พายุทอร์นาโดก่อตัว พัดถล่มกลางเมืองยิงโขว ชาวบ้านผวาไม่ทันตั้งตัว
< พายุถล่มหลายหลายหมู่บ้าน
ของตำบลแม่สรวย ต.เวียง
แม่สรวย ต.แม่พริก ด้านหน่วย
งานความมั่นคง ทั้งทหาร และเจ้า
หน้าที่ท้องถิ่นเร่งสำรวจ พร้อมให้
ความช่วยเหลือซ่อมแซมหลังคา
(อ่านต่อหน้า 2)
อ่านข่าวทันโลก วันที่ 21 พ.ค. 2564 ผู้สื่อข่าวได้รับรายงานว่า
เมื่อเวลา 18.00 น. ของวันที่ 20 พ.ค.2561
T- NEWS
ได้เกิดพายุฝนกระหน่ำในพื้นที่อำเภอพยุห์
วันอาทิตย์ ที่ 12 กันยายน พุทธศักราช 2564 ปีที่ 1ฉบับที่ 1 ราคา 25 บาท
จังหวัดศรีสะเกษ มีบ้านเรือนราษฎรได้รับความ
เสียหายเป็นบริเวณกว้าง จึงลงพื้นที่ตรวจสอบ
ในเช้าวันนี้
พายุฤดูร้อนพัดถล่ม
หลายพื้นที่ภาคเหนือ
หลายจังหวัดภาคเหนือเร่งช่วยเหลือผู้ประสบภัย
จากพายุฤดูร้อนพัดถล่มในพื้นที่ ล่าสุดมีพายุพัด
ถล่มในอำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ทำให้ต้นไม้
และเสาไฟฟ้าล้มทับบ้านและถนนจำนวนมาก
10 ก.ย. 2564 ที่ จ.สุพรรณบุรี ปภ.สรุปครึ่งเดือนพ.ค.
นายกิตติพงษ์ แย้มมี นายอำเภอ เกิดวาตภัย54จังหวัด
ดอนเจดีย์ จ.สุพรรณบุรี พร้อมผู้
บริหารท้องถิ่นและเจ้าหน้าที่มูลนิธิ
เสมอกัน ได้เข้าตรวจสอบบ้านเรือน บ้านเสียหาย1หมื่นหลังปัจจุบันคลี่คลายทุกจังหวัด
ประชาชนที่ได้รับความเสียหาย
เนื่องจากในช่วงกลางคืนที่ผ่านมา
หนังสือพิมพ์
หน้า 2 T-NEWS
เชียงรายเจอวาตภัยถล่มที่แม่สรวย ลมกระโชกพัดบ้านพังหลายหมู่บ้าน
เมื่อเวลา 18.00 น. วันที่ 10 เม.ย. 61 นายอนันต์ สมุทรวารินท์ นอภ.แม่สรวย จ.เชียงราย กล่าวว่า ตนได้รับ
รายงานว่ามีเหตุพายุถล่มหลายหลายหมู่บ้านของตำบลแม่สรวย ต.เวียงแม่สรวย ต.แม่พริก จึงพร้อมด้วยฝ่าย
ความมั่นคง อ.แม่สรวย อปท.กำนันผู้ใหญ่บ้าน ออกสำรวจความเสียหายในเบื้องต้น ต.แม่สรวย ความเสียหาย
จำนวน 4 หมู่บ้านได้แก่ บ้านแม่สรวย ม.5 บ้านร่องเจริญ ม.7 หลังคากระเบื้องสังกะสีเสียหายได้รับความเดือด
ร้อน 60 หลังคาเรือน กระเบื้องหลังคาเสียหายจำนวน 2,000 แผ่น ครอบมุงหลังคาจำนวน 500 แผ่น สังกะสี
จำนวน 500 แผ่น บ้านสันเครือฟ้า ม.11 กระเบื้องจำนวน 115 แผ่น ครอบมุงหลังคาจำนวน 58 แผ่น สังกะสี
จำนวน 230 แผ่นบ้านจอมแจ้ง ม.12 อยู่ในระหว่างการสำรวจความเสียหาย
<07:00 ภาพดาวเทียมแสดงไต้ฝุ่น“จันทู” Chanthu
หรือพายุหมายเลข 14 ตามวิธีเรียกแบบญี่ปุ่น
ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางพายุประมาณ 100 น็อต
หรือ 185 กิโลเมตรต่อชั่วโมง กำลังเคลื่อนตัวเลียบ
ชายฝั่ งไต้หวันมาที่พิกัด 23.8°N 122.3°E จากนี้จะ
