The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

พรพิมล 1189 ห้อง 2 วิจัยเรื่องการบริหารการเปลี่ยนแปลง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by พรพิมล ทองปรุง, 2021-03-30 13:03:44

พรพิมล 1189 ห้อง 2 วิจัยเรื่องการบริหารการเปลี่ยนแปลง

พรพิมล 1189 ห้อง 2 วิจัยเรื่องการบริหารการเปลี่ยนแปลง

รายงานการวจิ ัย
แนวทางการพฒั นาการบรหิ ารการเปลย่ี นแปลง ของพนักงานบรษิ ัทซฟี ดู้

จำกัด
อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จงั หวดั สรุ าษฎรธ์ านี

โดย
นางสาวพรพมิ ล ทองปรงุ



บทคัดย่อ

ช่อื การคน้ ควา้ การบรหิ ารการเปล่ียนแปลง
ของพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกดั
ผจู้ ัดทำ อำเภอเมือง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี
วิชาเอก นางสาวพรพมิ ล ทองปรงุ
อาจารยท์ ป่ี รึกษา การบริหารทรัพยากรมนุษย์
ปกี ารศึกษา ผชู้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ธนายุ ภวู่ ทิ ยาธร
2563

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงานบริษัท
บริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี เก็บรวบรวมข้อมูลโดยแบบสอบถาม จํานวน 59 คน
สุ่มตัวอย่างโดยใชต้ าราง Krejci Morgan และวิเคราะหข์ ้อมลู โดยใช้สถติ ิในการวิเคราะห์ ไดแ้ ก่ คา่ รอ้ ยละ,
ค่าเฉลี่ย, ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.), Independent Sampies Test One-way ANOVA กลุ่มตัวอย่าง
การวิจัยในครั้งนี้ ส่วนใหญ่พบว่า เป็นเพศหญิง คิดเป็นร้อยละ 84.7 (จำนวน 39 คน) และวุฒิ
การศึกษาปรญิ ญาตรี จำนวน 39 คน คิดเปน็ ร้อยละ 66.1 วฒุ กิ ารศึกษาสงู กว่าปรญิ ญาตรี จำนวน 20 คน
คิดเปน็ ร้อยละ 33.9

ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบของทางการ
บริหารการเปลี่ยนแปลงโดยรวม อยู่ในระดับ มาก (ค่าเฉลี่ยโดยรวมเท่ากับ 4.10) เรียงลำดับค่าเฉลี่ยจาก
มากไปหาน้อย อันประกอบด้วย ด้านการบริหารเปลี่ยนแปลงการทำงานบริหารบุคคล(ค่าเฉลี่ยเท่ากับ
4.25) ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็นส่วนตัวของแต่ละบุคคล (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.15) และด้านการตระหนัก
ถงึ การเปลยี่ นแปลง (คา่ เฉลีย่ โดยรวมเท่ากับ 4.09 )

ผลลัพธ์ที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการวางแผน สร้างเสริมการ
บริหารการเปลี่ยนแปลง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง องค์กรควรส่งเสริม
และสนับสนุนให้บุคลากรมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงานและ
องคก์ รมีความก้าวหน้าต่อไป

คำสำคญั : ประสทิ ธิภาพในการทำงาน พนกั งานบรษิ ัท บริษทั ซฟี ู๊ด จำกดั อำเภอเมือง
จงั หวดั สุราษฎรธ์ านี



กติ ติกรรมประกาศ

วจิ ยั ฉบบั นส้ี ำเร็จสมบูรณด์ ้วยดีโยได้รับความกรุณาจาก ผชู้ ่วยศาสตรจารย์ ดร.ธนายุ ภูว่ ทิ ยาธร
เป็นที่ปรึกษาวจิ ยั เลม่ นี้ พรอ้ มท้ังให้ขอ้ เสนอแนะ ขอ้ พจิ ารณาในการแก้ไข จนทำให้วิจัยฉบับนีส้ มบรู ณ์
ยิ่งขึ้น ผู้วจิ ัยขอกราบขอบพระคณุ ทุกทา่ นเปน็ อย่างสงู ไว้ ณ โอกาสนี้

ผ้วู ิจบั ขอขอบพระคุณ คณาจารยส์ าขาวิชาบรหิ ารธรุ กิจ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลยั ราชภฏั
สุราษฎร์ธานี ทุกทา่ นท่ีกรณุ าใหก้ ารอบรม สง่ั สอน มอบความรู้และประสบการณ์ท่ดี งี ามมาตลอดหลกั สตู ร

ขอขอบพระคุณทุกคนที่เป็นกัลยาณมิตรของผู้วิจัยที่เป็นกำลงั ใจใหต้ ลอดเวลาคุณค่าแลประโยชน์
ของวิจยั ฉบบั นี้ ผู้วิจัยขอมอบใหแ้ ก่มารดา ครอบครัว ญาติมติ ร และบรู พาจารย์ ทุก ๆ ท่านทีไ่ ดอ้ บรมสงั่
สอน ให้ความรู้ ใหก้ ารศกึ ษาดว้ ยดตี ลอดมา ขออานสิ งคจ์ งบันดาลให้ท่านผู้มีพระคุณทไี่ ดก้ ลา่ วนามมาแลว้
มคี วามสุข ความเจรญิ ประสบความสำเร็จในการดำเนินชีวติ และก้าวหนา้ ในหน้าทีก่ ารงาน ตลอดไป



สารบัญ

เนื้อหา

บทคดั ยอ่ ................................................................................................................ก

สารบญั ................................................................................................................. ข

สารบญั ตาราง...........................................................................................................ค
สารบญั ภาพ............................................................................................................. ง

บทท่ี 1 บทนา ......................................................................................................... 8
ความเป็นมาและความสาคญั ของปัญหา ............................................................................. 8
วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ยั ................................................................................................ 8
กรอบแนวคิด ........................................................................................................ 2
สมมุติฐานการวจิ ยั ................................................................................................... 2
นิยามคาศพั ทเ์ ฉพาะ ................................................................................................. 2

