The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by e-Book สสปท., 2021-03-15 00:48:29

OSHE Magazine ฉบับที่ 15

เกี่ยวข้องกับด้าน ความปลอดภัย อาชีวอนามัย สภาพแวดล้อมในการทำงาน Occupational Safety Health

Keywords: ปลอดภัย,safety,Occupational,Health

05 08 16 22
ทำ� นายการกระจายตัว ความแตกต่าง
อันตราย การสมั ผสั Aขร่ัวอLไOงหสHลาAโรดเยคใมชีก้โปรรณแกเี กริดมการ รเมะ่อืหวสา่มั งผเดสั ก็คแวลาะมผรู้ใ้อหนญ่
จากความร้อน ความรอ้ นกลางแจง้
และการป้องกนั

25 27 29 31 33
1ค2วบวคธิ ุมปี ้ อคงวกามันรแอ้ลนะ 12 หนา้ ท่ี
การปรับตวั ให้ทน จากการทำ� งาน ทจ่ปีต.้อวงชิ ราู้.ช..ี.พ? โรคลมแดด หยุดการสญู เสยี ...
กบั สภาพความรอ้ น ในโรงงานอุตสาหกรรม หรอื ดว้ ย Safety First
(Heat Heat Stroke
Acclimatization)

37 41 45 59สรุปผลงานนวัตกรรม
51คอลัมน์ จป.วยั ทีน
คอลมั น์ จป.มอื โปร คณุ สุพฒั พงษ์ มะณีคำ� โครงการพฒั นา นานาสาระ T-OSH NEWS
คณุ ภัทรกร สืบทอง เจา้ หน้าท่คี วามปลอดภยั นวัตกรรมดา้ นความ Tool Box Talk กบั ขา่ ว สสปท.
ในการท�ำงาน (ระดบั วิชาชีพ) ปลอดภัยและอาชี ว Morning Talk เหมอื น
เจ้าหนา้ ท่ีสอบ (Examiner) บแมรนษิ แูทั ฟแคอเจลไอพรน่ิง์ เทคโนโลยี อนามัย ประจ�ำปี 2563 หรอื ตา่ งกันอยา่ งไร
สถาบันคณุ วุฒวิ ิชาชีพ (ประเทศไทย)
(องคก์ ารมหาชน)

จ�ำกัด

หลายทา่ นคงเคยผา่ นตากบั บทกลอน “อนั เวลาและวารี มไิ ดม้ ไี วค้ อยใคร เรอื เมลแ์ ละรถไฟ ยอ่ มไปตาม
เวลา โอเ้ อ้ อดื อาด มกั จะพาดปราถนา พลาดแลว้ จะโศกา อนจิ จาเราชา้ ไป” เรอื่ งของความปลอดภยั ในการทำ� งาน
กเ็ ชน่ กนั ครบั เมอื่ เจอสภาพการทำ� งานทมี่ คี วามเสยี่ งทจี่ ะเกดิ อนั ตราย หากคดิ วา่ “เอาไวก้ อ่ น เอาไวก้ อ่ น เดยี๋ วคอ่ ยทำ�
เดย๋ี วคอ่ ยจดั การ” ความคดิ เชน่ นน้ั อาจนำ� พาใหเ้ ราพลาดและโศกา และตอ้ งมาเสยี ใจวา่ ตดั สนิ ใจชา้ เกนิ กาล เพราะ
เกดิ อบุ ตั เิ หตขุ นึ้ เสยี กอ่ นนะครบั ชว่ งฤดกู าลกำ� ลงั เปลยี่ นเมอ่ื วารสารฉบบั นอี้ ยใู่ นมอื ทา่ น เราจะรสู้ กึ วา่ แดดในฤดนู จ้ี ะ
แรงและรอ้ น การทำ� งานในสถานทโ่ี ลง่ แจง้ ดงั กลา่ ว เชน่ งานกอ่ สรา้ ง งานเกษตรกรรม ทผ่ี ปู้ ฏบิ ตั งิ านจะตอ้ งสมั ผสั
กบั ความรอ้ นทคี่ อ่ นขา้ งแรงกวา่ ฤดอู น่ื ๆ มอี นั ตรายแฝงอยู่ ผมจงึ ถอื โอกาสนน้ี ำ� สาระดๆี เกยี่ วกบั อนั ตรายจากการ
สมั ผสั ความรอ้ นและการปอ้ งกนั อนั ตรายเมอ่ื ตอ้ งทำ� งานในสภาพการทำ� งานดงั กลา่ วมาฝาก ผมหวงั เปน็ อยา่ งยง่ิ วา่
จะมปี ระโยชนต์ อ่ ทกุ ทา่ นทจี่ ะนำ� ไปใชเ้ ปน็ แนวทางในการบรหิ ารจดั การดา้ นความปลอดภยั เกย่ี วกบั ความรอ้ น โดย
เฉพาะโรงงานอตุ สาหกรรมบางประเภททอี่ ากาศถา่ ยเทไมส่ ะดวกกย็ งิ่ ตอ้ งมกี ารบรหิ ารจดั การทดี่ ี เพอื่ ความปลอดภยั
ของผปู้ ฏบิ ตั งิ าน อยา่ ลมื นะครบั เรอ่ื งของความปลอดภยั ตอ้ งดำ� เนนิ การตามมาตราฐานหลกั วชิ าการ และในชว่ งเวลา
ทเี่ หมาะสม ชา้ ไปอาจเกดิ อบุ ตั เิ หตขุ นึ้ ไดแ้ ละเกดิ ความสญู เสยี มากกวา่ ทเี่ ราคาดคดิ สสปท. หว่ งใยผปู้ ระกอบการและ
ผปู้ ฏบิ ตั งิ านเสมอดว้ ยความจรงิ ใจ แลว้ เจอกบั สาระดๆี ในฉบบั ตอ่ ไปนะครบั
สวสั ดคี รบั

ทป่ี รึกษา กรุงไกรวงศ ์ กรรมการผู้ทรงคณุ วุฒิ
สดุ ธิดา ปตี ิวรรณ ผอู้ ำ� นวยการสถาบันสง่ เสริมความปลอดภัยฯ
วรานนท์ ฟงุ้ เกียรติ รองผู้อ�ำนวยการสถาบนั สง่ เสรมิ ความปลอดภัยฯ
ศรัณยพ์ งศ ์
บรรณาธกิ ารบริหาร เลิศลีลากิจจา รองผอู้ ำ� นวยการสถาบนั ส่งเสริมความปลอดภัยฯ
พฤทธฤ์ ทธ์ ิ
นวะมะรัตน์ ควบคมุ การผลติ และประสานงาน
กองบรรณาธกิ าร ฤทธิชยั กมลฐิต ิ วรเวชกุลเศรษฐ์
พรรณทวิ า รักษากุล
ธนวรรณ ทรงพันธ์ุ ฝา่ ยการตลาดและสมาชิกสมั พนั ธ์
เกศสดุ า อนิ ทรม์ ณี สุคนธา ทว้ มพงษ์
นพปกรณ์ คะตา
จิรนันทน์ จนั ทรส์ ี สถาบันส่งเสริมความปลอดภัย อาชวี อนามยั
สภุ ารตั น์ แสงพวง และสภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน (องค์การมหาชน)
พิษณุ เรือนค�ำ เลขที่ 18 ถนนบรมราชชนนี แขวงฉิมพลี เขตตลิง่ ชัน กรงุ เทพมหานคร 10170
ศุภชยั เหล่าวัฒนโรจน์ โทรศัพท์ 0 2448 9111, 0 2448 9098
พิมพร์ มั ภา อรชร www.tosh.or.th
กฤติกา ศาตะมาน
นันทิชา พรหมเกษ 4
ปรินดา ปรางทพิ ย์
ดลยา
สกุ านดา

อคันวตารมายรจอ้ านก
ประสาท รักพาณิชสริ ิ

1. บทนํา

ประเทศไทยต้ังอยู่ในเขตร้อน ดังน้ันสภาพอากาศโดยท่ัวไปค่อนข้างร้อนตลอดท้ังปี เราจึงคุ้นเคยกับสภาพอากาศที่ร้อน ยิ่งในฤดูร้อน
ช่วงเดือนมีนาคม - เมษายน อากาศจะร้อนมากเป็นพิเศษ และเป็นช่วงท่ีมีอุณหภูมิสูงที่สุดในแต่ละปี ผู้ปฏิบัติงานที่ท�ำงานในอุตสาหกรรมท่ีมี
แหล่งก�ำเนิดความร้อนจากเครื่องจักรหรือกระบวนการผลิตที่มีความร้อน ย่ิงต้องเผชิญกับความร้อนมากขึ้นอีก และอาจเป็นอันตรายเน่ืองจาก
ความร้อนในสภาวะการท�ำงานได้ ประเภทของอุตสาหกรรมท่ีมีความร้อนสูง เช่น อุตสาหกรรมหล่อหลอมโลหะและอโลหะ อุตสาหกรรมผลิต
เซรามิค อตุ สาหกรรมผลิตเครอื่ งแกว้ อุตสาหกรรมผลิตภณั ฑ์ยาง อุตสาหกรรมเบเกอรี่ อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง เปน็ ตน้

2. กลไกควบคุมความรอ้ น

การเจ็บปว่ ยเนอื่ งจากความร้อนเกิดขน้ึ เมอื่ กลไกการระบายความรอ้ นภายในร่างกายของคนเราทาํ งานไม่ถูกต้องตามหน้าท่ี จากการที่
เราทำ� งานในทม่ี อี ากาศรอ้ นหรอื ไดร้ บั ความรอ้ นโดยตรง ทาํ ใหเ้ กดิ อาการเจบ็ ปว่ ยตา่ ง ๆ เชน่ ลมแดด หนา้ มดื ออ่ นเพลยี หมดสติ ซงึ่ ภายในสมอง
ของเราท่ีเรยี กวา่ ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) จะทาํ หนา้ ทคี่ วบคมุ อณุ หภูมิและกลไกการไหลเวยี นของของเหลว การระบายความร้อน เพื่อ
รักษาอุณหภูมิของร่างกายไว้ให้คงท่ี 98 องศาฟาเรนไฮต์ (37 องศาเซลเซียส) ถ้าอุณหภูมิภายในร่างกายสูงเกินไป ไฮโปทาลามัสจะท�ำให้เลือด
ไหลเวยี นออกมาทผี่ วิ ของรา่ งกาย ตอ่ มเหงอื่ จะระบายของเหลวออกมามากขนึ้ เพอ่ื ระบายความรอ้ น ทาํ ใหห้ วั ใจตอ้ งทำ� งานหนกั ขนึ้ เพอ่ื ใหเ้ ลอื ด
ไหลเวียนมากขึน้ ดว้ ย

5

3. อันตรายเนือ่ งจากความรอ้ น

การสัมผัสกับความร้อนเป็นเวลานาน อาจท�ำให้เกิดการเจ็บป่วยและเสียชีวิตได้
การเจ็บป่วยที่พบได้มากคือ การเป็นลมหมดสติ การเจบ็ ปว่ ยอน่ื ๆ ท่ีเกดิ ขน้ึ ได้ เช่น เป็นตะคริว
อ่อนเพลยี เพราะความร้อน เปน็ ต้น

4. ปจั จัยท่ีทาํ ให้เกิดการเจ็บปว่ ย

สาเหตทุ ท่ี าํ ใหเ้ กดิ การเจบ็ ปว่ ยเนอ่ื งจากการทำ� งานทม่ี สี ภาวะแวดลอ้ มมอี ณุ หภมู สิ งู กวา่
ปกติมปี จั จัยทีเ่ ก่ยี วขอ้ ง คอื
- มีอุณหภูมิและความช้ืนสูงด้วยการสัมผัสกับแสงแดดโดยตรง และไม่มีการระบาย
อากาศหรือลมพดั
- ดม่ื นำ�้ นอ้ ย
- ทาํ งานทต่ี ้องใช้พลงั งานมาก
- สวมเสอื้ ผา้ ที่ระบายอากาศไดน้ อ้ ย
- ไมเ่ คยชินกบั การท�ำงานในทมี่ ีอากาศร้อนมาก
ลักษณะอาการท่ีเกิดจากความร้อน ได้แก่ ปวดหัว เวียนศีรษะ หน้ามืด อ่อนเพลีย
เหงอื่ ออก กระหายน้�ำและอาจอาเจยี น

5. การปอ้ งกนั การเจ็บป่วยเนือ่ งจากความรอ้ น

- อบรมใหค้ วามรเู้ กยี่ วกบั อนั ตรายจากความรอ้ นทอี่ าจทำ� ใหเ้ กดิ การเจบ็ ปว่ ยได้ และการ
ปอ้ งกันอันตรายจากความร้อน
- จดั ใหม้ นี า้ํ เยน็ และกระตนุ้ ใหผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านดม่ื นำ�้ บอ่ ย ๆ ในระหวา่ งปฏบิ ตั งิ านทมี่ อี ากาศ
ร้อน อยา่ งนอ้ ย 1 แก้ว ทกุ 20 นาที
- จดั ใหม้ ชี ว่ งเวลาพกั ใหบ้ อ่ ยกวา่ การทำ� งานในสภาพปกตแิ ละบรเิ วณทพ่ี กั มสี ภาพอากาศ
ถา่ ยเทสะดวก ไม่รอ้ น พร้อมจัดหานำ�้ ใหด้ ่ืม
- พิจารณาให้สวมใสเ่ ส้ือผ้าทรี่ ะบายอากาศไดด้ ี
- จดั หาอปุ กรณค์ มุ้ ครองความปลอดภยั สว่ นบคุ คล เพอ่ื ไมใ่ หผ้ ปู้ ฏบิ ตั งิ านสมั ผสั ความรอ้ น
โดยตรง

6. กฎหมายท่เี ก่ยี วขอ้ ง

กฎกระทรวง กําหนดมาตรฐานในการบริหาร จัดการ และดําเนินการด้านความ
ปลอดภยั อาชวี อนามยั และสภาพแวดล้อมในการทํางานเก่ยี วกับความร้อน แสงสวา่ ง และ
เสยี ง พ.ศ. 2559 ไดก้ ำ� หนดมาตรฐานระดบั ความรอ้ นทจี่ ะไมเ่ ปน็ อนั ตรายตอ่ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านทตี่ อ้ ง
ทำ� งานในสภาวะการทำ� งานท่มี อี ณุ หภูมิสูงไว้ ดงั น้ี

6

ลักษณะงาน การเผาผลาญพลงั งานในร่างกาย ระดบั ความรอ้ น (WBGT)
กิโลแคลอรี่/ชั่วโมง ไม่เกนิ ค่าเฉลยี่ องศาเซลเซยี ส
งานเบา
งานปานกลาง น้อยกวา่ 200 34
งานหนัก 200 – 350 32
มากกว่า 350 30

7. การป้องกนั อนั ตรายจากความรอ้ น

- ต้องมีความรเู้ กยี่ วกับสัญญาณหรืออาการที่จะน�ำไปส่กู ารเจบ็ ป่วยเนื่องจากความรอ้ น
- ป้องกนั ไม่ให้สัมผัสกับความร้อนหรือแสงแดดโดยตรง
- ดม่ื น�้ำมากๆ และบ่อย กอ่ นทจี่ ะร้สู กึ กระหาย
- หลกี เลย่ี งเคร่อื งดื่มท่มี แี อลกอฮอล์ หรอื คาเฟอีน
- สวมเสื้อผ้าทม่ี นี า้ํ หนักเบา ใส่แบบหลวม และมสี ีออ่ น
- หลีกเลีย่ งใหบ้ คุ คลท่ีมสี ภาพรา่ งกายไม่สมบรู ณ์ เชน่ มคี วามดนั โลหิตสูง เบาหวาน เป็นหวดั และมีไข้
- มกี ารระบายอากาศท่ีดีและลดความช้นื ในอากาศ

