะหคะแนนทักษะการบริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 มีคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 33.67 คะแนน และ 8.81 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบคะแนนทักษะการปฏิบัติงานหลังเรียนกับเกณฑ พบวา นักเรียนมีความสามารถในการบริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล หลังเรียนสูงกวาเกณฑ 3. ผลเปรียบเทียบสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล กอนเรียนและหลังเรียนของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 ที่ไดรับการจัดการเรียนรูดวยรูปแบบการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรว มีคะแนนเฉลี่ยกอนเรียนและหลังเรียนเทากับ 7.64 คะแนน และ 15.06 คะแนน ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบคะแนนสอบกอนเรียนกับหลังเรียน พบวา คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกวา กอนเรียน คำสำคัญ : รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก ความสามารถในการ บริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล บทนำ ผูปฏิบัติงานเปนชางประจำศูนยใหบริการ รถยนตทางการเกษตร ชางซอมเครื่องยนตเล็กการเกษตร รวมถึงชางในชุมชน ซึ่งเปนอาชีพเฉพาะทางที่ตองการผูมี ความรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่เกี่ยวกับ เครื่องยนตเล็กแกสโซลีนและเครื่องยนตเล็กดีเซล ตอง อาศัยเทคนิคและความชำนาญในการปฏิบัติงาน บำรุงรักษาและแกไขปญหาตาง ๆ ในการทำงานของ เครื่องยนตเล็กการเกษตรและรถยนตทางการเกษตร โดย ในวิชางานเครื่องยนตเล็ก เปนการศึกษาและปฏิบัติ เกี่ยวกับโครงสรางและหลักการทำงานความปลอดภัยใน การทำงาน การใชเครื่องมือการถอด ประกอบ ตรวจสอบ ชิ้นสวน แกไขขอขัดของ ปรับแตงเครื่องยนตเล็กแกส โซลีนและดีเซล ระบบแสงสวาง ระบบสตารทดวยไฟฟา เครื่องยนตเล็กดีเซล บำรุงรักษาและการประมาณราคา
คาบริการ (หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 (ปรับปรุง พ.ศ.2565), 2565: 48) ซึ่งจะเห็นไดชัด วาวิชานี้มีความสำคัญกับชางผูปฏิบัติงานที่เกี่ยวกับ เครื่องยนตเล็กการเกษตร ใหสามารถนำความรูและทักษะ ในรายวิชานำไปพัฒนาอาชีพและตอยอดกิจการราน ใหบริการตรวจสอบซอมของตนเองไดในอนาคต ผลการวิเคราะหคะแนนจากแบบบันทึกผลการ พัฒนาคุณภาพผูเรียน รายวิชางานเครื่องยนตเล็กของ นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกอุดรธานี พบวา เนื้อหา เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล ซึ่งมี คะแนนเฉลี่ยเทาเกณฑที่กำหนดไว (วิทยาลัยเทคนิค กาญจนาภิเษกอุดรธานี, 2565) ซึ่งผูวิจัยจึงมีความสนใจที่ จะพัฒนาสมรรถนะของนักเรียนใหเพิ่มขึ้น นอกจากนี้ นักเรียนไมสามารถบริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนต เล็กดีเซลไดอยางถูกตอง ทั้งนี้อาจเนื่องมาจากผลการจัด กิจกรรมการเรียนรูที่ไมมีความหลากหลายหรือจัด กิจกรรมการเรียนรูที่ไมสอดคลองกับความสนใจและความ ถนัดของผูเรียนซึ่งทำใหผูเรียนไมไดแสดงออกเทาที่ควร ขาดการคิดวิเคราะหและอาจเปนเพราะวิชางาน เครื่องยนตเล็ก เปนวิชาที่เนื้อหาบางเรื่องยากเกินที่จะ อธิบายใหเขาใจไดงาย จึงยากตอการจัดกิจกรรมการ เรียนรูและยากตอการทำความเขาใจอยางรวดเร็วจึงสงผล ใหนักเรียนมีสมรรถนะไมเปนไปตามเปาหมาย รูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮร โรวไดจัดลำดับขั้นของการเรียนรูทางดานทักษะปฏิบัติ โดยเริ่มจากระดับที่ซับซอนนอยไปจนถึงระดับที่มีความ ซับซอนมาก ดังนั้นการกระทำจึงเริ่มจากการเคลื่อนไหว กลามเนื้อใหญไปถึงการเคลื่อนไหวกลามเนื้อยอย ซึ่ง กระบวนการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวมี 5 ขั้น ไดแกขั้นที่ 1 ขั้นการเลียนแบบ เปนขั้นที่ใหผูเรียน สังเกตการกระทำที่ตองการใหผูเรียนทำไดซึ่งผูเรียน ยอมจะรับรูหรือสังเกตเห็นรายละเอียดตาง ๆ ได ขั้นที่ 2 ขั้นการลงมือกระทำตามคำสั่ง เมื่อผูเรียนไดเห็นและ สามารถบอกขั้นตอนของการกระทำที่ตองการเรียนรูแลว ใหผูเรียนลงมือทำโดยไมมีแบบอยางใหเห็น ผูเรียนอาจลง มือทำตามคำสั่งของผูสอน หรือทำตามคำสั่งที่ผูสอนเขียน ไวในคูมือก็ไดการลงมือปฏิบัติตามคำสั่งนี้แมผูเรียนจะ ยังไมสามารถทำไดอยางสมบูรณแตอยางนอยผูเรียนก็ได ประสบการณในการลงมือทำ และคนพบปญหาตาง ๆ ซึ่ง ชวยใหเกิดการเรียนรูและปรับการกระทำใหถูกตอง สมบูรณขึ้น ขั้นที่ 3 ขั้นการกระทำอยางถูกตองสมบูรณ ชั้นนี้เปนขั้นที่ผูเรียนจะตองฝกฝนจนสามารถทำสิ่งนั้น ๆ ไดอยางถูกตองสมบูรณ โดยไมจำเปนตองมีแบบอยาง ขั้น ที่ 4 ขั้นการแสดงออก ขั้นนี้เปนขั้นที่ผูเรียนมีโอกาสได ฝกฝนมากขึ้นจนกระทั่งสามารถกระทำสิ่งนั้นไดถูกตอง สมบูรณแบบอยางคลองแคลว รวดเร็ว ราบรื่น และดวย ความมั่นใจ ขั้นที่ 5 ขั้นการกระทำอยางเปนธรรมชาติ ขั้น นี้เปนขั้นที่ผูเรียนสามารถกระทำสิ่งนั้น ๆ อยางสบายๆ เปนไปอยางอัตโนมัติโดยไมรูสึกวาตองใชความพยายาม เปนพิเศษ ซึ่งตองอาศัยการปฏิบัติบอย ๆ ในสถานการณ ตาง ๆ ที่หลากหลาย (ทิศนา แขมณี, 2564: 245-246) จากเหตุผลที่นำเสนอขางตน ดังนั้นผูวิจัยจึง ตองการศึกษารูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของ แฮรโรววาจะสามารถแกปญหาที่เกิดขึ้นไดหรือไม จะทำ ใหนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 มีสมรรถนะ
รายวิชางานเครื่องยนตเล็กและความสามารถในการ บริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล เปนไปตาม เกณฑที่ตั้งไวไมต่ำกวารอยละ 75 หรือไมและนักเรียนมี สมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก หลังเรียนสูงกวา กอนเรียนหรือไม อยางไร วัตถุประสงคของการวิจัย 1. เพื่อศึกษาสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนต เล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดย ใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียน ชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 2. เพื่อศึกษาความสามารถในการบริการ ปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบการ สอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรว ของนักเรียนชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 3. เพื่อเปรียบเทียบสมรรถนะรายวิชางาน เครื่องยนตเล็ก โดยใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของ แฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 ระหวางกอนเรียนกับหลังเรียน สมมติฐานการวิจัย 1. นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 มี สมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมัน เชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรวหลังเรียนไมนอยกวารอยละ 75 2. นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 มี ความสามารถในการบริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนต เล็กดีเซล โดยใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรว หลังเรียนไมนอยกวารอยละ 75 3. นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 มี สมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่องระบบน้ำมัน เชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซลโดยใชรูปแบบการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรวหลังเรียนสูงกวากอนเรียน วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา เปรียบเทียบสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก และ เพื่อศึกษาความสามารถในการบริการปมน้ำมัน เชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล ของนักศึกษา ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 ที่เรียนโดยใชรูปแบบ การเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวโดยมีหัวขอ ในการดำเนินการวิจัยดังนี้ ประชากรและกลุมตัวอยาง แบบแผนการวิจัย เครื่องมือที่ใชในการวิจัย การเก็บ รวบรวมขอมูล การวิเคราะหขอมูล และสถิติที่ใชในการ วิเคราะหขอมูล ประชากรและกลุมตัวอยาง 1. ประชากร เปนนักศึกษาประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปที่ 1 จำนวน 2 หองเรียน จำนวน 34 คน ภาคการเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2566 วิทยาลัยเทคนิค กาญจนาภิเษกอุดรธานี ซึ่งจัดหองเรียนในแตละ หองเรียนเปนแบบคละความสามารถ 2. กลุมตัวอยาง เปนนักศึกษาประกาศนียบัตร วิชาชีพชั้นปที่ 1 จำนวน 18 คน ภาคการเรียน ที่ 1 ปการศึกษา 2566 วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษก อุดรธานี ที่ไดมาจากการสุมตัวอยางแบบกลุม (Cluster Random Sampling)
แบบแผนการวิจัย การศึกษาครั้งนี้มีแบบแผนการทดลองแบบ กลุมเดียวทดสอบกอนและหลังการทดลอง (One Group Pretest-Posttest Design) สอบกอน ทดลอง สอบหลัง T1 X T2 สัญลักษณที่ใชในแบบแผนการทดลอง T1 แทน การทดสอบกอนเรียน X แทน รูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติ ของแฮรโรว T2 แทน การทดสอบหลังเรียน เครื่องมือที่ใชในการวิจัย 1. แผนการจัดการเรียนรูที่ใชรูปแบบการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรวจำนวน 1 แผน 2.แบบทดสอบสมรรถนะวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล เปน แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก 3. แบบวัดทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง การ บริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล เปนรายการตรวจสอบการปฏิบัติงาน จำนวน 8 หัวขอ การวิเคราะหขอมูล ในการวิเคราะหขอมูลการจัดการเรียนรูวิชา งานเครื่องยนตเล็ก โดยใชรูปแบบการเรียนการสอน ท ั ก ษ ะป ฏ ิ บ ั ต ิ ข อง แ ฮรโร วข อ ง น ั ก ศ ึ ก ษาชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปที่ 1 ผูวิจัยดำเนินการ วิเคราะหดังนี้ 1. ศึกษาสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยหา คาเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และรอยละ 2. เปรียบเทียบทักษะการปฏิบัติงาน เรื่อง การบริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล ของ คะแนนหลังเรียนกับเกณฑรอยละ 75 ดวยการทดสอบ ที่แบบกลุมเดียว (t-test For One Sample) 3. เปรียบเทียบสมรรถนะรายวิชางาน เครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็ก ดีเซลของคะแนนกอนเรียนและหลังเรียนดวยการ ทดสอบทีแบบไมอิสระ (t-test For Dependence Sample) สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล 1. สถิติพื้นฐาน คือ คาเฉลี่ย ( X ) รอยละ และ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) โดยใชโปรแกรม สำเร็จรูปทางสถิติสำหรับขอมูลทางสังคมศาสตร 2. สถิติที่ใชทดสอบความแตกตางของทักษะ การปฏิบัติงาน เรื่อง การบริการปมน้ำมันเชื้อเพลิง เครื่องยนตเล็กดีเซล คือ รอยละ และการทดสอบที่ แบบกลุมเดียว 3. สถิติที่ใชทดสอบความแตกตางของ สมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมัน เชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล ระหวางกอนเรียนกับหลัง เรียน คือ การทดสอบที่แบบไมอิสระโดยใชโปรแกรม สำเร็จรูปทางสถิติสำหรับขอมูลทางสังคมศาสตร