บทที่ 2 เอกสารและงานท่ีเกี่ยวขอ้ ง.................................................................................... 4
บริบทของบริษทั ซีฟ๊ ดู ............................................................................................... 4
แนวคิดและทฤษฎีของผลการดาเนินงาน............................................................................ 4
ความหมายของการบริหารการเปล่ียนแปลง......................................................................... 6
ความหมายของการบริหารเปลี่ยนแปลง ดา้ นการบริหารเปลี่ยนแปลงการทางานบริหารบุคคล .................... 7
ความหมายของการบริหารการเปลี่ยนแปลง ดา้ นผลลพั ธ์ท่ีมีต่อความเป็นส่วนตวั ของแต่ละบุคคล................. 7
ความหมายการบริหารการเปล่ียนแปลง ดา้ นการตระหนกั ถึงการเปล่ียนแปลง ..................................... 8

บทที่ 3 วธิ ีการดาเนินวิจยั .............................................................................................. 9
ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง .......................................................................................... 9
เครื่องมือที่ใชใ้ นงานวิจยั ...........................................................................................10
วธิ ีการทดสอบคุณภาพของเครื่องมือ ...............................................................................11



การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล..............................................................................................12
สถิติท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ................................................................................................12
บทที่ 4 สรุปการวิจยั ..................................................................................................13
การเสนอผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล ....................................................................................13
บทท่ี 5 สรุปอภิปรายผล ขอ้ เสนอแนะการวจิ ยั .......................................................................19
สรุปผลการวจิ ยั .....................................................................................................19
อภิปรายผลการวิจยั .................................................................................................20
ขอ้ เสนอแนะการวิจยั ...............................................................................................21
บรรณานุกรม .......................................................................................................22
ภาคผนวก ก เครื่องมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั .............................................................................23
ภาคผนวก ข เคร่ืองมือการวจิ ยั .....................................................................................26
แบบทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา IOC.........................................................................26
แบบทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหา IOC ของ ................................................................29
ภาคผนวก ค ตารางวิเคราะห์ IOC ของแบบทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเน้ือหาของแบบสอบถาม...............34
ภาคผนวก ง ........................................................................................................34



สารบัญตาราง

ตาราง 1 ตารางสงั เคราะห์ตวั แปรประสทิ ธภิ าพการทำงาน.......................................................... 5
ตาราง 2จำนวนและร้อยละของปจั จัยส่วนบุคคลของผตู้ อบแบบสอบถาม................................. 13
ตาราง 3ค่าเฉลี่ย และสว่ นเบีย่ งเบนมาตรฐานของระดับการบริหารการเปลีย่ นแปลงของพนักงาน
บริษัท ซฟี ดู๊ จำกัด อำเภอเมือง จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี ............................................................................... 14
ตาราง 4คา่ เฉลย่ี และส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของระดับการบรหิ ารการเปล่ียนแปลงของพนกั งาน
ด้านการบรหิ ารการเปล่ียนแปลง ของบริษัท ซีฟ๊ดู จำกัด อำเภอเมอื ง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี .................... 15
ตาราง 5คา่ เฉลย่ี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานของระดบั การบริหารการเปล่ียนแปลงของพนักงาน
ด้านผลลพั ธท์ ม่ี ีต่อความเปน็ สว่ นตัวของแต่ละบคุ คลของบริษัท ซฟี ดู๊ จำกดั อำเภอเมือง จงั หวดั สุราษฎร์ธานี
.................................................................................................................................................................. 16
ตาราง 6ค่าเฉล่ยี ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐานของพนกั งานด้านการตระหนกั ถึงการเปลย่ี นแปลงของ
บุคลากรของบริษัท ซีฟดู๊ จำกดั อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ............................................................ 17
ตาราง 7การวิเคราะห์เปรียบเทยี บการบริหารการเปล่ยี นแปลงของพนกั งานบริษัท ซีฟู๊ด จำกดั
อำเภอเมอื ง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี จำแนกตามเพศ.................................................................................... 17
ตาราง 8การวเิ คราะหเ์ ปรยี บเทยี บความผกู พันองคก์ ารของพนักงานบริษทั ซฟี ู๊ด จำกดั อำเภอ
เมือง จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี จำแนกตามวุฒกิ ารศกึ ษา................................................................................ 18



สารบญั ภาพ

ภาพที่ 1. 1 กรอบแนวคิด.......................................................................................................9

บทที่ 1 บทนำ

ความเปน็ มาและความสำคญั ของปัญหา
การบริหารจัดการองค์กรสมัยใหม่ในปัจจุบันต้องมีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงการบริหาร
ตลอดเวลา เพื่อให้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงและก้าวสู่องค์กรแห่งความเป็นเลิศ ความสำเร็จขององค์กร
ขึ้นอยู่กับการบรหิ าร อย่างมีประสิทธิภาพ โดยอาศัยปัจจัยการบริหารทีห่ ลากหลายไม่ว่าจะเป็นภาวะผ้นู ำ
การมอบหมายหน้าท่ี การลงทุน การบริหารความขัดแย้งและการกระตนุ้ องค์กร ดังนั้น การนำกลยุทธ์ต่าง
ๆ มาใช้เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันสําหรับการสร้างความได้เปรยี บในการแข่งขันใหเ้ หนือกวา่
คู่แข่งขัน โดยเฉพาะ อย่างยิ่งคู่แข่งขันที่อยู่ในอุตสาหกรรมเดียวกันในหลายกรณีการลงทุนในเครื่องจักร
และเครื่องมือที่ทันสมัยไม่สามารถ สร้างความได้เปรียบในการแข่งขันที่คาดหวังไว้ ที่เป็นเช่นนี้เพราะการ
พัฒนาความได้เปรียบในการแข่งขันควรมุ่งเน้น ทั้งการลงทุนพัฒนาในทรัพยากรที่จับต้องได้ และ
ทรัพยากรที่จบั ต้องไม่ได้พร้อม ๆ กัน เพราะในการปฏบิ ัตงิ านจริง การดำเนินงานมหี ลายขบวนการทีไ่ ม่ได้
กระทำผ่านเครื่องจักรหรือเครื่องมือ เช่น การติดต่อสื่อสารระหว่างกัน การพบปะพูดคุยกัน บรรยากาศ
ของการทำงาน การแลกเปล่ยี นความคิดเหน็ ทัศนคตทิ ่มี ตี ่องานและองคก์ รเหลา่ น้ี ลว้ นแล้วแต่เปน็ ตวั แปร
ท่มี ีความสําคญั ไม่น้อยกว่าการมเี คร่อื งจกั รเปน็ เคร่ืองมือท่ที นั สมยั

การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) เป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ช่วยสนับสนุนให้ผู้
บริหารธุรกิจ ใช้เป็นแนวทางในการบรหิ ารจัดการให้เกิดประโยชนส์ ูงสุด อีกทั้งยังช่วยสนับสนุนเสริมสร้าง
ประสิทธิภาพในการบริหาร จัดการในองค์กรให้มีศักยภาพทางการแข่งขันอีกด้วย การเปลี่ยนแปลง
กระบวนการ วิธีการปรับปรุงหรือทบทวน การออกแบบยุทธวิธีต่างๆ ซึ่งรวมไปถึงส่วนของการบริหาร
จัดการที่เป็นโครงสร้างและไม่ใช่โครงสร้างด้านกระบวน การทำงาน ด้านการบริหารจัดการองค์กร ด้าน
การทบทวนตดิ ตาม ดา้ นข้อมูลสารสนเทศต่าง ๆ ซึ่งอาศัยการวางแผน

จากเหตุผลทกี่ ล่าวมาแล้วขา้ งต้น ผ้วู ิจัยจงึ สนใจศกึ ษาวจิ ยั การบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงาน
ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงาน
ซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี จากการวิจัยสามารถนำไปใช้เป็นแนวทาง
สำหรับผู้บริหาร และหน่วยงานในการบริหารองค์กรในการเพิ่ม การบริหารการเปลี่ยนแปลงหรือเทคนิค
การปฏิบัติงาน เพื่อปรับปรุงพฤติกรรมในการปฏิบัติงานทำให้พนักงานบริษัทซีฟู้ดมีประสิทธิภาพมาก
ย่ิงขึ้นตอ่ ไป

วตั ถุประสงคก์ ารวจิ ัย
1.เพอ่ื ศกึ ษาขอ้ มูลสว่ นบุคคลของพนักงานซฟี ดู้ จำกัด อำเภอเมืองสรุ าษฎรธ์ านจี ังหวัดสรุ าษฎร์ธานี

2. เพอื่ ศึกษาการบรหิ ารการเปล่ียนแปลงของพนักงานซีฟู้ด จำกดั อำเภอเมอื งสรุ าษฎรธ์ านี จงั หวัด
สุราษฎร์ธานี

2

3. เพ่อื ศกึ ษาเปรยี บเทียบข้อมลู ส่วนบุคคลกบั ประสิทธภิ าพการทำงาน

4. เพ่อื เปน็ แนวทางในการพฒั นา ปรบั ปรุงแก้ไขประสทิ ธิภาพการทำงานของพนักงานซฟี ้ดู จำกัด

ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะได้รบั

1.ได้ทราบถึงข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงานซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์
ธานี

2.แนวการบรหิ ารการเปลีย่ นแปลงการทำงานของพนกั งานซฟี ดู้ จำกัด

3.ปรับปรุงการบรหิ ารการเปล่ยี นแปลงของพนักงานซฟี ู้ด จำกัด

4.นำไปเผยแพร่ให้หน่วยงาน/องค์กรอื่น ๆ เพื่อเป็นข้อมูลในการปรับปรุง พัฒนาประสิทธิภาพการ
ทำงาน ในแผนกตา่ ง ๆ ของหนว่ ยงาน/องคก์ ร

กรอบแนวคดิ
ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคิด

ขอ้ มูลสว่ นบุคล ประสทิ ธิภาพการทำงาน
- ด้านการทำงานต้องเชอ่ื ถอื
- เพศ
- ระดับการศึกษา ได้

- ดา้ นการทำงานเสร็จทันเวลา
- ดา้ นผลงานไดต้ ามมาตรฐาน

สมมตุ ิฐานการวิจยั
พนกั งานทมี่ ีปัจจัยส่วนบคุ คลแตกต่างกนั มีความคิดเหน็ ตอ่ ประสทิ ธิภาพการปฏิบตั งิ านท่แี ตกตา่ งกัน

นิยามคำศัพท์เฉพาะ
การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) หมายถึง กลยุทธ์หนึ่งที่ช่วยสนับสนุน ให้ผู้
บริหารธุรกิจใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุด อีกทั้งยังช่วยสนับสนุนเสริมสร้าง
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการในองค์กรให้มีศักยภาพทางการแข่งขันอีกด้วย การเปลี่ยนแปลง
กระบวนการ วธิ กี ารปรบั ปรุงหรือทบทวนการออกแบบยทุ ธวิธี

การบริการความเปลี่ยนแปลงด้านการดำเนินงานให้บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ซึ่งอาศัยความเข้าใจ
ความสามารถของนักบรหิ ารรวมไปถงึ ความร่วมมือจากบุคคลในองค์กรด้วยจึงจะทำให้สามารถบริหารการ
เปลยี่ นแปลงได้

3

การบริหารการเปลี่ยนแปลงด้านโครงสร้างซึ่งอาจจะเป็นรูปแบบใดหรือลูกได้สถานภาพและ
บทบาทท่ีของคนในองค์การหรือสภาพแวดล้อมต่างๆกายในองค์การทั้งนี้เพื่อให้องค์การสามารถ
ตอบสนองต่อการเปลีย่ นแปลงทเี่ กิดจากสภาพแวดล้อมท้งั ภายในและภายนอกได้

การบริหารการเปลี่ยนแปลงด้านการคิดเพื่อต้องการเปลี่ยนแปลงมิใช่อาการผุดขึ้นของความคิด
หรอื สญั ชาตญาณ หากแตม่ ีสญั ญาณ บง่ ชห้ี รืออาจมาจากการประเมนิ ผลงานขององคก์ าร

