The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by piyaporn_su, 2021-02-22 03:38:33

สรุปการเรียนรู้บาดเจ็บระบบประสาท

นางสาวปิยพร สุดบุรินทร์

สรุปการเรียนรู้
เร่ือง การพยาบาลผู้ป่ วยบาดเจ็บระบบประสาท

วชิ า NU112204 :: การพยาบาลสุขภาพผู้ใหญ่ 2

จัดทาโดย
นางสาวปิ ยพร สุดบุรินทร์ รหสั นักศึกษา 613230033-0

นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ ช้ันปี ท่ี 3

เสนอ
รองศาตราจารย์ ดร.ชัจคเณค์ แพรขาว

มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น

การพยาบาลผ้ปู ่ วยทมี่ ปี ัญหาระบบประสาท

การประเมินทางระบบประสาท

การประเมินทางระบบประสาท การประเมินทางระบบประสาทมีส่วนประกอบที่สาคญั 3 ส่วน ไดแ้ ก่ การซัก
ประวตั ิ

การตรวจร่างกาย - Mental Status การพดู และภาษา การตรวจประสาทสมอง (Cranial Nerve Function) การ
เคลื่อนไหว (Motor function) การตรวจการทางานของการรับความรู้สึก (Sensory function) การตรวจรีเฟลก็ ซ์
(Reflex function)

การตรวจพเิ ศษทางห้องปฏิบัตกิ าร-การเอก็ ซเรยก์ ะโหลกศีรษะ (Skull x-ray) การเอก็ ซเรยก์ ระดูกสันหลงั
(Spine x-ray) การเอก็ ซเรยค์ อมพิวเตอร์ (Computed Tomography หรือ CT) Magnetic Resonance Imaging
(MRI)

ปัญหาทพี่ บบ่อยของผ้ปู ่ วยท่ีมีความผดิ ปกตขิ องระบบประสาท

สาเหตุของการรู้สึกตวั เปล่ียนแปลงน้ีอาจเกิดจากความผิดปกติของเมตาบอลิก การลม้ เหลวของระบบ
การ ทางานของอวยั วะท้งั ระบบ ไดร้ ับสารพิษ การติดเช้ือ ความไมส่ มดุลของน้าและอิเล็คโทรลยั ท

อาการและอาการแสดง รู้สึกตวั เตม็ ท่ี (Full consciousness) สับสน (Confusion) Delirium ผปู้ ่ วยจะซึม ไม่
ตอบสนองต่อการกระตุน้ ต่รีเฟล็กซ์ตา่ งๆ เช่น corneal, papillary, gag และ tendon reflexes ยงั ดีอยู่ ไมม่ ีการ
ตอบสนองต่อการกระตุน้ ความเจบ็ ปวด

การประเมิน ส่ิงแรกท่ีประเมินผปู้ ่ วยไมร่ ู้สึกตวั นิยมใชเ้ คร่ืองมือในการประเมินเรียกวา่ Glasgow Coma Scale
(GCS) คะแนนต่าสุดจะเท่ากบั 3 สูงสุดเทา่ กบั 15 แตถ่ า้ ประเมิน แลว้ คะแนนรวมได้ 7 หรือต่ากวา่ แสดงวา่ ผปู้ ่ วย
coma

ปวดศีรษะ (Headache)

พยาธิสรีรวทิ ยา อาการปวดศรีษะอาจจะเกิดจากพยาธิสภาพในสมอง ความเครียด ความตึงตวั หรือหดเกร็งของ
กลา้ มเน้ือ หรือหลายสาเหตุร่วมกนั ผปู้ ่ วยที่บ่นปวดศีรษะหลายรายไม่ไดม้ ีพยาธิสภาพในสมอง

อาการและอาการแสดงข้ึนอยกู่ บั ชนิดของอาการปวดศีรษะท่ีพบมากไดแ้ ก่ การปวดศีรษะท่ีเป็นผลมาจากหลอด
เลือด (ไดแ้ ก่ cluster และ migraine) และจากความตึงเครียด

- Cluster headaches: เป็นการปวดศีรษะอนั เน่ืองมาจากหลอดเลือด อาจเกิดจากอาการปวดศีรษะไดถ้ ึง 8 คร้ังตอ่
วนั หรือ 30 คร้ังในแตล่ ะสัปดาห์

- Migraine headaches: เป็ นการปวดศีรษะท่ีเกิดจากจากหลอดเลือด มกั ปวดศีรษะขา้ งเดียว อาจมีอาการคล่ืนไส้
อาเจียน กลวั แสง ตามวั มองภาพไมช่ ดั และคดั จมูกร่วมดว้ ยก็ได้

