The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by e-Book สสปท., 2021-03-31 07:56:18

คู่มือความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรับลูกจ้างทั่วไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่

เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ปลอดภัย,safety,Occupational,Health

48 ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรับลกู จา้ งท่วั ไปและลกู จา้ งเขา้ ทำงานใหม่

(2) เคร่ืองหมายเตือน ความหมาย
เคร่ืองหมายเตือนทวั่ ไป
เคร่อื งหมายเตือน (general warning sign)

ระวังวตั ถุระเบดิ
(warning: explosive material)

ระวงั วตั ถุกมั มันตรงั สี หรอื รงั สีชนิดกอ่ ไอออน
(warning: radioactive material or ionizing radiation)

ระวังลําแสงเลเซอร์
(warning: laser beam)

ระวังรังสชี นดิ ไม่กอ่ ไอออน
(warning: non-ionizing radiation)

ระวังสนามแมเ่ หล็ก
(warning: magnetic field)

ระวังส่งิ กีดขวาง
(warning: obstacles)

ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างท่วั ไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่ 49

เคร่อื งหมายเตอื น ความหมาย
ระวงั ตก

(warning: drop (fall))

ระวังอนั ตรายจากสารชีวภาพ
(warning: biological hazard)

ระวงั อุณหภูมิตา /ภาวะเยอื กแขง็
(warning: low temperature/freezing conditions)

ระวงั พ้นื ล่ืน
(warning: slippery surface)

ระวังอันตรายจากไฟฟ้ า
(warning: electricity)

ระวงั สนุ ัข
(warning: guard dog)

ระวงั รถยกและยานพาหนะงานอตุ สาหกรรม
(warning: fork lift trucks and other industrial vehicles)

50 ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรับลกู จา้ งทว่ั ไปและลกู จา้ งเข้าทำงานใหม่

เคร่อื งหมายเตือน ความหมาย
ระวงั ของตกจากที่สูง
(warning: overhead load)

ระวังวัตถมุ ีพิษ
(warning: toxic material)

ระวงั พ้ืนผวิ รอ้ น
(warning: hot surface)

ระวังเคร่ืองจักรทาํ งานโดยอตั โนมัติ
(warning: automatic start-up)

ระวงั ถกู หนบี
(warning: crushing)

ระวงั ศีรษะ
(warning: overhead obstacles)

ระวังอนั ตรายจากไฟ/วัตถุไวไฟ
(warning: risk of fire/ flammable materials)

ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างทว่ั ไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่ 51

เคร่อื งหมายเตอื น ความหมาย
ระวงั ของมีคม
(warning: sharp elements)

ระวังสารกดั กรอ่ น
(warning: corrosive substance)

ระวังหนีบมอื
(warning: danger of crushing hand)

ระวังแสงเขา้ ตา
(warning: optical radiation)

ระวังสารออกซไิ ดซ์
(warning: oxidizing substance)

52 ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างทว่ั ไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่

(3) เคร่อื งหมายบงั คบั ความหมาย
เคร่ืองหมายบงั คบั ทวั่ ไป
เคร่อื งหมายบงั คบั (general mandatory action sign)

ต้องศกึ ษาคูม่ อื คาํ แนะนาํ
(refer to instruction manual/booklet)

ตอ้ งสวมอุปกรณป์ กป้ องหู
(wear ear protection)

ต้องสวมอุปกรณป์ กป้ องตา
(wear eye protection)
ต้องตอ่ สายดิน

(connect an earth terminal to the ground)
ตอ้ งดึงเตา้ เสยี บออกจากเต้ารับ

(disconnect mains plug from electrical outlet)

ตอ้ งสวมอุปกรณป์ กป้ องตาชนิดกรองแสง
(wear opaque eye protection)

ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรับลกู จ้างท่วั ไปและลูกจา้ งเขา้ ทำงานใหม่ 53

เคร่อื งหมายบงั คบั ความหมาย
ต้องสวมรองเท้านิรภัย
(wear safety footwear)

ตอ้ งสวมถงุ มอื
(wear protective gloves)

ต้องสวมชดุ ปกป้องรา่ งกาย
(wear protective clothing)

ตอ้ งลา้ งมอื
(wash your hands)

ตอ้ งจบั ราว
(use handrail)

ตอ้ งสวมอุปกรณป์ กป้ องใบหนา้
(wear face shield)

ต้องสวมอุปกรณป์ กป้ องศรี ษะ
(wear head protection)