4

บทที่ 2 เอกสารและงานท่ีเกยี่ วขอ้ ง

บรบิ ทของบรษิ ทั ซีฟู๊ด

แนวคิดและทฤษฎขี องผลการดำเนินงาน
(ชยล้อม, 2556) การบริหารการเปลี่ยนแปลง (Change Management) หมายถึง กลยุทธ์หน่ึง
ที่ช่วยสนับสนุน ให้ผู้บริหารธุรกิจใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการให้เกิดประโยชน์สูงสุด อีกทั้งยังช่วย
สนบั สนนุ เสรมิ สรา้ ง ประสิทธิภาพในการบริหารจดั การในองค์กรใหม้ ีศักยภาพทางการแขง่ ขันอีกด้วย การ
เปล่ียนแปลงกระบวนการ วธิ กี ารปรบั ปรุงหรอื ทบทวนการออกแบบยทุ ธวธิ ตี า่ งๆ ซงึ่ รวมไปถงึ ส่วนของการ
บริหารจัดการที่เป็นโครงสร้างและ ไม่ใช่โครงสร้างด้านกระบวนการทำงาน ด้านการบริหารจัดการองค์กร
ดา้ นการทบทวนติดตาม ดา้ นขอ้ มูลสารสนเทศ ต่าง ๆ

(บุญสวยขวัญ, 2560) การบริหารจัดการในบริบทของการเปลี่ยนแปลงเป็นความจำเป็นอย่างยิ่ง
ด้วยเพราะปัจจัยเหตุดังที่กล่าวแล้วข้างต้น ทั้งนี้ เพราะว่าเป้าหมายสูงสุดของการบริหารจัดการท่ามกลาง
การเปลี่ยนแปลงมีหลายประการ โดยสรุป คือ เพื่อคุณภาพและเกิดประโยชน์แก่การบริการสาธารณะสู่
พลเมือง เพื่อให้เกิดความเรียบร้อยเพื่อให้เกิดการดำรงอยู่ ความอยู่รอดของปัจเจกบุคคลและหน่วยงาน
เพ่อื หนีการแขง่ ขัน

((สุนทรชยั ), 2557) การบรหิ ารความเปลีย่ นแปลงจงึ จำเปน็ ต่อนกั บริหารอยา่ งยง่ิ โดยเฉพาะเม่ือโลก
ได้ก้าวเข้าสู่ยุคของข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีซึ่งทำให้การเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วและ
คาดการณเ์ พ่ือเตรียมวางแผนไว้ล่วงหน้าทำได้ยากกลยทุ ธ์การจดั การความเปลีย่ นแปลงจึงเป็นกลยุทธ์ที่ทำ
ให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ซึ่งอาศัยความเข้าใจความสามารถของนักบริหารรวมไปถึงความ
ร่วมมือจากบุคคลในองคก์ รดว้ ยจึงจะทำให้สามารถบรหิ ารการเปลี่ยนแปลงได้

(จำนงวงศ์, 2550) ได้ให้ความหมายของการเปลี่ยนแปลงองค์การว่าหมายถึงการทำให้เกิดความ
แตกต่างขึ้นมาในลักษณะเช่นนี้การเปลี่ยนแปลงองค์การจึงหมายถึงการทำให้เกิดสภาวะที่แตกต่างขึ้นมา
หรือทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงภายในองค์การในด้านโครงสร้างซึ่งอาจจะเป็นรูปแบบใดหรือลูกได้
สถานภาพและบทบาทที่ของคนในองค์การหรือสภาพแวดล้อมต่างๆกายในองค์การทั้งนี้เพื่อให้องค์การ
สามารถตอบสนองตอ่ การเปลีย่ นแปลงทเ่ี กิดจากสภาพแวดลอ้ มทงั้ ภายในและภายนอกได้

(มหารัตน์กุล, 2549) กล่าวไว้ว่าการเปลี่ยนแปลงเป็นกระบวนการที่ต้องการความสำเร็จของ
องค์การ ซ่งึ ถอื เปน็ ฐานในการคิดเพื่อต้องการเปล่ียนแปลงมใิ ชอ่ าการผุดขนึ้ ของความคิดหรือสัญชาตญาณ
หากแต่มีสัญญาณ บ่งชี้หรืออาจมาจากการประเมินผลงานขององค์การ หรือมาจากสาเหตุใดสาเหตุหน่ึง
หรือหลายสาเหตุที่มีอิทธิพล เพียงพอที่ทำให้ต้องมีการเปลี่ยนแปลงองค์การเพื่อความอยู่รอหรือต้องการ
ใหอ้ งค์การมีประสทิ ธิภาพท่ีจะแขง่ ขนั กบั องค์ การอ่นื ๆ ได้

5

ผู้วิจัยสามารถสรุปความหมายของการบริหารการเปลี่ยนแปลง หมายถึง การบริหารการ
เปลี่ยนแปลงเป็นการพัฒนาทำให้เกิดความแตกต่างจากเดิมเพื่อให้การดำเนินบรรลุ เป้าหมายที่วางไว้ได้
อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

ตาราง 1 ตารางสังเคราะหต์ วั แปรประสทิ ธภิ าพการทำงาน

ลำดับ (ชยล้อม, (บุญสวย ((สุนทรชัย), (จำนงวงศ์, (มหารัตน์ ผวู้ จิ ยั
2556) ข ว ั ญ , 2557) 2550) กลุ , 2549)
2560)

1.การบรหิ าร   
เปลย่ี นแปลง
การทำงาน
บรหิ ารบคุ คล

2.การบรหิ าร  
การปรับเปล่ียน
วัฒนธรรมใน
องคก์ ร

3.ผลลัพธท์ มี่ ี

ต่อความเปน็    
ส่วนตัวของแต่

ละบคุ คล

4.ด้านการ   
ตระหนกั ถึงการ
เปลย่ี นแปลง

5.ด้านการรบั รู้  
ของแต่ละ
บุคคลเกยี่ วกบั
ภาวะผนู้ ำใน
ระหวา่ งการ
เปลยี่ นแปลง

6

ลำดับ (ชยล้อม, (บุญสวย ((สุนทรชัย), (จำนงวงศ์, (มหารัตน์ ผูว้ ิจยั
2556) ข ว ั ญ , 2557) 2550) กลุ , 2549)
2560)