มุ่งหน้าไปทางทะเลจีนต ะวันออก
02:00 พายุโซนร้อน“โกนเซิน” หรือพายุหมายเลข 5 >
ตามวิธีเรียกแบบเวียดนาม พายุหมายเลข 13 ตามวิธี
เรียกแบบญี่ปุ่น ล่าสุดมีศูนย์กลางอยู่ที่พิกัด 15.0°N
109.0°E ใกล้ชายฝั่ งตอนกลางของเวียดนาม อ่อน
กำลังลงเป็นพ ายุดีเปรสชันเคลื่อนไปทางทิศตะวันตก
เยื้องไปทางใต้อย่างช้าๆ
สำนักข่าวประเทศจีนรายงานว่า พายุทอร์นาโดได้พัด
ถล่มพื้นที่มณฑลเหลียวหนิง ทางตะวันออกเฉียงเหนือ
ของจีน เป็นเหตุทำให้บ้านเรือนและรถยนต์ได้รับความ
เสียหายในวงจำกัด ขณะที่กรมอุตุนิยมวิทยาในพื้นที่ยัง
ประกาศแจ้งเตือนภัยสีเหลือง เพื่อให้เฝ้าระวังพายุหมุน
ที่อาจจะก่อตัวขึ้นอีกได้กรมอุตุนิยมวิทยาในมณฑลเหลี
ยวหนิงระบุว่า สาเหตุที่เกิดพายุทอร์นาโดในพื้นที่ในช่วง
นี้ เนื่องจากมีแนวปะทะกันระหว่างกระแสลมคลื่นความ
เย็นและคลื่นความร้อน โดยปกติจะทำให้เกิดเป็นพายุฝน
ฟ้าคะนองในพื้นที่ แต่ครั้งนี้กลับเป็นพายุทอร์นาโดขึ้น
ทั้งนี้ พื้นที่ดังกล่าวเพิ่งได้รับผลกระทบเล็กน้อยจาก
อิทธิพลของพายุไต้ฝุ่นเลกิมา ที่พายุได้พัดมาอ่อนกำลัง
และสลายตัวไปบริเวณทะเลปั๋ วไห่ และยังทำให้พื้นที่ดัง
กล่าวยังมีฝนตกต่อเนื่องในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา
คลิปเหตุการณ์พายุทอร์นาโดประเทศจีน >
สถิติพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนที่เข้าประเทศไทย หน้า 3
สถิติพายุหมุนเขตร้อนเคลื่ อนที่เข้าประเทศไทย
มีพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยปีละประมาณ3ลูก พายุจะเริ่มเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย
ตั้งแต่เดือนเมษายนแต่มีโอกาสน้อยมาก พายุจะมีโอกาสเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยมากขึ้นเป็นลำดับ
ตั้งแต่เดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป และเดือนตุลาคมเป็นเดือนที่พายุมีโอกาสเคลื่อนเข้าสู่
ประเทศไทยมากที่สุด รองลงไปคือเดือนกันยายน พายุหมุนเขตร้อนที่เข้าสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่มา
จากด้านตะวันออกของประเทศ โดยมีแหล่งกำเนิดในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลจีนใต้
จากการวิเคราะห์สถิติพายุโดยรวมตลอดทั้งปี ปรากฏว่าบริเวณที่ศูนย์กลางพายุเคลื่อนผ่านมาก
ที่สุดคือภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน โดยเฉพาะจังหวัดนครพนมมีพายุเคลื่อนผ่านร้อย
ละ20–25ของพายุทั้งหมดจำนวน164ลูก รองลงไปได้แก่พื้นที่บริเวณจังหวัดมุกดาหาร สกลนคร