7

กคแลาวะรากสมาัมรร้อผปนสั้อกงลกานั งแจ้ง

ประกาศิต ทอนช่วย
สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

8

ปี พ.ศ. 2563 ประเทศไทยใกล้เข้าสู่ฤดูร้อนตามการคาดการณ์ของ
กรมอุตุนิยมวิทยาว่า จะเริ่มช้ากว่าปกติเล็กน้อย ประมาณต้นสัปดาห์ท่ี 4
ของเดือนกุมภาพันธ์ และจะส้ินสุดประมาณกลางเดือนพฤษภาคม ลักษณะ
อากาศจะร้อนอบอ้าวเกือบทั่วไป โดยบริเวณประเทศไทยตอนบนจะมีอุณหภูมิ
สูงสุดเฉล่ียสูงกว่าค่าปกติประมาณ 0.5 องศาเซลเซียส (ค่าปกติ 35.4 องศา
เซลเซียส) อยู่ที่ประมาณ 36 องศาเซลเซียส ช่วงกลางเดือนมีนาคมถึงปลาย
เดือนเมษายน จะมีอากาศร้อนจัดหลายพ้ืนท่ีในบางช่วง อุณหภูมิสูงท่ีสุดถึง
40-43 องศาเซลเซียส (กรมอุตุนิยมวิทยา, 2563) จากสภาพอากาศของโลกท่ี
มีแนวโน้มของอุณหภูมิสูงขึ้นอย่างต่อเน่ือง หากร่างกายของผู้ปฏิบัติงานกลาง
แจ้งปรับสภาพไม่ทันต่อสภาวะอากาศที่เปล่ียนแปลง ย่อมเกิดการเจ็บป่วยและ
เสียชีวิตได้ จากข้อมูลการเฝ้าระวังการเจ็บป่วยหรือเสียชีวิตเนื่องจากภาวะอากาศร้อน
(Hot weather related illness and deaths surveillance) ของส�ำนกั ระบาดวทิ ยา
กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข ในชว่ งฤดรู ้อน (มีนาคม – พฤษภาคม) ต้งั แต่ พ.ศ.
2558 – 2561 พบวา่ มรี ายงานผเู้ สยี ชวี ติ ทเี่ ขา้ ขา่ ย จำ� นวน 56 60 24 และ 18 ราย ตามลำ� ดบั
โดยมอี ณุ หภมู ชิ ว่ งฤดรู อ้ นเฉลยี่ 38.9 38.1 38.0 และ 38.1 ตามลำ� ดบั (กรมควบคมุ โรค,
2562) การเจ็บป่วยและเสียชีวิตดังกล่าวเกิดจากภาวะท่ีร่างกายไม่สามารถปรับตัวหรือ
ควบคมุ ระดบั ความรอ้ นในรา่ งกายได้ เกดิ จากความรอ้ นในสงิ่ แวดลอ้ มสงู ขน้ึ จนไมส่ ามารถ
ระบายความรอ้ นได้ตามปกติ มกั พบในผู้ที่ทำ� งานกลางแจง้ เป็นเวลานาน ได้แก่ เลน่ กีฬา
ฝึกทหาร รวมถึงไปถึงผู้ใช้แรงงานกลางแดด เช่น เกษตรกร กรรมกรก่อสร้าง ฯลฯ
การเจ็บป่วยจากการสัมผัสความร้อน (Heat related illness) ท�ำให้มีอาการ
ตั้งแต่เล็กน้อยจนถึงเสียชีวิต โดยกลุ่มอาการที่เกิดข้ึน ได้แก่ ผ่ืนผดแดด (Heat
rash) บวมแดด (Heat edema) ลมแดด (Heat syncope) ตะคริวแดด (Heat
cramp) การเกร็งจากแดด (Heat tetany) และอาการรุนแรง ได้แก่ เพลียแดด
(Heat exhaustion) และโรคลมร้อน (Heat stroke) เมื่ออากาศร้อนร่างกาย
จะตอบสนองโดยการสร้างเหง่ือมากขึ้น และการเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาอื่นๆ เช่น
อัตราการหายใจเพ่ิมขึ้น อัตราการเต้นของหัวใจเพิ่มขึ้น เลือดไหลเวียนไปท่ีผิวหนังเพิ่ม
ข้นึ แตม่ ีเลือดไหลเวยี นทีอ่ วยั วะภายในลดลง ท�ำให้มีโอกาสทีจ่ ะขาดเลือดไปเลีย้ งอวัยวะ
ทีส่ �ำคญั ได้แก่ สมอง หวั ใจ ตับและไต ส่งผลให้เป็นอันตรายถงึ แกช่ วี ิตได้
แหล่งความร้อนที่มีอิทธิพลต่ออุณหภูมิของร่างกายมาจาก 2 แหล่ง ได้แก่ 1)
ความร้อนจากสิ่งแวดล้อม (Environmental heat) โดยการถ่ายเทความร้อนระหว่าง
ส่ิงแวดล้อมและรา่ งกาย ข้นึ อยู่กับว่าแหลง่ ใดจะมอี ุณหภมู สิ งู กว่ากนั ประกอบดว้ ย 4 วิธี
ได้แก่ การน�ำความร้อน (Conduction) การพาความร้อน (Convection) การแผ่รังสี
ความร้อน (Radiation) และการระเหยของเหงอื่ (Evaporation) ใน 4 วธิ นี ้ี การระเหย
ของเหงอ่ื มีประสิทธิภาพสูงสุดในการระบายความร้อนออกจากรา่ งกาย แต่หากอุณหภูมิ
ของอากาศใกล้เคียงกับอุณหภูมิของร่างกาย วิธีการน�ำความร้อนจะมีประสิทธิภาพเพ่ิม
ข้ึน คือ สามารถระบายความร้อนได้ดีกว่า 2) ความร้อนจากการเผาผลาญสารอาหาร
(Metabolism heat) เป็นกระบวนการทางเคมที ่ผี ลติ พลังงานเพื่อใช้กิจกรรมตา่ งๆ ของ
รา่ งกาย (พรพมิ ล กองทพิ ย,์ 2555)

9

หากนำ� แหลง่ ของความรอ้ นมาเขยี นเปน็ สมการแสดงความสมั พนั ธ์
กบั ความรอ้ นทสี่ ะสมในรา่ งกาย ทเี่ รยี กวา่ สมการสมดลุ ความรอ้ น จะไดด้ งั นี้

H=M±R±C±D–E

เมอื่ H คอื ความรอ้ นทส่ี ะสมในรา่ งกาย เครอื่ งหมาย (+) แสดงถงึ
การถา่ ยเทความรอ้ นเข้าสรู่ ่างกาย ตรงกันขา้ มเครอื่ งหมาย (–) ก็แสดงการ
ถ่ายเทความร้อนออกจากร่างกายเช่นกัน นอกจากน้ีในการท�ำงานสภาพ
จริง ผู้ปฏิบัติงานมีโอกาสสัมผัสกับแหล่งของความร้อนโดยตรงน้อยมาก
จึงสามารถน�ำการถ่ายเทความร้อนโดยวิธีการน�ำความร้อน (D) ออกจาก
สมการ

สมการดังกล่าวมีความสัมพันธ์กับดัชนีบ่งชี้สภาพความร้อนท่ี สภาพอากาศทอ้ งฟา้ แจม่ ใสและมเี มฆบางสว น โดยวดั ทค่ี วามสงู
กฎหมายของประเทศไทยกำ� หนดและสากลนยิ มใช้ คอื ดชั นกี ระเปาะเปยี ก 3 ระดับ ไดแ้ ก่ ขอ เทา (0.1 เมตร) ทอ ง (1.1 เมตร) และศรี ษะ
และโกลบ (Wet Bulb Globe Temperature Index) หรอื “WBGT” โดย (1.7 เมตร) โดยคำ� นวณค่า WBGT ตามสมการดังน้ี
ประกอบดว้ ย อุณหภูมิกระเปาะแห้งส�ำหรบั บ่งชี้อุณหภูมิอากาศ อุณหภูมิ
กระเปาะเปียกธรรมชาติส�ำหรับบ่งช้ีอุณหภูมิผิวหนังเมื่อเหงื่อระเหยตาม WBGT = WBGThead+2•WBGTTabdomen+WBGTankles
ธรรมชาติ และอุณหภูมิโกลบส�ำหรับบ่งชี้อุณหภูมิจากการแผ่รังสีความ 4
รอ้ น การประเมนิ ดัชนี WBGT น้ี แบบนอกอาคารหรือกลางแจ้ง สามารถ
ใชส้ มการดงั นี้ ผลพบว่า ร่มสามารถลดอุณหภูมิโกลบได้ 6.2 องศา
WBGT(Outdoor) = 0.7 tnwb + 0.2 tg + 0.1 ta เซลเซยี ส และมากทสี่ ดุ ถงึ 8.2 องศาเซลเซยี ส ในรม่ ชนดิ C และ
ทงั้ นเ้ี มอ่ื ประเมนิ อณุ หภมู ิ WBGT แลว้ ตอ้ งนำ� มาเทยี บกบั ผลการ ลดอณุ หภมู ิ WBGT ได้ 1.8 องศาเซลเซยี ส ทง้ั นมี้ ากถงึ 2.9 องศา
ประเมนิ ภาระงาน (Work load) ทไ่ี ดม้ าจากการเผาผลาญพลงั งานมหี นว่ ย เซลเซียสทร่ี ะดับศรี ษะ (Watanabe S., et al., 2017)
เป็น kcal/hr แลว้ จึงสามารถนำ� ไปเทยี บกับมาตรฐานกระทรวงแรงงานได้
ต่อไป (วนั ทนี พันธปุ์ ระสิทธิ์, 2557) อีกการศึกษาหน่ึงเก่ียวกับการเปรียบเทียบระดับ
การจัดการแหล่งก�ำเนิดของแหล่งความร้อนกลางแจ้งน้ันแทบ อุณหภูมิกระเปาะเปียกและโกลบ (WBGT) ภายใต้ร่มกันแดด
จะเป็นไปไม่ได้เลย เน่ืองจากรังสีความร้อนแผ่มาจากดวงอาทิตย์ ดังน้ัน ท่ีใช้ในงานเกษตรกรรม ซ่ึงเกษตรกรสามารถหาซ้ือได้ตามท้อง
ผู้ท่ีมีความจ�ำเป็นต้องปฏิบัติงานกลางแจ้งจึงต้องจัดหาร่มเงา เพ่ือมาลด ตลาดและนิยมใช้กันท่ัวไป ได้แก่ ร่มชนิดท่ี 1 โพลีเอสเตอร์
อุณหภูมิโกลบ ซ่ึงมักจะมีค่ามากกว่าอุณหภูมิแบบอื่น หากในวันท�ำงานมี รม่ ชนดิ ที่ 2 ไนลอน และรม่ ชนดิ ที่ 3 โพลเี อสเตอรเ์ นอ้ื หนาเคลอื บ
แดดจัดหรือเมฆบางส่วน การให้ร่มเงาจะมีประสิทธิผลในการลดอุณหภูมิ กันยูวี ท�ำการตรวจวัดในพื้นท่ีเกษตรกรรมกลางแจ้งและ
จากสิ่งแวดล้อมมากกว่าการสวมใส่เส้ือผ้า เนื่องจากจะขัดขวางการระเหย ไมม่ ฝี นตก ระหวา่ งเวลา 09.00 - 17.00 น. เปน็ ระยะเวลา 3 วนั
ของเหง่ือ หากผู้ปฏิบัติงานน้ันมีข้อจ�ำกัดด้านความรู้และงบประมาณ ในช่วงเดอื นสงิ หาคมถงึ กนั ยายน พ.ศ. 2562 ใช้เคร่ืองวัดความ
ในการเลือกซ้ือชุดเสื้อผ้าท่ีระบายความร้อนได้ดี ซึ่งวิธีแก้ปัญหาในการ ร้อนแบบ WBGT (Area Heat Stress Monitor) รุ่น QT-36
ใหร้ ่มเงาสว่ นตวั ก็คือ การใช้ร่มกันแดด โดยในไตห้ วนั ผหู้ ญงิ ใช้ร่มกันแดด ย่ีห้อ 3M แบบดิจิตอล จ�ำนวน 6 เคร่ือง และเคร่ืองตรวจวัด
เพื่อหลีกเลี่ยงความร้อนท่ีสูงเกินไปในฤดูร้อน ร้อยละ 38 และในญ่ีปุ่น ความรอ้ นแบบธรรมดา (Manual) จำ� นวน 2 เครอ่ื ง ตามมาตรฐาน
คนเดนิ เท้า ร้อยละ 25 ก็ใช้เช่นกนั
การศึกษาในประเทศญี่ปุ่นเกี่ยวกับการเปรียบเทียบการลด
อณุ หภูมิ WBGT ภายใต้ร่ม (Parasols) 3 ชนิด ไดแ้ ก่ รม่ ชนิด A สีดำ� , รม่
ชนิด B สีขาว ผลติ จากโพลเี อสเตอร์ (65%) และคอตตอน (35%) และร่ม
ชนดิ C สนี ำ้� ตาล ผลติ จากโพลเี อสเตอร์ (100%) เคลอื บดว้ ยฟลิ ม์ ยรู เี ทน ใน

10

ISO 7243 บันทึกค่าทุกๆ 10 นาที ติดตั้งท่ีความสูงระดับหน้าอกของเกษตรกรขณะยืนท�ำงาน (1.2 เมตร)
และระดบั หน้าอกขณะนงั่ ท�ำงาน (0.5 เมตร) แลว้ นำ� ค่ามาเปรยี บระหว่างร่ม 3 ชนิด โดยใช้สถติ ิ One-Way
ANOVA และระหวา่ งภายนอกและภายใตร้ ่มด้วยสถติ ิ Independent sample t-test
ผเู้ ขียนขอสรปุ ผลการศึกษาแบบคร่าวๆ ว่า ขณะยนื ท�ำงาน อุณหภมู ิ WBGT ระหวา่ งภายนอกและ
ภายในรม่ ทงั้ 3 ชนดิ มคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งมนี ยั สำ� คญั ทางสถติ ิ (p-value < 0.05) โดยรม่ ชนดิ ที่ 2 สามารถ
ลดอุณหภูมิได้ถึง 10.16 องศาเซลเซียส ส�ำหรับการเปรียบเทียบประสิทธิภาพระหว่างร่ม พบว่า อุณหภูมิ
กระเปาะแห้ง และอณุ หภูมิกระเปาะเปียกไมแ่ ตกต่างกนั ส่วนอุณหภูมิโกลบและ WBGT แตกต่างกนั อยา่ งมี
นยั สำ� คญั ทางสถติ ิ (p-value < 0.05) เมอ่ื ทำ� การทดสอบความแตกตา่ งรายคแู่ บบ Post Hoc โดยใช้ Tukey’s
Test จะเหน็ ได้วา่ อุณหภูมิโกลบ (Globe Temperature) รม่ ที่ 2 สามารถลดอุณหภมู ไิ ดม้ ากกว่าร่มท่ี 1 และ
WBGT (Wet Bulb Globe Temperature) ร่มท่ี 2 สามารถลดอณุ หภมู ไิ ดม้ ากกวา่ รม่ ที่ 3 ซง่ึ ระดบั อณุ หภมู ิ
แตล่ ะชว่ งเวลาแสดงดงั ภาพท่ี 1

ภาพที่ 1 แผนภูมิระดับอุณหภูมิกระเปาะแห้ง กระเปาะเปียกธรรมชาติ อุณหภูมิโกลบ และ
WBGT ภายใตแ้ ละภายนอกรม่ ขณะยืนท�ำงาน
สำ� หรบั ขณะนง่ั ทำ� งาน อณุ หภมู ิ WBGT ระหวา่ งภายนอกและภายในรม่ ทงั้ 3 ชนดิ มคี วามแตกตา่ งกนั
อย่างมนี ยั สำ� คัญทางสถิติ (p-value < 0.05) เช่นกนั โดยร่มชนดิ ที่ 3 สามารถลดอุณหภูมิได้ถงึ 5.39 องศา
เซลเซยี ส สำ� หรบั การเปรยี บเทยี บประสทิ ธภิ าพระหวา่ งรม่ พบวา่ มเี พยี งอณุ หภมู กิ ระเปาะเปยี กทม่ี แี ตกตา่ งกนั
อย่างมีนัยส�ำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05) เม่ือท�ำการทดสอบความแตกต่างรายคู่แบบ Post Hoc
โดยใช้ Tukey’s Test จะเห็นไดว้ า่ ร่มชนิดท่ี 3 สามารถลดอุณหภมู ิไดม้ ากทส่ี ดุ รองลงมาเป็นร่มท่ี 1 และ 2
ตามล�ำดับ ซงึ่ ระดบั อณุ หภมู ิแต่ละชว่ งเวลาแสดงดงั ภาพที่ 2
จากการศึกษาน้ีสามารถน�ำไปแนะน�ำในเชิงวิชาการให้กับเกษตรกรผู้สนใจในการเลือกชนิดของร่ม
ที่เหมาะสมกับลักษณะของงาน คอื ร่มไนลอนและโพลีเอสเตอร์เนื้อหนาเคลือบกนั ยูวี เพ่ือใช้ในการหลกี เล่ยี ง

11

การรับสัมผัสความร้อน ป้องกันการสัมผัสกับการแผ่รังสีความร้อน สร้างร่มเงาขณะยืนและนั่งท�ำงานกลางแจ้ง นอกจากนี้ข้อเสนอแนะส�ำหรับ
การศกึ ษาในอนาคตควรเกบ็ ขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ในชว่ งฤดรู อ้ น (เดอื นกมุ ภาพนั ธ-์ พฤษภาคม) เพอ่ื ใหไ้ ดข้ อ้ มลู ในชว่ งทำ� เกษตรกรรมในฤดแู ลง้ และควร
มกี ารศกึ ษารม่ ชนิดอน่ื หรือสขี องรม่ นอกเหนอื จากน้ี รวมทัง้ ปจั จยั สงิ่ แวดล้อมอื่นๆ ไดแ้ ก่ ความเรว็ ลมและความชืน้ สมั พทั ธ์ (กาญจนา ปาละอ้าย
และคณะ, 2562)
นอกเหนือจากการจัดการให้ร่มเงาส�ำหรับลดอุณหภูมิความร้อนแล้ว การควบคุมทางการบริหารจัดการ (Administrative controls)
ก็มีส่วนช่วยส�ำหรับผู้ปฏิบัติงานได้ไม่น้อยเช่นกัน ได้แก่ การจัดระยะเวลาพักเพ่ือลดภาระงาน การปรับตัวให้ทนกับสภาพความร้อน (Heat
acclimatization) และการจดั หาน้�ำดม่ื น้ำ� เกลือแร่ทดแทน รวมไปถึงการสรา้ งระบบเฝา้ ระวังและเตอื นภยั สขุ ภาพจากความรอ้ นด้วย