6.การพัฒนา 
ความสามรถ
ของบคุ ลากร

7.การ 
เปล่ยี นแปลงให้
เกดิ ความ
แตกต่างไปจาก
เดมิ

ความหมายของการบรหิ ารการเปลีย่ นแปลง

(ชยล้อม, 2556) ให้ความหมายว่าผลลัพธ์ที่เกดิ จากการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถตามเป้าหมายท่ี

องค์กรกำหนดไว้ ไดอ้ ย่างถูกต้อง

(บุญสวยขวัญ, 2560)ให้ความหมายว่าการบริหารจัดการในบริบทของการเปลี่ยนแปลงเป็นความจำเป็น
อย่างยิ่งเพื่อให้เกิดความเรียบร้อยเพื่อให้เกิดการดำรงอยู่ ความอยู่รอดของปัจเจกบุคคลและหน่วยงาน
เพอ่ื หนกี ารแข่งขนั

(จำนงวงศ์, 2550)ให้ความหมายของการเปลี่ยนแปลงองค์การว่าหมายถึงการทำให้เกิดความแตกต่าง
ขึน้ มาในลักษณะเช่นนีก้ ารเปลี่ยนแปลงองค์การจึงหมายถึงการทำให้เกิดสภาวะท่ีแตกต่างขึ้นมาหรือทำให้
เกิดการเปล่ยี นแปลงภายในองค์การในดา้ นโครงสรา้ ง

(มหารัตน์กลุ , 2549)ให้ความหมายวา่ การเปล่ียนแปลงเป็นกระบวนการท่ีต้องการความสำเรจ็ ขององค์การ

((สุนทรชัย), 2557)ให้ความหมายว่าการบริหารความเปลี่ยนแปลงจึงจำเป็นต่อนักบริหารอย่างยิ่ง
โดยเฉพาะเมื่อโลกได้ก้าวเข้าสู่ยุคของข้อมูลข่าวสารและเทคโนโลยีซึ่งทำให้การเปลี่ยน แปลงเกิดขึ้นอย่าง
รวดเรว็ และคาดการณ์เพื่อเตรียมวางแผนไว้ล่วงหน้าทำได้ยากกลยทุ ธ์การจดั การความเปล่ยี นแปลงจึงเป็น
กลยทุ ธท์ ท่ี ำให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมายท่ตี ้งั ไว้

ผู้วิจัยให้ความหมายว่า ทำงานได้อย่างบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงท่ี
กำหนดไว้ภายในระยะเวลาทกี่ ำหนดเพือ่ ให้การดำเนนิ การเปลี่ยนแปลงมีประสทิ ธิภาพ

7

ความหมายของการบริหารเปลี่ยนแปลง ด้านการบริหารเปลี่ยนแปลงการทำงาน
บริหารบคุ คล

(ชยล้อม, 2556) ให้ความหมายว่าผลลัพธ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถตามเป้าหมายท่ี
องค์กรกำหนดไว้ ได้อย่างถกู ตอ้ ง

(บุญสวยขวัญ, 2560)ให้ความหมายว่าการวางแผนการดำเนินการต่างๆ เพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นจาก
การเปลี่ยนแปลง และสนับสนุนให้เกิดการปรับตัวและการยอมรับ พร้อมทั้งสร้างศักยภาพใหม่ๆ เพ่ือ
รองรับให้การเปล่ียนแปลงเกิดขึ้นอยา่ งเป็นผลตามเปา้ หมายที่วางไว้

(มหารัตน์กุล, 2549)การเปลี่ยนแปลงเป็นกระบวนการที่ต้องการความสำเร็จขององค์การเพื่อต้องการ
เปลี่ยนแปลงมิใช่อาการผุดขึ้นของความคิดหรือสัญชาตญาณ หากแต่มีสัญญาณ บ่งชี้หรืออาจมาจากการ
ประเมนิ ผลงานขององค์การ

ผู้วิจัย ให้ความหมายว่า ทำงานได้อย่างมีประสิทธิผลภายใต้การเปลี่ยนแปลงตามที่กำหนดไว้ และมีการ
ดำเนนิ งานมคี วามน่าเชอ่ื ถอื

ความหมายของการบริหารการเปลี่ยนแปลง ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็นส่วนตัว
ของแตล่ ะบคุ คล

(ชยล้อม, 2556)ให้ความหมายว่าผลลัพธ์ที่เกิดจากการปฏิบัติงานอย่างเต็มความสามารถของแต่ละบุคคล
ทต่ี ่างกนั หลายๆคนสามารถนำพาองค์กรใหเ้ กิดการพฒั นาทีด่ ไี ด้

(บุญสวยขวัญ, 2560)ให้ความหมายว่าการวางแผนการดำเนินการต่างๆ ส่งผลให้เกิดการทำงานอย่างเป็น
ระบบ และระเบยี บ ตามความสามารถของแตล่ ะบุคคล

(มหารัตน์กุล, 2549)การเปลี่ยนแปลงเป็นกระบวนการที่ต้องการความสำเร็จเพื่อให้องค์กรเกิดความอยู่
รอดและสามารถพฒั นาสิง่ ใหมไ่ ดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ

ผู้วิจัย ให้ความหมายว่า ทำงานได้อย่างมีคุณภาพที่กำหนดไว้ ภายใต้การควบคุมที่กำหนดไว้อย่างมีประ
สิทธิ และสามารถดำเนนิ การเปลี่ยนแปลงใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สุด

8

ความหมายการบริหารการเปล่ยี นแปลง ดา้ นการตระหนักถงึ การเปลี่ยนแปลง

(ชยล้อม, 2556)ให้ความหมายว่า การตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงเป็นข้อดีของการพฒั นาการทำงานให้
เกิดประโยชนอ์ ยูเ่ สมอเนอ่ื งจากการตระหนกั ถงึ ความเปลย่ี นทำให้องคก์ รพฒั นาไปในทางทด่ี ขี ้นึ
(บุญสวยขวัญ, 2560)ให้ความหมายว่า ผลที่เกิดการการตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงทำให้การพัฒนามี
ความกา้ วหน้าย่งิ ขน้ึ เป็นกระบวนการนำพาองคก์ รสู่ความสำเรจ็
((สุนทรชัย), 2557)ให้ความหมาย การตระหนักถึงความเปลี่ยนแปลงเป็นการยกระดับการพัฒนาที่ไม่มีท่ี
ส้ินสดุ เพราะการตระหนักพัฒนาจะนำพาไปสู่การพฒั นาส่งิ ใหม่ๆ
ผู้วิจัยให้ความหมายว่า ทำงานได้อย่างมีระบบที่ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นมี
ประสทิ ธภิ าพและยกระดบั องคก์ รใหม้ ีการพฒั นาอยา่ งลำ้ เลิศ