- Tension headaches อาการวิงเวยี น กดเจบ็ บริเวณคอและหนงั ศีรษะท้งั 2 ขา้ ง ความวิตก กงั วลและความตึง
เครียดมกั จะเป็ นสาเหตุของการเกิดการปวดศีรษะชนิดน

การรักษา ในผปู้ ่ วยท่ีเป็ น cluster หรือ migraine ใหย้ าควบกนั หลายตวั เช่น sumatriptan (Imitrex),
isometheptene mucate (Midrin), ergotamine tartrate (gynergen)

ในผปู้ ่ วย Tension หรือ Muscle contraction headaches มกั ใหก้ ารรักษาหลายอยา่ งร่วมกนั เช่น ลด ความกงั วล
การลดความเครียดและใหย้ า เช่น ยาแกป้ วด ยานอนหลบั ไดแ้ ก่ diazepam, Phenobarbital ใช้ Biofeedbach
technigue ในการช่วยลดความวติ กกงั วลและความตึงเครียด

ความดนั ภายในกะโหลกศีรษะสูง (Increased Intracranial Pressure: ICCP)

สาเหตุของการเกิดภาวะความดนั ในกระโหลกศีรษะสูง

1. มีการเพมิ่ ขนาดของสมองจาก
2. มีการเพิ่มปริมาณเลือดในสมอง จากภาวะออกซิเจนต่าในเลือด (hypoxemia) คาร์บอนไดออกไซดส์ ูงใน

เลือด (Hypercapnia) และ aneurysm
3. การเพ่ิมปริมาณน้าหล่อสมองและไขสันหลงั (CSF)

อาการและอาการแสดง 1)อาการและอาการแสดงท่ีเกิดจากความดนั ในกะโหลกศีรษะสูง 2) มีการเปล่ียนแปลง
ระดบั ความรู้สึก เป็นอาการแรกของการเกิด IICP จะบอกถึงการลดลง ของปริมาณเลือดไหลเวยี นในสมอง
(CBF) ในส่วนของ Reticular activating system 3) มีการเปล่ียนแปลงสญั ญาณชีพ 4) Pupillary signs 5)
Papilledema 6)ปวดศีรษะอาเจียนหรือสะอึก

การรักษาภาวะความดนั ในกะโหลกศีรษะสูง 1.) การรักษาดว้ ยยา ไดแ้ ก่ osmotic diuretics glucocorticoids,
anticonvulsant , barbiturate , Dexamethasone 2.) การผา่ ตดั เพอ่ื ลดส่ิงที่เบียดสมอง

ความผดิ ปกตขิ องระบบมอเตอร์(Motor System Dysfunction)

ความผดิ ปกตขิ องการเคล่ือนไหว Tremor เป็นการเคลื่อนไหวที่เป็นจงั หวะของแขน ขา หรือศีรษะ ถา้ เกิดขณะ
พกั กเ็ รียก resting tremor ถา้ เกิดขณะต้งั ใจเคลื่อนไหวเรียก intention tremor Dystonia เป็นการเคลื่อนไหวโดยไม่
ต้งั ใจเป็นแบบ twisting movement ของลาตวั มีลกั ษณะศีรษะเอียง ไปดา้ นขา้ งทาใหก้ ลา้ มเน้ือคอหดเกร็ง การ
เคล่ือนไหวแบบน้ีจะเกิดกบั กลา้ มเน้ือมดั ใหญ่ Dyskinesia อาจเกิดจากฤทธ์ิไมพ่ งึ ประสงคข์ องยาท่ีรักษาทางจิต
หรือ phenothiazines เป็นลกั ษณะ การเคล่ือนไหวโดยไม่ต้งั ใจของหนา้ ลิ้น ลาตวั และ แขน ขา

ความผดิ ปกตขิ องระบบการรับความรู้สึก (Sensory system dysfunction)

ความผดิ ปกติของการได้ยนิ เช่น ความสามารถในการไดย้ นิ ลดลง ซ่ึงมีหลายระดบั ต้งั แตเ่ ลก็ นอ้ ยถึงสูญเสีย การ
ไดย้ นิ ส่วนใหญ่เกิดจากเน้ืองอก การใหย้ าท่ีทาใหเ้ กิดพิษที่หู บาดเจบ็ ศีรษะ เยอื่ หุม้ สมองอกั เสบ โดยเฉพาะ เน้ือ
งอกท่ีประสาทสมองคูท่ ี่ 8 (acoustic neuromas)