ภาพท่ี 2 แผนภมู ิระดบั อณุ หภูมิกระเปาะแหง้ กระเปาะเปียกธรรมชาติ อุณหภูมิโกลบ และ WBGT ภายใตแ้ ละภายนอกรม่ ขณะ
นง่ั ท�ำงาน

12

*p-value < 0.05
*p-value < 0.05
*p-value < 0.05

13

*p-value < 0.05
*p-value < 0.05

14

3 0.07 0.098 0.737 -0.16 0.30
0.55
2 3 0.32 0.098 0.004* 0.09

ตาราง 6 การเปรียบเทียบ WBGT (Wet Bulb Globe Temperature) ระหว่างอณุ หภมู ภิ ายใตร้ ่มกับอุณหภูมิ
ภายนอกร่ม ระดับอกขณะยนื ทำงาน

*p-value < 0.05

*p-value < 0.05

เอกสารอา้ งอิง
กรมอุตุนิยมวิทยา. (2563). การคาดหมายลักษณะอากาศช่วงฤดูร้อนของประเทศไทย พ.ศ.2563. สืบค้นเม่ือ 8 กุมภาพันธ์

2563, จาก http://climate.tmd.go.th/content/file/1445
กาญจนา ปาละอ้าย, ซูไฮลา ดีเน็ง, อรวี สุขใจ และแพรวพนิดา ยวงแก้ว. (2562). การศึกษาเปรียบเทียบระดับอุณหภูมิ

กระเปาะเปยี กและโกลบ (WBGT) ภายใต้ร่มกนั แดดในพืน้ ทเ่ี กษตรกรรม จงั หวดั พะเยา. ภาคนิพนธป์ ริญญาวิทยา
ศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาอาชวี อนามยั และความปลอดภยั คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, พะเยา.
ประกาศกรมควบคุมโรค เรื่อง การป้องกันโรคและภัยสุขภาพท่ีเกิดในช่วงฤดูร้อนของประเทศไทย พ.ศ. 2562
ลงวันท่ี 6 มีนาคม พ.ศ. 2562.
พรพิมล กองทิพย์. (2555). สุขศาสตร์อุตสาหกรรม (พิมพ์คร้ังท่ี 3). กรุงเทพฯ: หจก.เบสท์ กราฟฟิค เพรส.
วันทนี พันธุ์ประสิทธ์ิ. (2557). สุขศาสตร์อุตสาหกรรม กลยุทธ์ ประเมิน ควบคุม และจัดการ. กรุงเทพฯ: หจก.เบสท์
กราฟฟคิ เพรส.
Watanabe, S. and J. Ishii. (2017). “Mitigation of pedestrian heat stress using parasols in a humid subtropical
region.” International Journal of Biometeorology, 27, 2009-2019.

15

ทำ� นายการกระจายตัว
ของสารเคมี
กรณเี กดิ การรว่ั ไหล
โดยใช้โปรแกรม ALOHA

การรั่วไหลของสารเคมีจากท่อหรือถังเก็บที่มีความดันสูง สามารถ
ประเมนิ การปลดปล่อยสารพษิ และการแพร่กระจายจากแบบจ�ำลอง ซง่ึ สามารถ
สังเกตได้จากปจั จัยพ้ืนฐาน 3 ขัน้ ตอน ดงั นี้
1. การระบุเหตุการณ์ทีเ่ กดิ ขึ้น
2. การพัฒนาแบบจำ� ลองเพื่ออธิบายลักษณะและอัตราการปลดปลอ่ ย
สารอนั ตราย
3. การประมาณค่าความเข้มข้นของสารอันตรายจากทิศทางลม เพ่ือ
ประเมนิ ผลกระทบลกั ษณะทเ่ี ปน็ อนั ตราย ไดแ้ ก่ การลกุ ตดิ ไฟ ความเปน็ พษิ และ
การเกดิ ปฏกิ ิริยา เปน็ ตน้

16

รปู ท่ี 1 ลกั ษณะของกลุม่ ควนั เม่อื มีการรั่วไหลของสารในถังกกั เก็บ

รูปท่ี 2 รปู ร่างของกลุ่มควนั เมอ่ื เกิดการร่วั ไหลทนั ที

17

โปรแกรม Areal Location of Hazardous Atmosphere (ALOHA) เป็นโปรแกรมการคำ� นวณการแพรก่ ระจายของสารเคมที ีร่ ่วั ไหล
ในอากาศ โดยสามารถประเมนิ อนั ตราย ได้แก่ ความเปน็ พษิ ความไวไฟ รังสคี วามร้อน และการระเบิด เป็นต้น โปรแกรม ALOHA สามารถสรา้ ง
แบบจ�ำลองการรวั่ ไหลและการระเบดิ จากสารเคมี ดงั นี้

1. Jet Fire เป็นไฟทีเ่ กิดจากการร่วั ไหลของสารเคมอี ย่างตอ่ เนื่อง แลว้ เกดิ ติดไฟทนั ทที นั ใด และเกดิ ไฟไหม้เปน็ ล�ำพ่งุ ออกไป
2. Pool Fire เป็นไฟทีเ่ กดิ จากถงั เกบ็ กักหรอื สารติดไฟรั่วไหลแล้วแผ่กระจายไปตามพื้น ลักษณะของไฟจะแผ่เปน็ วงกว้าง ขนึ้ อยกู่ ับ

ขนาดของพื้นท่ีหน้าตดั ของผิวสารตดิ ไฟ

3. Boiling Liquid Expanding Vapor Explosions (BLEVE) เปน็ เหตกุ ารณท์ ่เี กิดจากการรว่ั ไหลของสารเคมีหรือวัตถุ

ไวไฟ และรวั่ ไหลออกมาในปริมาณมาก ซง่ึ จะเกิดขึน้ กบั การร่ัวไหลของของเหลวท่ีอยูใ่ นถงั กักเก็บภายใตแ้ รงดนั

4. Fire Ball การเกิดเหตกุ ารณไ์ ฟไหมเ้ ปน็ ลกู ไฟทีว่ ิ่งไปในอากาศ เกิดข้นึ จากถงั กักเก็บของเหลวไวไฟภายใต้ความดนั แตก เนอ่ื งจาก

ไดร้ บั ความรอ้ น มักเกดิ ขึ้นพรอ้ มกบั การระเบิดแบบ BLEVE

5. Vapor Cloud Explosions (VCE) เกดิ จากสารเคมรี วั่ ไหลและแพรก่ ระจายในบรรยากาศเปน็ ลกั ษณะกลมุ่ กา๊ ซความเขม้ ขน้ สงู

และเกดิ การลุกติดไฟทำ� ใหเ้ กิดการระเบดิ กอ่ ใหเ้ กิดอันตรายและมีผลในการท�ำลายล้างสูง

6. Flash Fire เกดิ จากสารเคมรี ว่ั ไหลออกสบู่ รรยากาศกลายเปน็ Vapor Cloud ทำ� ใหเ้ กดิ การตดิ ไฟขนึ้ ภายหลงั แตไ่ มท่ ำ� ใหเ้ กดิ การระเบดิ

การบันทกึ ขอ้ มลู ลงในโปรแกรม ALOHA

1. สถานที่เกิดเหต:ุ กำ� หนดชอ่ื เมือง ที่ต้ังภมู ศิ าสตร์ ความสงู จากระดบั น้ำ� ทะเล (Elevation) ค่า Latitude และ Longitude

18

2. ชนิดของสารเคม:ี เลอื กสารเคมที ่ีตอ้ งการศึกษา และระบุความเขม้ ข้น 100% หรือความเข้มข้นที่ต้องการศึกษา

3. สภาพภมู อิ ากาศโดยรอบ: ระบคุ วามเร็วลม ความขรขุ ระของพน้ื ดนิ การปกคลมุ ของเมฆ อณุ หภูมขิ องอากาศ และความช้นื

4. ลกั ษณะแหลง่ ก�ำเนดิ

- Direct: การกระจายโดยตรง และทราบปรมิ าณของสารท่ีก�ำลงั กระจายอยา่ งแน่ชัด
- Puddle: การกระจายของสารเคมีแบบไหลนองกับพน้ื
- Tank: การกระจายจากถัง ไมว่ ่าแบบทรงกระบอก หรือแบบทรงกลม
- Pipe: การร่วั ออกจากท่อ ไม่วา่ ทอ่ นั้นจะออกจากถงั หรอื เป็นทอ่ ตนั

19

การแสดงผล

1. รปู แบบ Footprint การแพรก่ ระจาย แบง่ เปน็ 3 ระดบั ในแตล่ ะ
ระดบั จะแสดงขอบเขตของความเขม้ ขน้ ทแ่ี ตกตา่ งกนั ซง่ึ ระยะทางจากแหลง่
กำ� เนิดจะมีอนั ตรายตา่ งกนั

20

2. กราฟแสดงความเขม้ ขน้ ของสารเคมีในบรรยากาศ ณ จุดใดจดุ หน่งึ

3. แสดงอตั ราการรว่ั ไหลของสารเคมตี ามระยะเวลาทผ่ี า่ นไป

ประโยชนข์ องโปรแกรม ALOHA

1. สามารถประเมนิ ผลกระทบเมอ่ื เกิดเหตสุ ารเคมรี ่ัวไหล โดยน�ำสภาพแวดล้อมในเหตุการณ์มาคำ� นวณระยะทางทจ่ี ะไดร้ บั ผลกระทบ
เพอื่ วางแผนการช่วยเหลือ
2. การสร้างสถานการณ์หรอื ประเมนิ จดุ เสีย่ ง เพ่อื วางแผนรองรบั เหตุการณฉ์ ุกเฉนิ ล่วงหน้า

เอกสารอ้างอิง

1. วนั วสิ าข์ เสาศริ ,ิ การประเมนิ การแพรก่ ระจายและการระเบดิ ของกา๊ ซปโิ ตรเลยี มเหลว จากการรวั่ ไหลของสถานบี รกิ ารกา๊ ซปโิ ตรเลยี ม
เหลว (LPG) ในกรงุ เทพมหานคร ดว้ ยโปรแกรม ALOHA, 2559.
2. การใช้ Aloha, http://www.spko.moph.go.th/wp-content/uploads/2017/03/AlohaThai.pdf.
3. Patel P. and Sohani N., Hazard Evaluation Using Aloha Tool in Storage Area of an Oil Refinery, International
Journal of Research in Engineering and Technology, 2015, Volume 04, Page 203-209.

21

ความแตกตา งระหวา ง

เด็ก และ ผูใหญ

เมอื่ สมั ผัสความรอน

ประกาศิต ทอนช่วย

สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา

การทําความเขาใจขอเท็จจริงทางดานชีววิทยาท่ีเก่ียวกับการ
ควบคมุ อณุ หภมู ริ า งกายของเดก็ เปน สง่ิ ทสี่ าํ คญั เปน อยา งมาก โดยปกตริ า งกาย
ของมนษุ ยจ ะมรี ะบบทคี่ วบคมุ อณุ หภมู ขิ องรา งกาย (Thermoregulatory)
ใหมีระดับที่ใกลเคียง 36.5°C สมองสวนไฮโปทาลามัส มีความสําคัญหลัก
ทําหนาท่ีรับสัญญาณประสาทจากตัวรับอุณหภูมิ (Thermoreceptors)
ท่ีอยูท่ัวบริเวณ รางกาย เม่ือมีสัญญาณมากระตุน คืออุณหภูมิท่ีต�่ำหรือ
เกินชวงเกณฑอุณหภูมิปกติของรางกาย ระบบควบคุมอุณหภูมิจะทําการ
ตอบสนองและส่ังการ อยางอัตโนมัติ(1) ซ่ึงระบบควบคุมน้ีจะทําใหเกิด
ความสมดุลของอุณหภูมิในรางกาย โดยอาศัย 2 กระบวนการ ไดแก
การเผาผลาญพลงั งานในรา งกายเพอื่ ใหเกดิ ความรอน (Thermogenesis)
และการระบายหรือลดความรอนของรางกาย (Thermolysis) เพ่ือที่จะ
พยายามรักษาอณุ หภมู ิของรางกายใหเหมาะสม
เปนท่ีทราบกันวาเด็กมีลักษณะท้ังทางกายวิภาคศาสตรและ
สรีรวิทยาที่แตกตางจากผูใหญ เชน สวนประกอบของรางกาย น�้ำ และ
มวลกระดูก ทางดานสัณฐานวิทยา เด็กมีอัตราสวนของพื้นที่ผิวกายตอ
น�้ำหนักตัวมากกวา ซึ่งสาเหตุนี้จะนําไปสูการเพ่ิมข้ึนของอุณหภูมิรางกาย
อยา งรวดเร็ว เมื่อรางกายของเดก็ มกี ารสมั ผสั กบั ความรอน(2,3,4)

22

เม่ือรางกายสัมผัสกับความรอน กลไกในการลดความ
รอนจะไมแตกตางกันระหวางเด็กและผูใหญ แตปริมาณอัตราการ
เผาผลาญพลงั งานในรา งกายเพอ่ื ใหเ กดิ ความรอ น (Thermogenesis)
และการระบายหรือลดความรอนของรางกาย (Thermolysis) นนั้ ยงั
มีความแตกตางกัน มนุษยจะพยายามลดความรอนโดยอาศัยการนํา
ความรอ น (Conduction) การพาความรอ น (Convection) การแผร งั สี
ความรอน (Radiation) และการระเหย (Evaporation) โดยการ
ระเหยนน้ั อาศยั จากเหงอื่ ซง่ึ มคี วามสาํ คญั มากทสี่ ดุ ในการระบายความ
รอ น ของรา งกาย ทงั้ นจี้ ะขนึ้ อยกู บั ปรมิ าณการผลติ เหงอ่ื ดว ย อยา งไร
กต็ ามในเดก็ ชว งกอ นวยั รนุ กระบวนการนยี้ งั เจรญิ เตบิ โตไมส มบรู ณ(5,6)
นอกจากน้ียังมีการผลิตเหง่ือในปริมาณที่ต�่ำ เนื่องจากเด็กมีปริมาณ
ของเหงอื่ ตอ ตอ มนอ ยกวา ผใู หญ่ จงึ ทาํ ใหป ระสทิ ธภิ าพในการระบาย
ความรอ นของเด็กลดลง อณุ หภมู สิ ะสมในแกนกลางรางกายจึงสูงข้นึ
อยา งรวดเรว็ หากเดก็ ทาํ กจิ กรรมในสภาวะทรี่ อ น กจ็ ะยง่ิ ทาํ ใหเ กดิ ภาวะ
ตวั รอนเกิน หรอื มไี ขสงู ได (Hyperthermia) (2,4,7)

อกี ประเดน็ หนง่ึ ในกระบวนการระบายความรอ นของรา งกาย คอื
การไหลเวยี นเลอื ดใหม าทผี่ วิ หนงั เมอ่ื เปรยี บเทยี บกบั ผใู หญแ ลว จะพบความ
แตกตา ง ไดแ ก เดก็ จะมปี รมิ าณเลอื ดทส่ี บู ฉดี จากหวั ใจในแตล ะครงั้ นอ ยกวา
(Cardiac volume) ปริมาณพลาสมานอยกวา (Plasma volume) และ
ปรมิ าณเลอื ดทีส่ บู ฉีดออกจากหัวใจใน 1 นาทีนอ ยกวา (Cardiac output)
เมอื่ ทาํ กจิ กรรมในปรมิ าณภาระงานเทา กนั (2) ปรมิ าณเลอื ดทสี่ บู ฉดี ออกจาก
หวั ใจใน 1 นาที ทน่ี อ ยกวา ในทนี่ จ่ี ึงหมายถงึ ปรมิ าณเลือดทนี่ อ้ ยกวาด้วย
ซง่ึ ใชใ นการระบายความรอ นของรา งกายไปทผ่ี วิ หนงั แตอ ยา งไรกต็ าม เมอ่ื
เด็กตองทาํ กจิ กรรมในสภาวะทีม่ คี วามรอ น รา งกายของเขาจะเพม่ิ ปริมาณ
เลอื ดที่สบู ฉดี ออกจากหัวใจมากขนึ้ เพอ่ื รกั ษาสภาวะสมดลุ ของรางกาย(3,6)
เม่ือตรวจวัดอุณหภูมิที่ผิวกายของเด็กก็จะพบวาสูงกวาผูใหญขณะท่ีทํา
กิจกรรมภายใตสภาวะแวดลอมเดียวกัน(8) สาเหตุที่สูงกวานั้น อาจมาจาก
การเพ่ิมอัตราการไหลเวียนเลือด (Blood flow) และเพ่ิมการขยายตัว
ของเสนเลือดบริเวณผิวหนัง (Cutaneous vasodilation) แตวิธีการนี้
ยังไมสามารถทดแทนการระบายความรอนที่ผิวหนังท่ีลดลงไป จากการ
เจริญของตอมเหงื่อท่ีไมสมบูรณได และย่ิงจะทําใหอุณหภูมิแกนกลาง
รา งกายสงู ข้นึ อยา งรวดเรว็ อกี ดว ย
ปจจัยเฉพาะท่ีเก่ียวกับระบบควบคุมอุณหภูมิของเด็ก คือ
ความรอนจากกระบวนการ เมแทบอลิซึมจากการเคล่ือนไหวรางกาย
สูงกวา ผูใหญ เนื่องจากเด็กตองการพลังงานที่มากกวาในการทํากิจกรรม
เชน การเดนิ การวงิ่ เปน ตน (9,10) ซง่ึ ในความเปน จรงิ แลว เดก็ ตอ งการพลงั งาน
สูงถึง 30% เม่ือเทียบกับผูใหญ ดังน้ันความรอนท่ีเกิดจากกระบวนการ
เมแทบอลิซึมจึงสัมพันธกับการใชพลังงานเคล่ือนไหวรางกายท่ีเพิ่มข้ึน
ในเดก็