9

บทท่ี 3 วิธีการดำเนินวิจัย

ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง

ประชากร คอื พนกั งาน บรษิ ทั ซฟี ู้ด จำกัด อำเภอเมอื ง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี จำนวน 66 คน

กลุม่ ตวั อยา่ ง ขนาดกลุ่มตัวอยา่ งโดยใชต้ าราง Krejci Morgan จำนวน 59 คน

วิธีการสุ่มตวั อยา่ ง แบบอยา่ งงา่ ย โดยใช้วธิ กี ารจบั ฉลาก

สาขา ประชากร กลุม่ ตัวอยา่ ง

A 32 30

B 34 29

รวม 36 59

สาขา A สาขา B
นางสาวณัฐรุจี แซล่ ิ่ม
นางสาวรัตนาพร ศรประดิษฐ์ นางสาวจริยา เตียซิว
นางสาวนชุ นาถ ทองสัมฤทธ์ิ นายจิรวฒั น์ ธรรมนาวาศ
นายพงศธ์ ร ยวุ บตุ ร นางสาวศศธิ ร ฉมิ รักษ์
นางสาววิภารัตน์ เพง็ สวัสดิ์ นายสหัสวรรษ ศรีสวัสด์ิ
นางสาวประภัสสร ไตรมาศ นางสาวอนดั ดา เพชรคง
นายกรณด์ นยั ไชยพยันต์ นางสาวอมราวดี วโิ รจน์
นางสาวเกศรา แก้วเกดิ นางสาวณัฐทรกิ า ทวิชศรี
นางสาวเกศกนก มณรี ตั น์ นางสาวศริ ิรตั น์ ทองอ่อน
นายนัฐพล ล้มิ สวุ รรณ นางสาวณฐั ภรณ์ มณเฑยี ร
นางสาวนฎา เล่ยี นเซง่ นางสาวกิตติวรา นนุ่ ชผู ล
นางสาววลิ าวรรณ ทองพรหมดี
นางสาวจารวุ รรณ ถวลั ธรรม
นางสาวรวงข้าว สุดตา

10

นางสาวสุจนิ นั ท์ พษิ ครุฑ นางสาวศศนิ า เสอื อนิ โท
นางสาวรมณี โรมนิ ทร์ นายณฐพณ ทองรักทอง
นางสาวรชั ชิดา เจริญแพทย์ นางสาวกาญจนา บตุ รเล่ียม
นางสาวจติ ิมา ตนั สกลุ นางสาวดวงกมล ภู่มณี
นางสาวรัชฎาภรณ์ บวั อินทร์ นางสาวอัญชรียา พลับแก้ว
นางสาวจนั ทิมา คำเอียด นางสาวอนันดา เรืองแท้
นางสาวทิพทิวา มากจิต
นางสาวจุฑารัตน์ ถงึ เสียบญวน
นางสาวศริ ินญา คงมาก
นางสาวณิชากร เจรญิ รักษ์ นายณัฏฐนนั ท์ เขาทอง
นางสาวพรศิริ พลจรัส นางสาวพรพมิ ล ทองปรงุ
นางสาวอรอนงค์ เพชรคง นางสาวสุริยาพร กรยุ ะ
นางสาวภาสนิ ี เกษีสม นางสาวธนภรณ์ สุวรรณมณี
นางสาวกนกกาญจน์ นุน่ แกว้ นางสาวเกตนุ ภา สุขขวด
นางสาวรัชชิดา เจริญแพทย์ นางสาวเบญจมาศ อาจหาญ
นางสาวลดาภรณ์ ชปู นั นายเจษฎา สมบรู ณ์
นางสาววรรณกานต์ หวานทอง นายอาทติ ย์ ศิรลิ าภา
นางสาวกนกวรรณ เรอื งวิเศษ นางสาวอาภาพร ชนมท์ วี
นางสาวสชุ านันท์ ชาวชลี อง นางสาวอาภาพร หอมร่ืน

เครือ่ งมือทีใ่ ช้ในงานวจิ ยั

เครื่องมอื การวจิ ยั ครั้งน้ี คือ แบบสอบถาม มีจำนวน 2 ตอน ได้แก่

ตอนที่ 1 แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยส่วนบุคคลส่วนบุคคล ประกอบด้วย เพศ และระดับ
การศกึ ษา โดยใช้ระดบั การวัดข้อมลู แบบตรวจสอบรายการ (Check-List)

11

ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับการวัดระดับองค์กรประกอบที่มีความสัมพันธ์ต่าง ๆ ประกอบด้วย
ประสิทธิภาพการทำงาน จำนวน 13 ข้อ ลักษณะเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) เป็น
การวดั ความคิดเหน็ 5 ตวั เลอื ก ตามวิธขี องลเิ คิร์ท (Likert) ดังนี้

ระดบั คะแนน 5 หมายถงึ มากท่สี ุด
ระดบั คะแนน 4 หมายถึง มาก
ระดับคะแนน 3 หมายถงึ ปานกลาง
ระดับคะแนน 2 หมายถงึ น้อย
ระดับคะแนน 1 หมายถึง นอ้ ยทส่ี ดุ
ประกอบด้วย ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการทำงานเสรจ็ ทันเวลา และด้านผลงานไดต้ ามมาตรฐาน โดยนำ
คะแนนท่ีไดก้ ำหนดเกณฑ์การแปลความหมายขอ้ มูลของประสิทธภิ าพารทำงาน เพอื่ จัดระดบั ค่าเฉลยี่ โดย
กำหนดคะแนน ดังน้ี