การรับความรู้สึกเจ็บปวด อุณหภูมิ สัมผสั และข้อ เกิดจากความผดิ ปกติของการส่งสญั ญาณ ประสาทตาม
เส้นทางเดินประสาทของไขสนั หลงั และสมองท่ีเก่ียวขอ้ งกบั การรับความรู้สึกโดยเฉพาะ sensory area ที่อยู่
บริเวณ parietal lobe ซ่ึงมกั มีปัญหามาจากการไดร้ ับบาดเจบ็ เน้ืองอก เลือดออก หรือความเส่ือม

การชัก (Seizure disorders)

พยาธิสรีรวทิ ยา อาการชกั เกิดจากความผดิ ปกติของสมองส่วนเปลือกสมอง (cortex) ปัจจยั การเกิดดงั กล่าว อาจ
มาจาก พนั ธุกรรม ความไม่สมดุลของเมตาบอลิก หรืออิเล็คโทรลยั ท์ การติดเช้ือ การบาดเจบ็ ที่ศีรษะ โรคหลอด
เลือดสมอง ความผดิ ปกติของสมองแตก่ าเนิด เน้ืองอก ความเส่ือม และช่วงของการเลิกแอลกอฮอล์ หรือ
barbitulate

อาการและอาการแสดง ลกั ษณะอาการชกั จะข้ึนกบั บริเวณของสมองท่ีมีความผิดปกติของสัญญาณไฟฟ้า จานวน
เซลลป์ ระสาทที่ ถูกกระตุน้ และการกระจายของไฟฟ้าที่ผดิ ปกติ การชกั โดยทว่ั ไปแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ การชกั
เฉพาะส่วน (partial หรือ focal seizure) และการชกั แบบ กระจายทวั่ ไป (generalized seizure) ซ่ึงเป็ นอาการชกั ที่
มีกระแสไฟฟ้าเกิดข้ึน

การรักษา รักษาตามสาเหตุ เช่น มีส่ิงกินท่ี หรือมีปัญหาจากเมตาบอลิก หรืออิเลค็ โทรลยั ท์ การติดเช้ือ ใหย้ าตา้ น
ชกั ยาตา้ นชกั ท่ีใชใ้ นการชกั แต่ละชนิดแตกต่างกนั ออกไป เช่น phenytoin, primidole (Mysoline),
carbamazepine, divalproex (Depakote) และ Phenobarbital

ภาวะสมองตาย (Brain death)ป็นภาวะท่ีมีการสูญเสียการทาหนา้ ที่ของสมองอยา่ งไมส่ ามารถกลบั มา
คืนได้ ซ่ึงหมายถึงไม่มี การทางานของสมองเลย และกา้ นสมอง (brain stem) ก็ไมส่ ามารถควบคุมการทางาน
ของหวั ใจหลอดเลือดและ การหายใจได้ หวั ใจทางานลม้ เหลวมากกวา่ หน่ึงชว่ั โมงหรือเป็นสัปดาห์

โรคทพี่ บบ่อยในระบบประสาท

การพยาบาลผู้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง

อาการในระยะเฉียบพลนั 1. การมองเห็นผดิ ปกติ เช่น ตามวั มองเห็นภาพซอ้ น หรือตาขา้ งใดขา้ งหน่ึงมองไม่
เห็นทนั ที 2.) การอ่อนแรงของกลา้ มเน้ือ เช่น มีอาการชาหรืออ่อนแรงแขนขาหรือใบหนา้ ส่วนใหญ่มกั เป็นที่
ร่างกายเพยี งซีกใดซีกหน่ึง 3.) การพูดผดิ ปกติ เช่น พูดลาบาก พดู ตะกกุ ตะกะหรือพูดไม่ไดห้ รือไมเ่ ขา้ ใจคาพูด
4.) มีอาการปวดศีรษะอยา่ งรุนแรงทนั ทีโดยไมม่ ีสาเหตุชดั เจน
5.)เวยี นศีรษะ มีอาการมึนงง บา้ นหมุน เดินเซ เสียการทรงตวั ลม้ ง่าย

อาการที่พน้ ระยะเฉียบพลนั 1. ผลกระทบทางดา้ นร่างกาย ผปู้ ่ วยจะมีอาการออ่ นแรงและอาจมีการหดเกร็งของ
กลา้ มเน้ือดา้ นที่ อ่อนแรง ทาใหไ้ ม่สามารถเคล่ือนไหวได้ ส่งผลใหเ้ กิดขอ้ ติดแขง็
2. การส่ือภาษา มกั พบวา่ ผปู้ ่ วยจานวนมากไม่สามารถอา่ น เขียน ตีความหมายหรือไมส่ ามารถแสดง ท่าทางการ
เคลื่อนไหวของร่างกายได้ เกี่ยวกบั การพูด ผปู้ ่ วยอาจพูดไมไ่ ด้ พูดไม่ชดั
3. การรับรู้เปลี่ยนแปลง ผปู้ ่ วยจะมีปัญหาเรื่องการรับความรู้สึกขา้ งที่ออ่ นแรงลดลง มองเห็นเพยี งคร่ึง เดียว
สมาธิหรือความสนใจต่อส่ิงแวดลอ้ มส้ัน หลงลืม 4.สูญเสียการควบคุมดา้ นการขบั ถ่าย