ผลการวิเคราะหขอมูล ตอนที่ 1 การศึกษาสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 หลังเรียนไมนอยกวา รอยละ 75 ดังตารางที่ 1 ตารางที่1 ผลสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบ การสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 หลังเรียนไมนอยกวารอยละ 75 รายการประเมิน จำนวน นักเรียน คะแนน เต็ม คะแนน รวม คะแนนเฉลี่ย ประสิทธิภาพ คะแนนสมรรถนะ รายวิชาหลังเรียน 18 20 271 15.06 75.28 ตอนที่ 2 ผลวิเคราะหคะแนนทักษะการบริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล ที่โดยใชรูปแบบ การสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 หลังเรียนเทียบกับเกณฑรอยละ 75 ดังตารางที่ 5 ตารางที่2 ผลวิเคราะหคะแนนทักษะการบริการปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 หลังเรียนเทียบกับเกณฑรอยละ 75 (n=18) การทดสอบ X S.D. df t Sig. (2-tailed) ความสามารถในการบริการ ปมน้ำมันเชื้อเพลิง เครื่องยนตเล็กดีเซล 33.67 8.81 17 1.77 0.095 * มีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ตอนที่ 3 การเปรียบเทียบสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็ก ดีเซล ที่โดยใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 ระหวางกอน เรียนกับหลังเรียน ดังตารางที่ 6
ตารางที่ 3 ผลเปรียบเทียบสมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 ระหวางกอนเรียนกับ หลังเรียน (n=18) การทดสอบ X S.D. df S.D.D t Sig. (2-tailed) กอนเรียน 7.64 3.61 17 2.71 11.24 0.000 หลังเรียน 15.06 3.37 * มีนัยสำคัญทำงสถิติที่ระดับ .05 อภิปรายผล 1. สมรรถนะรายวิชางานเครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซลโดยใชรูปแบบ การสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 มีคาเฉลี่ยหลังเรียน เทากับ 15.06 คะแนน คิดเปนรอยละ 75.28 เมื่อ เปรียบเทียบหลังเรียนกับเกณฑ พบวา นักเรียนมี สมรรถนะรายวิชาหลังเรียน สูงกวาเกณฑอยางมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ซึ่งเปนไปตามสมมติฐาน ขอที่ 1 ทั้งนี้เพราะการใชรูปแบบการเรียนการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรวเริ่มจากการปฏิบัติที่งายไปสู การปฏิบัติที่มีความยากและซับซอนมาก และมี กระบวนการพัฒนาทักษะจากการเลียนแบบจน สามารถกระทำหรือปฏิบัติงานอยางเปนธรรมชาติใน สถานการณตาง ๆ ที่หลากหลายได สอดคลองกับ งานวิจัยของ พุฒิญา อาจหาญ (2563: บทคัดยอ) ได พัฒนากิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดของแฮรโรว เพื่อ เสริมสรางทักษะปฏิบัติรำวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 ผลวิจัยพบวา กิจกรรมการเรียนรู ตามแนวคิดของ แฮรโรวมีประสิทธิภาพตามเกณฑ 88.64/87.27 นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลัง เรียนสูงกวากอนเรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ละดับ .05 มีทักษะปฏิบัติการรำวงมาตรฐาน โดยใชกิจกรรม การเรียนรูตามแนวคิดของ แฮรโรว อยูระดับดีมาก คิด เปนรอยละ 80 2. ผลวิเคราะหคะแนนทักษะการบริการ ปมน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล โดยใชรูปแบบ การสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวของนักเรียนชั้น ประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 เทียบคะแนนทักษะการ ปฏิบัติงานหลังเรียนกับเกณฑรอยละ 75 มีคาเฉลี่ยและ สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เทากับ 33.67 คะแนน และ 8.81 ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับเกณฑพบวา นักเรียนมีความสามารถในการบริการปมน้ำมัน เชื้อเพลิงเครื่องยนตเล็กดีเซล หลังเรียนสูงกวาเกณฑ อยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคลองกับ
งานวิจัยของ นรนิติ พรหมพื้น, เพชรผอง มยูขโชติ และ จรีลักษณ รัตนาพันธ (2563: บทคัดยอ) ไดพัฒนา ทักษะการเขียนแบบเบื้องตน ดวยรูปแบบการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรว สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรีผลการวิจัยปรากฏวา ผลการวิเคราะหคะแนน ทักษะการเขียนแบบเบื้องตน ดวยรูปแบบการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรว พบวา นักเรียนมีคะแนน สูง กวาเกณฑมาตรฐานรอยละ 70 ทุกคน อยางมีนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .01 3. ผลเปรียบเทียบสมรรถนะรายวิชางาน เครื่องยนตเล็ก เรื่อง ระบบน้ำมันเชื้อเพลิงเครื่องยนต เล็กดีเซล ที่โดยใชรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของ แฮรโรวการทดสอบกอนเรียนและหลังเรียนของ นักเรียนชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพปที่ 1 มีคาเฉลี่ย เทากับ 7.64 คะแนน และ 15.06 คะแนน ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบคะแนนสอบกอนเรียนกับหลังเรียน พบวา คะแนนสอบหลังเรียนของนักเรียนสูงกวากอน เรียนอยางมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สอดคลอง กับงานวิจัยของ เยาวนา สิทธิเชนทร (2560: บทคัดยอ) ไดพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบการเรียน การสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรวสำหรับนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปที่ 3 ผลการวิจัยปรากฏวา ผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียนของนักเรียนหลังจากที่เรียนโดยใชชุด กิจกรรมการเรียนรูดังกลาวสูงกวาผลสัมฤทธิ์กอนเรียน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ ระดับ .05 ขอเสนอแนะ 1. ขอเสนอแนะเพื่อใชในการจัดการเรียน การสอน 1.1 ผูสอนตองศึกษาและทำความเขาใจ ขั้นตอนแตละขั้นตอนของรูปแบบการเรียนการสอน ทักษะปฏิบัติของแฮรโรวเปนอยางดีมีความอดทนใน การรอฟงความคิดเห็นตาง ๆ จากผูเรียน ใสใจ และ คอยใหคำชี้แนะอยางทั่วถึง ไมลำเอียงหรืออคติ สราง ความรูสึกเปนกันเองระหวางผูเรียนและครูผูสอน 1.2 การจัดการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติของแฮรโรวเปนรูปแบบการสอนที่ตองใชเวลาใน การจัดการเรียนรู ดังนั้นครูผูสอนจำเปนตองวางแผน เรื่องเวลาใหดีและปฏิบัติตามแผนที่กำหนดไวเพื่อ ปองกันการสอนเนื้อหาในเรื่องอื่น ๆ ไมทันกับเวลา 1.3 การจัดการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติของแฮรโรวจะทำใหนักเรียนเกิดทักษะจากการ ปฏิบัติงาย ๆ ไปสูทักษะที่มีความซับซอนมาก ดังนั้น กิจกรรมหรือสถานการณที่ครูสรางขึ้นตองเปน สถานการณทั่วไปที่อยูในชีวิตประจำวันหรือเปน สถานการณที่นักเรียนจะไดพบในการปฏิบัติงาน 2. ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป ควรมีการศึกษาขอมูลและงานวิจัย ที่ เกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของ แฮร โรวที่มีการวัดความพึงพอใจ เพิ่มเติม