คา่ เฉลี่ย 4.50 - 5.00 หมายถงึ ระดับความไว้วางใจมากท่ีสดุ
ค่าเฉลยี่ 3.50 – 4.49 หมายถงึ ระดับความไวว้ างใจมาก
ค่าเฉล่ยี 2.50 – 3.49 หมายถึง ระดบั ความไวว้ างใจปานกลาง
คาเฉลย่ี 1.50 – 2.49 หมายถึง ระดบั ความไว้วางใจน้อย
คา่ เฉลีย่ 1.00 – 1.49 หมายถึง ระดับความไวว้ างใจนอ้ ยที่สุด

วธิ ีการทดสอบคุณภาพของเคร่ืองมือ

1. สร้างแบบสอบถามและนำเสนอคณะกรรมการที่ปรึกษาการค้นคว้าอิสระและผู้เชี่ยวชาญ
จำนวน 3 คน
1. นางสาวสุชานันท์ ชาวชีลอง
2. นางสาวกิตตวิ รา นุ่นชผู ล
3. นางสาวอนดั ดา เพชรคง

เพื่อตรวจสอบความเที่ยงตรงของเนื้อหา ความสมบูรณ์ถูกต้องของเนื้อหาและการใช้ภาษา นำ
แบบสอบถามมาปรบั ปรุงแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะ

2. นำแบบสอบถามที่ได้ปรับปรุงแก้ไขแล้ว ไปทดลองใช้กับพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานี จำนวน 59 คนเพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ของแบบสอบถาม โดยวิธี
สัมประสิทธ์ิแอลฟา (Alpha – Coefficient) ตามวิธีของครอนบาค โดยถ้าค่าความเชื่อมั่นได้
เท่ากับหรือมากกว่า 0.7 ซึ่งถือว่าแบบสอบถามมีระดับความเชื่อมั่นได้ ซึ่งในการวิจัยครั้งน้ี
ประสิทธิภาพการทำงาน ไดค้ ่าความเชือ่ ม่ันของแบบสอบถามทงั้ ฉบับเทา่ กบั .286

12

การเก็บรวบรวมขอ้ มูล

วธิ กี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ดงั น้ี
1.ทำแบบสอบถาม
2.ทดสอบคณุ ภาพเครือ่ งมอื โดยผู้เช่ียวชาญ
3.ส่งแบบสอบถามให้กลุม่ ดว้ ยอย่าง โดยใช้ Google Forms
4.นำข้อมูลมาวิเคราะห์และสรปุ ผล

สถิตทิ ีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั
1.ข้อมลู สว่ นบคุ คลโดยใชส้ ถิติความถ่แี ละรอ้ ยละ
2.การจดั การทรพั ยากรมนษุ ยส์ มัยใหม่ใช้สถติ ิความถ่ี รอ้ ยละ ค่าเฉล่ียและค่าเบยี่ งเบนมาตรฐาน
3.ข้อมูลส่วนบุคคลด้านเพศกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ใช้สถิติ Independent
Sampies T Test
4.ข้อมูลส่วนตัวด้านระดับการศึกษากับการจัดการทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ใช้สถิติ One way
ANOVA และ Pest hoc

13

บทท่ี 4 สรุปการวิจัย

การบรหิ ารการเปลีย่ นแปลงของพนกั งานบริษทั ซีฟู้ด จำกดั

อำเภอเมืองสรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านีโดยแบ่งการวเิ คราะหข์ ้อมลู เป็น 4 ขนั้ ตอน ดังน้ี

1.ขอ้ มูลส่วนบคุ คลโดยใชส้ ถิตคิ วามถ่แี ละร้อยละ

2.การจัดการทรพั ยากรมนุษยส์ มัยใหม่ใชส้ ถติ คิ วามถี่ รอ้ ยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบ่ยี งเบนมาตรฐาน

3.ข้อมูลส่วนบุคคลด้านเพศกับการจัดการทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ใช้สถิติ Independent
Sampies T Test

4.ข้อมูลส่วนตัวด้านระดับการศึกษากับการจัดการทรัพยากรมนุษย์สมัยใหม่ใช้สถิติ One way
ANOVA และ Pest hoc

การเสนอผลการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

เพ่ือให้สอดคล้องกับวตั ถุประสงคข์ องการวิจยั คร้ังน้ีผู้วิจัยไดน้ ำเสนอผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล
ตามลำดบั ดังน้ี

ตอนท่ี 1 การวเิ คราะห์ข้อมลู ปจั จัยสว่ นบุคคลของบรษิ ทั ซฟี ๊ดู จัดกัดอำเภอเมอื งจงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี

การวเิ คราะหข์ ้อมลู ปัจจัยสว่ นบคุ คลบริษทั ซีฟูด๊ จัดกัด อำเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎรธ์ านี
ประกอบดว้ ยเพศและระดบั การศึกษาโดยการแจกแจงความถ่ี (Frequency) และร้อยละ (Percentage)
แสดงผลการวเิ คราะห์ดว้ ยตาราง

ตาราง 2จำนวนและร้อยละของปัจจยั สว่ นบุคคลของผ้ตู อบแบบสอบถาม

ปัจจยั สว่ นบคุ คล จำนวน (N=59) ร้อยละ

เพศ 9 15.3 %
ชาย 50 84.7 %
หญงิ
วฒุ ิการศกึ ษา - -
ตำ่ กว่าปรญิ ญาตรี 39 66.1 %
ปรญิ ญาตรี 20 33.9 %
สงู กว่าปริญญาตรี

14

จากตาราง 2 ผลการศกึ ษาข้อมูลปัจจยั ส่วนบุคคลพบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามส่วนใหญ่เปน็ เพศหญิง
รอ้ ยละ 84.7 และระดบั การศึกษาสว่ นใหญ่อยู่ในระดับปริญญาตรรี อ้ ยละ 66.1

ตอนที่2 การวิเคราะห์ข้อมูลการบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงาน บริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอ
เมอื ง จังหวัดสรุ าษฎรธ์ านี

การวเิ คราะหข์ ้อมลู ระดับการบริหารการเปล่ียนแปลงของพนักงาน บริษัท ซีฟดู๊ จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยการหาค่าเฉลี่ย (Mean) และค่าสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (StandardDeviation:S.D)
แสดงผลการวิเคราะหด์ งั ตาราง