23

ส่วนการสูญเสียน�้ำของรางกาย (Dehydration) ในผูใหญนั้น
หากเกิดขึ้นมากกวา รอยละ 2 ของน้�ำหนักตัวก็จะมีผลกระทบ แตในเด็ก
เพียงแครอยละ 1 ก็สามารถบั่นทอนประสิทธิภาพการทํางานของเด็กได
นอกเหนือจากนั้นยงั เพมิ่ ความเสย่ี งของการเกิดภาวะไขสูงอกี ดวย(11)
ในปจจุบันยังมีรายงานสถิติจํานวนนอยที่เก่ียวกับการเกิดโรค
จากความรอน (Heat-relatedillness) จากการทํางานในเด็กและวัยรุน
การทํางานรวมกับอุณหภูมิสูงเปนส่ิงที่ไมเหมาะสมสําหรับเด็ก เนื่องจาก
สภาพรางกายที่สามารถทนหรือยอมรับความรอนไดนอยกวา เด็กจึงมี
ความเสย่ี งทจ่ี ะเจบ็ ปว ยจากความรอ นไดม ากขนึ้ แตอ ยา งไรกต็ ามกส็ ามารถ
ลดอุบัติการณได หากมีการควบคุมใหมีเวลาทํางานท่ีเหมาะสม หลีกเล่ียง
การทํางานในชวงเวลาท่ีรอนที่สุดของวัน และการใหสารน้�ำทดแทน
ในปริมาณท่เี พียงพอ

เอกสารอา้ งอิง
1. Romanovsky AA. Thermoregulation: some concepts have changed. Functional architecture of the thermoregulatory system.
Am J Physiol Regul Integr Comp Physiol 2007; 292: R37-46.
2. Rowland T. Thermoregulation during exercise in the heat in children: old concepts revisited. J Appl Physiol 2008; 105: 718-24.
3. Inoue Y, Kuwahara T, Araki T. Maturation- and aging-related changes in the heat loss effector function. J Physiol Anthropol
Appl Human Sci 2004; 23:289-94.
4. Bar-Or O. Children’s Responses to Exercise in Hot Climates: implications for performance and health. Sport Science Exchange
[Internet]. 1994;49 [cited 2020 Jan 25]. Available from: http://www.gssiweb.com/Article_Detail.aspx?articleid=22
5. Inbar O, Morris N, Epstein Y, Gass G. Comparison of thermoregulatory responses to exercise in dry heat among prepubertal
boys, young adults, and older males. Exp Physiol 2004; 89: 691-700.
6. Shibasaki M, Inoue Y, Kondo N. Mechanisms of underdeveloped sweating responses in prepubertal boys. Eur J Appl Physiol
Occup Physiol 1997; 76: 340-5.
7. Rivera-Brown AM, Gutiérrez R, Gutiérrez JC, Frontera WR, Bar-Or O. Drinkcomposition, voluntary drinking, and fluid balance
in exercising, trained, heat acclimatized boys. J Appl Physiol 1999; 86: 78-84.
8. Davies CT. Thermal responses to exercise in children. Ergonomics 1981;24:55-61.
9. Bar-Or O. Nutrition for child and adolescent athletes. Sport Science Exchange [Internet]. 2000;13 [cited 2020 Jan 25]. Available
from:http://cla.pointstreaksites.com/files/uploaded_documents/3 5 7 / 5 2 7 Nutrition_child_ adolescent.pdf
10. Falk B, Dotan R. Children’s thermoregulation during exercise in the heat: a revisit. Appl Physiol Nutr Metab 2008; 33: 420-7.
11. Rossi L, Reis VA, de Azevedo CO. Dehydration and rehydration recommendations for physically active children. Rev Paul
Pediatr 2010; 28: 337-45.

24

อาจารยท์ ศั นพ์ งษ์ ตนั ตปิ ัญจพร
สาขาวิชาอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
คณะสาธารณสุขศาสตร์
มหาวิทยาลัยนเรศวร

กใ(Hหาeท้ รaนtปAกรcบับั cสlตimภวั aาtiพzaคtioวnา) มรอ้ น

ถา้ ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งทำ� งานในทท่ี มี่ อี ณุ หภมู สิ งู โดยไมผ่ า่ นการเตรยี มตวั หรอื ปรบั ตวั กอ่ น อาจมอี าการผดิ ปกติ
เกดิ ขนึ้ ในวนั แรกของการปฏบิ ตั งิ าน เชน่ เครยี ดและรสู้ กึ ไมส่ บายตวั อณุ หภมู ขิ องรา่ งกายสงู หวั ใจเตน้ เรว็ ปวดศรี ษะ
คลน่ื ไส้ ออ่ นเพลยี และอาจเปน็ ลมหมดสตไิ ด้ แตเ่ มอื่ ทำ� งานในสภาพดงั กลา่ วในวนั ตอ่ ๆ ไป รา่ งกายจะคอ่ ยๆ ปรบั ตวั
ให้สามารถทนกับสภาพความรอ้ นได้ดีขึ้นเรือ่ ยๆ ดังนั้น การปรบั ตวั ให้ทนกบั สภาพความรอ้ น (Acclimatization to
Heat) เป็นการจ�ำกัดระยะเวลาในการท�ำงานในวันแรกให้ส้ันและค่อยๆ เพ่ิมระยะเวลาท�ำงานข้ึนเรื่อยๆ จนกระท่ัง
เต็มเวลาตามข้อก�ำหนดของงานนัน้ ๆ วตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื ปรบั ใหอ้ ัตราการเตน้ ของหัวใจชา้ ลง ในขณะที่อัตราการหลั่ง
เหง่ือมีประสิทธิภาพมากข้ึน กล่าวคือ เพ่ิมอัตราการขับเหงื่อแต่ลดความเข้มข้นของเกลือแร่ในเหง่ือ ท�ำให้การไหล
เวียนโลหิตสม�่ำเสมอขึ้น เน่ืองจากมีของเหลวในเลือด (Plasma) มากกว่า เมื่อร่างกายปรับสภาพได้แล้ว จะท�ำให้
รา่ งกายสามารถควบคุมอุณหภูมิแกนกลางได้งา่ ยขน้ึ (วนั ทนี พนั ธุ์ประสิทธิ์, 2557; พรพมิ ล กองทิพย,์ 2555)
หน่วยงาน NIOSH (National Institute for Occupational Safety and Health) ไดแ้ นะน�ำให้ใชเ้ วลา
การปรบั ตวั เขา้ กบั ความรอ้ น 7-14 วนั (NIOSH, 2017) ทง้ั นสี้ ำ� หรบั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านใหมท่ ไ่ี มค่ นุ้ เคยกบั ความรอ้ นมากอ่ น
หรอื ผปู้ ฏบิ ตั งิ านเกา่ ทห่ี ยดุ ทำ� งานไประยะหนงึ่ (New workers) แนะนำ� ใหเ้ รมิ่ ทำ� งานในวนั แรกเพยี งรอ้ ยละ 20 และ
เพม่ิ ขนึ้ ไมเ่ กนิ รอ้ ยละ 20 ในแตล่ ะวนั ซง่ึ การปรบั ตวั ขนึ้ อยกู่ บั แตล่ ะบคุ คล ดงั ตวั อยา่ งในตารางที่ 1 ขณะทผี่ ปู้ ฏบิ ตั งิ าน
ที่มีประสบการณ์ท�ำงานกับความร้อนมาแล้ว (Experienced workers) หากหยุดท�ำงานสัมผัสความร้อน 4 วัน
ตอ่ เนือ่ ง ควรกลับเขา้ สู่กระบวนการปรับตัวก่อน โดยเร่ิมทำ� งานสัมผัสความร้อนประมาณรอ้ ยละ 50 ของการท�ำงาน
ในวนั แรก หลงั จากนนั้ ในวันที่สองเพม่ิ ข้นึ เปน็ รอ้ ยละ 60 วันทีส่ ามเพ่มิ ข้ึนเปน็ รอ้ ยละ 80 และทำ� งานรอ้ ยละ 100 ใน
วันทสี่ ่ี ดงั ตวั อย่างในตารางท่ี 2 (Western Center for Agricultural Health and Safety, 2017) ทงั้ น้ีตารางท่ี 1
และ 2 เปน็ ตารางแนะน�ำสำ� หรบั ระยะเวลาการท�ำงาน 1 วนั คอื 8 ชัว่ โมงการท�ำงานเทา่ นน้ั หากผู้ปฏิบัตงิ านจำ� เปน็

25

ต้องท�ำงานสัมผัสความร้อนในหน่ึงวันมากกว่า 8 ชั่วโมง ผู้เขียนแนะน�ำว่าควรค�ำนวณระยะเวลาในการปรับตัวให้ทนกับสภาพปัญหาความร้อน
ใหเ้ หมาะสมกบั ระยะเวลาในการทำ� งานสมั ผัสความรอ้ นใน 1 วัน
ตารางที่ 1 การปรบั ตวั ให้ทนกบั สภาพความร้อนส�ำหรับผูป้ ฏิบตั ิงานใหม่

หมายเหตุ ระยะเวลาการทำ� งาน 1 วัน คือ 8 ชัว่ โมงการท�ำงาน
ตารางท่ี 2 การปรับตัวให้ทนกบั สภาพความรอ้ นส�ำหรับผปู้ ฏิบัตงิ านมีประสบการณ์

หมายเหตุ ระยะเวลาการทำ� งาน 1 วนั คอื 8 ชั่วโมงการทำ� งาน

เอกสารอ้างองิ
วนั ทนี พันธป์ุ ระสทิ ธ.์ิ (2557). สขุ ศาสตร์อุตสาหกรรม กลยทุ ธ์ ประเมิน ควบคุม และจดั การ. กรุงเทพ: หจก.เบสท์ กราฟฟิค เพรส.
พรพมิ ล กองทพิ ย์. (2555). สขุ ศาสตร์อตุ สาหกรรม (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรงุ เทพ: หจก.เบสท์ กราฟฟิค เพรส.
National Institute for Occupational Safety and Health. (2017). Criteria for a Recommended Standard Occupational Expo-

sure to Heat and Hot Environments. Available at: https://www.cdc.gov/niosh/docs/2016-106/pdfs/2016-106.pdf.
Accessed January 30, 2017.
Western Center for Agricultural Health and Safety. (2017). Adjusting to Work in the Heat: Why Acclimatization Matters.
Available at: https://agcenter.ucdavis.edu/blog/adjusting-work-heat-why-acclimatization-matters.
Accessed January 30, 2017.

26

คใววนาธิโมรปี งรอ้ งอ้ งานกนจนัอาแตุ กลสกะาคาหรวกทบรำ�ครงมุ มาน

ความร้อน เป็นพลังงานรูปแบบหน่ึงท่ีมนุษย์น�ำมาใช้ประโยชน์ท้ังในชีวิตประจ�ำวัน
และในการท�ำงาน ซ่ึงมนุษย์สามารถรับรู้ได้จากการสัมผัส โดยความร้อนสามารถถ่ายเทจาก
วตั ถหุ นง่ึ ไปยงั อกี วตั ถหุ นงึ่ ในรปู ของการน�ำความรอ้ น การพาความรอ้ น การแผร่ งั สคี วามรอ้ น
การระเหย และการเผาผลาญความร้อน
อตุ สาหกรรมทเ่ี สย่ี งตอ่ ความรอ้ นในการทำ� งาน ไดแ้ ก่ โรงงานหลอ่ หลอ่ มโลหะและอโลหะ
โรงงานผลติ เซรามคิ โรงงานผลติ เครอ่ื งแกว้ โรงงานผลติ ผลติ ภณั ฑย์ าง โรงงานผลติ กระดาษ โรงงาน
อุตสาหกรรมอาหารกระป๋อง เปน็ ต้น

12 วิธีป้องกนั และควบคุมความรอ้ น
จากการท�ำงานในโรงงานอตุ สาหกรรม

1. โครงสร้างอาคารมรี ะบบระบายอากาศท่ีดี สามารถถา่ ยเทความร้อนระหวา่ งภายใน
และภายนอกอาคาร
2. ตดิ ตง้ั พดั ลมระบายความรอ้ นบรเิ วณแหลง่ ก�ำเนดิ ความรอ้ น เพอื่ ชว่ ยใหม้ กี ารถา่ ยเท
อากาศทดี่ ขี ึ้น และช่วยลดความรอ้ นใหแ้ กผ่ ปู้ ฏบิ ัติงาน

27

3. ติดต้ังพัดลมระบายอากาศบริเวณหลังคาอาคาร เพ่ือเพ่ิมการระบาย
อากาศใหม้ ากข้นึ และชว่ ยลดอณุ หภูมภิ ายในอาคาร
4. ตดิ ตงั้ ทอ่ ระบายความรอ้ น เพอ่ื นำ� ความร้อนออกนอกอาคาร
5. ลดการแผ่รังสีความร้อนและการพาความร้อน โดยใช้แผ่นกันความร้อน
หรือฉนวนกันความร้อนหุ้มแหล่งกระจายความร้อน เช่น หุ้มท่อน้�ำร้อน แท็งก์น�้ำร้อน
และหมอ้ ไอน้ำ�
6. การใชฉ้ ากกน้ั ปอ้ งกนั รงั สคี วามรอ้ น เชน่ การใชฉ้ ากอลมู เิ นยี มกนั้ ระหวา่ ง
แหลง่ กำ� เนิดความรอ้ นและผู้ปฏบิ ตั งิ าน
7. สวมใส่อุปกรณ์ป้องกันความปลอดภัยส่วนบุคคล เช่น เส้ือหรือชุดเส้ือ
คลมุ พิเศษทม่ี คี ุณสมบตั กิ ันความรอ้ นโดยเฉพาะ
8. การติดประกาศเตอื น เชน่ ระวังอันตรายจากความรอ้ น
9. ติดต้ังตู้น้�ำด่ืมเย็นให้แก่ผู้ปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับความร้อน เพื่อลด
อุณหภมู ิของร่างกาย
10. จัดหาน�้ำเกลือแร่ให้แก่ผู้ปฏิบัติงานที่เก่ียวข้องกับความร้อน เพ่ือเพ่ิม
น�ำ้ ภายในร่างกายทีส่ ญู เสียไป
11. ลดระยะเวลาการท�ำงาน เพ่ือให้ผู้ปฏิบัติงานไม่ต้องสัมผัสกับความร้อน
นานเกินไป
12. สวสั ดกิ ารอน่ื ๆ เชน่ หอ้ งปรบั อากาศสำ� หรบั พกั ผอ่ น หอ้ งอาบนำ้� เปน็ ตน้

เอกสารอา้ งอิง
อภริ ดี ศรีโอภาส “แนวการตรวจวดั ความรอ้ นในสถานประกอบกิจการ” วารสารความปลอดภัยและสขุ ภาพ ปที ่ี 8 ฉบับท่ี 30 ประจ�ำ
เดือนตลุ าคม-ธนั วาคม 2558
กองความปลอดภัยแรงงาน

28

12 หนา้ ที่

จป.วชิ าชพี ท่ตี อ้ งร.ู้ ...?

