The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

6. งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by roiet.cpd1234, 2022-07-11 03:47:33

6. งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง

6. งานส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง

ก



ดำเนินงานโดย กล่มุ จดั ตง้ั และสง่ เสริมสหกรณ์
สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวัดรอ้ ยเอด็ กรมส่งเสริมสหกรณ์

มิถนุ ายน 2565

ก



บทสรปุ ผ้บู ริหาร

กลุ่มจัดตัง้ และส่งเสริมสหกรณ์ สำนักงานสหกรณจ์ ังหวัดร้อยเอ็ด ได้รับอนุมัติให้ดำเนินโครงการ
โครงการประชุมเชงิ ปฏิบัติการ “ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเขม้ แข็ง”
งบประมาณแผนงานพื้นฐานด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ผลผลิต สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับ
การส่งเสรมิ และพฒั นาใหม้ คี วามเขม้ แข็งตามศักยภาพ กิจกรรมหลัก ส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกร
กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ จำนวน 39,000 บาท
(สามหมื่นเก้าพันบาทถ้วน) โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อยกระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่ม
เกษตรกร และส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง มีลักษณะเป็นการ
ประชุมเชิงปฏิบัติการ การดำเนินโครงการเป็นการให้ความรู้แก่คณะกรรมการ ฝ่ายจัดการ สมาชิก และเจ้าหน้าท่ี
ส่งเสริมสหกรณ์ ที่รับผิดชอบ สหกรณ์ภาคการเกษตร จำนวน 7 แห่ง และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 3 แห่ง จำนวน
150 คน มีกำหนดการ จัดกิจกรรมที่ 1 ยกระดับความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร จาก
ระดบั ช้ัน 2 สู่ ช้นั 1 ครั้งที่ 1 ในเดอื นมีนาคม 2565 ณ ทท่ี ำการสหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย
คร้งั ท่ี 2 ในเดอื นมิถุนายน 2565 ณ ท่ที ำการกลุม่ สหกรณภ์ าคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรเปา้ หมาย กิจกรรมท่ี
2 ผลักดียนะดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคการเกษตร ระดับชั้น 3 สู่ ชั้น 2 ครั้งที่ 1 ในเดือนมีนาคม 2565
ณ ที่ทำการสหกรณ์การเกษตรหนองฮี จำกัด ครั้งที่ 2 ในเดือนพฤษภาคม 2565 ณ ที่ทำการสหกรณ์การเกษตร
หนองฮี จำกดั คร้งั ท่ี 3 ในเดือนมถิ ุนายน 2565 ณ ทท่ี ำการสหกรณส์ หกรณ์การเกษตรหนองฮี จำกัด

กล่มุ จดั ตงั้ และสง่ เสริมสหกรณ์
มถิ นุ ายน 2565

 ข

สารบัญ หน้า

บทสรปุ ผบู้ รหิ าร ข
สารบญั ค
สารบัญตาราง 1
บทที่ 1 บทนำ 1
2
หลักการและเหตุผล 2
วัตถุประสงค์ 2
ลกั ษณะโครงการ 3
วิธดี ำเนินการ 3
ผู้รบั ผดิ ชอบ 3
ระยะเวลาและสถานท่ีในการดำเนินโครงการ 3
งบประมาณในการดำเนินโครงการ 4
การติดตามและประเมนิ ผล 4
ผลทค่ี าดวา่ จะได้รับ 5
ตัวช้วี ัด 5
บทท่ี 2 วธิ ีดำเนินโครงการ 5
แผนการดำเนินโครงการ 5
วทิ ยากร 6
เอกสารประกอบการบรรยาย 6
บทท่ี 3 ผลการดำเนินโครงการ
ผลการดำเนินโครงการ 10
ภาพกิจกรรม 12
บทท่ี 4 สรุปผลและข้อเสนอแนะ (ถา้ ม)ี 12
สรปุ ผล 16
ภาคผนวก

 ค

สารบญั ตาราง หนา้

ตารางท่ี 1 แผนการดำเนินโครงการ 5
ตารางท่ี 2 ผลการดำเนนิ การจดั ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ “สง่ เสริมและพฒั นาสหกรณ์ 6
ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง” ครงั้ ที่ 1 7
ตารางที่ 3 ผลการดำเนนิ การจดั ประชุมเชงิ ปฏิบัติการ “ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ 9
ภาคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกรให้มคี วามเขม้ แขง็ ” คร้ังที่ 2 9
ตารางที่ 4 ผลการดำเนินการจัดประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ าร “ส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณ์ 14
ภาคการเกษตรและกลุม่ เกษตรกรให้มคี วามเข้มแขง็ ” คร้งั ท่ี 2
ตารางท่ี 5 ผลการดำเนนิ การจัดประชุมเชงิ ปฏิบตั กิ าร “สง่ เสริมและพฒั นาสหกรณ์
ภาคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกรใหม้ ีความเข้มแขง็ ” คร้ังท่ี 2
ตารางท่ี 6 แนวทางการส่งเสรมิ และพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรใหม้ ีความ
เข้มแข็ง จากชนั้ 2 สู่ ช้นั 1 และยกระดบั ชน้ั จาก ชัน้ 3 สู่ ชน้ั 2

 สง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเข้มแขง็ 1

บทที่ 1

บทนำ

หลักการและเหตผุ ล

กรมส่งเสริมสหกรณ์มีภารกิจหลักในการส่งเสริมและแนะนำสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร
ให้ดำเนินงานเพื่อตอบสนองความต้องการของสมาชิกทั้งด้านเศรษฐกิจและสังคม สร้างกลไกเพื่อส่งเสริม
สหกรณ์และผู้ประกอบการให้มีความสามารถในการแข่งขันอย่างเหมาะสม สอดคล้องตามประเด็น
ยุทธศาสตร์ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน พัฒนาประเทศตามยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.
2561 – 2580) และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการเกษตร ประเด็นพลังทางสังคม
ประเด็นเศรษฐกิจฐานราก และประเด็นการบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ โดยในแผนแม่บท
ประเด็นการเกษตร แผนย่อยของแผนแม่บทฯ 6 การพัฒนาระบบนิเวศการเกษตร กำหนดเป้าหมายสถาบัน
เกษตรกร (สหกรณ์ วิสาหกิจชุมชน และกลุ่มเกษตรกร) ที่ขึ้นทะเบียนกับกระทรวงเกษตรและสหกรณ์มี
ความเข้มแข็งในระดับมาตรฐานเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับแผนปฏิรูปด้านเศรษฐกิจ ประเด็นด้านการสร้าง
เกษตรมูลค่าสูง ประกอบกับนโยบายรัฐบาลในการพัฒนาให้สหกรณ์ภาคการเกษตรเป็นกลไกสำคัญในการ
ขับเคลื่อนการปฏิรูปภาคการเกษตร กรมส่งเสริมสหกรณ์ จึงกำหนดยุทธศาสตร์ ในการสร้างความมั่นคงด้าน
การสหกรณ์เพื่อยกระดับการพัฒนาในด้านองค์ความรู้ เทคโนโลยี นวัตกรรมที่จะช่วยให้สหกรณ์มีการ
บริหารจัดการองค์กร การจัดการการผลิตการตลาด โดยสนับสนุนการพัฒนาองค์ความรู้แก่บุคลากร
เทคโนโลยี และการบริหารจัดการท่ีทันสมัย เพื่อตอบสนองนโยบายของรัฐบาลในการขับเคลื่อนประเทศท่ี
มีรายได้สูง และขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีและนวตั กรรม สอดคล้องกับนโยบายของกรมส่งเสริมสหกรณ์ใน
การยกระดับคณุ ภาพชีวิตเกษตรกรให้ดขี ึ้น มรี ายได้เพม่ิ ขึ้นและมัน่ คง ท้ังน้ี ยุทธศาสตร์กรมส่งเสริมสหกรณ์
ที่ 2 พัฒนาและสรา้ งศักยภาพของสถาบันเกษตรกร เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต และการตลาดตลอดห่วงโซ่
อุปทาน (supply chain) จึงได้ผลักดันให้สหกรณ์การเกษตร ทำหน้าที่เป็นศูนย์กลางเศรษฐกิจและสังคมของ
ชุมชน เพิ่มบทบาทการดูแลและส่งเสริมความรู้เทคโนโลยี ที่ทันสมัยให้แก่เกษตรกรสมาชิกการบริหาร
จัดการสินค้าเกษตร ตั้งแต่ต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำ โดยใช้หลักการตลาดนำการผลิต การส่งเสริม
เกษตรกรผลิตสินค้าคุณภาพให้ตรงกับความต้องการของตลาด การรวบรวมผลผลิตของเกษตรกร นำมา
แปรรูปเพ่อื เพม่ิ มูลคา่ พัฒนาสกู่ ารเป็นศูนย์กลางการรับซ้ือผลผลติ ในชมุ ชน ส่งเสรมิ ชอ่ งทางการตลาด เพ่ือ
ชว่ ยเหลอื เกษตรกรขายผลผลิตได้ราคาทเ่ี ปน็ ธรรม มรี ายได้ และความมนั่ คงในการประกอบอาชีพ

จากผลการประเมินศักยภาพสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร ประจำปี 2564 พบว่าสหกรณ์ภาค
การเกษตร 4,312 แห่ง มีความเข้มแข็งระดับชั้น 1 และชั้น 2 จำนวน 3,072 แห่ง หรือร้อยละ 90.70
ของสหกรณ์ที่ดำเนินการของกรมส่งเสริมสหกรณ์ สำหรับกลุ่มเกษตรกร พบว่ามีความเข้มแข็งระดับชั้น 1
และชั้น 2 จำนวน 3,350 แห่ง หรือร้อยละ 90.45 ของกลุ่มเกษตรกรที่ดำเนินงานของกรมส่งเสริ ม
สหกรณ์ กรมส่งเสรมิ สหกรณจ์ งึ มงุ่ เน้นสง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรใหม้ ีความเข้มแข็ง โดย
ดำเนินการ ใน 4 ด้าน ได้แก่ 1) การเพิ่มขีดความสามารถในการให้บริการสมาชิก 2) การเพิ่มประสิทธิภาพ
การดำเนินธุรกิจ 3) ประสิทธิภาพในการจดั การองคก์ ร และ 4) ประสิทธิภาพในการบรหิ ารงาน ให้สอดคล้องกับ
การพัฒนาสหกรณ์ ในสถานการณ์ปัจจุบัน เพื่อสนับสนุนให้สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรเกิดการพัฒนาและ
ปรับตัว ทั้งด้านการบริหารจัดการองค์กรและด้านการดำเนินธุรกิจ ยกระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์ และ

 ส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกรให้มคี วามเข้มแขง็ 2

กลุ่มเกษตรกร ส่งเสริมสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรให้เป็นผู้สนับสนุนการจัดการเทคโนโลยีสมัยใหม่ ในการ
ลดต้นทุน และเพิ่มประสทธิภาพการผลิต พัฒนาระบบการตลาดสินค้าเกษตรตั้งแต่การผลิตสินค้าที่มี
คุณภาพ นำไปสู่การแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าเกษตร เพื่อให้สถาบันเกษตรกรมีการเจริญเติบโต
อย่างต่อเนื่อง เป็นท่พี ่ึงของสมาชิกขและชุมชน และอย่างย่งั ยนื

ทั้งนี้ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กรมส่งเสริมสหกรณ์ได้อนุมัติแผนปฏิบัติงาน
และงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 แผนงานพื้นฐาน ด้านการสร้างความสามารถในการ
แข่งขัน ผลผลิตสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรได้รับการส่งเสริมและพัฒนาให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ
กิจกรรมหลัก ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร กิจกรรมรอง ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์/กลุ่ม
เกษตรกรให้มีความเข้มแข็งตามศักยภาพ โดยให้คัดเลือกเป้าหมายเพื่อยกระดับชั้นความเข้มแข็งสหกรณ์ภาค
การเกษตร/ กลมุ่ เกษตรกร จากระดบั ช้ัน 2 ส่ชู นั้ 1 และ ผลกั ดนั ระดบั ชนั้ ความเข้มแข็งสหกรณภ์ าคการเกษตร
ชนั้ 3 สชู่ น้ั 2 ตามกิจกรรมการจดั ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกบั กลุ่มเป้าหมายเพื่อกำหนดวิธีการในการยกระดับ
ผลักดัน ติดตาม การดำเนินงาน ปัญหาอปุ สรรค สรปุ ผลการดำเนินงาน ตอ่ ไป

วัตถปุ ระสงค์

เพื่อยกระดับความเข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร และเพื่อส่งเสริมและ
พฒั นาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเข้มแขง็
ลักษณะโครงการ

เป็นโครงการประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารเพ่ือร่วมวเิ คราะห์สภาพปัญหาและอปุ สรรคในการดำเนินงาน
ของสหกรณ์ ตลอดจนรว่ มกำหนดแนวทางแก้ไขเพื่อพฒั นาสหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็ง

วธิ ีดำเนินการ

กิจกรรม : พัฒนาและเพิ่มขีดความสามารถและยกระดับสร้างความเข้มแข็งของสหกรณ์ภาคการเกษตรและ
กลุ่มเกษตรกร

วิธีการ : ฝึกอบรม พัฒนาบุคลากร โดยการให้องค์ความรู้ในการเพิม่ ขีดความสามารถใน
การให้บริการสมาชิก เพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินธุรกิจ เพิ่มประสิทธิภาพในการจัดการองค์กร และ
ประสทิ ธภิ าพการบริหารงานของสหกรณ์และกลุม่ เกษตรกร

การดำเนนิ งาน :
กิจกรรมที่ 1 ยกระดับความเข้มแข็งสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร
จากระดบั ชนั้ 2 สชู่ นั้ 1

- ครั้งที่ 1 : ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับสหกรณ์ภาคการเกษตร/กลุ่มเกษตรกร
เพื่อกำหนดขน้ั ตอน วิธีการในการยกระดับการควบคมุ ภายใน การพฒั นาธุรกิจเดิม เพิ่มธรุ กิจใหม่ สรา้ งการมสี ่วน
ร่วมของสมาชิก

- ครั้งที่ 2 : ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับสหกรณ์ภาคการเกษตร/กลุ่มเกษตรกร
เป้าหมายเพ่อื ติดตามความก้าวหนา้ เพื่อรบั ทราบถึงปัญหาและอุปสรรคท่เี กิดข้ึน

กิจกรรมท่ี 2 ผลกั ดันระดบั ชน้ั ความเข้มแขง็ สหกรณ์ภาคการเกษตร ระดบั ชนั้ 3 สูช่ ้นั 2

 สง่ เสริมและพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็ง 3

- ครั้งที่ 1 : ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อวางแผนพัฒนาและ
ผลกั ดันใหก้ ล่มุ เป้าหมายไดร้ บั การยกระดบั ช้ันความเขม้ แข็ง

- ครั้งที่ 2 : ประชุมเชิงปฏิบัติการร่วมกับกลุ่มเป้าหมายเพื่อติดตามความก้าวหน้า
ปญั หาและอปุ สรรคในการผลักดนั กลุ่มเป้าหมาย

- คร้งั ท่ี 3 : ประชมุ เชงิ ปฏิบตั กิ ารรว่ มกบั กลุ่มเป้าหมายเพ่ือสรปุ ผลการดำเนินงาน
ผรู้ บั ผดิ ชอบ

กลมุ่ จัดต้งั และส่งเสรมิ สหกณ์ สำนกั งานสหกรณจ์ งั หวดั ร้อยเอด็

ระยะเวลาและสถานทใี่ นการดำเนินโครงการ

1. กจิ กรรมท่ี 1 ยกระดบั ความเข้มแขง็ สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกร จากระดับชนั้ 2 ส่ชู ัน้ 1
- ครั้งที่ 1 : ระหว่างวันที่ 11 – 24 เดือนมีนาคม 2565 ณ ที่ทำการสหกรณ์ภาค