54 ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรับลกู จ้างท่วั ไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่

เคร่อื งหมายบงั คบั ความหมาย
ตอ้ งสวมเส้ือผา้ สะท้อนแสง
(wear high visibility clothing)

ตอ้ งสวมหนา้ กากอนามัย
(wear a mask)

ตอ้ งสวมอุปกรณป์ กป้ องทางเดินหายใจ
(wear respiratory protection)

ตอ้ งใสส่ ายรดั ตัวนิรภัย
(wear safety harness)

ต้องสวมหน้ากากสาํ หรับงานเช่อื ม
(wear welding mask)

ต้องคาดเข็มขัดนริ ภัย
(wear safety belt)

ตอ้ งทาครมี
(use barrier cream)

ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างทว่ั ไปและลูกจา้ งเขา้ ทำงานใหม่ 55

เคร่อื งหมายบงั คบั ความหมาย
ต้องใช้สะพานเดนิ ขา้ ม

(use footbridge)

ต้องตัดวงจรกอ่ นซ่อม
(disconnect before carrying out maintenance or repair)

(4) เคร่อื งหมายสารนิเทศเกยี่ วกบั สภาวะปลอดภยั

เคร่อื งหมายสารนเิ ทศ ความหมาย
เกยี่ วกบั สภาวะปลอดภัย

ทางออกฉุกเฉนิ ซ้ายมอื
(emergency exit) (left hand)

ทางออกฉุกเฉิน ขวามอื
(emergency exit) (right hand)

ปฐมพยาบาล
(first aid)

โทรศพั ท์ฉุกเฉิน
(emergency telephone)

56 ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรับลกู จา้ งทว่ั ไปและลกู จ้างเข้าทำงานใหม่

เคร่อื งหมายสารนเิ ทศ ความหมาย
เกยี่ วกบั สภาวะปลอดภัย ทศิ ทางตรงสู่ทีป่ ลอดภยั
(direction, arrow (90o increments) safe condition)

ทศิ ทางเฉยี งสู่ทีป่ ลอดภัย
(direction, 45 o arrow (90o increments) safe condition)

จุดรวมพล
(evacuation assembly point)

ทุบให้แตกเพ่ือใช้งาน
(break to obtain access)

หนว่ ยแพทย์
(doctor)

เคร่อื งกระตนุ้ หวั ใจด้วยไฟฟ้ าอตั โนมตั ิ

ท่ลี ้างตาฉุกเฉนิ
(eyewash station)

ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างท่วั ไปและลูกจา้ งเขา้ ทำงานใหม่ 57

เคร่อื งหมายสารนเิ ทศ ความหมาย
เกยี่ วกบั สภาวะปลอดภัย
ฝั กบวั อาบนา ฉุกเฉนิ
(safety shower)

เปล
(stretcher)

(5) เคร่อื งหมายอุปกรณเ์ กีย่ วกบั อัคคภี ยั ความหมาย
อุปกรณด์ ับเพลิงยกห้วิ
เคร่อื งหมายอุปกรณ์
เกยี่ วกบั อคั คีภยั (fire extinguisher)

สายดับเพลงิ
(fire hose reel)

บนั ไดหนีไฟ
(fire ladder)

ที่จดั เกบ็ อุปกรณ์ผจญเพลิง
(collection of firefighting equipment)

58 ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างทว่ั ไปและลูกจา้ งเขา้ ทำงานใหม่

เคร่อื งหมายอปุ กรณ์ ความหมาย
เกยี่ วกบั อคั คภี ยั จุดกดแจ้งเหตุเพลิงไหม้
(fire alarm call point)

โทรศพั ทแ์ จง้ เหตเุ พลิงไหม้
(fire emergency telephone)

ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างทว่ั ไปและลกู จา้ งเขา้ ทำงานใหม่ 59

3.10 กฎความปลอดภยั ในการยกและเคล่ือนยา้ ยวสั ดุดว้ ยแรงกาย

1) ยืนหนั หนา้ เขา้ หาวัสดทุ ่จี ดุ เริ่มตน้ และจดุ ปลายทางของงานยก
2) ไมค่ วรยกวัสดุข้นึ อยา่ งรวดเรว็ หรือด้วยอาการกระชาก
3) ไมค่ วรเหว่ียงหรือโยนวัสดุ
4) ขณะยกวสั ดุข้นึ หรอื วางลง ควรงอเขา่ หลังตรงหรอื กม้ เลก็ น้อย
5) ขณะยกวสั ดขุ นึ้ หรอื วางลง ควรใหว้ สั ดวุ างอยตู่ รงด้านหนา้ และใกล้ชิดตวั มากท่สี ดุ
6) ถา้ วสั ดมุ ีขนาดใหญ่ อาจยกในทา่ ทน่ี ัง่ คุกเขา่ ขา้ งเดยี ว
7) ถา้ ไมส่ ามารถยกและเคล่ือนยา้ ยวสั ดุเพียงคนเดยี วได้ ควรเรยี กเพ่ือนมาช่วยยก