ตามกฎกระทรวงก�ำหนดมาตรฐานในการบริหารและการจัดการด้านความปลอดภัย
อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน พ.ศ. 2549 “เจา้ หนา้ ทคี่ วามปลอดภยั ในการทำ� งาน”
หมายความว่า ลูกจา้ งซ่งึ นายจ้างแต่งตั้งให้ปฏบิ ัติหน้าท่เี ปน็ เจ้าหน้าที่ความปลอดภยั ในการท�ำงาน
ระดับหัวหนา้ งาน ระดับบริหาร ระดบั เทคนิค ระดบั เทคนคิ ขนั้ สูง และระดับวชิ าชพี
คราวนี้ คงมารู้จักกับเจ้าหน้าที่ความปลอดภัย ระดับวิชาชีพ โดยนายจ้างของสถาน
ประกอบกิจการ ตามที่กฎกระทรวงก�ำหนดไว้ ท่ีมีลูกจ้างต้ังแต่หน่ึงร้อยคนข้ึนไป แต่งตั้งลูกจ้าง
เปน็ เจ้าหน้าที่ความปลอดภัยในการทำ� งานระดบั วชิ าชีพ โดยมหี น้าที่ ดงั ตอ่ ไปน้ี
   1) ตรวจสอบและเสนอแนะให้นายจ้างปฏิบัติตามกฎหมายเกี่ยวกับความปลอดภัย
อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน
   2) วเิ คราะหง์ านเพอ่ื ชบ้ี ง่ อนั ตราย รวมทง้ั กำ� หนดมาตรการปอ้ งกนั หรอื ขนั้ ตอนการทำ� งาน
อย่างปลอดภยั เสนอตอ่ นายจ้าง

   3) ประเมนิ ความเส่ยี งด้านความปลอดภัยในการท�ำงาน
   4) วิเคราะหแ์ ผนงานโครงการรวมทั้งขอ้ เสนอแนะของหนว่ ยงานตา่ งๆ
และเสนอแนะมาตรการความปลอดภัยในการทำ� งานต่อนายจา้ ง
   5) ตรวจประเมนิ การปฏบิ ตั งิ านของสถานประกอบกจิ การใหเ้ ปน็ ไปตาม
แผนหรอื มาตรการความปลอดภัยในการทำ� งาน
   6) แนะนำ� ใหล้ ูกจา้ งปฏบิ ตั ติ ามข้อบงั คบั และคมู่ ือตามขอ้ 1
   7) แนะนำ� ฝกึ สอน อบรมลกู จา้ งใหป้ ฏบิ ตั งิ านปลอดจากเหตอุ นั จะทำ� ให้
เกดิ ความไม่ปลอดภัยในการท�ำงาน

29

   8) ตรวจวัดและประเมนิ สภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน
   9) เสนอแนะนายจ้างใหม้ กี ารจัดการดา้ นความปลอดภยั ในการทำ� งาน และพฒั นา
ให้มปี ระสทิ ธภิ าพอย่างตอ่ เนอ่ื ง
10) ตรวจสอบหาสาเหตุ และวิเคราะหก์ ารประสบอนั ตราย การเจบ็ ป่วย หรือการ
เกิดเหตุเดือดร้อนร�ำคาญอันเน่ืองจากการท�ำงานและรายงานผล เสนอแนะต่อนายจ้างเพ่ือ
ปอ้ งกันการเกิดเหตุ
  11) รวบรวมสถิติ วิเคราะห์ข้อมูล จัดท�ำรายงาน และข้อเสนอแนะเก่ียวกับการ
ประสบอันตราย การเจ็บป่วย หรือการเกิดเหตุเดือดร้อนร�ำคาญอันเน่ืองจากการท�ำงาน
ของลกู จา้ ง
  12) ปฏิบตั งิ านดา้ นความปลอดภยั ในการทำ� งานอืน่ ตามทีน่ ายจา้ งมอบหมาย

อา้ งอิงจาก
กฎกระทรวงก�ำหนดมาตรฐานในการบรหิ ารและการจัดการด้านความปลอดภัย อาชวี อนามยั และสภาพแวดลอ้ มในการทำ� งาน พ.ศ. 2549
https://www.youtube.com/watch?v=RJOc2xZxgUc

30

โรคลมแดด
HeatหรSอื troke

แพทยห์ ญิงพรอ้ มพรรณ พฤกษากร

แพทย์อายุรกรรมต่อมไร้ท่อและเมแทบอลิซึม
โรงพยาบาลกรุงเทพเชียงใหม่

ดว้ ยอณุ หภมู ทิ สี่ งู ขน้ึ จนนา่ ตกใจ ทกุ พน้ื ทใ่ี นประเทศไทยไดร้ บั
ผลกระทบเป็นอย่างมากจากลมร้อน ทำ� ใหม้ ีอากาศท่รี อ้ นขึ้น นน่ั อาจ
เปน็ อีกหน่ึงปัจจยั ท่ีจะท�ำให้เป็น “โรคลมแดด หรอื Heat Stroke”
โรคทเี่ กดิ ขนึ้ ไดง้ ่ายในยคุ ปจั จุบนั และอาจครา่ ชีวิตได้
โรคลมแดด คอื ภาวะทอ่ี ณุ หภมู ใิ นรา่ งกายสงู เกนิ 40.5 องศา
เซลเซยี ส เกดิ จากการทอ่ี ยใู่ นสถานทที่ อี่ ณุ หภมู ริ อ้ นมาก ๆ และรา่ งกาย
ไมส่ ามารถปรบั ตวั ลดอณุ หภมู ใิ หอ้ ยใู่ นเกณฑป์ กตไิ ด้ สง่ ผลเสยี ตอ่ ระบบ
ประสาท หวั ใจ และไต เป็นเหตุให้เสยี ชวี ิตได้
สาเหตขุ องโรคลมแดด มาจากการอยใู่ นสถานทท่ี อี่ ากาศรอ้ น
จดั โดยเฉพาะขณะทีอ่ ากาศร้อนช้นื หรอื การออกก�ำลังกายอยา่ งหนัก
โดยเฉพาะเมอ่ื ออกกำ� ลงั กายในสถานทท่ี อ่ี ากาศรอ้ น อาจมปี จั จยั เสยี่ ง
อ่ืน ๆ ท่ีกระตุ้นให้เป็นโรคลมแดดได้ง่ายขึ้น เช่น การสวมใส่เส้ือผ้าที่
หนาเกินไป ท�ำให้เหงื่อระบายได้ยาก การด่ืมแอลกอฮอล์ ร่างกายอยู่
ในภาวะขาดนำ�้ ทานน�้ำน้อย เป็นตน้
กลมุ่ คนที่มีโอกาสเป็นโรคลมแดดได้มากกว่าผ้อู ื่น เช่น เด็ก
เล็ก และผู้สูงอายุ (อายุเกนิ 65 ป)ี มีการปรับตัวตอ่ การเปล่ียนแปลง
ไดช้ า้ และเสยี่ งตอ่ ภาวะขาดนำ้� ไดง้ า่ ย ผทู้ ไ่ี มค่ นุ้ เคยกบั อากาศรอ้ น เชน่
ตอ้ งเดนิ ทางไปประเทศทอ่ี ณุ หภมู อิ ากาศรอ้ นกวา่ หรอื เจอมรสมุ พายุ
ฤดรู ้อน ผ้ทู ่ีทานยาบางชนดิ ไดแ้ ก่ ยาลดความดันโลหติ บางประเภท
ยาขับปัสสาวะ ยารักษาโรคจิตเวช ยาแก้แพ้ ยาลดน�้ำมูก ยาระบาย
ยาบ้า โคเคน และผู้ที่มโี รคหัวใจ โรคปอด โรคอว้ น หรอื เคยเปน็ โรค
ลมแดดมากอ่ น

31

อาการของโรคลมแดดที่อาจสังเกตได้ เช่น อุณหภูมิร่างกายสูง
เกนิ 40.5 องศาเซลเซียส มอี าการผดิ ปกติทางระบบประสาท ได้แก่ ลกุ ล้ี
ลกุ ลน พดู ชา้ สบั สน ชกั เพอ้ หมดสติ ตอ่ มเหงอื่ ทำ� งานผดิ ปกติ เชน่ อยใู่ น
สถานทรี่ อ้ นจดั แตไ่ มม่ เี หงอ่ื ออก คลนื่ ไส้ อาเจยี น ผวิ หนงั และหนา้ เปลยี่ น
เป็นสอี อกแดง เหน่ือย หายใจเรว็ ใจสัน่ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ปวดศีรษะ
หรอื ไตวาย ปัสสาวะสเี ขม้ ผิดปกติ เอนไซมใ์ นกล้ามเนอื้ สงู ผิดปกติ
วิธีการปฐมพยาบาลเบื้องต้น คือ ผู้ป่วยที่มีอาการควรรีบหลบ
แดด ย้ายมาอยู่ในท่ีร่ม ถอดเส้ือคลุมท่ีไม่จ�ำเป็นออก ท�ำให้ร่างกายเย็น
ด้วยวิธีต่าง ๆ เช่น เช็ดตัวด้วยน้�ำเย็นโดยเฉพาะที่บริเวณหลังคอ ข้อพับ
และขาหนีบ เป่าพัดลมท่ีมีไอน�้ำเย็น เปิดแอร์ ด่ืมน้�ำ และน�้ำเกลือแร่ให้
มาก ๆ เพอื่ ไมใ่ หร้ า่ งกายขาดนำ�้ และปอ้ งกนั ไมใ่ หร้ า่ งกายสญู เสยี เกลอื แร่

วิธีการป้องกันไม่ให้เป็นโรคลมแดด เช่น สวมใส่เส้ือผ้าที่โปร่ง
สบาย เพือ่ ใหผ้ วิ หนงั ไดม้ กี ารระบายความร้อนได้ง่าย ใช้อปุ กรณ์บังแดด
ดม่ื นำ้� อยา่ งนอ้ ย 8 แกว้ ตอ่ วนั หาเวลาพกั อยใู่ นทร่ี ม่ เปน็ ระยะ โดยเฉพาะ
ชว่ งทร่ี อ้ นสดุ คอื ชว่ งกลางวนั ถา้ ยงั ไมค่ นุ้ เคยกบั อากาศรอ้ น เชน่ เพง่ิ ยา้ ย
มาอยใู่ นประเทศท่ีร้อนกวา่ ควรหลกี เลยี่ งการท�ำงานหนัก หรือการออก
กำ� ลงั กายหนกั ในระยะแรก จนกวา่ รา่ งกายจะชนิ กบั อณุ หภมู ทิ ร่ี อ้ นขน้ึ ถา้
ทราบวา่ ตนเองอยใู่ นกลมุ่ เสย่ี งตอ่ โรคลมแดด เชน่ มโี รคประจำ� ตวั สงู อายุ
ทานยาทม่ี คี วามเสยี่ ง ควรสงั เกตอาการตนเอง หากเรม่ิ มอี าการทเี่ ขา้ ขา่ ย
โรคลมแดด ควรรบี ปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ และรีบไปโรงพยาบาลทนั ที

32

SหยAุดFกEารTสูYญเสFียI.R..ดS้วTย

เราทุกคนต้องช่วยกันหยุดสถิติการประสบอันตรายจากการท�ำงานที่เกิดข้ึนให้น้อยลงกว่าน้ีในทุกปีถัดไป
ตามข้อมูลในตารางประกอบด้านล่างน้ี ตารางการประสบอันตรายหรือการเจ็บป่วยเน่ืองจากการท�ำงาน จ�ำแนก
ตามความรุนแรงและสาเหตุการประสบอันตรายปี 2562 ขอ้ มลู จากสำ� นกั งานประกันสงั คม มีจ�ำนวนเหตุการณ์การ
ประสบอันตรายหรือการเจบ็ ปว่ ยจากการท�ำงานทเ่ี กดิ ขึน้ รวม 94,934 เหตกุ ารณ์

33

เมอ่ื มกี ารประสบอนั ตรายจากการทำ� งาน (การเกดิ อบุ ตั เิ หตจุ ากการทำ� งาน และ/หรอื การเจบ็ ปว่ ยหรอื โรคจากการทำ� งาน)เกดิ ขนึ้ เกดิ
ความสญู เสยี กบั คน (คนงานไดร้ ับการบาดเจ็บ เจบ็ ปว่ ย พกิ าร ทพุ พลภาพ หรอื เสียชีวติ ) และเกดิ ความเสยี หายกบั ทรัพย์สนิ กระบวนการผลติ
รวมถึงการสูญเสียอืน่ ๆ (เงนิ , เวลา, ชอ่ื เสียง, ภาพลักษณ์ ฯลฯ) ต่อสถานประกอบการ
หนา้ ทขี่ องทกุ คน ทกุ ระดบั ทอี่ ยใู่ นสถานประกอบการ สามารถรว่ มกนั ท�ำเรอื่ งความปลอดภยั ไดโ้ ดยเรมิ่ ตน้ ทแ่ี ตล่ ะคนค�ำนงึ ถงึ ความ
ปลอดภยั มาเปน็ อันดบั แรกเสมอ นัน่ คือ “ปลอดภยั ไวก้ ่อน” หรือ ‘Safety First’ และเต็มทกี่ บั ทุกบทบาทหน้าที่ที่เราตอ้ งเขา้ ไปเก่ียวข้อง
ในงานด้านความปลอดภยั ฯ เพื่อช่วยกนั ป้องกนั ควบคุมอุบตั เิ หตุและความสูญเสยี กอ่ นการเกิดเหตุ ท้ัง 10 หัวข้อ ดงั ตอ่ ไปนี้

34

หวั ขอ้ รายละเอียด ตัวอย่างผทู้ เี่ ก่ยี วข้องเบอ้ื งต้น
1. นโยบายความปลอดภัยและ การก�ำหนดนโยบายความปลอดภัยฯ ตาม ISO ผู้บริหารสูงสุดและพนักงานมีส่วนร่วมใน
อาชวี อนามัยขององค์กร 45001: 2018 ผู้บริหารสูงสุดต้องจัดท�ำ น�ำไป การกำ� หนดนโยบายฯ
ปฏิบตั แิ ละรกั ษาไว้ซง่ึ นโยบายฯ โดย
1) มุ่งมั่นจัดเตรียมสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน

ให้มีความปลอดภัยและไม่เป็นอันตรายต่อ
สุขภาพเพ่ือป้องกันงานท่ีท�ำให้เกิดการบาด
เจ็บและเจ็บป่วยต่อสุขภาพและเหมาะสม
กับวัตถุประสงค์ ขนาด บริบทองค์กรและ
ลักษณะเฉพาะของความเส่ียงด้านความ
ปลอดภัยฯและโอกาสด้านความปลอดภัยฯ
2) ให้กรอบส�ำหรับก�ำหนดวัตถุประสงค์ด้าน
ความปลอดภยั ฯ
3) มุ่งม่ันปฏิบัติตามข้อก�ำหนดกฎหมายและข้อ
ก�ำหนดอืน่ ๆ
4) มุ่งมั่นก�ำจัดอันตรายและลดความเสี่ยงด้าน
ความปลอดภยั ฯ
5) มุ่งม่ันปรับปรุงด้านความปลอดภัยฯอย่างต่อ
เนื่อง

2. การฝกึ อบรมให้ความรู้ ฝึกอบรมตามบทบาทหน้าที่ที่กฎหมายก�ำหนด, ผู้บริหาร,พนักงานทุกระดับ,ผู้ท่ีเก่ียวข้อง
การฝึกอบรมตามลักษณะงานท่ีมีความเสี่ยงของ อ่นื ๆ (ผรู้ ับเหมา, ผรู้ ับจา้ งช่วง)
องคก์ ร และการฝึกอบรมอ่นื ๆ

3. การวางแผนการตรวจตราความปลอดภยั ด�ำเนินการด้วยวงจร PDCA (Plan-Do-Check- ผูท้ ่ีรับผดิ ชอบในการตรวจ
Action) ตรวจตราตามแผนอย่างสม่�ำเสมอและ
นำ� ขอ้ บกพรอ่ งทพ่ี บจากการตรวจมาปรบั ปรงุ แกไ้ ข

4. การวิเคราะห์งานเพื่อความปลอดภัย ช้ีบ่งอันตรายโดยค้นหาแหล่งอันตรายในสถานท่ี จป.หัวหน้างาน, จป.เทคนิค, จป.เทคนคิ
และการจัดทำ� มาตรฐานการปฏิบัตงิ าน ท�ำงานโดยวิธีการต่างๆ แล้วประเมินความเสี่ยง ข้ันสงู , จป.วชิ าชีพ
ต่ออันตราย จัดล�ำดับความส�ำคัญ และก�ำหนดวิธี
การควบคุมความเสี่ยง โดยจัดท�ำมาตรฐานการ
ปฏิบัติงาน ก�ำหนดข้ันตอนและวิธีการปฏิบัติงาน
ที่ปลอดภัย

5. การสงั เกตการณป์ ฏิบตั ิงาน ติดตามการท�ำงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงาน คปอ., จป.หัวหน้างาน, จป.วิชาชีพ,
ท่ีก�ำหนด, ค้นหาและก�ำจัดพฤติกรรมเสี่ยงของ พนกั งานทท่ี ราบวธิ กี ารสงั เกตการณค์ วาม
พนกั งาน ปลอดภัย

6. การควบคุมด้านสุขภาพอนามัยของผู้ วิเคราะห์สภาพแวดล้อมในการท�ำงาน (หาปัจจัย จป.วิชาชีพ, หน่วยงานตรวจวัด, หน่วย
ปฏิบตั งิ าน เสยี่ งต่อสขุ ภาพ ก�ำหนดมาตรการ วิธีป้องกนั และ บรกิ ารสุขภาพ, ฝ่ายบุคคล
ควบคมุ สงิ่ แวดลอ้ ม) ตรวจสขุ ภาพ เฝา้ ระวงั สขุ ภาพ

35

หวั ข้อ รายละเอยี ด ตัวอย่างผ้ทู เี่ กีย่ วขอ้ งเบื้องตน้
7. การป้องกันและควบคุมอันตรายหรือ ด�ำเนินการตามล�ำดับของมาตรการควบคุม จป.วิชาชีพ,ฝ่ายวิศวกรรม, พนักงานแจ้ง
ความเส่ยี งที่เกิดขึน้ จากการท�ำงาน อนั ตรายหรอื ความเสี่ยงทเ่ี กดิ ข้ึนจากการท�ำงาน ขอ้ บกพรอ่ งของสภาพการทำ� งานหรอื การ
1. ก�ำจัดอนั ตราย ช�ำรุดเสียหายของอาคาร สถานท่ีเคร่ือง
2. ทดแทนด้วยสิ่งทมี่ อี ันตรายน้อยกว่า มอื เครอื่ งจกั ร หรอื อปุ กรณ์ ทไี่ มส่ ามารถ
3. การควบคมุ ทางวิศวกรรม แกไ้ ขได้ดว้ ยตนเอง
4. การควบคมุ เชิงบริหารจัดการ
5. การใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วน