หนองคาย อุดรธานี กาฬสินธุ์ หนองบัวลำภูและเลย มีพายุเคลื่อนผ่านร้อยละ15–20ของจำนวน
พายุทั้งหมด
หน้า 4 เกร็ดความรู้เกี่ยวกับวาตภัย
วาตภัยคืออะไร
คือ ภัยที่เกิดขึ้นจากพายุลมแรง จนทำให้เกิดความเสียหายแก่อาคารบ้านเรือน ต้นไม้
และสิ่งก่อสร้าง สำหรับในประเทศไทยวาตภัยหรือพายุลมแรงมีสาเหตุมาจากปรากฎ
การณ์ทางธรรรมชาติ คือ
1. พายุหมุนเขตร้อน ได้แก่ ดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน พายุใต้ฝุ่น
2. พายุฤดูร้อน ส่วนมากจะเกิดระหว่างเดือนมีนาคมถึงเดือนเมษายน โดยจะเกิดถี่ในภาค
เหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนภาคกลางและภาคตะวันออก จะมีการเกิดน้อย
ครั้งกว่า สำหรับภาคใต้ก็สามารถเกิดได้แต่ไม่บ่อยนัก โดยพายุฤดูร้อนจะเกิดใน ช่วงที่มี
ลักษณะอากาศร้อนอบอ้าวติดต่อกันหลายวัน
3. ลมงวงเป็นพายุหมุนรุนแรงขนาดเล็กที่เกิดจากการหมุนเวียน ของลมภายใต้เมฆก่อ
ตัวในทางตั้ง หรือเมฆพายุฝนฟ้าคะนองที่มีฐานเมฆต่ำ กระแสลมวนที่มีความเร็วลมสูงนี้
จะทำให้กระแสอากาศเป็นลำพุ่งขึ้นสู่ท้องฟ้าหรือย้อยลงมาจากฐานเมฆดูคล้ายกับงวง
หรือปล่องยื่นลงมา
ตัวอย่างพายุฤดูร้อน ตัวอย่างพายุลมงวง
อันตรายที่เกิดขึ้นจากวาตภัยมีอะไรบ้าง
บนบก ในทะเล
ต้นไม้ถอนรากถอนโคน ต้นไม้ทับบ้านเรือนพัง ผู้คนได้รับ มีลมพัดแรงจัดมาก คลื่นใหญ่ เรือขนาดใหญ่
บาดเจ็บถึงตาย เรือกสวนไร่นา เสียหายหนักมาก อาจถูกพัดพาไปเกยฝั่ งหรือชนหินโสโครกทำให้
บ้านเรือนที่ไม่แข็งแรง ไม่สามารถต้านทานความรุนแรง จมได้ เรือทุกชนิดควรงดออกจากฝั่ งหรือหลีก
ของลมได้พังระเนระนาด หลังคาบ้านที่ทำด้วยสังกะสีจะถูก เลี่ยงการเดินเรือเข้าใกล้ศูนย์กลางพายุ มีคลื่น
พัดเปิด กระเบื้องหลังคาปลิวว่อน เป็นอันตรายต่อผู้ที่อยู่ ใหญ่ซัดฝั่ งทำให้ระดับน้ำสูงท่วม อาคารบ้าน
ในที่โล่งแจ้ง เสาไฟฟ้า เสาโทรเลข เสาโทรศัพท์ล้ม สาย เรือนบริเวณริมทะเล และอาจกวาดสิ่งก่อสร้าง
ไฟฟ้าขาด ไฟฟ้าลัดวงจร เกิดเพลิงไหม้ ผู้คนเสียชีวิตจาก ที่ไม่แข็งแรงลงทะเลได้ เรือประมงบริเวณ
ไฟฟ้าดูดได้ ผู้คนที่พักอยู่ริมทะเล จะถูกคลื่นซัดท่วมบ้าน ชายฝั่ งจะถูกทำลาย
เรือน และกวาดลงทะเล ผู้คนอาจจมน้ำตายในทะเลได้ ฝน
ตกหนักมากทั้งวันและทั้งคืน อุทกภัยจะตามมา น้ำป่าจาก
ภูเขาไหลหลากลงมาอย่าง รุนแรง ท่วมบ้านเรือน ถนน
และเรือนสวนเส้นทางคมนาคม ทางรถไฟ สะพาน
เกร็ดความรู้เพิ่มเติม ระดับความแรง หน้า 5
พายุดีเปรสชั่นเขตร้อน
Tropical depression
ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลางไม่ถึง34นอต หรือ
63 กม./ชม.มีลักษณะลมกรรโชกแรงเป็นครั้ง