และเคล่ือนย้าย หรือใช้อุปกรณ์ช่วยยกและเคล่ือนยา้ ยวัสดุ
8) กรณที ่จี ําเป็นตอ้ งใช้อุปกรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบุคคล จะต้องใช้อุปกรณ์

ที่นายจ้างจัดหาให้
9) บรหิ ารร่างกายในช่วงหยดุ พัก เพ่อื ลดความเส่ียงตอ่ การเกิดอาการปวดเม่อื ยกล้ามเน้อื

จากการยกและเคล่ือนย้ายวสั ดดุ ้วยแรงกาย
10) เม่อื ตอ้ งยกของทม่ี ีนาหนักมากให้หลกี เลี่ยงการใช้อริ ยิ าบถทีอ่ อกแรงมากเกินไป

ซงึ่ จะเป็นการใช้กําลงั กล้ามเน้ือเพียงอยา่ งเดียว สิ่งทถ่ี ูกตอ้ งคอื ให้ยกนาหนกั
ไว้ที่ศูนย์กลางของความโนม้ ถ่วงโดยให้ย่อตวั ลง
11) เม่อื ต้องยกของหนักนัน้ ขน้ึ เหนือหวั ไหลใ่ ห้ใช้มา้ สําหรบั รองเท้าและเม่ือตอ้ งยกของ
ตากว่าหวั เขา่ ให้ยอ่ ตวั ลง

60 ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างท่วั ไปและลกู จา้ งเขา้ ทำงานใหม่

12) การหันหลงั หรือการหมุนตัวอยา่ งรวดเรว็ ในขณะที่ยกของหนกั ด้วยมอื เปล่าจะทาํ ให้หลัง
ของท่านๆไดร้ ับบาดเจ็บได้ ดงั นัน้ จึงต้องมีการเปล่ยี นทศิ ทางการกา้ วเดิน เม่ือมกี าร
เปล่ียนทิศทางของนาหนักส่ิงของดงั กลา่ ว

13) การวางนาหนักลงควรกระทําอย่างช้า ๆ ละมนุ ละมอ่ ม การเหวยี่ งนา หนักส่ิงของนัน้ เป็น
อันตรายอยา่ งยิ่ง ซ่ึงนาหนกั นัน้ อาจไปกระทบถกู ผูค้ นขา้ งเคียงหรือเกดิ การกระแทก

14) ในขณะทม่ี ีการแบกของไวบ้ นไหล่ ลานสายตาอาจถูกบงั ได้ ดงั นนั้ สงิ่ ของทีว่ างเกะกะบน
ทางเดนิ นัน้ ควรจัดการนําออกไปจากบริเวณนนั้ เป็นการลว่ งหนา้

15) เม่ือมีการขนย้ายวัตถสุ ิ่งของทม่ี ีความยาวด้วยมอื เปล่าใหแ้ บกวัตถุนนั้ ไว้บนไหล่ โดยให้
ยกวัตถนุ ัน้ เชดิ ขึน้ ให้ปลายวัตถดุ ้านหนา้ สงู และปลายวัตถดุ ้านหลังตา ระมัดระวงั มใิ ห้
วตั ถนุ ัน้ ไปชนผนงั ในขณะเลีย้ วมมุ หรือขณะทผ่ี ่านทางเขา้

16) วตั ถทุ ่ีวางซ้อน ๆ กนั ควรใช้เชือกมัดให้เรยี บร้อย เพ่ือป้ องกนั มิให้วัตถนุ ัน้ หล่นในขณะ
ขนย้าย

17) ในการขนย้ายวตั ถทุ ต่ี ้องใช้คนยกหลายคน ควรเลือกคนยกของเหลา่ นั้นให้มีขนาดความ
สงู และความแขง็ แรงใกลเ้ คียงกนั