ระยะท่ีพน้ ระยะวกิ ฤต 1. การรักษาดว้ ย platelet antiaggregation inhibitors โดยไปยบั ย้งั ข้นั ตอนของการเกิด
thrombus ยาที่นิยมใชไ้ ดแ้ ก่ Aspirin Ticlopidine (Ticlid) ซ่ึงมีราคาถูก และ Dipyridamole (Persantine)
2. การรักษาดว้ ย anticoagulant หลงั จากรักษาดว้ ย heparin แลว้ จะให้ Warfarin (Coumadin) ซ่ึงใชเ้ ป็นการรักษา
ระยะยาว Coumadin จะรบกวนการเปล่ียน prothrombin เป็น thrombin เป้าหมายการรักษาอยทู่ ่ีการควบคุม
prothrobin time (PT)ใหม้ ีค่า 1.5 เท่าของค่าควบคุม
3. การให้ calcium channel blockers เพื่อป้องกนั การหดเกร็ง (spasm)ของหลอดเลือด มกั ใหใ้ นผปู้ ่ วยที่มี
เลือดออกใน subarchnoid space ยาท่ีนิยมใชค้ ือ Nimodipine (Nimotop)
4. การควบคุมปัจจยั เส่ียงอื่นๆ ไดแ้ ก่ ความดนั โลหิตสูง โรคหวั ใจ โรคเบาหวาน ภาวะไขมนั ใน เลือดสูง ซ่ึง
นอกจากจะเป็ นการคงสุขภาพท่ีดีไวแ้ ลว้ ยงั สามารถช่วยป้องกนั การเกิดโรคหลอดเลือดสมองซ้า (recurrent
stroke) ไดอ้ ีกดว้ ย

5. การรักษาในระยะฟ้ื นฟูสภาพ การรักษาในระยะฟ้ื นฟูสภาพถือเป็นส่ิงสาคญั มากสาหรับผปู้ ่ วยโดยเฉพาะ
ผปู้ ่ วยเร้ือรัง

การพยาบาลผ้ปู ่ วยบาดเจ็บทศี่ ีรษะและสมอง

พยาธิสรีรวทิ ยาของการบาดเจบ็ ที่ศีรษะ เม่ือศีรษะไดร้ ับบาดเจบ็ จากแรงกระแทก จะมีผลทาใหเ้ กิดบาดเจบ็ ต่อ
หนงั ศีรษะ ต่อกะโหลกศีรษะ ต่อเน้ือสมองและเส้นประสาทสมองท่ีอยภู่ ายในกะโหลกศีรษะ ดงั น้ี

การบาดเจ็บทหี่ นังศีรษะ (Scalp Injuly) การบาดเจบ็ ท่ีหนงั ศีรษะสามารถเกิดไดห้ ลายแบบ เช่น หนงั ศีรษะฉีก
ขาด (Laceration)มีกอ้ นเลือดใน หนงั ศีรษะ (Hematoma)หนงั ศีรษะชอกช้า (Contusion)หนงั ศีรษะถลอก
(Abrasion)การบาดเจบ็ เหล่าน้ีอาจจะ มองไม่เห็น และมีเลือดออกมาก

การบาดเจ็บทก่ี ะโหลกศีรษะ (Skull Injuly) การแตกของกะโหลกศีรษะมี 3 ชนิด คือ 1.) กะโหลกศีรษะแตกร้าว
(Linear Skull Fractures)เป็นการแตกของกะโหลกศีรษะท่ีร้าวเป็ นเส้น สามารถมองเห็นไดจ้ ากการ x-ray เป็น
เส้นบางๆ และไม่ตอ้ งการการรักษา ถา้ ไมม่ ีส่ิงที่บง่ ถึงการบาดเจบ็ ของสมอง ร่วมดว้ ย 2.) กะโหลกศีรษะแตกยบุ
(Depressed Skull Fractures)เป็นการแตกของกะโหลกศีรษะท่ีสามารถ คลาได้ และเห็นไดโ้ ดยการ x-ray
ตอ้ งการการผา่ ตดั ภายใน 24 ชว่ั โมงหลงั การบาดเจบ็ การยบุ ของกะโหลกศีรษะ อาจจะทาใหม้ ีชิ้นส่วนของ
กระดูกแทงทะลุเขา้ ไปในเน้ือสมอง 3.) ฐานกะโหลกศีรษะแตก (Basillar Skull Fractures)เป็นการแตกของ
กระดูกบริเวณฐานของ forntal และ Temporal Lobes สามารถเห็นไดจ้ ากการ x-ray

ระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บ ความรุนแรงของการบาดเจบ็ ท่ีสมอง แบ่งไดเ้ ป็น 3 ระดบั คือ

1. สมองบาดเจบ็ ระดบั ไม่รุนแรง (mild traumatic brain injury) เป็นการบาดเจบ็ ท่ีทาใหไ้ ม่ รู้สึกตวั ต้งั แต่ 0-
20 นาทีหลงั บาดเจบ็ และมีค่าผลรวม Glasco coma score (GCS) 13-15 ไม่พบความผิดปกติ ทางระบบ
ประสาทแบบเฉพาะท่ี (focal) โดยพบผปู้ ่ วยท่ีสมองบาดเจบ็ ชนิดไม่รุนแรงเป็นร้อยละ 70-90 ของผปู้ ่ วย
บาดเจบ็ ท่ีสมองท้งั หมด

2. สมองบาดเจบ็ ระดบั รุนแรงปานกลาง (moderate traumatic brain injury) เป็นการบาดเจ็บ ท่ีมีคา่ ผลรวม
GCS 9-12 คะแนน การบาดเจบ็ น้ีมกั เกิดภาวะแทรกซอ้ นจนตอ้ งผา่ ตดั ดงั น้นั จาเป็นตอ้ งสงั เกต อาการ
ใกลช้ ิด

3. สมองบาดเจบ็ ระดบั รุนแรง (severe traumatic brain injury) เป็นการบาดเจบ็ ที่มีอาการ ทางระบบ
ประสาทเลวลงจนมีคา่ รวม GCS ระหวา่ ง 3-8 คะแนน ภายใน 48 ชวั่ โมงหลงั บาดเจบ็ หรือมีคา่ ผลรวม

GCS 3-8 คะแนน หลงั การช่วยฟ้ื นคืนชีพ ซ่ึงการบาดเจบ็ ระดบั น้ีมีอตั ราตายและทุพพลภาพสูง โดยมี
อตั ราเสียชีวติ มากกวา่ ร้อยละ 20-30

การรักษา การรักษาแบ่งออกไดเ้ ป็นกลุ่มตามความรุนแรงของการบาดเจบ็ ดงั น้ี

1. การรักษาแบบผปู้ ่ วยนอก เป็นการรักษาผทู้ ่ีไดร้ ับบาดเจบ็ ไม่รุนแรง รู้สติดี ไม่มีกะโหลกแตก ควรทาแผล
และใหก้ ลบั บา้ นโดยตอ้ งสังเกตอาการ เช่น ซึมลง ปวดศีรษะมากข้ึน อาเจียน ตามวั แขนขาอ่อนแรง ตอ้ ง
กลบั มาพบแพทยท์ นั ที

2. การรับไวร้ ักษาในโรงพยาบาลเพอื่ เฝ้าสงั เกตอาการ โดยมากใชใ้ นผทู้ ี่มีโอกาสเกิด ภาวะแทรกซอ้ น การ
เฝ้าสังเกตประกอบดว้ ย การประเมิน GCS ทุก 1 ชวั่ โมง ประเมินขนาดและปฏิกิริยาต่อแสง ของ Pupil
ประเมินการเคล่ือนไหวและกาลงั ของแขนขา ประเมินสัญญาณชีพ

3. การรักษาไวเ้ พ่ือรักษา เป็ นการรักษาผทู้ ่ีไดร้ ับบาดเจบ็ รุนแรง เพ่ือแกไ้ ขภาวะ hypoxia hyperventilation
hypotension การผา่ ตดั เอากอ้ นเลือดออก การรักษาป้องกนั อาการชกั ลดสมองบวม ลด ความดนั ในกะโหลก

การพยาบาลผ้ปู ่ วยบาดเจ็บทไ่ี ขสันหลงั (Spinal cord injury)

กลไกการบาดเจบ็ ของกระดูกสันหลงั และไขสันหลงั เกิดจากหลายกลไกแบ่งออกเป็น Primary และ Secondary
injury ซ่ึง Primary injury แบ่งออกเป็ น 4 กลไก

-การแหงนคอเตม็ ที่ (Hyperextension) เป็นการบาดเจบ็ ในทา่ แหงนหรือแอน่ ลาตวั เช่น การขบั รถ แลว้ ถูกรถชน
ทา้ ยอยา่ งแรง ตกบนั ได หกลม้ คางกระแทกพ้นื มกั พบท่ีกระดูกส่วน C4-C5 1.2