บุคคล

8. การสอ่ื สาร การสือ่ สารทัง้ ภายในและภายนอกองคก์ ร ผูร้ ับผิดชอบในการสอื่ สาร
9. การควบคมุ การจดั ซือ้ จดั จ้าง เช่น นโยบายด้านความปลอดภัยฯ, คู่มือ, กฎ
ระเบียบ ข้อบังคับ, มาตรการ, วิธีการท�ำงาน
เป็นตน้ ผ่านช่องทางตา่ งๆ ท่ีเหมาะสม

การจดั ซอื้ จดั จา้ งทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ดา้ นความปลอดภยั ฯ ผ้รู ับผิดชอบจัดซื้อ จดั จา้ ง
ต้องมีระบบ ข้ันตอน วิธีการในการจัดซ้ือจัดจ้าง
ท่ีค�ำนึงถึงความปลอดภัยและสุขภาพอนามัย
ของผู้ปฏบิ ัติงาน

10. การส่งเสริมความปลอดภัยและ กิจกรรมการส่งเสริมและสร้างจิตส�ำนึกด้านความ ทกุ คน ทุกระดบั ในสถานประกอบการ
อาชีวอนามัยในเวลาท�ำงานและนอก ปลอดภยั ในงานและการกระตนุ้ ใหม้ จี ติ สำ� นกึ ความ
เวลาท�ำงาน ปลอดภยั นอกงาน (ในบา้ น, การจราจร, ทอ่ งเทยี่ ว
ฯลฯ) รูปแบบต่างๆ

“Better safe than sorry”

ปลอดภยั ไว้กอ่ นดีกวา่ มาเสยี ใจภายหลงั

ด้วยรกั และห่วงใย
จากใจผเู้ ขียน...โค้ชออนซ_์ สุชาดา อวยจินดา
วิทยากรความปลอดภัยในการท�ำงาน
(หลักสตู รจติ ส�ำนึกความปลอดภัย,หลกั สูตรพฤตกิ รรมความปลอดภยั ในการท�ำงาน และหลกั สูตรความปลอดภัยในการท�ำงานอื่นๆ)
ทป่ี รึกษา
(ด้านความปลอดภัยฯ, ดา้ นสงิ่ แวดล้อม, ดา้ นพฒั นามาตรฐานแรงงาน และด้านการพัฒนาเชงิ กลยุทธ)์
โคช้ ด้านจิตวทิ ยาการส่อื ประสาท NLP
Neuro Linquistic Programming Coach หรือ NLP Coach (หลกั สตู รการโคช้ ,รบั ปรึกษาปญั หาเพ่อื ทะลายทกุ ข้อจำ� กัดที่ฉุดร้งั คณุ )
นกั เขียน
หนังสือเรอื่ ง จิต(ใต้)สำ� นกึ ความปลอดภัย

36

จป.มือโปร

คณุ ภทั รกร สบื ทอง

เจา้ หนา้ ที่ความปลอดภยั ในการทำ� งาน ระดบั วิชาชพี

37

เหตุใดถงึ ได้เลือกเรยี นในหลกั สตู รอาชีวอนามัยและความปลอดภยั


ถงึ แมผ้ มจะไมไ่ ดเ้ รยี นจบสายตรงดา้ นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั มา แตด่ ว้ ยจติ ใจทต่ี ง้ั มนั่ อยา่ ง
แรงกลา้ ทอ่ี ยากจะชว่ ยเหลอื คนงานใหเ้ ขาทำ� งานดว้ ยความปลอดภยั ไมต่ อ้ งไดร้ บั บาดเจบ็ พกิ ารหรอื แมก้ ระทง่ั
เสียชีวิต เพราะชีวิตผมมันผ่านประสบการณ์ในการท�ำงานมาหลายอย่างต้ังแต่แบกกระสอบข้าวสารลงเรือ
ท�ำงานก่อสร้าง ท�ำงานโรงงาน เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย (รปภ.) พนักงานรับส่งเอกสาร พนักงานคลัง
สินค้าและเปน็ เจา้ หน้าที่ความปลอดภัยในการทำ� งาน ระดับวิชาชพี ได้พบเหน็ อะไรหลายๆ อย่างมามากมาย
โดยเฉพาะเรื่องของความปลอดภัย อาชีวอนามัยและสภาพแวดล้อมในการท�ำงาน ที่นายจ้างสถานประกอบ
กิจการไมใ่ หค้ วามสำ� คัญ

อะไรคือความภมู ิใจมากที่สุดในการประกอบอาชีพด้านความปลอดภัย

ส่ิงที่มีความภาคภูมิใจในฐานะคนท่ีรับผิดชอบงานด้านความปลอดภัยฯ คือการได้ช่วยเหลือคนงาน
ไมใ่ หเ้ ขาไดร้ บั อนั ตรายขณะทำ� งาน ซง่ึ เราไมไ่ ดช้ ว่ ยเหลอื แคต่ วั เขาคนเดยี วแตเ่ ราชว่ ยเหลอื ไปถงึ ครอบครวั เขา
อีกด้วยเพราะถ้าครอบครัวเสียเสาหลักไปผลกระทบที่เกิดข้ึนตามมามันรุนแรงเกินกว่าจะรับได้ สิ่งท่ีภูมิใจ
อีกอย่างคือการท�ำให้ฝ่ายฯ ได้รับรางวัลสถานประกอบกิจการดีเด่นด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัยและ
สภาพแวดลอ้ มในการท�ำงาน ระดบั ประเทศ ติดต่อกนั 8 ปี และทภ่ี ูมิใจอีกอยา่ งคอื การเปน็ วิทยากรฝกึ อบรม
ด้านความปลอดภัยฯ ท่ีได้มีโอกาสไปบรรยายหลักสูตรด้านความปลอดภัยฯ ให้กับพนักงานในบริษัทฯ
โรงงานอุตสาหกรรม กอ่ สร้าง ตั้งแตป่ ี พ.ศ. 2546 จนถงึ ปัจจุบัน ก็ 17 ปี

38

ท่านมีแนวทางในการบริหารจัดการองค์กรด้านความปลอดภัยอย่างไรให้มีระบบ
ทย่ี ่งั ยนื เพื่อทกุ คนจะไดก้ ลับบ้านอย่างปลอดภยั ในทุกๆ วนั

การบรหิ ารจดั การองคก์ รดา้ นความปลอดภยั ทย่ี ง่ั ยนื ผบู้ รหิ ารจะตอ้ งใหค้ วามสำ� คญั ดา้ นความปลอดภยั ฯ
และเป็นผู้น�ำในการบริหารจัดการด้านความปลอดภัยฯ สนับสนุนทรัพยากรเพื่อให้การด�ำเนินงานด้าน
ความปลอดภัยมีประสิทธิภาพ จัดโครงสร้างผู้ท่ีมารับผิดชอบงานด้านความปลอดภัยให้ชัดเจน ส่ือสารข้อมูล
ดานความปลอดภัยให้กับพนักงานได้รับรู้รับทราบเพื่อให้เขาท�ำงานได้อย่างปลอดภัยภัย มีกิจกรรมส่งเสริม
ความปลอดภยั ใหพ้ นกั งานไดเ้ ขา้ มามสี ว่ นรว่ มทำ� กจิ กรรมรว่ มกนั อยา่ งสมำ่� เสมอและตอ่ เนอ่ื ง ซงึ่ การขบั เคลอ่ื น
งานด้านความปลอดภยั ฯใหก้ ้าวไปข้างหน้าอย่างมปี ระสทิ ธภิ าพเราจำ� เป็นตอ้ งใชว้ งจร PDCA มาขบั เคลอ่ื น

ท่านมแี นวทางอยา่ งไรในการลด อบุ ัตเิ หตจุ ากการท�ำงานให้ได้ผล

สำ� หรบั แนวทางในการลดอบุ ตั เิ หตใุ นสถานทท่ี ำ� งานทไี่ ดผ้ ลและมปี ระสทิ ธภิ าพนนั้ การสรา้ งเครอื ขา่ ย
ดา้ นความปลอดภยั ในการทำ� งานในสถานประกอบกจิ การเพอ่ื ทจี่ ะใหพ้ นกั งานทกุ สว่ นงานไดร้ บั รรู้ บั ทราบและ
มสี ว่ นร่วมในกจิ กรรมดา้ นความปลอดภยั ฯ ซง่ึ จะทำ� ให้อุบตั เิ หตลุ ดลง และการสร้างวฒั นธรรมความปลอดภยั
ใหเ้ กิดขนึ้ ในองคก์ รด้วยกจิ กรรม 3ป3ท.
3ป.
- ปลอดภยั ตอ้ งมากอ่ น ทำ� งานอะไรต้องคำ� นึงถงึ ความปลอดภัย
- ปฏบิ ตั ติ อ้ งตามกฎ ทำ� งานทุกครง้ั ต้องปฏบิ ตั ติ ามขัน้ ตอนที่ปลอดภยั
- ปากย�้ำตามมือชี้ ท�ำกิจกรรม KYT กอ่ นเริ่มงาน
3ท
- ทักทายปลอดภัยไวก้ ่อน ทกั ทายกันทกุ วันพรอ้ มอวยพรให้เขาท�ำงานปลอดภยั
- ทักท้วงทันทที ่ีไมป่ ลอดภยั สั่งหยดุ ท�ำทนั ทไ่ี มป่ ลอดภัยแลว้ เขา้ ไปแนะนำ� วิธีการท�ำงานทีป่ ลอดภัย
- ทำ� งานเม่อื พรอ้ ม การท�ำงานทุกคร้งั ทุกวนั สขุ ภาพกายสุขภาพจิตตอ้ งพรอ้ มถงึ จะทำ� งานปลอดภัย

ท่านเห็นว่าวิธีการหรือแนวทางไหน ที่น่าจะจัดการกับพฤติกรรมเพ่ือให้
หยุดอุบัติเหตุ จากการท�ำงานได้อย่างเหมาะสม ซ่ึงรวมถึงมีผลลัพธ์ที่น่าจะออก
มาดที ่ีสดุ

แนวทางในการปรบั เปลี่ยนพฤติกรรมเพ่อื ลดอุบัตเิ หตุผมใช้กจิ กรรม “หยดุ .....เรยี ก....รอ.”
1. หยุด…ทำ� งานทันที่ท่ีไม่เขา้ ใจขั้นตอนการท�ำงานท่ปี ลอดภัย
2. เรียก...คนท่ีรู้และเข้าใจในขบวนการท�ำงานมาอธิบายใหเ้ ข้าใจ
3. รอ...ห้ามกระท�ำการอย่างใดอย่างหนึ่งระหว่างท่ีรอผู้ช�ำนาญการมาแนะน�ำหรืออธิบายข้ันตอน
การทำ� งานที่ปลอดภัยใหเ้ รา ซึ่งผลท่ีออกมามันสามารถลดอบุ ตั ิเหตุท่เี กิดขึ้นในสถานที่ท�ำงานได้

39

ความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงิ่ แวดลอ้ มและสงั คมมสี ว่ นสำ� คญั ในการบรหิ ารจดั การดา้ น
ความปลอดภยั อยา่ งไรบา้ ง

สถานประกอบกิจการจ�ำต้องค�ำนึงถึงผลกระทบท่ีจะเกิดข้ึนจากขบวนการผลิตกับชุมชน
และส่ิงแวดล้อมที่อยู่รอบๆสถานประกอบกิจการโดยการฝึกอบรมให้ความรู้แก่ชมชนหรือเข้าไปช่วยเหลือ
หรอื พัฒนาชมุ ชนด้วยกิจกรรม CSR เพื่อให้สามารถอยรู่ ่วมกนั อยา่ งสงบสขุ

นอ้ งๆ จป.รนุ่ ใหม่ ถา้ อยากจะเปน็ จป.มอื โปร หรอื ประสบความสำ� เรจ็ ในวชิ าชพี นี้
ควรจะมแี นวทางอยา่ งไรบ้าง

อยากจะฝากถงึ นอ้ งๆ จป.รนุ่ ใหม่ ทจี่ ะก้าวเข้ามาเป็น จป.มอื อาชพี ขอให้ยึดหลกั 3น.
1. น......นกั วชิ าการ จป.ระดบั วชิ าชพี จะตอ้ งนำ� เอาองคค์ วามรทู้ เี่ ราไดเ้ รยี นมา ประยกุ ตแ์ ละพฒั นา
งานความปลอดภยั ให้มนั เป็นตามกฏหมายและข้อกำ� หนดต่างๆที่เราทำ� อยู่ ISO 45001
2. น.....นกั ประสานงาน จป.ระดับวชิ าชีพ ต้องเป็นนกั ประสานงานสิบทศิ เพราะเราต้องประสาน
งานทั้งภายในองค์กรของเราและประสานงานหน่วยงานภายนอกไม่ว่าจะเป็นส่วนราชการหรือหน่วยงาน
เอกชน
3. น.....นักพูด จป.ระดับวิชาชีพ ต้องเป็นวิทยากรฝึกอบรมด้านความปลอดภัยฯให้กับพนักงาน
ลกู จ้างและผทู้ ี่เกยี่ วข้องเพ่ือใหเ้ ขาทำ� งานไดอ้ ยา่ งปลอดภัย

เหน็ ม๊ัยครบั ....การจะเปน็ จป.มอื โปรใครๆ กท็ ำ� ได้...