18) ในการยกของรว่ มกับบคุ คลอ่นื จะตอ้ งมีการเลอื กใช้สัญญาณตา่ ง ๆ เพ่อื ส่ือสารและ
เป็นทเ่ี ขา้ ใจตรงกันของทุกฝ่ ายและใช้สัญญาณดงั กล่าวเม่อื ยกวตั ถุข้นึ และยกวัตถุลง

(ขอ้ มลู จาก “มาตรฐานการยกและเคล่ือนยา้ ยวสั ดุดว้ ยแรงกายตามหลกั การยศาสตร”์ ของ สสปท

ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรบั ลกู จา้ งทว่ั ไปและลูกจา้ งเข้าทำงานใหม่ 61

3.11 กฎความปลอดภยั ในการจดั สถานทท่ี ํางาน

1) เก็บวางของในที่กําหนด หลังเลิกใช้ให้นํามาเก็บท่ีเดิมทุกครั้ง และมีหลักการจัดเก็บ
สงิ่ ของ ดังนี้

(1) เก็บของท่นี ํามาใช้บอ่ ย ไวใ้ นสถานทส่ี ะดวกต่อการนํามาใช้
(2) เกบ็ วัสดุทมี่ ขี นาดเล็ก ๆ ไวใ้ นกล่อง แยกตามประเภทและขนาด
(3) เก็บของทแ่ี ตกหักงา่ ยในกล่องท่ีทําด้วยวสั ดแุ ข็งแรง
(4) เกบ็ วัตถอุ ันตราย เช่นวตั ถไุ วไฟ และวตั ถรุ ะเบดิ แยกจากกัน
(5) เก็บของให้เป็นระเบยี บและติดป้ายช่อื และปริมาณกํากับไว้
2) ของไมจ่ าํ เป็นในการใช้งาน ควรกําจดั ออกหรอื จดั เกบ็ ในสถานที่จัดเกบ็
3) ทําความสะอาดพ้ืนทท่ี ํางานตลอดเวลา หากมสี ารเคม/ี นาหกบนพ้ืน ให้ทําความสะอาดทันที
4) การจดั วางสิ่งของท่ีมจี ํานวนมาก ให้กองซ้อนกนั ให้เป็นระเบยี บ มน่ั คง และปลอดภยั
ตามลักษณะรปู รา่ งของมนั โดยมหี ลกั การ ดงั นี้
(1) จดั ซ้อนส่งิ ของทีม่ ลี ักษณะรปู ร่างเหมอื นกันไวด้ ว้ ยกัน
(2) ของท่ตี อ้ งการใช้กอ่ น อยูด่ า้ นบน
(3) ของหนกั อยูล่ ่าง ของเบาอยูบ่ น
(4) ของชน้ิ ใหญอ่ ยูล่ า่ ง ของชนิ้ เล็กอยบู่ น
(5) ของรูปร่างยาว และของท่ีล้มง่ายควรวางแนวนอน หากตอ้ งวางแนวตัง้ ให้ผูกมัด

รวมกนั
(6) ให้วางสลักไมห้ นุนของที่กล้ิงได้
5) ไม่วางวัสดใุ กล้หรือกีดขวางการทํางานเคร่ืองจักร แผงสวิทช์ อุปกรณ์ดับเพลิง ทางเขา้ -
ออก บันได และทางออกฉกุ เฉนิ
6) ไม่วางสิ่งของ ผลผลิต หรือขยะนอกบริเวณท่ีกําหนด หากจําเป็ นต้องติดป้ าย
หรือเคร่ืองหมายให้ผู้สัญจรเห็นได้ชัด และให้มีการจัดการเพ่ือเคล่ือนย้ายออกจากพ้ืนท่ี
นนั้ โดยเร็วทสี่ ดุ
7) ดูแลทางเดินให้สะอาด หากมคี ราบ นา หรอื นา มนั ใหเ้ ชด็ ถใู ห้สะอาด
8) ทาํ ความสะอาดหลอดไฟฟ้ า กระจกหน้าตา่ ง เป็นประจํา
9) เศษวสั ดุและขยะควรแบง่ แยกและทงิ้ ลงในภาชนะที่กาํ หนด

62 ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จา้ งท่วั ไปและลูกจ้างเข้าทำงานใหม่

4. ข้อบังคับวา่ ดว้ ยความปลอดภัย

4.1 ตอ้ งปฏบิ ัตงิ านตามคมู่ ือ/ ขอ้ บังคับวา่ ดว้ ยความปลอดภยั ฯ
ของสถานประกอบกจิ การอยา่ งเคร่งครัด