-การกม้ คอเตม็ ท่ี (Hyperflexion) เกิดจากการใชค้ วามเร็วสูงแลว้ หยดุ กะทนั หนั เช่น ขบั รถมาเร็ว ชนกาแพงแลว้
รถหยดุ กะทนั หนั พบบ่อยบริเวณกระดูกส่วน C5-C6

-การบิดคอหรือหมุนอยา่ งแรง (Excessive rotation) ทาใหเ้ อน็ ดา้ นหลงั ฉีกขาด ขอ้ ต่อหลุด กระดูก แตกยบุ และ
อาจมีการหกั ของกระดูกดา้ นขา้ ง

-การบาดเจบ็ ในแนวด่ิง (Vertical compression/Axial loading) เช่น ตกจากที่สูงโดยกน้ กระแทกพ้นื ทาให้
กระดูกสันหลงั ยบุ และกดไขสนั หลงั

อาการและอาการแสดงทางคลนิ ิก

1.การบาดเจ็บทไี่ ขสันหลงั แบบสมบูรณ์ (Complete spinal cord injury) หรือ Cord transection คือ การสูญเสีย
การรับความรู้สึก (Sensory function) และสูญเสียความสามารถในการควบคุมการ เคล่ือนไหว (Motor function)

- Paraplegia คือ อมั พาตเฉพาะส่วนขาและอวยั วะบริเวณเชิงกราน แขนยงั สามารถทางานไดต้ ามปกติ แตม่ ีปัญหา
เรื่องการควบคุมการขบั ถ่าย

- Tetraplegia หรือ Quadriplegia คือ อมั พาตบริเวณลาตวั แขนและขาท้งั 4 รยางค์ เกิดจากกการบาดเจบ็ ท่ีไขสนั
หลงั ระดบั คอ (Cervical spinal cord injury)

2.การบาดเจ็บทไี่ ขสันหลงั แบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete spinal cord injury)

การแบ่งระดับความรุนแรงของการบาดเจ็บทไี่ ขสันหลงั

A = Complete สูญเสียการรับความรู้สึกและการเคล่ือนไหวของกลา้ มเน้ืออยา่ งสมบูรณ์
B = Incomplete สามารถรับความรู้สึกในระดบั S4-S5 แตเ่ คล่ือนไหวไม่ไดเ้ ลย
C = Incomplete กาลงั ของกลา้ มเน้ือของอวยั วะท่ีอยตู่ ่ากวา่ พยาธิสภาพต่ากวา่ เกรด 3
D = Incomplete กาลงั ของกลา้ มเน้ือของอวยั วะที่อยตู่ ่ากวา่ พยาธิสภาพเกรด 3 ข้ึนไป
E = Normal การรับความรู้สึกและการเคล่ือนไหวของกลา้ มเน้ือปกติ

การดูแลผู้บาดเจ็บทไี่ ขสันหลัง

1)การดูแลผบู้ าดเจบ็ ท่ีไขสนั หลงั ระยะก่อนถึงโรงพยาบาล เป้าหมายเพื่อช่วยใหร้ อดชีวติ ป้องกนั อนั ตรายต่อไข
สันหลงั ไมใ่ หถ้ ูกทาลายมากข้นึ ป้องกนั ภาวะแทรกซอ้ นขณะเคลื่อนยา้ ย
2)การดูแลรักษาผบู้ าดเจบ็ ท่ีไขสันหลงั ระยะเฉียบพลนั เป้าหมายเพื่อคงไวซ้ ่ึงการทาหนา้ ที่ของระบบ ประสาท
ป้องกนั การเกิดอนั ตรายเพ่มิ ต่อไขสันหลงั แกไ้ ขภาวะคุกคามตอ่ ชีวติ และป้องกนั ภาวะแทรกซอ้ น

-การรักษาดว้ ยยาสเตียรอยดข์ นาดสูง (High dose steroid)
-การดูแลในรายที่เป็นอมั พาตแบบสมบูรณ์ที่บาดเจบ็ ไขสนั หลงั ระดบั T6 ข้ึนไป โดยการดูแลทางเดิน หายใจ
โดยใส่ทอ่ ช่วยหายใจและใชเ้ ครื่องช่วยหายใจ การใส่สายสวนปัสสาวะเน่ืองจากไมส่ ามารถปัสสาวะไดเ้ อง
-การดูแลเมื่อเกิดภาวะ Spinal shock หรือ Neurogenic shock โดยดูแลใหไ้ ดร้ ับสารน้าอยา่ ง เพยี งพอ เพอ่ื ให้
ระดบั SBP > 90 mmHg, ติดตามค่า Hematocrit และ Hemoglobin เพ่ือประเมินภาวะเสีย เลือด บนั ทึก Urine
output ทุก 1 ชวั่ โมง