การเกษตรและกล่มุ เกษตรกรเปา้ หมาย จงั หวดั รอ้ ยเอ็ด
- ครั้งที่ 2 : ระหว่างวันที่ 10 – 21 2565 ณ ที่ทำการสหกรณ์ภาคการเกษตรและ

กลุ่มเกษตรกรเป้าหมาย จังหวดั รอ้ ยเอ็ด
2. กจิ กรรมท่ี 2 ผลักดันระดบั ชั้นความเขม้ แข็งสหกรณภ์ าคการเกษตร ระดบั ช้นั 3 ส่ชู น้ั 2

- ครั้งที่ 1 ในวันที่ 25 มีนาคม 2565 ณ ที่ทำการสหกรณ์การเกษตรหนองฮี จำกัด
อำเภอหนองฮี จังหวัดรอ้ ยเอด็

- ครั้งที่ 2 ในวันที่ 23 พฤษภาคม 2565 ณ ที่ทำการสหกรณ์การเกษตรหนองฮี จำกดั
อำเภอหนองฮี จังหวดั ร้อยเอด็

- ครั้งที่ 3 ในวันที่ 23 มิถุนายน 2565 ณ ที่ทำการสหกรณ์การเกษตรหนองฮี จำกัด
อำเภอหนองฮี จงั หวดั รอ้ ยเอด็
งบประมาณในการดำเนนิ โครงการ

งบประมาณในการดำเนินโครงการท้ังสิ้นจำนวน 39,000 บาท โดยรายละเอยี ดต่อไปนี้

ค่าใช้สอย 39,000.00 บาท

- ค่าอาหารกลางวนั 26,000.00 บาท

- คา่ อาหารว่างและเคร่ืองดื่ม 13,000.00 บาท

การตดิ ตามและประเมนิ ผล

ผลการประเมินระดบั ช้นั ความเขม้ แข็งของสหกรณ์และกลมุ่ เกษตรกร

 ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลุม่ เกษตรกรให้มีความเข้มแขง็ 4

ผลทีค่ าดว่าจะไดร้ บั

สหกรณ์ภาคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกรมีความเข้มแข็งเปน็ ท่พี ่ึงของสมาชกิ และชมุ ชน

ตัวช้วี ัด หนว่ ยนบั แผน

เชิงปรมิ าณ :

- จำนวนคนเขา้ รว่ มโครงการ คน 150

เชงิ คณุ ภาพ :

- สหกรณภ์ าคการเกษตรมคี วามเขม้ แขง็ ในระดบั 1 และ 2 ร้อยละ 100

- กลุม่ เกษตรกรมคี วามเข้มแขง็ ในระดบั 1 และ 2 รอ้ ยละ 100

 สง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็ง 5

บทท่ี 2
วิธีดำเนินโครงการ

แผนการดำเนนิ โครงการ
ตารางที่ 1 แผนการดำเนนิ โครงการ

สหกรณ์ภาคการเกษตร/กลุ่มเกษตรกร ครั้งท่ี 1 คร้งั ท่ี 2 ครงั้ ที่ 1 กล่มุ
วนั ทจ่ี ัด วันท่ีจดั วนั ท่จี ัด สง่ เสริม
1 สหกรณก์ ารเกษตรเกษตรวสิ ยั จำกัด ประชมุ ประชมุ ประชมุ
2 สหกรณ์รักษ์แมบ่ ้านรอ้ ยเอด็ จำกัด ที่
3 สหกรณก์ ารเกษตรปฏริ ปู ที่ดนิ เกษตรวสิ ยั หนง่ึ จำกัด 14-ม.ี ค.-65 10-ม.ิ ย.-65 14-ม.ี ค.-65
4 สหกรณ์การเกษตรปฏริ ปู ทดี่ ินสวุ รรณภมู สิ อง จำกัด 10-มี.ค.-65 13-มิ.ย.-65 10-ม.ี ค.-65 กสส. 3
5 สหกรณก์ ารเกษตรโพธ์ิชยั จำกัด 16-มี.ค.-65 14-มิ.ย.-65 16-มี.ค.-65 กสส. 1
6 สหกรณ์เพอื่ การเกษตรรักถิ่นเกดิ จำกัด 17-ม.ี ค.-65 15-มิ.ย.-65 17-มี.ค.-65 กสส. 3
7 กลุ่มเกษตรกรทำนาเกาะแกว้ 18-ม.ี ค.-65 16-ม.ิ ย.-65 18-ม.ี ค.-65 กสส. 2
8 กลุ่มเกษตรกรทำสวนยางพาราคำพองุ 21-ม.ี ค.-65 กสส. 6
9 กลุ่มเกษตรกรผเู้ ล้ยี งสตั ว์โหรา 22-ม.ี ค.-65 17-ม.ิ ย.-65 21-ม.ี ค.-65 กสส. 3
10 สหกรณก์ ารเกษตรหนองฮี จำกัด 23-มี.ค.-65 20-มิ.ย.-65 22-ม.ี ค.-65 กสส. 5
24-มี.ค.-65 21-ม.ิ ย.-65 23-ม.ี ค.-65 กสส. 6
25 ม.ี ค.65 22-ม.ิ ย.-65 24-ม.ี ค.-65 กสส. 4
23 พ.ค. 65 23 มิ.ย. 65 กสส. 4

วทิ ยากร

วทิ ยากรจากกลมุ่ จดั ต้ังและสง่ เสริมสหกรณ์
วทิ ยากรจากบุคคลากรกลุ่มส่งเสริมสหกรณ์ 1 - 6

เอกสารประกอบการดำเนินโครงการ

ผลการวเิ คราะห์และแนวทางการพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกรรายแหง่

 สง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลมุ่ เกษตรกรให้มคี วามเข้มแขง็ 6

บทท่ี 3

ผลการดำเนินโครงการ

ผลการดำเนินโครงการ

กลุ่มจัดตั้งและส่งเสริมสหกรณ์ ได้ดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “ส่งเสริมและพัฒนา

สหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง” 2 กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 จำนวน 2 ครั้ง

และกจิ กรรมที่ 2 จำนวน 3 ครัง้ โดยใชง้ บประมาณท้ังสิน้ 39,000 บาท มผี ลการดำเนนิ การ การดงั น้ี

ตารางที่ 2 ผลการดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและ

กลุ่มเกษตรกรใหม้ ีความเข้มแข็ง” คร้งั ท่ี 1

ที่ สหกรณ์ภาค วนั /เดือน/ปี จำนวน เกณฑท์ ีจ่ ะยกระดบั แนวทางในการดำเนินการแกไ้ ข
การเกษตร/กลมุ่ ที่จดั ประชมุ ผ้เู ข้า ชั้น

เกษตรกร ประชมุ ขอ้ ขอ้ ขอ้ ขอ้
1234

1 สหกรณก์ ารเกษตร 14-มี.ค.- 15 คน 4 1 4 4 1. เพ่มิ ประสทิ ธภิ าพในการการติดตามเรง่ รัดหน้ี
เกษตรวิสัย จำกดั 65 จากสมาชกิ

1. เพ่ิมประสิทธิภาพในการการตดิ ตามเร่งรัดหนี้

2 สหกรณ์รักษแ์ มบ่ า้ น 11-ม.ี ค.- 15 คน 4 2 2 4 จากสมาชกิ 2. ส่งเสรมิ อาชีพเพอื่ สรา้ งรายได้เพ่มิ
รอ้ ยเอด็ จำกดั 65 ใหก้ ับสมาชิก เช่น จกั สาน พรมเช็ดเทา้ เลีย้ งไก่ไข่

ปลาส้ม ฯลฯ

สหกรณ์การเกษตร 16-มี.ค.- 1. เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมภายใน โดยการ
3 ปฏิรูปทด่ี นิ เกษตรวสิ ัย 65 ประเมินตนเองเบื้องต้น และจัดทำคำสั่งมอบหมาย
15 คน 4 3 2 4 ผู้รับผิดชอบ ติดตามผลการดำเนินงานให้ทัน
หน่ึง จำกดั ระยะเวลา และเป็นปัจจุบัน 2. ติดตามการเร่งรัด