คราวซึ่งมีกำลังไม่แรงพอที่จะทำลายบ้านเรือน
ได้ ทำให้เกิดฝนตกในประเทศได้มาก แต่ถ้ามี
พายุดีเปรสชั่น มากๆ ก็จะทำให้เกิดน้ำท่วมได้
พายุโซนร้อน Tropical storm
ความเร็วลมใกล้ศูนย์กลาง 34 นอต หรือ 63
กม./ชม. ขึ้นไป แต่ไม่ถึง 63 นอต หรือ 118
กม./ชม. มีกำลังแรงพอที่จะทำลายบ้านเรือนที่มี
โครงสร้างไม่แข็งแรงได้ รวมทั้งทำให้กิ่งไม้หัก
โค่น และทำให้เกิดน้ำท่วมได้ ฝนที่ตกอย่างหนัก
ทั้งวันทั้งคืนอาจทำให้เกิดน้ำป่าและแผ่นดินถล่ม
พายุไต้ฝุ่น Typhoon
ความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางตั้งแต่ 64
นอต หรือ 118 กม./ชม. ขึ้นไป ทะเลจะมีคลื่น
ลมแรงจัดมากเป็นอันตรายต่อการเดินเรือ
โดยเฉพาะเรือเล็ก และอาจมีคลื่นใหญ่ซัด
ชายฝั่ ง ทำให้ระดับน้ำทะเลสูงขึ้นมากจนท่วม
อาคารบ้านเรือนริมทะเลได้
ระดับความรุนแรงของพายุ ระดับ F3
ความเร็วลม 178-209 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความสูงของคลื่น
ระดับ F1 2.7-3.7 เมตร ความกดอากาศ 945-964 มิลลิบาร์ อานุภาพ
ความเร็วลม 119-153 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความ ในการทำลายล้าง ปานกลาง ทำลายโครงสร้างที่อยู่อาศัย
สูงของคลื่น 1.2-1.5 เมตร ความกดอากาศ 980 ขนาดเล็กได้บ้าง โทรศัพท์บ้านถูกตัดขาด แผงป้องกันพายุ
มิลลิบาร์ อานุภาพในการทำลายล้าง เล็กน้อยไม่ส่ง ตามบ้านเรือนได้รับความเสียหาย อาจเกิดน้ำท่วมขัง
ผลต่อสิ่งก่อสร้าง มีน้ำท่วมบ้างตามชายฝั่ ง ท่าเรือ
เสียหายเล็กน้อย ระดับ F4
ความเร็วลม 210-249 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความสูงของ
ระดับ F2 คลื่น 4.0-5.5 เมตร ความกดอากาศ 944-920 มิลลิบาร์
ความเร็วลม 154-177 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความสูงของ อานุภาพในการทำลายล้าง สูง แผงป้องกันพายุเสียหาย
คลื่น 1.8-2.4 เมตร ความกดอากาศ 965-979 มิลลิบาร์ หนักยิ่งขึ้น หลังคาบ้านเรือนบางแห่งถูกทำลาย น้ำท่วมเข้า
อานุภาพในการทำลายล้าง น้อย หลังคา ประตู หน้าต่าง มาถึงพื้นดินส่วนใน
บ้านเรือนมีเสียหายบ้าง ก่อให้เกิดน้ำท่วมทำลายท่าเรือ
จนถึงอาจทำให้สมอเรือที่ไม่ได้ป้องกันไว้หลุดหรือขาดได้
ระดับ F5
ความเร็วลม ไม่น้อยกว่า 250 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ความสูงของคลื่นไม่น้อยกว่า 5.5 เมตร ความกดอากาศ น้อยกว่า 920
มิลลิบาร์อานุภาพในการทำลายล้าง สูง หลังคาบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรมถูกทำลาย ตึกรามบางแห่งอาจถูกพัด