เอกสารอางอิง กมลวรรณ ตังธนกานนท. (2557). การวัดและประเมินทักษะการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพจุฬา ลงกรณมหาวิทยาลัย. กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). แนวทางการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและเทดโนโลยี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพองคกรรับสงสินคาและพัสตุภัณฑ. เกษมณี พุกหนา. (2555). ผลของรูปแบบการจัดการเรียนรูทักษะปฏิบัติของซิมพซันเสริมดวย เทคนิคระดมสมองตอทักษะปฏิบัติงานผลงานความคิดสรางสรรคและผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนลาระงานประดิษฐของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 5. วิทยานิพนธปริญญาครุสตรมหา บัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. จริยา อันเบา. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูทักษะปฏิบัติฟอนออนซอนสาดบานแพงสำหรับ นักเรียนมัธยมศึกษาปที่ 3 ตามแนวคิดของแฮรโรว. วิทยานิพนธปริญญาครุสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. เจริญวิชญ สมพงษธรรม. (2553). การพัฒนาสมรรถนะการปฏิบัติงาน: สมรรถนะหลัก (Core Comptency). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา. ณัฐพัชร มหายศนันท และปรุฬหจักร อัครารัศมสกุล. (2563). การพัฒนารูปแบบการจัดการเรียนรู นาฏศิลปเพื่อเสริมทักษะเรื่องฟอนซอปนฝายโดยวิธีการสอนแบบทักษะปฏิบัติของแฮรโรว. วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค, 7(2), 65-75. ทิวัตถ มณีโชติ. (2554) การพัฒนาสมรรถนะ ตัวชี้วัด และเครื่องมือวัดดานการวัดและประเมินผล การศึกษาของครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร: กรุงเทพฯ. DOI:https://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14457/PNRU.res.20114 ทิศนา แขมณี. (2564). ศาสตรการสอน: องคความรูเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรูที่มีประสิทธิภาพ. พิมพครั้งที่ 25. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. ธเนศ ขำเกิด (2555). สมรรถนะ คือ อะไร. สืบคนเมื่อ 20 มกราคม 2566, จาก https://www.gotoknow.org/posts/30162.
นพระพี ชูน้ำเที่ยง. (2557). ผลของรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีสเสริมดวยเทคนิคเพื่อน ชวยเพื่อนและการใชวิดิทัศนที่มีตอทักษะนาฎศิลปและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1. วิทยานิพนธปริญญาครุสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. นรนิติ พรหมพื้น, เพชรผอง มยูขโชติ และจรีลักษณ รัตนาพันธ(2563: 34-45).การพัฒนาทักษะการ เขียนแบบเบื้องตน ดวยรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของแฮรโรว สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปที่ 6 โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย นนทบุรี. การประชุมเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช ครั้งที่ 10. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. บุสดี พงศาเจริญนนท. (2558). ผลของการเรียนตามรูปแบบการสอนทักษะปฏิบัติของซิมพซันเสริม ดวยเทคนิคการใชคำถามตามแนวคิดหมวกหกใบตอทักษะปฏิบัติการประดิษฐบายศรีและ ความสามารถในการคิดแกปญหาเชิงสรางสรรคของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปที่ 4. วิทยานิพนธปริญญาครุสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏ อุดรธานี. ประวีนา เอี่ยมยี่สุน. (2564). การประเมินผลการเรียนรูดานทักษะพิสัย. วารสารวิพิธพัฒนศิลป บัณฑิตศึกษา, 1(2), 18-32. ปญญา สังขภิรมย และสุนทร พานิชกุล. (2550). สุดยอดวิธีสอนการงานอาชีพและเทคโนโลยี: นำไปสูการจัดการเรียนรูของครูยุคใหม. นนทบุรี: บริษัทไทยรมเกลาจำกัด. พุฒิญา อาจหาญ. (2563). การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูตามแนวคิดของ แฮรโรว เพื่อเสริมสราง ทักษะปฏิบัติ รำวงมาตรฐาน ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3. Journal of Modern Learning Development, 5(6), 214-224. พูลสวัสดิ์ มาลา. (2559). ผลของรูปแบบการเรียนการสอนทักษะปฏิบัติของเดวีสเสริมดวยแบบฝก ทักษะปฏิบัติตอผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและทักษะปฏิบัติคอมพิวเตอรของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปที่ 4. วิทยานิพนธปริญญาครุสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี. เพชรผอง มยูขโชติ. (2558). การประดิษฐของใช. ใน ประมวลสาระชุดวิชาการจัดประสบการณการ เรียนรูวิชาอาชีพ. (หนวยที่ 3, หนา 21-37). นนทบุรี: สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ไพโรจน คะเชนทร. (2556). การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. สืบคนเมื่อ 21 มกราคม 2566, จาก www.attoongpel.com/Sarawichakarn/wichakarn/1-10 การวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรียน 10.pdf. มาลินี จุฑะลพ. (2537). จิตวิทยาการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ: อักษรพิพัฒน. เยาวนา สิทธิเชนทร. (2560). การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบการเรียนการสอนทักษะ ปฏิบัติของแฮรโรว เรื่องงานประดิษฐจากวัสดุเหลือใช กลุมสาระการเรียนรู การงานอาชีพและ เทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 3 ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาสงขลา เขต 1. วิทยานิพนธปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชาหลักสูตรและการ สอน สาขาวิชาศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกอุดรธานี. (2564). รายงานผลสมรรถนะทางการเรียน ประจำป การศึกษา 2564. อุดรธานี: วิทยาลัยเทคนิคกาญจนาภิเษกอุดรธานี. สมชาย วรกิจเกษมสกุล. (2553). การวัดและประเมินผลการศึกษา. พิมพครั้งที่ 3. อุดรธานี: โรงพิมพอักษรศิลป. สมนึก ภัททิยธนี. (2546). การวัดผลการศึกษา. พิมพครั้งที่ 4. กาฬสินธุ: ประสานการพิมพ. ส.วาสนา ประวาพฤกษ. (2537). การวัดผลจากการปฏิบัติจริง. วัดผลการศึกษา. 16(47), 36-42. สำนักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ. (2561). คูมือการจัดทำแผนการจัดการเรียนมุงเนน สมรรถนะเลมนี้จัดทำขึ้นเพื่อใชเปนแนวทางในการจัดการเรียนรูของสถนศึกษาอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. ________. (2565). หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2562 (ปรับปรุง พ.ศ. 2565). กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย. สุคนธ สินธพานนท. (2550). สุดยอดวิธีสอนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมนำไป การจัตการเรียนรู ของครูยุดใหม. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน. สุชาติ ศิริสุขไพบูลย. (2527). เทคนิคและวิธีการสอนวิชาชีพ. กรุงเทพฯ: สถาบันเทคโนโลยีพระจอม เกลาพระนครเหนือ. สุวิมล วองวานิช. (2545). การวัดทักษะปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: ภาควิชาวิจัยการศึกษา คณะครุศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
อภิชาติ อนุกูลเวช. (2551). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนฝกปฏิบัติทางเทคนิคบนเครือขาย อินเทอรเน็ตสำหรับนักเรียนอาชีวศึกษา. ปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. อานนท ศักดิ์วรวิชญ. (2547). แนวคิดเรื่องสมรรถนะ Competency: เรื่องเกาที่เรายังหลงทาง. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. Harrow, A.J. (1972). A taxonomy of The Psychomotor Domain. New Yok: David Mckay.