หน้สี มาชกิ ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ 90

1. เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุมภายใน โดยการ

สหกรณ์การเกษตร 17-มี.ค.- ประเมินตนเองเบื้องต้น ติดตามผลการดำเนนิ งานให้
4 ปฏิรปู ท่ดี ินสวุ รรณภูมิ 65 15 คน 4 1 3 4 ทนั ระยะเวลา และเป็นปัจจบุ นั

สอง จำกัด 2. ติดตามการเร่งรัดหนี้สมาชิกไม่น้อยกว่าร้อยละ
90

5 สหกรณ์การเกษตรโพธ์ิ 18-มี.ค.- 1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริการสมาชิก ให้มีส่วน
ชัย จำกัด 65 15 คน 2 2 3 4 ร่วมกบั การดำเนินธรุ กจิ กับสหกรณ์

2.ขยายธรุ กิจเพม่ิ สนิ ค้ามาจำหนา่ ยใหห้ ลากหลาย

1. เพิ่มประสทิ ธภิ าพการระดมทุนภายใน เช่น
โครงการระดมทุนดว้ ยการรวบรวมขา้ วเปลอื ก จัดให้

6 สหกรณเ์ พอื่ การเกษตร 28-ม.ี ค.- มเี งนิ รับฝากประจำ
รักถิ่นเกดิ จำกดั 65 15 คน 4 1 3 4 2.ขยายธุรกิจการจัดหาสินคา้ มาจำหนา่ ยให้

หลากหลายครบครัน
3.ส่งเสริมอาชพี สรา้ งรายได้ให้กับสมาชกิ เชน่ ปลกู
แตงโม

1. เพม่ิ ประสิทธภิ าพการควบคุมภายใน โดยการ

ประเมนิ ตนเองเบื้องตน้ และจดั ทำคำส่ังมอบหมาย

7 กล่มุ เกษตรกรทำนา 22-มี.ค.- 15 คน 4 4 2 4 ผู้รบั ผิดชอบ ตดิ ตามผลการดำเนนิ งานให้ทนั
เกาะแกว้ 65 ระยะเวลา และเปน็ ปจั จบุ ัน 2. สง่ เสรมิ อาชพี

สมาชกิ สร้างรายได้ โดยการนำหลักปรัชญา

เศรษฐกิจพอเพยี งมาประยกุ ต์ใช้

 ส่งเสริมและพฒั นาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็ง 7

สหกรณ์ภาค วัน/เดอื น/ปี จำนวน เกณฑท์ ีจ่ ะยกระดบั แนวทางในการดำเนนิ การแกไ้ ข
ท่ี การเกษตร/กลมุ่ ทจี่ ัดประชมุ ผูเ้ ข้า ชั้น
23-มี.ค.- ประชุม 1. เพม่ิ ประสทิ ธภิ าพการควบคุมภายใน โดยการ
เกษตรกร 15 คน ข้อ ข้อ ข้อ ขอ้ ประเมินตนเองเบอ้ื งตน้ และจดั ทำคำสงั่ มอบหมาย
65 1234 ผรู้ บั ผดิ ชอบการเงินและบญั ชีออกจากกนั
8 กล่มุ เกษตรกรทำสวน 15 คน 4124 2. ผตู้ รวจสอบกจิ การรายงานผลการเขา้ ตรวจเปน็
ยางพาราคำพองุ 24-มี.ค.- ลายลักษณ์อกั ษร
65 15 คน 4224 1. เพิม่ ประสิทธภิ าพการควบคุมภายใน โดยการ
9 กล่มุ เกษตรกรผ้เู ล้ียง ประเมนิ ตนเองเบอ้ื งตน้ และจดั ทำคำสัง่ มอบหมาย
สตั ว์โหรา 25-มี.ค.- 0014 ผ้รู บั ผิดชอบการเงนิ และบัญชีออกจากกนั
65 2. ผ้ตู รวจสอบกจิ การรายงานผลการเข้าตรวจเปน็
10 สหกรณก์ ารเกษตร ลายลกั ษณอ์ กั ษร
หนองฮี จำกัด 1. สำรวจขอ้ มลู สมาชกิ จากทะเบียนสมาชิกและ
ทะเบยี นลกู หน้ี เพอื่ ใหท้ ราบจำนวนสมาชกิ ท่มี ี
ตวั ตน ไม่มตี ัวตน
2. แยกอายลุ ูกหนเ้ี พอ่ื การวางแผนการดำเนนิ การ
ติดตามเรง่ รดั หนคี้ า้ งชำระ ตามกระบวนการ
ดำเนนิ การทางกฎหมาย
3. ตดิ ตามหนีค้ ้างชำระโดยคณะกรรมการ และ
รายงานผลการดำเนินการผ่านนทป่ี ระชมุ
ประจำเดือน เพอื่ รบั ทราบปัญหาของสมาชิก พรอ้ ม
ทงั้ ใหค้ ณะกรรมการบนั ทกึ ปากคำของสมาชกิ ทขี่ อ
ผ่อนผนั การพกั ชำระหนตี้ ลอดจนปัญหาอปุ สรรคใน
การชำระหนน้ี

ตารางท่ี 3 ผลการดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและ

กลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแขง็ ” ครง้ั ท่ี 2

จำนวนผู้

ที่ สหกรณ์ภาคการเกษตร/ วนั /เดอื น/ปี เขา้ ความกา้ วหน้าในการดำเนินการ ปญั หาอุปสรรค
กลมุ่ เกษตรกร ประชมุ

ทีจ่ ดั ประชมุ (คน)

สหกรณ์การเกษตรเกษตร 13-ม.ิ ย.- 12 คน 1. สหกรณม์ โี ครงการสง่ เสรมิ อาชีพสรา้ ง 1. ภาวะเศรษฐกจิ โรคตดิ ต่อ

วสิ ยั จำกดั 65 รายได้ให้กับสมาชกิ "โครงการเปลีย่ นห น้ำมันแพง ปยุ๋ แพง ในขณะท่ี

ดนิ ให้เป็นหญ้า เปล่ียนหญ้าใหเ้ ปน็ เนอ้ื ราคาผลผลติ ตำ่ สง่ ผลให้สมาชกิ

เปล่ียนเนือ้ ใหเ้ ป็นเงิน" ไมส่ ามารถส่งชำระหน้ีได้ตาม

หนด 2. สหกรณ์แบบรับภาระ

ต้นทุนคงที่ ค่าเสือ่ มในสินทรัพย์

ถาวร ในขณะทีผ่ ลตอบแทนต่อ

สนิ ทรัพยไ์ ม่ผนั แปรไปในทศิ ทาง

1 เดียวกนั

สหกรณ์รกั ษแ์ มบ่ ้านร้อยเอด็ 10-ม.ิ ย.- 10 คน 1. โครงการสง่ เสรมิ อาชพี สรา้ งรายได้ 1. ภาวะเศรษฐกิจ โรคติดต่อ

จำกัด 65 ใหก้ บั สมาชิก โครงการทำธูปหอม ธปู ไล่ นำ้ มนั แพง ปยุ๋ แพง ในขณะท่ี

ยงุ พรมเช็ดเท้า สม้ เหด็ เป็นตน้ ราคาผลผลิตตำ่ ส่งผลให้สมาชกิ

ไมส่ ามารถสง่ ชำระหน้ีได้ตาม

2 หนด

 ส่งเสริมและพฒั นาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลมุ่ เกษตรกรให้มีความเข้มแขง็ 8