ข้อบังคับว่าด้วยความปลอดภัยฯ เป็นเอกสารที่บ่งบอกขั้นตอนวิธีการทํางานที่ปลอดภัย
ดังนั้น เม่ือเร่ิมต้นการปฏิบัติงาน ลูกจ้างทุกคนจําเป็นต้องศึกษา และฝึกปฏิบัติทําตามจนเป็นความ
เคยชิน เกิดทักษะและมีความชํานาญในการทํางาน อย่างไรก็ตามลูกจ้างอาจมีความคิดเห็นใหม่
ในการปรับปรงุ ขัน้ ตอนการทํางาน แตย่ ังไมส่ มควรเปลี่ยนแปลงตามความคิดของตนเอง ให้นําเสนอ
ความคดิ ใหมใ่ ห้หวั หนา้ งานทราบ เพราะการที่จะถกู นํามาปฏบิ ตั ไิ ดต้ ้องเป็นท่ียอมรับของทุกคน

ตวั อยา่ งขอ้ บังคบั ว่าด้วยความปลอดภยั
อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทํางาน
ตัวอยา่ งที่ 1

ขอ้ บงั คบั วา่ ดว้ ยความปลอดภยั ในการทํางาน
งานเจียแท่งเหล็กหลอ่

งานเจียแท่งเหล็กหล่อ แบ่งเป็ น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมงานเจีย ขั้นตอนการเจีย
และขนั้ ตอนการเก็บงาน แต่ละขัน้ ตอนมรี ายละเอยี ด ดังนี้

1. ขัน้ ตอนการเตรียมงานเจีย

1.1 ผูป้ ฏิบัติงานต้องทําการตรวจเช็คอุปกรณเ์ คร่ืองเจยี ให้อยู่ในสภาพท่ีจะใช้งานไดอ้ ย่าง
ปลอดภัย

(1) ต้องตรวจสอบสภาพของหินเจียให้เรียบร้อยกอ่ นการใช้งาน สภาพหินเจียต้องไม่
ชํารุดหรือแตกร้าว โดยการเคาะหินเจียด้วยไม้ หรือด้ามไขควงเบา ๆ โดยรอบเพ่ือฟั งเสียง (Ring
test) ถ้ามีเสียงกอ้ งแสดงว่าไม่มีรอยแตกร้าว ถ้ามีเสียงแป๊ ก ๆ แสดงว่าอาจมีรอยร้าว ไม่ควรใช้งาน
หนิ เจยี ดังกลา่ วโดยเดด็ ขาด เพราะมีโอกาสทหี่ นิ เจยี จะแตกในขณะใช้งาน

ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรับลกู จ้างทว่ั ไปและลกู จ้างเข้าทำงานใหม่ 63

(2) ต้องมีแทน่ รองชิน้ งาน การ์ดครอบหนิ เจีย และอุปกรณ์ปิดบังชนิดใสป้ องกนั สะเก็ด
วัสดุกระเด็นใส่ทัง้ นี้ แท่นรองชน้ิ งานต้องห่างจากหินเจียไม่เกิน 1/8 นิ้ว และที่เล่ือนปิดครอบการ์ด
ต้องมีระยะห่างไมเ่ กิน 1/4 น้วิ ทกุ ครงั้ กอ่ นเริม่ งาน