-การทาใหส้ ่วนที่บาดเจบ็ หรือส่วนท่ีหกั อยนู่ ิ่ง (Immobilization) ไดแ้ ก่ การใส่อุปกรณ์พยงุ คอ การ พลิกตะแคง
ตวั หรือการเคล่ือนยา้ ยแบบ Log roll
-การดึงกระดูกใหเ้ ขา้ ที่ (Reduction/Realignment) ในรายท่ีกระดูกคอเคลื่อนหรือหกั แบบไม่คงที่ โดยการใช้
เคร่ืองยดึ กะโหลกศีรษะและถ่วงน้าหนกั (Skull traction)

ติดเชื้อในระบบประสาทส่ วนกลาง

เยื่อหุ้มสมองอกั เสบ (Meningitis)

พยาธิสรีรวิทยา เช้ือโรคสามารถเขา้ สู่เยอื่ หุม้ สมองไดห้ ลายทาง ที่สาคญั ไดแ้ ก่ 1. ทางกระแสเลือด เป็นการติด
เช้ือท่ีมาตามกระแสเลือดท้งั ระบบเลือดแดงหรือระบบเลือดดา หรือเป็ น การติดเช้ือท่ีมาจาก septic embolus
ไปสู่ subarachnoid space ทางหลอดเลือดที่ไปหล่อเล้ียง 2. การติดเช้ือโดยตรงจากภายนอกเขา้ สู่ subarachnoid
space เช่น การติดเช้ือที่เขา้ ทางกะโหลกศีรษะ ท่ีแตก หรือเป็นการติดเช้ือจากการที่แพทยเ์ จาะหลงั การผา่ ตดั
เก่ียวกบั กะโหลกศีรษะ เป็นตน้ 3. การติดเช้ือที่ลุกลามไปจากแหล่งติดเช้ือท่ีอยใู่ กลส้ มอง และไขสนั หลงั เช่น
การติดเช้ือในหูหรือ sinus ตา่ งๆ และมีการแตกทะลุเขา้ สู่สมอง 4. การแพร่กระจายทางละอองอากาศจากการไอ
จาม เขา้ สู่ mucosa ของจมูกแพร่ไปตามเส้นประสาท สมองคูท่ ี่ 1 เขา้ สู่สมอง

อาการและอาการแสดง

1.มีอาการไขแ้ ละปวดศีรษะ ส่วนใหญ่มกั มีไขส้ ูง หนาวสั่น และมีอาการปวดศีรษะอยา่ งรุนแรง 2. มีอาการของ
เยอ่ื หุม้ สมองถูกระคายเคือง 3. มีภาวะความดนั ในกะโหลกศีรษะสูง 4. อาการอมั พาตของเส้นประสาทสมอง
ต่างๆ จากการอกั เสบและการตายของเส้นประสาทสมอง ทาใหม้ ี อาการ เช่น อมั พาตของกลา้ มเน้ือลูกตา หนงั ตา
ตก ตาบอด หูหนวก 5. มีอาการชกั อมั พาต และอาการอ่ืนๆ แลว้ แต่ส่วนของสมองที่มีพยาธิสภาพ 6. ภาวะ
SIADH

การรักษา มี2 แบบคือ 1. การรักษาตามอาการ เช่น การควบคุมการชกั การรักษาภาวะสมองบวม
2. การรักษาเฉพาะ หลกั การรักษาคือ ตอ้ งใหย้ าฆ่าเช้ือโรคโดยเร็วท่ีสุด เลือกยาที่เหมาะสม โดยให้ เหมาะสมกบั
เช้ือและยาน้นั เขา้ น้าไขสันหลงั ไดแ้ ละใหย้ าในขนาดท่ีเพียงพอ

สมองอกั เสบ (Encephalitis) สมองอกั เสบเป็นการติดเช้ืออยา่ งเฉียบพลนั ของเน้ือสมองและไขสันหลงั ส่วน
Parenchymal โดยเฉพาะ อยา่ งยงิ่ ในส่วน basal ganglia ในการติดเช้ืออาจรวมไปถึงช้นั เยอ่ื หุม้ สมองดว้ ย จะพบ
การตายการอกั เสบของเน้ือ สมองเกิดข้ึน ซ่ึงมีผลต่อการทาลายเน้ือสมองอยา่ งถาวร