ที่ สหกรณภ์ าคการเกษตร/ วนั /เดือน/ปี จำนวนผู้ ความกา้ วหนา้ ในการดำเนนิ การ ปญั หาอปุ สรรค
กลุ่มเกษตรกร ทีจ่ ัดประชมุ เข้า
14-มิ.ย.- ประชมุ 1. สหกรณส์ ามารถยกระดับผลการจดั 1. ภาวะเศรษฐกจิ โรคติดต่อ
3 สหกรณ์การเกษตรปฏริ ปู (คน) ชัน้ คณุ ภาพการควบคมุ ภายในจากระดบั นำ้ มันแพง ปยุ๋ แพง ในขณะที่
ทดี่ นิ เกษตรวสิ ยั หนึ่ง จำกดั 65 12 คน พอใชเ้ ปน็ ระดับดี 2. สหกรณ์มีโครงการ ราคาผลผลิตตำ่ สง่ ผลให้สมาชิก
ส่งเสรมิ การเล้ยี งววั เพอื่ ตอ่ ยอด ไมส่ ามารถส่งชำระหน้ีได้ตาม
สหกรณ์การเกษตรปฏิรปู 15-มิ.ย.- 12 คน โครงการขวี้ ัว ลดตน้ ทนุ ผลติ ปยุ๋ ใช้เอง หนด
ทด่ี นิ สวุ รรณภูมสิ อง จำกัด 65 เพือ่ ปลกู หญา้ และขายให้กับผูเ้ ล้ียงววั อกี
ทีนงึ 1. ภาวะเศรษฐกิจ โรคตดิ ต่อ
นำ้ มนั แพง ปยุ๋ แพง ในขณะท่ี
1. สหกรณ์มีโครงการปรับปรุงระบบ ราคาผลผลิตตำ่ ส่งผลใหส้ มาชิก
สารสนเทศของสหกรณ์ ทัง้ กระบวนงาน ไม่สามารถส่งชำระหน้ไี ดต้ าม
เพอ่ื เพ่ิมขีดความสามารถในการ หนด
ให้บรกิ ารสมาชิก 2. โครงการสง่ เสริม
อาชีพสรา้ งรายไดใ้ ห้กบั สมาชิก ทอผ้าสา
เกต "สมาชกิ ชว่ ยทอ สหกรณ์ชว่ ยขาย"

4 16-ม.ิ ย.- 12 คน 1. สหกรณส์ ามารถเพ่ิมประสทิ ธิภาพ 1. ภาวะเศรษฐกจิ โรคตดิ ตอ่
65 16 คน การใหบ้ รกิ ารสมาชิกได้มากกวา่ รอ้ ยละ น้ำมนั แพง ปยุ๋ แพง ในขณะท่ี
5 สหกรณ์การเกษตรโพธ์ชิ ัย 70 2. โครงการส่งเสรมิ อาชีพสง่ เสริม ราคาผลผลิตตำ่ ส่งผลให้สมาชกิ
จำกดั 17-มิ.ย.- การเกษตรแบบผสมผสาน 3. โครงการ ไมส่ ามารถส่งชำระหน้ไี ด้ตาม
65 อบรมให้ความรู้แก่สมาชกิ และ หนด
สหกรณเ์ พอื่ การเกษตรรัก คณะกรรมการ 4. โครงการสง่ เสรมิ
ถิ่นเกดิ จำกัด 20-มิ.ย.- อาชพี จกั สาน "สมาชกิ ชว่ ยสาน สหกรณ์ 1. ภาวะเศรษฐกิจ โรคตดิ ต่อ
65 ชว่ ยขาย" น้ำมนั แพง ปยุ๋ แพง ในขณะท่ี
6 ราคาผลผลิตต่ำ ส่งผลให้สมาชิก
กลุ่มเกษตรกรทำนาเกาะ 16-มิ.ย.- 1. สหกรณ์มีโครงการระดมทุนดว้ ย ไม่สามารถสง่ ชำระหนไ้ี ดต้ าม
แก้ว 65 ข้าวเปลอื ก 2. สหกรณส์ ง่ เสรมิ อาชีพ หนด
สรา้ งรายได้ใหก้ ับสมาชิก เช่นการเล้ยี งไก่
7 ไข่ เล้ียงเป็ด ปลกู เหด็ ฟาง ปลกู แตงโม
กลุ่มเกษตรกรทำสวน และเลี้ยงววั
ยางพาราคำพองุ
14 คน 1. กล่มุ เกษตรกรสง่ เสรมิ อาชพี สมาชกิ 1. คณะกรรมการขาดความรู้
13 คน ตามโครงการนอ้ มนำหลกั ปรชั ญา ความสามารถในการบรหิ ารงาน
เศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ 2. กลุ่ม และการบริหารจดั การ
เกษตรกรจดั ทำคำส่ังมอบหมายงานและ ทรัพยากรที่มีจำกดั
หนา้ ทกี่ ารเงินและบญั ชี
1. สมาชิกไม่ไดท้ ำธรุ กจิ รวบรวม
1. กลุม่ เกษตรกรส่งเสรมิ อาชีพสมาชกิ กบั กลมุ่ เกษตรกร ตามเปา้ หมาย
ตามโครงการนอ้ มนำหลกั ปรชั ญา ที่วางไว้ แตม่ กี ารขายให้พอ่ ค้า
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ 2. กลมุ่ คนกลาง ทำให้เกดิ ปัญหา
เกษตรกรจดั ทำคำสง่ั มอบหมายงานและ จดุ คุม้ ทนุ ของกลมุ่ เกษตรกร ใน
หน้าท่ีการเงินและบญั ชี 3. โครงการ การรบั ซือ้ และขายต่อรอบการ
ศึกษาดูงานการแปรรปู ยางพารา และ รวบรวม 2. คณะกรรมการขาด
กระบวนการบริหารงาน 4. จดั อบรม ความร้คู วามสามารถในการ
สมาชกิ ให้ทราบบทบาทหนา้ ทขี่ องตนเอง บรหิ ารงาน และการบริหาร
จัดการทรัพยากรท่ีมีจำกัด

8

 สง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเข้มแขง็ 9

จำนวนผู้

ท่ี สหกรณ์ภาคการเกษตร/ วนั /เดือน/ปี เขา้ ความกา้ วหนา้ ในการดำเนนิ การ ปัญหาอุปสรรค
กลมุ่ เกษตรกร ประชุม

ทีจ่ ัดประชมุ (คน)

กลุ่มเกษตรกรผู้เลีย้ งสัตว์ 21-มิ.ย.- 14 คน 1. กลมุ่ เกษตรกรส่งเสริมอาชีพสมาชิก 1. คณะกรรมการขาดความรู้
โหรา
65 ตามโครงการนอ้ มนำหลกั ปรัชญา ความสามารถในการบรหิ ารงาน

เศรษฐกจิ พอเพียงมาใช้ 2. กล่มุ และการบรหิ ารจัดการ

เกษตรกรจัดทำคำส่ังมอบหมายงานและ ทรพั ยากรท่มี ีจำกัด

หนา้ ท่ีการเงินและบัญชี
9

ตารางที่ 4 ผลการดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและ

กลมุ่ เกษตรกรให้มคี วามเขม้ แข็ง” ครัง้ ท่ี 2

วัน/เดอื น/ จำนวนผู้
เขา้
ที่ สหกรณภ์ าคการเกษตร/ ปี ประชมุ ความกา้ วหนา้ ในการดำเนินการ ปัญหาอุปสรรค
กลมุ่ เกษตรกร

ท่ีจัดประชมุ (คน)

1 สหกรณ์การเกษตร 23-พ.ค.- 11 คน 1. สหกรณย์ ังไมไ่ ด้จดั ประชมุ 1. สมาชกิ /ลกู หน้นี ดั เพอื่ ให้

หนองฮี จำกดั 65 คณะกรรมการ แตม่ กี ารปลอ่ ย คณะกรรมการ เพอ่ื จะชำระ

เงนิ กใู้ ห้กับสมาชิก ระหวา่ งเดอื น หนี้ แต่ไมส่ ามารถเรยี กเกบ็

เมษายน 2565 จำนวน 15 ราย ชำระหน้ีได้

เป็นเงนิ 300,000 บาท

2. ระหวา่ งเดือนเมษายน -

พฤษภาคม 2565 รับชำระหน้ี

เป็นเงิน 4,400 บาท

2. รับสมัครสมาชกิ เขา้ ใหม่

จำนวน 2 คน

3. สหกรณ์จดั ทำงบการเงนิ แล้ว

เสร็จส่งผสู้ อบบญั ชี มกี ำไรสทุ ธิ

13,635.11 บาท

 สง่ เสริมและพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็ง 10

ตารางที่ 5 ผลการดำเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ “ส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและ

กลุม่ เกษตรกรใหม้ ีความเข้มแข็ง” คร้ังที่ 2

วนั / จำนวนผู้

ที่ สหกรณ์ภาคการเกษตร/ เดอื น/ปี เข้า ผลการดำเนนิ การ ปญั หาอุปสรรค
กลุ่มเกษตรกร ท่ีจัด ประชุม

ประชมุ (คน)

1 สหกรณ์การเกษตรหนองฮี 23-ม.ิ ย.- 14 คน - สหกรณม์ กี ำไรสทุ ธิจากการ - สหกรณไ์ ม่มีสญั ญาเงินกกู้ ับสมาชิกท่ี

จำกัด 65 ดำเนินงาน แต่เป็นกำไรจากกนั เป็นลูกหนีเ้ งินก้คู ้างนาน มเี พยี งทะเบียน

ปรับปรุงทางบัญชี ทไ่ี ด้เกิดจาก คมุ ลกู หนีร้ ายตัว

รายได้รบั ของสหกรณ์ - ลูกหนี้เงินกู้สว่ นใหญเ่ ป็นหนข้ี าดอายุ

ความ

- แหง่ เงนิ ไหลเข้าของสหกรณม์ าจากการ

ตดิ ตามเรง่ รัดหนี้จากสมาชิก ซึ่งสมาชกิ

สว่ นใหญม่ ีเงนิ กกู้ บั สหกรณ์ไมม่ ากมาย

รายละเฉลย่ี 3,000 - 5,000 บาท ซ่งึ

สมาชกิ สง่ ชำระงวดละ 200 - 500 บาท

แต่สหกรณ์ไม่ได้รบั เขา้ มาในรูปของรายได้

ดอกเบ้ีย หรอื คา่ ปรับ เปน็ การรบั ชำระตน้

เงิน และสหกรณ์มคี า่ ใชจ้ ่ายในการติดตาม

เรง่ รดั หน้ีรอ้ ยละ 50 - 70 ของจำนวน

ต้นเงินทไี่ ด้รับชำระจากสมาชกิ ส่งผลให้

รายได้ท่ไี ด้รบั ไม่เพียงพอตอ่ รายจา่ ยท่ี

สหกรณ์ต้องจ่ายไป

ภาพกิจกรรม

ภาพที่ 3.1 ภาพท่ี 3.2

 ส่งเสริมและพฒั นาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกรให้มีความเข้มแขง็ 11

ภาพที่ 3.3 ภาพที่ 3.4

ภาพที่ 3.5 ภาพท่ี 3.6

ภาพท่ี 3.7 ภาพท่ี 3.8

 ส่งเสรมิ และพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลุม่ เกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็ง 12

บทที่ 4

สรุปผลและข้อเสนอแนะ

สรปุ ผล

เกณฑ์การประเมินความเข้มแขง็ สหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร 4 ด้าน ได้แก่
1. เกณฑท์ ่ี 1 ความสามารถในการให้บริการสมาชกิ (การมสี ว่ นร่วม) พบวา่
สหกรณ์ภาการเกษตร และกลุ่มเกษตรกร จำนวน 10 แห่ง มีความสมารถในการบริการ

สมาชิกส่วนใหญ่ได้ไม่น้อยกว่าร้อยละ 70 มีจำนวน 8 แห่งคิดเป็นร้อยละ 80 ของจำนวนสหกรณ์และ
กลุ่มเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ กลุ่มเกษตรกรมีความสามารถในการให้บริการสมาชิกได้ร้อยละ 60 –
69 จำนวน 1 แห่ง คิดเป็นร้อยละ 10 และมีสหกรณ์การเกษตรที่มีความสามารถในการให้บริการสมาชิก
ได้ต่ำกว่าร้อยละ 60 จำนวน 1แห่ง คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10 ของสหกรณ์ประเภทการเกษตรและกลมุ่ เกษตรกร
ท่เี ข้าร่วมโครงกการ

แสดงใหเ้ ห็นว่า สหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 80 สมาชกิ มีส่วน
ร่วมในการทำธุรกิจได้ร้อยละ 70 ขึ้นไป ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่เข้มแข็ง โดยสมาชิกมีส่วนร่วมทางธุรกิจกับ
สหกรณ์การเกษตรที่สำคัญ ได้แก่ ธุรกิจรับฝากเงิน ธุรกิจสินเชื่อ รวบวมผลผลิต และจัดหาสินค้ามา
จำหนา่ ย ตามลำดับ

สหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกรที่ให้บริการสมาชิกได้ต่ำกว่าร้อยละ 60 ของ
สมาชิกทงั้ หมด โดยสาเหตสุ ่วนใหญเ่ น่ืองจาก

1. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรที่มีทุนดำเนินงานน้อย ความสามารถในการก่อหนี้น้อย การ
ดำเนินงานมียอดขาดทุนสะสมจำนวนมาก ไม่สามารถให้บริการสมาชิกได้อย่างทั่วถึงและได้ตามความ
ต้องการของสมาชิก

2. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ดำเนินธุรกิจสินเชื่อ และประสบปัญหาด้านการ
บริหารจัดการสนิ เชอ่ื มีลูกหนีค้ ้างนานจำนวนมาก และไม่สามารถเรยี กเกบ็ หน้ีได้ จึงทำใหข้ าดสภาพคลอ่ ง

3. สหกรณ์/กลุ่มเกษตรกรโดยส่วนใหญ่ เป็นผู้สูงอายุ ชราภาพ ไม่สามารถทำการเกษตร
ไดแ้ ล้ว จึงไมม่ ารว่ มทำธุรกจิ กบั สหกรณ์

4. สหกรณ/์ กลมุ่ เกษตรกรสว่ นใหญ่ไม่ปรับปรุงทะเบียนสมาชิก จึงทำใหไ้ ม่ทราบจำนวน
สมาชิกท่มี ีตัวตนที่ชดั เจน (เช่น สมาชกิ ตาย ยา้ ยออกจากแดนดำเนินงาน)

2. เกณฑ์ที่ 2 ประสิทธิภาพในการดำเนนิ ธุรกิจ (อัตราส่วนทางการเงนิ ) พบว่า
สหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ จำนวน 5 แห่ง มีประสิทธิภาพในการ
ดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับต่ำกว่ามาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 50 และสหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกร
จำนวน 2 แห่ง มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับมาตรฐาน คิดเป็นร้อยละ 20 มีสหกรณ์
จำนวน 1 แห่ง มีประสิทธิภาพในการดำเนินธุรกิจอยู่ในระดับมั่นคงดี คิดเป็นร้อยละ 10 และ มีกลุ่ม
เกษตรกร จำนวน 1 แหง่ มีประสิทธภิ าพในการดำเนินธุรกจิ อยใู่ นระดบั มั่นคงดีมาก คิดเป็นรอ้ ยละ 10
แสดงให้เห็นค่า อัตราลูกหนี้ค้างชำระ เป็นอีกหนึ่งอัตราส่วนที่มีความสำคัญในการ
คำนวณค่าสัมประสิทธิเสถียรภาพทางการเงินของสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกร รวมทั้ง สินทรัพย์คงที่ที่ไม่
กอ่ ใหเ้ กดิ รายได้ ในสภาวะเศรษฐกจิ ที่ไมส่ ามาถส่งออกในช่วงระยะเวลาท่ีผ่านมา

 สง่ เสรมิ และพฒั นาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็ง 13

1. สหกรณ์การเกษตรและกลุ่มเกษตรกรส่วนใหญ่ มีอัตราหนี้ค้างชำระค่อนข้างสูง
เนื่องจากปญั หาสภาวะเศรษฐกจิ ในปัจจบุ ัน สง่ ผลให้สมาชิกไม่สามารถชำระหนี้ เม่ือธรุ กจิ หลกั ของสหกรณ์
การเกษตรและกลุ่มเกษตรกรสว่ นใหญเ่ ป็นธุรกจิ สนิ เชอ่ื อีกท้งั สมาชิกสหกรณ์การเกษตรและสมาชิกกลุ่ม
เกษตรกร มีหนา้ หลายทาง