ท่ปี ิดบังชนดิ ใส การด์ ครอบหินเจีย
แทน่ รองชิน้ งาน

เคร่อื งเจยี
(3) ห้ามนําใบตัดมาใช้ในงานเจยี
(4) ตรวจสอบขนาดของหินเจียให้ตรงกับความเร็วรอบของมอเตอร์
(5) ลักษณะการใสห่ ินเจียต้องพอดี ขนาดของหัวจบั และรูเจาะตอ้ งพอดีกับหัวจับที่เพลา
แท่นเทา่ นนั้ ห้ามนําวสั ดุอ่ืนมาเสริมโดยเด็ดขาด
(6) ในการเปลี่ยนหินเจียทุกครั้ง ให้ทําการปิ ดเคร่ืองและปิ ดสวิทซ์เบรกเกอร์เพ่ือเป็น
การตดั พลงั งานไฟฟ้ าออกกอ่ นเร่ิมทําการเปล่ยี นหนิ เจีย
(7)เม่ือเปลี่ยนหินเจียใหม่หลังติดตั้งแล้วเสร็จ ให้เปิ ดเคร่ืองทดสอบการหมุนก่อน
ทํางานวา่ มีความผดิ ปกติหรอื ไม่ เช่น ไมส่ นั่ หรือแกว่ง เป็นต้น
(8) ตรวจสอบเคร่อื งเจียว่ามีการต่อสายดนิ หรอื ไม่
(9) หากพบว่าเคร่ืองเจียและอุปกรณ์มีสภาพไม่ปลอดภัย ให้แจ้งหัวหน้างานทันที
พรอ้ มติดป้าย “ชํารดุ ” และห้ามใช้งาน หรือส่งซ่อมทนั ที
(9) ตรวจสอบบริเวณพ้ืนที่โดยรอบเคร่ืองเจีย ต้องไม่มีวัสดุไวไฟ และวัสดุติดไฟง่าย
ถ้ามีให้นําออกให้พ้นรัศมีสะเก็ดไฟกระเด็น หากไมส่ ามารถนําออกได้ ต้องมีการปิ ดคลุมด้วยวัสดุ
ทนไฟใหม้ ดิ ชดิ กอ่ นเร่มิ ปฏบิ ตั ิงาน
(10) ใช้ฉากกนั้ บรเิ วณพ้ืนท่ที าํ การเจยี โดยรอบตามความเหมาะสม
(11) ติดตั้งแผน่ รองรับเพ่ือป้ องกนั แทง่ เหลก็ หลอ่ หล่นใส่เท้า

64 ความปลอดภยั อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรบั ลกู จา้ งท่วั ไปและลกู จา้ งเข้าทำงานใหม่

(12) ผูป้ ฏิบัติงานต้องแต่งกายเรียบร้อย รัดกุม ไม่รุ่งร่ิง ไม่สวมใส่เคร่ืองประดับท่ีอาจ
เก่ยี วยึดโยงกบั ส่งิ ใดได้ รวบผมท่ยี าวเกนิ สมควรให้ปลอดภัย

(13) ผูป้ ฏิบัติงานต้องสวมใส่อุปกรณ์คมุ้ ครองความปลอดภัยส่วนบุคคล เช่น กระบังหน้า
ชนิดใส ท่ีปิดปากปิดจมูก ทอ่ี ุดหู ถุงมือหนังป้ องกันบาด และรองเท้าตามท่ีกําหนด โดยหัวหน้างาน
ตรวจสอบความเรยี บรอ้ ย

2. ขัน้ ตอนการเจยี

2.1 ห้ามเจียชิ้นงานเกนิ กาํ ลงั ของเคร่ืองเจยี
2.2 ต้องใช้หินเจียชนดิ หยาบกอ่ น แลว้ จงึ ใช้หินเจยี ชนิดละเอียดอีกครัง้
2.3 การถอดประกอบหินเจีย ต้องปิ ดสวิทซ์เบรกเกอร์ทุกครั้ง กรณีใช้ลมให้ปิ ดวาล์ว
ตวั เคร่ืองและปลดสายออกจากหัวจ่ายลมทกุ ครงั้

3. ขัน้ ตอนการเก็บงาน

3.1 เม่ือปฏิบัติงานเสร็จแล้ว ให้ทําการปิ ดสวิทซ์เบรกเกอร์ทุกคร้ัง และจัดเก็บวัสดุอุปกรณ์
ต่าง ๆ ให้เรียบร้อย

3.1 หัวหน้างานต้องควบคุมกํากับดูแลให้พนักงานปฏิบัติตามขั้นตอนการทํางาน
อยา่ งเครง่ ครัด

3.1 ช่างซ่อมบํารุงต้องทําการตรวจเช็คอุปกรณ์เคร่ืองเจียเป็นประจําทุกเดือน โดยใช้แบบ
ตามทีส่ ถานประกอบกจิ การกําหนด

ความปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างท่วั ไปและลูกจ้างเขา้ ทำงานใหม่ 65

ตวั อยา่ งที่ 2
ขอ้ บังคับวา่ ดว้ ยความปลอดภัยในงานขนส่งและ
เคล่อื นยา้ ยดว้ ยรถยก (Fork Lift)

งานขนส่งและเคล่ือนย้ายด้วยรถยกแบ่งเป็ น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนก่อนขับรถยก
ขัน้ ตอนขบั รถยก และขนั้ ตอนเกบ็ รถยก แตล่ ะขนั้ ตอนมรี ายละเอียดดงั น้ี