“ ”ขอให้เรามคี วามกลา้ และมีความเชื่อมั่นในตัวเอง...เทา่ นนั้ พอ

นายกนกศกั ด์ิ อุพนั ทา : เรียบเรียง

40

จป.วยั ทนี

คณุ สุพฒั พงษ์ มะณคี ำ�

41

แนะน�ำไลฟ์สไตล์ตนเองคร่าวๆ อุปนิสัยส่วนตัว ท่ีบ่งบอกความเป็น อ่านเจอแค่นี้....ผมเสิร์ทต่อเลยครับ มหาวิทยาลัยไหนเปิดสาขาน้ีบ้าง
ตวั เอง : ณ ตอนนัน้ ค้นไปเจอ มหาวิทยาลยั ราชภฎั สวนสนุ นั ทา เปิดรับสมคั ร
ในรอบโควตา้ ความสามารถทางวชิ าการ โดยรบั จำ� นวน 10 คน ผมกเ็ ลย
ถา้ ถามถงึ ไลฟส์ ไตล์ และนสิ ยั ทบี่ ง่ บอกถงึ ความเปน็ ตวั ตนของ สมัครไปและท�ำพอร์ตฟอลิโอ (Portfolio) เพ่ือเข้าสอบสัมภาษณ์
ผมนี่ตอ้ งขอแยกออกเปน็ 2 ประเดน็ เพื่อความชัดเจนเลยนะครับ และประกาศผลสรปุ ว่าผา่ นการสอบสมั ภาษณ์ ก็เลยตัดสนิ ใจเรียนทีน่ ี่
ไลฟ์สไตล์: การด�ำเนินชีวิตก็จะเป็นคนที่ชอบอะไรง่ายๆ สาขานี้อย่างไมล่ งั เลใจครบั
ไมย่ งุ่ ยาก ไมซ่ บั ซอ้ น อยากไปไหนกไ็ ป ทำ� อะไรกท็ ำ� นะครบั เพราะคดิ วา่
ความสุขของการใช้ชีวิต ก็คือการท่ีเราได้ท�ำกิจกรรมที่ใจเราต้องการ ตอนทเี่ รยี น ยากไหม (ตอ้ งมกี ารทบทวนเน้ือหาทเี่ รยี นไหม หรือเลา่
ใจเราใฝ่หา และอยากจะท�ำมันจริงๆ ในบางคร้ังท่ีเราได้ท�ำกิจกรรม ถงึ ว่าตอนเรียนได้ไปฝกึ งาน ไดศ้ ึกษาอะไรเปน็ พิเศษบา้ งไหม) :
ที่มันเกิดจากความอยากจะท�ำของเราจริงๆ มันมักจะมีไอเดีย หรือ
คน้ พบสิ่งใหม่ๆ เสมอเลยแหละครับ ถ้าถามว่าตอนเรียนยากไหมจะบอกว่ายังไงดีละ... เอาเป็น
อุปนิสัย: ถ้าคร้ังแรกคนท่ีเห็นตัวผมมักจะคิดว่าเป็นคน ว่าไม่ยาก และไม่ง่ายนะครับ เพราะสาขานี้จะตอ้ งจบสายวทิ ย์ - คณติ
เครง่ ขรมึ ไมค่ อ่ ยพดู เขา้ หายาก จรงิ ๆ แลว้ ตรงกนั ขา้ มมากครบั อาจจะ ถงึ จะเขา้ เรยี นได้ (ปจั จบุ นั หลายสถาบนั เปดิ โอกาสจบสายอน่ื กเ็ รยี นได้
เป็นเพราะหนา้ ตาบวกดว้ ยบคุ ลกิ ตวั เราดว้ ยม้งั ครบั ทด่ี เู ข้มๆ ไปหน่อย แล้วนะครับ) เพราะในช่วงปี 1 เราจะได้เรียนปรับพ้ืนฐานจะต้องเจอ
แต่จริงๆ แลว้ เป็นคนที่อารมณ์ดมี าก พดู เกง่ หัวเราะงา่ ย ถ้าคนใกล้ตวั วิชา ฟสิ กิ ส์ เคมี ชวี ิวทิ ยา คณติ ศาสตร์ ซงึ่ ผมเองจบสายวทิ ย์ - คณติ
หรือสนิทกันแล้วจะรู้ดีว่าคร้ังแรกท่ีเห็นกับหลังท่ีรู้จักจะแตกต่างกัน มาอยู่แลว้ เลยพอผา่ นมนั ไปไดค้ รับ
แบบหนา้ มือเปน็ หลังมือเลยละครับ 555+ (หวั เราะ) พอขึ้นปี 2 ก็ได้เร่ิมเจอวิชาเอกของสาขาซึ่งคิดว่าทุกคน
ต้องเร่ิมเรียนรู้พร้อมกันใหม่หมดทุกคนครับ การสอบในแต่ละวิชา
เหตใุ ดถึงเลือกเรียนอาชวี อนามัยและความปลอดภัยฯ : ก็ไม่ยากนะครับ ผมคิดว่าถ้าเราเข้าทุกคลาสและต้ังใจในคลาส
จดบนั ทกึ ทอ่ี าจารยเ์ นน้ ๆ ในคลาส แลว้ เอามาทบทวนกส็ อบไดไ้ มย่ ากครบั
ถามว่าท�ำไมถึงเลือกเรียนอาชีวอนามัยและความปลอดภัยฯ พอเรม่ิ ขน้ึ ปี 3 อาจารยก์ จ็ ะมพี าไปทศั นศกึ ษาโดยเขา้ เยยี่ มชม
ต้องบอกก่อนเลยว่าด้วยตัวของผมเองเน๊ียะจริงๆ แล้วอยากจะเป็น โรงงานเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
หมอ (Doctor) นะครบั 555+ แต่คือพยายามแล้ว พบว่าตวั เองไมไ่ ด้ เป็นอารมณ์ท่ีท�ำให้เราได้ออกไปสัมผัสกับสภาพแวดล้อมของ
เก่งขนาดน้ันถ้าเรียนก็คงไม่รอดแน่นอนน่ีต้องประเมินตัวเองก่อนถูก สังคมการท�ำงานถือเป็นเร่ืองท่ีดีมากครับ ตอนน้ันต่ืนเต้นมาก
ตอ้ งไหม? แหละอีกอย่างฐานะทางบา้ นกไ็ ม่ไดพ้ ร้อมด้วยครับ จ�ำได้ว่าอาจารย์พาไปดูโรงงานผลิตบะหมีก่ึงส�ำเร็จรูป และบริษัท
ก็เลยมาต้ังหลักใหม่ คิดทบทวนอีกคร้ัง ค้นหาสาขาอะไรท่ี ผลติ ไวน์แหง่ หนึง่ (ไดช้ มิ ดว้ ยนะ ^^ อรอ่ ยด)ี
เรยี นแลว้ จบมามงี านทำ� เลยแนน่ อน ไมต่ อ้ งสอบแขง่ ขนั ในกลมุ่ คนมากๆ ตอนฝึกงานผมได้ไปฝึกงานในจังหวัดชลบุรี เป็นบริษัทฯ
สาขาอะไรที่เป็นวิชาชีพเฉพาะด้านบ้าง นอกจาก หมอ วิศวกร แปรรูปยางพารา และน้�ำมันปาล์ม คือจะบอกว่าเป็นบริษัทฯ ที่ครบ
พยาบาลแลว้ จนมพี ท่ี ร่ี จู้ กั กนั เขาไดท้ ำ� งานทโ่ี รงงานในนคิ มอตุ สาหกรรม ครันทุกหลักสูตร และใหญ่มาก ได้เรียนรู้อะไรหลายๆ ด้าน เพราะ
จงั หวดั ชลบรุ ี ไดแ้ นะนำ� วา่ เรยี น SAFETY ส!ิ เพราะ SAFETY ทโี่ รงงาน ในหนว่ ยงานทเ่ี ขา้ ไปฝกึ นบั วา่ เปน็ หนว่ ยงานทเ่ี ปน็ หนว่ ยงานดา้ นความ
เงินเดือนดีมากๆ หลังจากจบบทสนทนาเลยไปค้นหาในอินเทอร์เนต ปลอดภยั จริงๆ มที มี งานท่ที ำ� งานดา้ นความปลอดภัย และส่งิ แวดลอ้ ม
เสิร์ทดูวา่ SAFETY เรยี นสาขาอะไร? เลยไดค้ น้ พบว่าเป็นสาขาท่เี รยี น โดยตรง ท�ำให้การเรียนรู้ได้เรียนรู้งานในแต่ละด้านอย่างลึกซึ้ง
เกยี่ วกบั ดา้ นอาชวี นามยั และความปลอดภยั โดยเปน็ วชิ าชพี ทกี่ ฎหมาย โดยเฉพาะงานด้านส่ิงแวดล้อม ท่ีมีระบบบ�ำบัดน�้ำเสียขนาดใหญ่
บังคับให้สถานประกอบกจิ การจะตอ้ งมี โดยตอ้ งด�ำเนินการอยูภ่ ายใต้ ท่ีมีการบ�ำบัดและควบคุมให้อยู่ในในมาตรฐานต่างๆ และกฎหมาย
ของ พรบ. ความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการ ของกรมโรงงานอุตสาหกรรม ก่อนทีจ่ ะปลอ่ ยออกสู่นอกโรงงาน
ท�ำงาน พ.ศ. 2549 (ปัจุบันมีการอัปเดทเป็นปี พ.ศ. 2554) คือ

42

เตรยี มตวั อย่างไรบ้าง ในบทบาทของ จป.วยั ทีน : ขึ้นในองค์กรนั้น ควรเริ่มต้นท่ีบริหารจัดการคน ควรบริหารจัดการ
คนในองค์กรทุกระดับให้มีจิตส�ำนึกด้านความปลอดภัย (Safety
การเตรียมตัวในบทบาทหน้าที่ของ จป. ส�ำหรับผมแล้ว Awareness) ตระหนกั รู้ ตระหนกั คดิ ตระหนกั ท�ำ ดำ� เนนิ กิจกรรมให้
ก็ไม่ได้เตรียมตัวอะไรมากมายนะครับ เป็นตัวของตัวเอง มีความ เปน็ ไปอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ซงึ่ การทจ่ี ะทำ� นนั้ วา่ ยากแลว้ การทำ� ใหเ้ กดิ ความ
มั่นใจ เชื่อมั่นในตัวเอง และให้มีความอ่อนน้มถ่อมตน แต่สิ่งที่ต้อง ต่อเนื่องยากยิ่งกว่า ซึ่งส่ิงที่จะท�ำให้มีความต่อเน่ืองน้ัน ผู้บริหารย่อม
เตรียมส�ำหรับผมก็คือ การเตรียมใจก็พอ 555 (หัวเราะ) เตรียมใจ มีส่วนส�ำคัญต้องเป็นแกนกลางหลักของเฟืองท่ีต้องผลักดันกิจกรรม
ท่ีจะต้องเผชิญกับโลกแห่งความเป็นจริง สังคมท่ีมีหลากหลายด้าน ต่างๆ ใหฟ้ นั เฟืองเลก็ ๆ ทอ่ี ยรู่ อบนัน้ คือพนักงานในองคก์ ร ใหด้ ำ� เนิน
ผู้คนท่ีมากหน้าหลายตา อุปนิสัยที่แตกต่างกัน เตรียมใจให้พร้อม กิจกรรมตามท่ีผู้บริหารได้การสนับสนุนและผลักดันให้เกิดขึ้น เพราะ
รับกับปัญหาและอุปสรรคที่จะต้องเจอ เรียนรู้ทุกส่ิงทุกอย่าง และ หากผู้บริหารในองค์กรท่ีเป็นแกนกลางของเฟืองไม่ได้มีแนวคิดที่จะ
เก็บเป็นบทเรียนส่ังสมให้เป็นประสบการณ์ พร้อมท่ีจะสร้างแรง สรา้ งจติ สำ� นกึ ดา้ นความปลอดภยั ใหเ้ กดิ ขน้ึ ในองคก์ รนน้ั แลว้ พนกั งาน
ผลักดันเพ่ือให้เกิดการพัฒนาตัวเอง ในการสร้างส่ิงใหม่ๆ เสมอ ในองค์กรที่เป็นฟังเฟืองเล็กๆ ก็คงจะน่ิงเฉยตามแกนกลางของเฟือง
และในสถานการณ์ปัจจุบันเทคโนโลยีได้มีส่วนเข้ามา อย่างแน่นอน
มบี ทบาทในการทำ� งานมากขน้ึ แนน่ อนในอนาคตแรงงานคนจะถกู ลดลง
ในสถานประกอบกิจการ ท�ำให้ผมจะต้องเรียนรู้งานในหลายด้าน ผลงานดเี ด่น/ เกียรตปิ ระวตั /ิ รางวัลท่เี คยได้รับในการทำ� งาน :
พฒั นาตวั เองใหม้ ที กั ษะหลากหลาย (Multi skill) เพอ่ื ใหต้ วั เองสามารถ
ท�ำงานได้มากกว่า 1 บทบาท ในการเปน็ ตวั เลอื กใหก้ ับนายจ้างเพราะ พ.ศ. 2557 รางวลั ศษิ ยเ์ กา่ ดเี ดน่ คณะเทคโนโลยอี ตุ สาหกรรม
เราต้องเขาใจนายจ้างว่าเขาคือผู้ที่จ่ายเงินเดือนให้กับเรา เหมือนกับ มหาวิทยาลยั ราชภฎั สวนสุนันทา
ท่ีเราไปเลือกซ้ือสินค้าอย่างใดอย่างหน่ึงท่ีจะเอามาช่วยเราท�ำงาน พ.ศ. 2557 น�ำบริษัท แฟมลิ ่ี คอรป์ อรชัน่ จำ� กดั เข้าประกว
ในบ้าน เราก็จะต้องคิดถึงความคุ้มทุน และสินค้านั้นจะต้องสามารถ ดกวดสถานประกอบการดีเด่นด้านความปลอดภัย ได้รับรางวัล
สนับสนุนงานเรามากกว่า 1 ฟังชันท์ เราจึงจะเลือกซื้อใช่หรือไม่? สถานประกอบการดีเด่นด้านความปลอดภัย ระดับจังหวัด โดย
ซงึ่ นายจา้ งกเ็ ช่นกัน กรมสวัสดิการและค้มุ ครองแรงงานจังหวัดสมทุ รปราการ
พ.ศ. 2557 น�ำบริษัท แฟมิลี่ คอร์ปอรชั่น จ�ำกัด เข้าร่วม
เม่ือทำ� งานในฐานะ จป. วิชาชีพ มกี ารบริหารจัดการองค์กรอยา่ งไร โครงการอุตสาหกรรมสีเขียว ได้ใบรับรองหรือประกาศนียบัตรของ
บ้างเพอ่ื ให้เกิดความปลอดภัย : กจิ กรรมอตุ สาหกรรมสีเขยี ว ระดับที่ 3
พ.ศ. 2560 เข้าร่วมประกวด Safety Smart and Smile
การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยให้เกิดขึ้นในองค์กร 2017 โดย สสปท.
น้ัน ในฐานะทผี่ มทำ� งานเปน็ จป.วชิ าชพี มา 7-8 ปี พบเจอเหตกุ ารณ์ พ.ศ. 2561 ผู้มีคุณูปการต่อสาขาเทคโนโลยีความปลอดภัย
ท่ีเกิดขึ้นในบริษัทฯ 4-5 บริษัทฯ ได้เห็นถึงความแตกต่างและพอจะ และอาชีวอนามัย คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฎ
บอกกับทุกคนได้ว่า การบริหารจัดการด้านความปลอดภัยท่ีดีให้เกิด สวนสุนันทา

43

ประวัตกิ ารเข้ารว่ มโครงการ อบรม/สมั นาต่าง ๆ ทีผ่ า่ นมา : ต�ำแหน่งหรืออะไรต่างๆ ที่ได้รับเป็นผลพลอยได้ตามมามากกว่า
เพราะถ้าท่ีผ่านมาและปัจจุบันหากเพ่ือนร่วมงานหรือคนในองค์กร
อบรมความปลอดภยั ในการทำ� งานบนทสี่ งู การทำ� งานบนทส่ี งู ไม่ยอมรับ ไม่ด�ำเนินกิจกรรมตามแผนงานของเรา ความส�ำเร็จ
อบรมความปลอดภัยในการท�ำงานสถานที่อบั อากาศ ในหลายๆ ด้านของการท�ำงานคงไม่เกิดข้ึน รวมถึงความส�ำเร็จใน
อบรมความปลอดภัยในการจดั เกบ็ สารเคมแี ละวตั อุ ันตราย ชีวติ ของผมคงไม่มาถึงวนั น้ีครบั และแนน่ อนทสี่ ดุ สิ่งทีท่ �ำใหผ้ มรสู้ ึกว่า
อบรมการปฐมพยาบาลและฟน้ื ฟชู ีพดว้ ยเคร่อื ง AED ภูมิใจในบาทบาทหน้าทนี่ ่นี ั้นก็คือ การทท่ี ุกคนเรียกผมวา่ จป.วิชาชีพ
อบรมการบรหิ ารจดั การดา้ นการยาศาตรแ์ ละโรคออฟฟศิ ซนิ โดม เพราะค�ำว่า “วิชาชีพ” คือค�ำที่หมายความว่า วิชาท่ีเราได้ศึกษา
อบรมความรู้เก่ียวกับการบริการจัดการด้าน ISO 9001, เล่าเรียนมาจนจบ จนมีความรู้ความช�ำนาญสามารถประกอบอาชีพ
ISO 14001, OHSAS 18001, ISO 450001 ไดท้ ันที และเป็นงานทเี่ ราจะอทุ ศิ ตนท�ำมันไปตลอด ด้วยความเต็มใจ
อบรมเป็นผู้ตรวจประเมินภายใน ISO 9001, ISO 14001, และอยากจะบอกทกุ คนวา่ ทุกวชิ าชพี ล้วนมีคุณคา่ ในตัวของ
OHSAS 18001, ISO 450001 มันเอง เพราะแต่ละวิชาชีพก็มีบทบาทหน้าที่แตกต่างกันออกไป
เปน็ วทิ ยากรโครงการสมั นาวชิ าการหวั ขอ้ เสน้ ทาง สู่ การเปน็ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคท์ จี่ ะผลกั ดนั ใหอ้ งคก์ ร ประเทศชาติ ใหม้ กี ารพฒั นา
จป. วิชาชีพ นักศึกษาชั้นปี่ที่ 3 สาขาเทคโนโลยีความปลอดภัยและ ไปในทิศทางเดียวกัน ขอแค่เรานั้นภูมิใจ และเช่ือมั่นในสิ่งได้เราได้รับ
อาชีวอนามยั มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสวนสุนนั ทา มนั มา และลงมือทำ� อย่างเตม็ ท่ีในทกุ ๆ วัน
เป็นวิทยากรโครงการสัมนาวิชาการหัวข้อความปลอดภัย
ในงานด้านขนส่งสินค้าทางบก นักศึกษาชั้นปี่ที่ 3 สาขาเทคโนโลยี สดุ ท้ายอยากใหฝ้ ากถงึ นอ้ ง ๆ นสิ ติ นกั ศกึ ษาท่ีก�ำลังศกึ ษาในสาขา
ความปลอดภยั และอาชวี อนามัย มหาวทิ ยาลัยราชภัฎสวนสนุ ันทา วิชาทเี่ กี่ยวข้อง กอ่ นจะเป็น (วา่ ที)่ จป. ในอนาคต :
เปน็ พธิ กี รงานความปลอดภยั และอาชวี อนามยั ภาคตะวนั ออก
จังหวดั ระยอง อยากจะบอกน้องๆ ที่ก�ำลังเรียนในสาขาอาชีวอนามัยและ
เป็นพิธีกรงานความปลอดภัยและอาชีวอนามัยภาคเหนือ ความปลอดภัย หรอื น้องๆ ท่ีก�ำลงั จะเป็น (ว่าท)่ี จป. ทกุ คนว่า เมื่อ
จังหวัดพษิ ณโุ ลก เราเลือกมาทางนี้แล้วขอให้มั่นใจในตัวเอง ภูมิใจในตัวเอง และท�ำให้
เตม็ ทน่ี ะครับ (มาถกู ทางแล้ว ไมต่ กงานแน่นอน)
ความภาคภูมิใจสูงในการท�ำงาน หรือ ความภูมิใจในบทบาท จป ส่ิงที่ส�ำคัญที่สุดอยากจะบอกให้น้องๆ เตรียมความพร้อม
วิชาชพี : เก่ียวกับด้านภาษา เพราะภาษาที่สอง (อังกฤษ ญี่ปุ่น จีน) เราควรมี
ติดตัวไว้อย่างน้อย 1 ภาษา หรือมากกว่าน้ันจะดีมากๆ เพราะน้ันจะ
สง่ิ ทผี่ มภาคภมู ใิ จในงานทำ� งานสายงานจป.วชิ าชพี มากทสี่ ดุ คอื การทที่ กุ เปน็ ใบเบิกทางให้นอ้ งๆ พบกบั โอกาสทดี่ ี และทำ� ให้เรามตี วั เลือกมาก
คนเขา้ ใจและยอมรบั ในการทำ� งานของผมมากกวา่ นะครบั เรอ่ื งผลงาน ขึ้น หรือพูดง่ายๆ จะได้เงินเดือนเยอะน่ันแหละ และอาจท�ำให้เรา
ประสบความสำ� เรจ็ ในวิชาชีพน้ีเร็วขนึ้ ดว้ ยนะครบั
และสำ� หรบั นอ้ งๆ ทกี่ ำ� ลงั มองหาสาขาวชิ าชพี ทจี่ ะเปน็ อาชพี
ในอนาคต ขอแนะนำ� สาขาอาชวี อนามยั และความปลอดภยั เลยนะครบั
เรยี นจบแล้วไม่มตี กงานอยา่ งแนน่ อน ซงึ่ ในปจั จบุ ันมีสถาบันเปิดสอน
สาขานม้ี ากถงึ 40 สถาบนั มกี ารพฒั นาหลกั สตู รและปรบั ปรงุ หลกั สตู ร
อย่างต่อเน่ือง โดยผ่านการรับรองจากกรมสวัสดิการและคุ้มครอง
แรงงาน โดยกระทรวงแรงงานทง้ั หมด
มาเป็น จป. วชิ าชีพ กนั เยอะๆ นะครับ