2. สหกรณ์การเกษตรขนาดใหญ่ที่มีอุปกรณ์การตลาด แต่ไม่ได้ใช้ประโยชน์อย่างเต็ม
ประสิทธิภาพ ส่งผลใหอ้ ัตาส่วนผลตอบแทนต่อสนิ ทรัพยล์ ดลง กส็ ่งผลใหป้ ระสทิ ธิภาพในการดำเนินธุรกิจ
ลดลง อีกทงั้ เม่อื รายไดล้ ดลง ในขณะทค่ี ่าใช้จ่ายเทา่ เดิมหรือเพิ่มขน้ึ อัตราผลตอบแทนต่อทนุ หรือต่อส่วน
ของผ้ถู ือหุ้นกพ็ ลอยลดลงไปดว้ ย ลว้ นส่งผลตอ่ ประสิทธภิ าพในการดำเนินธุรกจิ

3. เกณฑป์ ระสิทธิภาพการจัดการองคก์ ร (ชัน้ คณุ ภาพการควบคมุ ภายใน) พบว่า
สหกรณ์การเกษตรที่มีประสิทธิภาพการจัดการองค์กร ระดับดี - ระดับดีมาก จำนวน 4
แห่ง คดิ เป็นรอ้ ยละ 57.14 สหกรณก์ ารเกษตรท่ีมปี ระสิทธิภาพการจดั การองค์กร ระดบั พอใช้ จำนวน 2
แห่ง คิดเป็นร้อยละ 28.57 สหกรณ์การเกษตรที่มีประสิทธิภาพการจัดการองค์กร ระดับปรับปรุง จำนน
วน 1 แหง่ คดิ เปน็ ร้อยละ 14.28 ของสหกรณท์ ี่เข้ารว่ มโครงการ
กลุ่มเกษตรกรมีประสิทธภิ าพการจัดการองค์กร ระดับพอใช้ จำนวน 3 แหง่ คิดเป็นร้อย
ละ 100 ของกล่มุ เกษตรกรทีเ่ ขา้ ร่วมโครงการ
แสดงให้เห็นว่า สหกรณ์การเกษตรส่วนใหญ่มีผลการประเมินการจัดชั้นคุณภาพการ
ควบคุมภายใน อยู่ในระดับดี - ระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 57.14 และกลุ่มเกษตรกรมีผลการประเมิน
การจัดช้ันคุณภาพการควบคุมภายในอยใู่ นระดบั พอใช้ รอ้ ยละ 100 ซงึ่ จุดกอ่ นนม้ี ีสาเหตุเน่ืองมาจาก
1. เป็นสหกรณ์การเกษตรขนาดเล็กและกลุ่มเกษตรกร ไม่มีเจ้าหน้าที่ประจำ การ
ปฏิบตั งิ านด้านการเงนิ และบญั ชี มกี ารแบ่งแยกหน้าทช่ี ดั เจน แตไ่ ม่ไดป้ ฏิบตั ิตามคำสัง่ ทมี่ อบหมาย
2. การจดั ทำบัญชแี ละเอกสารประกอบการบันทกึ บัญชี คณะกรรมการไม่สามารถจัดทำ
งบทดลอง หรืองบการเงินไดเ้ อง ตอ้ งอาศยั เจา้ หน้าท่จี ากสว่ นราชการชว่ ยเหลือ
3. สหกรณแ์ ละกลมุ่ เกษตรกรปฏบิ ัตงิ าน ไม่สอดคลอ้ งกบั ระเบียบที่กำหนดข้นึ ถือใช้ เช่น
การเก็บรักษาเงินสดในมือเกินกว่าระเบียบกำหนด ผู้ตรวจสอบกิจการไมไ่ ด้ทำหน้า หรือทำหน้าท่ีแต่ไม่ได้
รายงานเป็นลายลักษณ์อกั ษรต่อท่ีประชุมใหญ่
4. สหกรณ์ขนาดเล็กและกลุ่มเกษตรกรไม่มีที่ทำการเป็นของตนเอง ส่งผลใหก้ ารจัดเก็บ
เองสารไม่เป็นระเบยี บ ยากตอ่ การค้นหา หรือเรยี กตรวจสอบ

5. การจัดทำเอกสารประกอบการจดั ทำบญั ชีไม่เรยี บรอ้ ย ไม่เป็นไปตามระเบียบ
นายทะเบียนสหกรณ์

4. เกณฑป์ ระสิทธภิ าพการบริหาร (ข้อบกพร่อง) พบว่า
- สหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรท่ีเข้ารว่ มโครงการ จำนวน 10 แหง่ รอ้ ยละ 100 ของสหกรณ์
และกลุม่ เกษตรกร ไมม่ ีข้อบกพรอ่ งทางการเงนิ และบญั ชีหรอื อ่ืนๆ

 สง่ เสรมิ และพัฒนาสหกรณ์ภาคการเกษตรและกลุ่มเกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็ง 14

แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณแ์ ละกลุ่มเกษตรกรให้มีความเข้มแข็ง จากชน้ั 2 สู่ ชั้น 1 และ

ยกระดับชน้ั จาก ชัน้ 3 สู่ ชั้น 2

ตารางที่ 6 แนวทางการส่งเสริมและพัฒนาสหกรณ์และกลุ่มเกษตรกรใหม้ ีความเข้มแข็ง จากชั้น 2 สู่ ชัน้

1 และยกระดับชน้ั จาก ชั้น 3 สู่ ช้ัน 2

ท่ี สหกรณภ์ าคการเกษตร/ เกณฑ์ที่จะยกระดบั ชัน้ แนวทางในการดำเนนิ การแกไ้ ข กิจกรรม/โครงการ ของสหกรณแ์ ละ
กล่มุ เกษตรกร กลมุ่ เกษตรกร
ข้อ ขอ้ ขอ้ ขอ้
1234

1. เพมิ่ ประสทิ ธภิ าพในการการ 1. สหกรณ์มโี ครงการสง่ เสรมิ อาชีพ

1 สหกรณก์ ารเกษตรเกษตร 4 1 4 4 ตดิ ตามเร่งรดั หน้จี ากสมาชกิ สรา้ งรายไดใ้ ห้กับสมาชิก "โครงการ
วสิ ยั จำกดั เปลยี่ นหดนิ ให้เป็นหญ้า เปลี่ยนญา้

ให้เป็นเนือ้ เปลี่ยนเนอ้ื ให้เปน็ เงิน"

1. เพิ่มประสทิ ธิภาพในการการ 1. โครงการสง่ เสริมอาชพี สร้าง

2 สหกรณร์ กั ษแ์ ม่บ้าน ติดตามเร่งรัดหน้จี ากสมาชิก 2. รายได้ใหก้ ับสมาชกิ โครงการทำธูป
รอ้ ยเอ็ด จำกดั 4 2 2 4 สง่ เสรมิ อาชพี เพื่อสร้างรายได้เพมิ่ หอม ธปู ไลย่ งุ พรมเชด็ เทา้ สม้ เห็ด
เป็นต้น
ใหก้ ับสมาชกิ เชน่ จกั สาน พรมเช็ด

เท้า เลี้ยงไก่ไข่ ปลาสม้ ฯลฯ

1. เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุม 1. สหกรณ์สามารถยกระดับผลการ

ภายใน โดยการประเมินตนเอง จัดช้นั คณุ ภาพการควบคุมภายในจาก

สหกรณ์การเกษตรปฏิรูป เบื้องต้น และจัดทำคำสั่งมอบหมาย ระดับพอใชเ้ ปน็ ระดบั ดี 2. สหกรณ์มี

3 ท่ีดนิ เกษตรวิสยั หนึ่ง 4 3 2 4 ผ ู ้ ร ั บ ผ ิ ด ช อ บ ต ิ ด ต า ม ผ ล ก า ร โครงการส่งเสริมการเลี้ยงวัว เพื่อต่อ