1. ขนั้ ตอนกอ่ นขับรถยก

1.1 ผขู้ ับข่รี ถยกต้องผา่ นการอบรมการขับขี่รถยกโดยเฉพาะ
1.2 ตรวจสอบรถยกตามแบบฟอร์มที่กําหนดกอ่ นเริ่มงานทุกวัน หากพบขอ้ บกพร่อง ห้ามใช้

รถยกปฏิบัติงาน และให้รายงานหัวหน้างานหรือผู้ควบคุมงานเพ่ือแก้ไขทันที กรณีไม่
สามารถแกไ้ ขได้ ให้ตดิ ป้ ายห้ามใช้จนกวา่ จะดาํ เนินการแกไ้ ขแลว้ เสรจ็
1.4 ห้ามโดยสารไปกับรถยกโดยเด็ดขาด

2. ขัน้ ตอนขบั รถยก

2.1 ห้ามใช้รถยกเพ่ือยกชัน้ วาง (Pallets) ท่ชี ํารุด
2.2 ห้ามใช้รถยกยกวัสดเุ กนิ พิกดั ทผี่ ูผ้ ลิตกาํ หนด
2.3 ตอ้ งสอดงาใตว้ สั ดุท่ียกให้ลกึ ทสี่ ุด และตอ้ งให้วัสดุพิงพนักพงิ วัสดุ
2.4 ห้ามขนยา้ ยวัสดทุ ี่จัดวางไมเ่ ป็นระเบียบหรอื ไมไ่ ดผ้ กู รัดให้เรยี บร้อย
2.5 ต้องไมม่ สี ิ่งกดี ขวางเหนอื ศรี ษะตลอดเสน้ ทางที่รถยกผา่ น
2.6 ให้ยกวัสดุในระดับตา ทส่ี ดุ เท่าท่ีจะทาํ ได้ในขณะเคล่อื นยา้ ยวัสดทุ ยี่ ก
2.7 กรณวี สั ดุทีย่ กสูงจนบังสายตาผู้ขับข่ี ให้ใช้วิธีขับรถถอยหลังแทน
2.8 ขบั รถช้า ๆ และบีบแตรให้สญั ญาณเม่อื ขบั รถยกในจดุ ท่ที ัศนวสิ ยั ในการมองไมด่ ี

หรอื อยูใ่ นมุมอบั ใกลท้ างเดนิ ประตู และทางแยกหรือทางขา้ ม
2.9 ขบั รถดว้ ยความเร็วทเ่ี หมาะสมกบั สภาพพ้ืนผวิ การจราจร นาหนกั บรรทกุ และพ้ืนท่ที ํางาน
2.10 ห้ามย่ืนแขน ขา ศรี ษะ ออกนอกรถขณะขับ
2.11 เวน้ ระยะห่างของตวั รถกบั วัสดรุ อบขา้ งเสน้ ทางสญั จร
2.12 ห้ามออกรถเรว็ หยดุ รถกะทันหนั เลย้ี วรถฉับพลัน
2.13 เวน้ ระยะห่างจากพาหนะคนั อ่ืนประมาณ 3 ช่วงคนั รถนับจากปลายงา
2.14 ห้ามขบั แซงรถคนั อ่นื

66 ความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างทว่ั ไปและลกู จา้ งเขา้ ทำงานใหม่

2.15 ห้ามขบั ทับส่งิ ของทต่ี กอยูบ่ นพ้ืนผิวการจราจร
2.16 ให้ลดงาตา สุดเม่อื ขับรถเปล่า
2.17 ให้ขับเฉพาะในเสน้ ทางทีก่ าํ หนด

3. ขัน้ ตอนเก็บรถโฟลค์ ลิฟท์

3.1 ลดงาตาสุดขณะจอด และจอดตามตาํ แหนง่ ทก่ี ําหนด พรอ้ มทงั้ ดงึ เบรก
3.2 นาํ รถเขา้ ตรวจสอบบํารุงรักษาตามกาํ หนด
3.3 หากพบหรือสงสัยว่ามขี อ้ บกพรอ่ งหรือชํารุด ให้แจง้ หัวหนา้ งานหรือผู้ควบคมุ ทราบ

ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำงาน สำหรับลกู จา้ งท่วั ไปและลูกจา้ งเข้าทำงานใหม่ 67

ตัวอยา่ งที่ 3
ขอ้ บังคับวา่ ดว้ ยความปลอดภยั ในการทํางานผลติ
เหรียญโลหะ

การผลิตเหรียญโลหะ แบ่งเป็น 2 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนการเตรียมงาน และการปั๊ ม
ตัดเหรียญ แต่ละขัน้ ตอนมีรายละเอยี ดดงั นี้