นางสาวหทยั รัตน์ ศรีจนั ทกึ : เรยี บเรยี ง 44

นส รวุ ัปตผกลรงรา นม

โครงการพัฒนานวัตกรรมด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัย ประจ�ำปี 2563 เป็นโครงการท่ีจัดขึ้นในทุกๆ ปี โดยจะมีการจัดงาน
มอบรางวัลและเผยแพร่ผลงาน ของผู้ผ่านเกณฑ์เข้าประกวดในงาน Safe@Work แต่เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ทางสถาบันฯ จึงขอเผยแพรผ่ ลงานผ่านเวบ็ ไซต์ของ สสปท. www.tosh.or.th โดยมรี ายละเอียดของทมี ผา่ นเกณฑ์
พจิ ารณาทั้งหมด ดังนี้

1. ประเภทผลงานดา้ นนวัตกรรม (OSH Innovation Award)

1.1 รางวัลผลงานดี (Good OSH Innovation Award ) มผี ลงานที่ผ่านเกณฑ์ 3 ทีม ได้แก่
1.2.1 SLIDE SCALE บริษทั ซพี ีเอฟ (ประเทศไทย) จำ� กดั (มหาชน)

สภาพการท�ำงาน/ ปญั หากอ่ นดำ� เนินการปรับปรงุ ผลงาน

1.2.2 CATH LOCKER โรงพยาบาลชยั นาทนเรนทร


45

สภาพปญั หาท่ี 1 การยกถงุ อาหารเพอื่ ทวนสอบ พนกั งานตอ้ งยกถงุ อาหารจากสายพานข้นึ บนตาชง่ั
เพ่ือทำ� การทวนสอบน้ำ� หนักว่าถูกตอ้ งตามคา่ ทีก่ ำ� หนดไวห้ รอื ไม่ ซึง่ น้�ำหนักของถุงอาหารมนี ้ำ� หนักมาก
ท�ำให้เกิดความเมือ่ ยล้า ทำ� ให้เกิดการละเลยต่อข้อก�ำหนดท่ใี ห้ท�ำการทวนสอบนำ้� หนักอาหารส่งผลต่อ
น้ำ� หนกั อาหารที่บรรจุ
สภาพปัญหาที่ 2 การเช็คน้ำ� หนักอาหาร เมอื่ น้�ำหนกั ขาด หรอื เกนิ ทำ� ให้เกิดปญั หา ดังนี้
1. เกิดความล่าช้าในการขนสง่ ท�ำให้เกิดข้อรอ้ งเรยี นลกู คา้
2. การตรวจเชค็ นำ้� หนกั ซ้ำ� ใช้เวลา 1 ชว่ั โมง
3. ใช้พนกั งานในการตรวจสอบน้ำ� หนกั 4 คน
4. เป็นการท�ำงานทส่ี ูญเสยี สญู เปล่า

สภาพการท�ำงานหลงั ดำ� เนนิ การปรับปรุง

สไลดจ์ ะทำ� งานตรงกนั ขา้ มกบั ทางหมนุ ของสายพาน เมอื่ ถงุ อาหารบนแทน่ ชงั่ [1] เลอ่ื นตามแทน่ ชง่ั เขา้ ไป จะไปเจอกบั ตวั ดนั ถงุ อาหาร[2]
จะบังคับไม่ให้ถุงอาหารเลื่อนตามแท่นชั่งเข้าไป เม่ือแท่นช่ังเล่ือนเข้าไปยังท่ีเก็บ จะมีส่วนหน่ึงของถุงอาหาร ตกลงบนสายพาน [3] ตัวสายพาน
จะเป็นตวั ช่วยดึงถุงอาหารออกจากแทน่ ชั่งอีกแรงหนง่ึ ท�ำใหถ้ งุ อาหารเลือ่ นจากแท่นชัง่ โดยไม่ใช้คนยก

ยกเลิกการท�ำงานแบบเดมิ

1.2.2 CATH LOCKER โรงพยาบาลชยั นาทนเรนทร
CATH LOCKER นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นช่วยป้องกันการเลื่อนของวัสดุห้ามเลือดและลดภาวะแทรกซ้อนในผู้ป่วย (Posterior Nasal
Packing)
เลอื ดกำ� เดาไหล (Epistaxis) คอื ภาวะทม่ี เี ลอื ดออกทางจมกู เกดิ จากเสน้ เลอื ดฝอยในโพรงจมกู แตก อาจไหลจากสว่ นหนา้ หรอื สว่ นหลงั
ของจมกู พบไดท้ กุ อายทุ ง้ั เพศหญงิ และชาย การเสยี เลอื ดจะทำ� ใหผ้ ปู้ ว่ ยชอ็ คหมดสติ และเสยี ชวี ติ ได้ พบมากในผสู้ งู อายุ และมโี รคความดนั โลหติ สงู

46

สภาพการทำ� งาน/ ปญั หากอ่ นดำ� เนินการปรับปรุงผลงาน

- เกดิ ภาวะแทรกซ้อน มีแผลกดทบั ปกี จมกู
- มกี ารเล่ือนของสายยาง
- พบการตบี ตนั ของสายยาง
- ผ้ปู ว่ ยไดร้ บั ความเจบ็ ปวดจากการดงึ รง้ั ของสายยาง
- เสยี คา่ ใชจ้ า่ ยในการนอนโรงพยาบาลสงู

สภาพการท�ำงานหลังด�ำเนนิ การปรับปรุง

- CATH LOCKER ชว่ ยในการหา้ มเลือดในโพรงหลงั จมูก (Posterior Nasal Packing) ไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ
- ไม่เกดิ ภาวะแทรกซอ้ นบริเวณที่ใส่สาย posterior nasal packing เชน่ แผลกดทับ
- ไมม่ กี ารตีบตนั ของสายยาง (Foley’s catheter)
- ลดความเจบ็ ปวดจากการดงึ ร้งั ของสายยาง
- ประหยัดค่าใชจ้ ่าย

1.2.3 เครือ่ งห่นั ไสก้ รอก ส�ำหรับสนิ ค้าไสก้ รอกทอด บรษิ ทั ซีพีเอฟ ฟดู้ แอนด์ เบฟเวอรเ์ รจ จำ� กดั


สภาพการท�ำงาน/ ปัญหากอ่ นดำ� เนินการปรบั ปรงุ ผลงาน

- การห่นั ไสก้ รอกมีประสิทธภิ าพตำ่�
- ใชพ้ นักงานจำ� นวนมาก
- กำ� ลงั การผลติ ไมเ่ พียงพอตอ่ ความตอ้ งการของลกู ค้า
- มีความเสย่ี งต่อการเกิดอบุ ัตเิ หตใุ นการทำ� งาน

สภาพการทำ� งานหลังด�ำเนนิ การปรบั ปรุง

47

- ลดอบุ ัติเหตใุ นการท�ำงานจากการได้อยา่ งต่อเนือ่ ง
- คณุ ภาพสนิ คา้ ได้ตามมาตรฐาน
- ประสิทธิภาพในการทำ� งานเพิม่ ขึ้น
- ลดค่าแรงงาน 1,700,000 บาท/ปี

2. ประเภทผลงานดา้ นการปรับปรุงสภาพการทำ� งาน (OSH Improvement Award)
2.1 รางวัลผลงานดี (Good OSH Improvement Award) มีผลงานทผ่ี ่านเกณฑ์ 1 ทมี ดังน้ี
2.1.1 เครอ่ื งมอื การท�ำระบบสายกราวด์ ในเสาไฟฟ้า คอนกรตี อดั แรงขนาด 22.00 ม.

แผนกโรงงานผลติ ภณั ฑค์ อนกรีตจนั ทบุรี

สภาพการท�ำงาน / ปัญหาก่อนด�ำเนนิ การปรับปรงุ ผลงาน

- ในข้นั ตอนการดัดเหลก็ เป็นรูป คอมา้ โดยผ้ปู ฏบิ ตั ิงานจะใชป้ ระแจดดั เหล็ก
ขนาด 12 มม. ทำ� การดดั ผปู้ ฏบิ ตั งิ านตอ้ งออกแรงอยา่ งมากในการดดั เหลก็
เพื่อให้ได้องศา ระยะต�ำแหน่งที่แม่นย�ำ โดยในแต่ละวันผู้ปฏิบัติงาน
จะต้องดัดเหล็กคอม้าจ�ำนวน 56 ชุด แล้วจึงน�ำมาเช่ือม กับแผ่นเหล็ก
(Steel Plate, Steel Tubular Casing)

- จากการท่ีต้องดัดเหล็กจ�ำนวนมาก จึงท�ำให้ผู้ปฏิบัติงาน มีอาการบาดเจ็บ
จากก้ามเน้ือบริเวณแขนและไหล่อักเสบ มีการหยุดงานของผู้ปฏิบัติงาน
บอ่ ยครง้ั คณุ ภาพของงานลดลง

สภาพการท�ำงานหลงั ด�ำเนนิ การปรบั ปรงุ

- พบวา่ มจี ำ� นวนชน้ิ งานทเ่ี สยี ลดลงลงจาก 10.43 % เหลอื 0.44 % เมอื่ เทยี บกบั
การดดั เหล็กโดยใช้ประแจดัดก่อนด�ำเนินการปรบั ปรุง

- ปญั หาการหยุดงานจากการเจ็บปว่ ยในการดัดเหลก็ หมดไป
- คณุ ภาพของช้ินงาน มคี ณุ ภาพสม�ำ่ เสมอทุกช้ิน
- สามารถเพ่ิมผลผลิตได้
- สามารถลดเวลาการท�ำงานได้จากเดิม 1 ชุดใช้เวลา 1 ช่ัวโมง 40 นาที

ปจั จบุ นั ใชเ้ วลา 1 ชว่ั โมง ลดลง 40 นาที

48

นานาสาระ

TMooorlnBinogxTTaalklk กับ

เหมอื น หรอื ตา่ งกนั อยา่ งไร

รู้ไวจ้ ะไดเ้ อาไปใช้ใหถ้ ูก ท�ำตอ่ เนอ่ื ง ท�ำถกู วธิ ี
ช่วยป้องกนั อุบตั เิ หตไุ ด้จรงิ

ท่มี า.. Health & Safety 360
หลายคนยังเข้าใจว่าการพูดคุยกันตอนเช้าก่อนเร่ิมงาน ท่ีเรียกว่า Tool Box Talk
หรือบางทเ่ี รยี ก Morning talk ทำ� เพอ่ื เช็คชอ่ื เปน็ หลกั ฐานวา่ มาทำ� งานทนั ไมต่ ื่นสาย จะได้
จ่ายเงินได้ถูก ไม่ต้องหักตัง และบางคน ก็พูดฝ่ายเดียว โดยที่ไม่เปิดโอกาสให้ผู้ฟัง หรือ คน
งานได้พูด ได้ตอบค�ำถาม หรือแสดงความคิดเห็น ความเข้าใจของตนเองในงาน หรือ ความ
เสีย่ งท่ีพวกเขากำ� ลงั จะเผชิญ แล้วใครล่ะ ควรจะเปน็ คนพูด? จะใหโ้ ปรเจกต์ หรอื ไซตเ์ อนฯ
หรือ จป. พดู ดี? และ... ต้องพดู อะไร?

49

Tool Box Talk (ทูลบ๊อกซ์ทอล์ค) มักจะพูดเรื่องงานที่จะท�ำในวันน้ัน ข้ันตอนการ

ทำ� งาน หน้าที่รับผดิ ชอบ ใครทำ� อะไร อันตราย และความเส่ยี ง รวมถึงสิง่ ท่ตี ้องท�ำ และหา้ มท�ำ (Do
& Don’t) ใชเ้ วลา 5-10 นาทกี เ็ พยี งพอ โดยหวั หนา้ งาน หรอื โฟรแ์ มน และถา้ ใหด้ ี ควรแบง่ กลมุ่ ยอ่ ย
แลว้ คยุ ตามลกั ษณะงาน

Morning talk (มอรน์ ิง่ ทอลค์ ) มักจะพูดเร่อื งแจ้งข่าวสาร บทเรียนจากอุบตั ิเหตุ หรอื

ความปลอดภัยท่ัวๆไป ที่จบลงด้วย แง่คิด บทเรียน หรือการกระตุ้นจิตส�ำนึกให้ตระหนักถึงความ
ปลอดภัยในการท�ำงาน โดยใครก็ได้ สับเปลี่ยนหมุนเวียนกันพูด และควรแจ้งล่วงหน้า เพ่ือให้ผู้พูด
เตรียมตัว และหาเรอ่ื งมาพูดใหท้ กุ คนฟงั ที่หนา้ แถว และมกั พูดตอ่ หน้าคนกลมุ่ ใหญ่ๆ พร้อมๆกนั

วธิ ีการทผี่ มใช้ คือ

1. เร่ิมต้นดว้ ยการท�ำ Morning Talk คนแรกทพี่ ูด คอื คนท่ีตำ� แหน่งใหญ่สดุ จะเป็น โปร
เจกตเ์ มเนเจอร์ หรอื คอนสตรคั ชน่ั เมเนเจอร์ กไ็ ด(้ คนท่ีไม่ไดพ้ ูดกค็ วรจะมายืนเขา้ แถว ดา้ นหน้าคน
งานเช่นกัน ไม่ใช่นัง่ จิบกาแฟ อยูใ่ นตูค้ อนเทนเนอร์)
จากน้ันอาจแทรกด้วยการออกก�ำลังกาย ยืดเส้นสาย (จะมีหรือไม่ก็ได้) หรือ ตรวจ PPE
และการแตง่ กาย ตรวจความพรอ้ ม หรอื กิจกรรมอะไรก็แล้วแต่ วฒั นธรรมของไซต์งานน้ัน หรอื ข้อ
กำ� หนดของผู้วา่ จา้ ง ตรงนี้ ให้ จป. เข้ามาพูด มาจัดกิจกรรมได้กจ็ ะเป็นส่งิ ที่ดี
2. จากนั้น จงึ แยกกล่มุ ยอ่ ยทำ� Tool Box Talk น�ำโดย โฟรแ์ มน หรอื หวั หน้างานของทีม
งานนนั้ ๆ ถา้ มี JHA หรอื Method statement ท่รี ะบขุ ัน้ ตอนการทำ� งานเฉพาะดา้ น กใ็ ชช้ ่วงเวลาน้ี
เอามาคุยกบั ทมี งาน
ความสำ� เร็จของการพูด คอื ไม่ใชแ่ คพ่ ดู ฝา่ ยเดียว แต่ต้องพยายาม โนม้ น้าว ให้คนงานพูด
บ้าง จะตอบค�ำถาม แสดงความเห็น หรืออธิบายความเข้าใจของงานที่ได้รับมอบหมาย และความ
เส่ียงทต่ี นเผชญิ ก็แลว้ แต่
ปล. สาเหตทุ ่เี รยี กว่า Tool Box Talk เน่ืองจากในสมัยกอ่ น โฟรแ์ มนตวั เล็ก เวลาพดู หนา้
แถวคนงานทีน่ ัง่ อยูด่ า้ นหลังจะมองไมเ่ ห็นผพู้ ดู จงึ ตอ้ งให้โฟรแ์ มนขนึ้ ไปยนื พดู บนกลอ่ งเคร่ืองมอื จึง
เป็นทีม่ าของคำ� ท่ีเรยี กติดปากกันว่า “Tool Box Talk”

50


Click to View FlipBook Version