จำกัด ดำเนินงานให้ทันระยะเวลา และเป็น ยอด โครงการข้ีวัว ลดตน้ ทนุ ผลติ ปุย๋

ปัจจุบัน 2. ติดตามการเร่งรัดหน้ี ใช้เองเพื่อปลูกหญ้า และขายให้กบั ผู้

สมาชิกไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 90 เลยี้ งวัวอกี ทนี งึ

1. สหกรณ์มีโครงการปรับปรุงระบบ

ส า ร ส น เ ท ศ ข อ ง ส ห ก ร ณ์ ท้ั ง

1. เพิ่มประสิทธิภาพการควบคุม ก ร ะ บ ว น ง า น เ พ ื ่ อ เ พ ิ ่ ม ขี ด

4 สหกรณ์การเกษตรปฏริ ูป 4 1 3 4 ภายใน โดยการประเมินตนเอง ความสามารถในการให้บริการ
ทีด่ นิ สวุ รรณภมู ิสอง จำกดั เบื้องต้น ติดตามผลการดำเนินงานให้ สมาชิก 2. โครงการส่งเสริมอาชีพ

ทนั ระยะเวลา และเป็นปัจจุบนั สร้างรายได้ให้กับสมาชิก ทอผ้าสา

2. ติดตามการเร่งรัดหนี้สมาชิกไม่ เกต "สมาชิกช่วยทอ สหกรณ์ช่วย

นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 90 ขาย"

1. สหกรณ์สามารถเพิม่ ประสทิ ธิภาพ

การให้บริการสมาชิกได้มากกว่าร้อย

ละ 70 2. โครงการส่งเสริมอาชีพ

5 สหกรณก์ ารเกษตรโพธิ์ชยั 2 2 3 4 1. เพิ่มประสิทธิภาพการบริการ ส่งเสรมิ การเกษตรแบบผสมผสาน 3.
จำกัด สมาชิก ให้มีส่วนร่วมกับการดำเนิน โครงการอบรมให้ความรู้แก่สมาชิก

ธรุ กิจกับสหกรณ์ และคณะกรรมการ 4. โครงการ

2.ขยายธรุ กิจเพิม่ สินค้ามาจำหนา่ ยให้ ส่งเสริมอาชีพจักสาน "สมาชิกช่วย

หลากหลาย สาน สหกรณ์ชว่ ยขาย"

1. เพ่มิ ประสิทธภิ าพการระดมทุน 1. สหกรณ์มีโครงการระดมทนุ ด้วย

ภายใน เชน่ โครงการระดมทนุ ดว้ ย ขา้ วเปลอื ก 2. สหกรณ์ส่งเสรมิ อาชพี

การรวบรวมขา้ วเปลอื ก จดั ให้มเี งนิ สร้างรายได้ให้กบั สมาชกิ เช่นการ

6 สหกรณเ์ พื่อการเกษตรรกั 4 1 3 4 รับฝากประจำ เลยี้ งไก่ไข่ เล้ยี งเป็ด ปลกู เหด็ ฟาง
ถิ่นเกดิ จำกดั 2.ขยายธรุ กิจการจัดหาสินคา้ มา ปลกู แตงโม และเลย้ี งววั

จำหนา่ ยให้หลากหลายครบครนั

3.สง่ เสรมิ อาชีพสรา้ งรายไดใ้ หก้ ับ

สมาชกิ เชน่ ปลกู แตงโม

 สง่ เสริมและพัฒนาสหกรณภ์ าคการเกษตรและกล่มุ เกษตรกรให้มคี วามเข้มแข็ง 15

ท่ี สหกรณ์ภาคการเกษตร/ เกณฑท์ ่จี ะยกระดบั ช้นั แนวทางในการดำเนนิ การแกไ้ ข กจิ กรรม/โครงการ ของสหกรณแ์ ละ
กล่มุ เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร
ข้อ ขอ้ ข้อ ขอ้
1234

1. เพิ่มประสิทธภิ าพการควบคมุ 1. กลุม่ เกษตรกรสง่ เสริมอาชีพ

ภายใน โดยการประเมินตนเอง สมาชิกตามโครงการน้อมนำหลัก

เบอื้ งต้น และจัดทำคำส่ังมอบหมาย ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ 2.

7 กลมุ่ เกษตรกรทำนาเกาะ 4 4 2 4 ผรู้ บั ผิดชอบ ติดตามผลการ กลมุ่ เกษตรกรจัดทำคำส่งั มอบหมาย
แกว้ ดำเนนิ งานให้ทันระยะเวลา และเปน็ งานและหน้าทก่ี ารเงินและบญั ชี

ปจั จบุ ัน 2. สง่ เสรมิ อาชพี สมาชกิ

สร้างรายได้ โดยการนำหลกั ปรัชญา

เศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกต์ใช้

1. กลุ่มเกษตรกรสง่ เสรมิ อาชีพ

สมาชกิ ตามโครงการน้อมนำหลกั

1. เพิม่ ประสิทธภิ าพการควบคมุ ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใช้ 2.

8 กลมุ่ เกษตรกรทำสวน 41 ภายใน โดยการประเมินตนเอง กลุ่มเกษตรกรจดั ทำคำสง่ั มอบหมาย
ยางพาราคำพองุ 2 4 เบ้อื งต้น และจัดทำคำสงั่ มอบหมาย งานและหนา้ ทกี่ ารเงนิ และบญั ชี 3.
โครงการศึกษาดูงานการแปรรปู
ผ้รู บั ผดิ ชอบการเงนิ และบญั ชีออก

จากกนั ยางพารา และกระบวนการ

2. ผูต้ รวจสอบกจิ การรายงานผลการ บริหารงาน 4. จดั อบรมสมาชกิ ให้

เขา้ ตรวจเป็นลายลกั ษณอ์ กั ษร ทราบบทบาทหนา้ ที่ของตนเอง

1. เพิ่มประสิทธภิ าพการควบคมุ 1. กลุม่ เกษตรกรสง่ เสริมอาชพี

ภายใน โดยการประเมินตนเอง สมาชิกตามโครงการนอ้ มนำหลัก

9 กลมุ่ เกษตรกรผเู้ ลยี้ งสัตว์ เบอ้ื งต้น และจัดทำคำส่งั มอบหมาย ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาใช้ 2.
โหรา 4 2 2 4 ผรู้ บั ผิดชอบการเงินและบญั ชีออก กลมุ่ เกษตรกรจัดทำคำสง่ั มอบหมาย
งานและหน้าทก่ี ารเงินและบัญชี
จากกนั

2. ผตู้ รวจสอบกจิ การรายงานผลการ

เขา้ ตรวจเปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษร

1. สำรวจขอ้ มูลสมาชิกจากทะเบยี น 1. ผา่ ตัดลกู หนี้ สอบทานหน้ี 100

สมาชกิ และทะเบยี นลูกหน้ี เพื่อให้ %

ทราบจำนวนสมาชิกทม่ี ตี วั ตน ไม่มี 2. ตรวจสอบทะเบยี นสมาชกิ เพ่ือ

ตวั ตน ยนื ยนั ตวั ตนของสมาชิกท่ีอยู่ในพื้นท่ี

2. แยกอายลุ ูกหนีเ้ พอื่ การวาง 3. จดั อบรมใหค้ วามรสู้ มาชิกและ

แผนการดำเนินการติดตามเร่งรัดหน้ี คณะกรรมการ

คา้ งชำระ ตามกระบวนการ

10 สหกรณก์ ารเกษตรหนองฮี 0 0 1 4 ดำเนนิ การทางกฎหมาย
จำกัด 3. ตดิ ตามหน้คี ้างชำระโดย

คณะกรรมการ และรายงานผลการ

ดำเนินการผ่านนท่ปี ระชุม

ประจำเดอื น เพอื่ รบั ทราบปญั หาของ

สมาชิก พรอ้ มท้ังให้คณะกรรมการ

บันทึกปากคำของสมาชิกทขี่ อผ่อนผนั

การพักชำระหน้ตี ลอดจนปญั หา

อุปสรรคในการชำระหนน้ี


Click to View FlipBook Version