1. ขนั้ ตอนการเตรียมงาน

ผูป้ ฏิบตั งิ านต้องทาํ การตรวจเชค็ อุปกรณเ์ คร่ืองปั๊ มตดั ให้อยใู่ นสภาพท่ีจะใช้งานไดอ้ ยา่ งปลอดภัย

2. ขนั้ ตอนการปั๊ มตัดเหรยี ญ

2.1 สวมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ได้แก่ ท่ีอุดหูลดเสียง ถุงมือ แว่นตา
รองเทา้ ผา้ ใบหุ้มสน้

2.2 ขณะกดสวทิ ซ์เพ่ือให้เคร่อื งปั๊ มทาํ งาน ตอ้ งกดสวทิ ซ์ทัง้ สองขา้ งพร้อมกนั
2.3 เม่ือเคร่อื งปั๊ มตดั เหรยี ญเสร็จ ให้ใช้แมเ่ หลก็ ดดู ชนิ้ งานขนึ้ มา ห้ามใช้มอื จบั ชน้ิ งาน

เคร่ืองปั๊ ม

68 ความปลอดภัย อาชีวอนามยั และสภาพแวดล้อมในการทำงาน สำหรบั ลกู จ้างท่วั ไปและลกู จ้างเข้าทำงานใหม่

ตัวอยา่ งที่ 4
ขอ้ บังคับว่าดว้ ยความปลอดภัยในการทาํ เกลียว
(ต๊าฟเกลยี ว หรือ Tapping)

งานทาํ เกลียว แบง่ เป็น 2 ขัน้ ตอน ไดแ้ ก่ ขัน้ ตอนการเตรยี มงาน และขนั้ ตอนการทาํ เกลยี ว

1. ขัน้ ตอนการเตรยี มงาน

ผู้ป ฏิ บั ติ งา น ต้ อ งทํ า ก า ร ต ร ว จ เช็ ค อุ ป ก ร ณ์ เค ร่ือ งทํ าเก ลี ยว ให้ อ ยู่ ใน ส ภ าพ ที่ จ ะใ ช้ งาน ไ ด้
อย่างปลอดภยั

2. ขัน้ ตอนการทาํ เกลยี ว

2.1 สวมอุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคล ได้แก่ ท่ีอุดหูลดเสียง แว่นตา รองเท้า
ผา้ ใบห้มุ สน้ และถงุ มือหนัง ห้ามสวมใสถ่ ุงมอื ผ้าเพราะอาจพนั กบั ดอกสว่าน

2.2 ขณะใช้สว่านตอ้ งติดการด์ ครอบจดุ หมุนทุกครง้ั
2.3 กอ่ นทําการทําเกลยี ว ต้องลอ็ คนอ๊ ตยดึ ตัวจบั ชนิ้ งาน (Jig) ให้แน่นกอ่ นทกุ ครงั้

เคร่อื งทาํ เกลียว

“ มงุ สรางสรรควัฒนธรรมไทยเชงิ ปอ งกนั
สคู วามปลอดภัย อาชวี อนามัย
และความผาสุกท่ียั่งยืน ”

คณะผูจ้ ดั ทํา

คณะผู้จัดทําหลักสูตรการอบรม

1. นางสาวสดุ ธดิ า กรุงไกรวงศ์

2. นางสาวกาญจนา กานต์วโิ รจน์

3. นายวิเลศิ เจตยิ านุวัตร

4. นางลดั ดา ตัง้ จนิ ตนา

5. นายเกียรตศิ กั ด์ิ บญุ สนอง

6. นางสาวสมพิศ พันธเุ จรญิ ศรี

7. นางสาวจฑุ าภรณ์ เมืองอุดม

บรรยายวิดีโอประกอบการอบรม

1. นายพฤทธ์ฤทธิ์ เลศิ ลีลากจิ จา
2. นางจฑุ าพนิต บญุ ดกี ลุ

สถาบนั สง เสรม� ความปลอดภยั
อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ มในการทำงาน

(องคการมหาชน)

www.tosh.or.th

เลขที่ 18 ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตลิง� ชัน กรุงเทพฯ 10170
[email protected]

02 448 9111

สสปท-TOSH สสปท TOSHThailand tosh.th @TOSH


Click to View FlipBook Version