อาการและอาการแสดง ในระยะแรกผปู้ ่ วยมกั มีอาการนา ไดแ้ ก่ อาการไข้ ปวดศีรษะ คร่ันเน้ือครั่นตวั ก่อนเกิด
อาการทางสมอง บางรายจะมีอาการอื่นๆ จากเช้ือท่ีเป็นสาเหตุของโรคนามาก่อน เช่น คางทูม (mumps) ทาให้
เกิดต่อม parotic อกั เสบ หดั (measles) หรือ งูสวดั จากเช้ือ herpes zoster ทาใหเ้ กิดผนื่ ท่ีผวิ หนงั

การตรวจวนิ ิจฉัยทางการแพทย์ 1. การตรวจ MRI เพอื่ หารอยโรค ถา้ เป็ นเช้ือจาก herpes simplex virus จะพบ
การอกั เสบเฉียบพลนั และพบอาการสมองคงั่ น้า และเน้ือสมองน่ิมโดยเฉพาะรอบๆ บริเวณ temporal lobes
2. การตดั ชิ้นเน้ือสมอง (Brian biopsy) จะทาใหผ้ ลการวนิ ิจฉยั ที่เฉพาะเจาะจงและแน่นอน
3. การเจาะหลงั จะพบความดนั ของน้าไขสนั หลงั ปกติหรือสูงเพียงเล็กนอ้ ย น้าไขสนั หลงั ส่วนมากจะใส ไมม่ ีสี
พบจานวนเมด็ เลือดขาวสูง ส่วนใหญ่เป็น lymphocyte

การรักษา 1. การรักษาเฉพาะเพื่อทาลายเช้ือโรค ปัจจุบนั ที่มีฤทธ์ิทาลายเช้ือไวรัสไดบ้ างชนิด ไดแ้ ก่ Acyclovir มี
ฤทธ์ิต่อเช้ือ Herpes virus จึงควรรีบพิจารณาใหใ้ นรายท่ีมีอาการทางคลินิก เขา้ ไดก้ บั สมองอกั เสบท่ีเกิดจากเช้ือ
น้ี สาหรับไวรัสชนิดอ่ืนๆ ยงั ไม่มียาตา้ นเช้ือ การรักษาหลกั จึงเป็นการรักษาประคบั ประคอง
2. การรักษาประคบั ประคอง มีความสาคญั มาก เพราะผปู้ ่ วยมีโอกาสเกิดภาวะแทรกซอ้ นไดง้ ่าย เนื่องจากไม่
รู้สึกตวั ในรายที่มีอาการชกั บ่อยๆ เป็นแบบ status epilepticus ตอ้ งใหก้ ารรักษาแบบ status epilepticus

คาถาม

1.สาเหตุของความดันภายในกะโหลกศีรษะสูง (Increased Intracranial Pressure: ICCP)ยกเว้นข้อใด

1. มีการเพ่ิมขนาดของสมอง
2. มีการเพม่ิ ปริมาณเลือดในสมอง จากภาวะออกซิเจนต่าในเลือด (hypoxemia) คาร์บอนไดออกไซดส์ ูงใน

เลือด (Hypercapnia) และ aneurysm
3. การเพม่ิ ปริมาณน้าหล่อสมองและไขสันหลงั (CSF)
4. การเพมิ่ ปริมาณเลือดในสมอง จากภาวะออกซิเจนสูงในเลือด

2.ข้อใดคืออาการของการพยาบาลผู้ป่ วยโรคหลอดเลือดสมอง

1.ผปู้ ่ วยจะมีอาการอ่อนแรงและอาจมีการหดเกร็งของกลา้ มเน้ือดา้ นท่ี อ่อนแรง

2.ผปู้ ่ วยอาจพูดไมไ่ ด้ พูดไมช่ ดั

3.สูญเสียการควบคุมดา้ นการขบั ถ่าย

4.ถูกทุกขอ้

3.ระดบั ความรุนแรงของการบาดเจบ็ ท่ีสมอง แบ่งไดเ้ ป็นก่ีระดบั

1. 2ระดบั 2. 3ระดบั 3. 4ระดบั 4. 5ระดบั

4.อาการและอาการแสดงเย่ือหุ้มสมองอกั เสบ (Meningitis)คือข้อใด

1.ไขส้ ูง หนาวส่นั 2. มีอาการของเยอื่ หุม้ สมองถูกระคายเคือง 3.ถกู ทงั้ 2ขอ้ 4.ผดิ ทงั้ 2ขอ้

5.ภาวะสมองตาย (Brain death)คือ

1.ป็นภาวะท่ีมีการสูญเสียการทาหนา้ ที่ของสมองอยา่ งไมส่ ามารถกลบั มาคืนได้

2.มีการทางานของสมองเลย และกา้ นสมอง (brain stem)

3.สามารถควบคุมการทางานของหวั ใจหลอดเลือด

4.ถูกทุกขอ้


Click to View FlipBook Version