ถล่ม เกิดน้ำท่วมขังปริมาณมากถึงขั้นทำลายข้าวของในชั้นล่างของบ้านเรือนใกล้ชายฝั่ ง และอาจต้องมีการประกาศให้
ประชาชนในพื้นที่ทำการอพยพโดยด่วน
หน้า 6 เกร็ดความรู้เพิ่มเติมการระวังภัยกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
วิธีการระวังภัยจากวาตภัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับวาตภัย
>ติดตามข่าวและคำเตือนลักษณะอากาศจาก กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
Department of Disaster Prevention
กรมอุตุนิยมวิทยา and Mitigatio
>เตรียมวิทยุและอุปกรณ์สื่อสาร ชนิดใช้ถ่าน
ช่องทางการติดต่อหน่วยงาน
แบตเตอรี่ เพื่อติดตามข่าวในกรณีที่ไฟฟ้า
สายด่วน 1784
ขัดข้อง โทรศัพท์ 0-2637-3000
>ตัดกิ่งไม้ที่อาจหักได้จากลมพายุ โดยเฉพาะ โทรสาร 0-2243-0031
FB : กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
กิ่งที่หักมาทับบ้าน สายไฟฟ้า ต้นไม้ที่ยืนต้น DDPM
Twitter @DDPMNews
ตายควรจัดการโค่นลงเสีย Line @1784DDPM
>ตรวจเสาและสายไฟฟ้าทั้งในและนอก เว็บไซต์ http://www.disaster.go.th
อีเมล์ [email protected]
บริเวณนอกบ้านให้เรียบร้อย ถ้าไม่แข็งแรงให้
กลุ่มที่ 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5/4
ยึดเหนี่ยวเสาไฟให้มันคง นางสาว ศศิตา ว่องพานิช เลขที่ 10
>พักในอาคารที่มั่นคงตลอดเวลาขณะเกิด นางสาว ณัฐณิชา สอิ้งทอง เลขที่ 13
นาย จตุรวิทย์ วิจิตรจรัสกุล เลขที่ 19
วาตภัย อย่าออกมาในที่โล่งแจ้งเพราะกิ่งไม้ นางสาว แก้วกานดา พรอ่วมอิน เลขที่ 32
อาจหักโค่นลงมาทับได้รวมทั้งหลังคาสังกะสี
และกระเบื้องจะปลิวตามลมมาทำอันตรายได้
>ปิดประตู หน้าต่างทุกบาน รวมทั้งยึดประตู
และหน้าต่างให้มั่นคงแข็งแรง ถ้าประตู
หน้าต่างไม่แข็งแรงให้ใช้ไม้ทาบตีตะปูตรึงปิด
ประตู หน้าต่าง
>ปิดกั้นช่องทางลมและช่องทางต่างๆ ที่ลม
จะเข้าไปทำให้เกิดความเสียหาย
>เตรียมตะเกียง ไฟฉาย และไม้ขีดไฟไว้ให้
พร้อม ให้อยู่ใกล้มือ เมื่อเกิดไฟฟ้าดับจะได้
หยิบใช้ได้อย่างทันท่วงทีและน้ำสะอาด
>เตรียมอาหารสำรอง อาหารกระป๋องไว้บ้าง
สำหรับการยังชีพในระยะเวลา 2-3 วัน
>ดับเตาไฟให้เรียบร้อยและควรจะมีอุปกรณ์
สำหรับดับเพลิงไว้
>เตรียมเครื่องเวชภัณฑ์
>ย้ายสิ่งของควรไว้ในที่ต่ำ เพราะอาจจะ
ตกหล่น แตกหักเสียหายได้
>เรือและแพให้ลงสมอยึดตรึงให้มั่นคง
>ถ้ามีรถยนต์หรือพาหนะ ควรเตรียมไว้ให้
พร้อมภายหลังพายุสงบอาจต้องนำผู้ป่วยไป
ส่งโรงพยาบาล น้ำมันควรจะเติมให้เต็มถังอยู่
ตลอดเวลา
>เมื่อลมสงบแล้วต้องรออย่างน้อย3ชั่วโมง