ตาราง 3 ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงาน
บรษิ ัท ซฟี ๊ดู จำกดั อำเภอเมือง จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี

การบริหารการเปล่ยี นแปลง ระดบั ความไวว้ างใจ
S.D. แปลผล
1. ด้านการบริหารเปลี่ยนแปลงการทำงานบริหาร
บคุ คล 4.25 0.55 มาก

2. ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็นส่วนตัวของแต่ละ 4.09 0.60 มาก
บคุ คล
4.10 0.62 มาก
3. ด้านการตระหนกั ถึงการเปลีย่ นแปลง 4.14 0.59 มาก
รวม

จากตารางที่ 3 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ
พนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้านองค์ประกอบการบริหารการ

เปล่ียนแปลงของพนกั งาน โดยภาพรวม พบว่าอยู่ในระดับ มาก ( = 4.14 , S.D. = 0.59 )

15

ตาราง 4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงาน
ดา้ นการบรหิ ารการเปลี่ยนแปลง ของบรษิ ัท ซีฟ๊ดู จำกัด อำเภอเมอื ง จังหวัดสุราษฎร์ธานี

ด้านการบริหารเปลยี่ นแปลงการทำงาน ระดบั ความไวว้ างใจ
บรหิ ารบุคคล S.D. แปลผล

1. ท่านสามารถทำงานให้บรรลุเป้าหมาย 4.66 0.51 มากทีส่ ุด
ท่กี ำหนดไว้

2. ท่านสามารถรับผิดชอบงานภายใน 4.07 0.49 มาก
ระยะเวลาท่ีกำหนดให้

3. ท่านสามารถดำเนินการเปลย่ี นแปลงให้ 4.03 0.64 มาก
มปี ระสทิ ธิภาพได้

รวม 4.25 0.55 มาก

จากตางรางที่ 4 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ
พนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้าน ของการบริหารการเปลี่ยนแปลงการ

ทำงานบริหารบคุ คล ของพนักงานโดยภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับมาก ( =4.25 , S.D.= 0.55 )

เมื่อพิจารณารายด้าน อยู่ในระดับมาก จำนวน 3 ด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ท่าน
สามารถทำงานให้บรรลุเป้าหมายที่กำหนดไว้ ท่านสามารถรับผิดชอบงานภายในระยะเวลาที่กำหนดให้
ทา่ นสามารถดำเนินการเปลยี่ นแปลงใหม้ ปี ระสิทธิภาพได้

16

ตาราง 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงาน
ด้านผลลพั ธท์ ่มี ีตอ่ ความเปน็ สว่ นตวั ของแตล่ ะบุคคลของบริษทั ซีฟูด๊ จำกัด อำเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

ดา้ นผลลพั ธ์ทมี่ ตี อ่ ความเปน็ สว่ นตวั ของแต่ ระดบั ความไวว้ างใจ

ละบคุ คล S.D. แปลผล

1. ท่านมาสารถดำเนินงานให้มีประสิทธิผล 4.08 0.57 มาก
ได้

2. ท่านสามารถควบคุมการทำงานตามที่ 4.41 0.71 มาก
กำหนดไว้

3. ท่านสามรถทำงานทำงานตามหน้าทีที่ 4.10 0.61 มาก
กำหนดไว้ได้

4. ท่านสามารถบริหารการเปลี่ยนแปลงให้มี 4.03 0.52 มาก
ประสิทธภิ าพ

รวม 4.15 0.60 มาก

จากตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของระดับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ
พนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็นส่วนตัวของแต่

ละบคุ คล โดยภาพรวม พบวา่ อยูใ่ นระดบั มาก ( = 4.15 , S.D.= 0.60 )

เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมากจำนวน 4 ด้านเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ท่าน
สามารถควบคุมการทำงานตามที่กำหนดไว้ ท่านสามรถทำงานทำงานตามหน้าทีที่กำหนดไว้ได้ ท่านมาสา
รถดำเนินงานใหม้ ีประสทิ ธผิ ลได้

17

ตาราง 6ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพนักงานด้านการตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของ
บุคลากรของบริษัท ซฟี ูด๊ จำกัดอำเภอเมอื ง จงั หวัดสรุ าษฎร์ธานี

ด้านการตระหนกั ถึงการเปลีย่ นแปลง ระดับความไว้วางใจ
S.D. แปลผล
1. ท่านสามารถยกระดบั คณุ ภาพในการ
เปลี่ยนแปลงใหส้ ามารถไปในทศิ ทางทดี่ ขี น้ึ 3.97 0.64 มาก

2. ท่านสามารถเปลีย่ นแปลงการทำงานให้ไปใน 4.17 0.59 มาก
ทศิ ทางที่ดขี ้นึ ได้
4.15 0.63 มาก
3. ทา่ นสามารถนำสิง่ ใหม่ๆจากการเปลย่ี นแปลงไป 4.09 0.62 มาก
ใชใ้ หเ้ กิดประโยชน์สูงสดุ ได้

รวม

จากตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎรธานี ด้านการตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลงของพนักงาน โดยภาพรวมพบว่า อยู่ในระดับ
มาก ( = 4.09 , S.D.= 0.62)

เมื่อพจิ ารณารายด้าน อยู่ในระดับมากจำนวน 3 ด้าน เรยี งตามลำดบั จากมากไปหาน้อย ได้แก่ ทา่ น
สามารถเปลี่ยนแปลงการทำงานให้ไปในทิศทางท่ีดีขึ้นได้ ท่านสามารถนำส่ิงใหม่ๆจากการเปลี่ยนแปลงไป
ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุดได้ ท่านสามารถยกระดับคุณภาพในการเปลี่ยนแปลงให้สามารถไปในทิศทางที่ดี
ขึ้น

ตาราง 7การวิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด
อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามเพศ

เพศ n S.D. t ( N=59 )
.18061 .595 p-value
ชาย 9 4.1821 .19777 57

หญงิ 50 4.1400

*มนี ัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05

18

ตาราง 8 การวิเคราะห์เปรียบเทียบความผูกพันองค์การของพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอ
เมือง จงั หวดั สรุ าษฎร์ธานี จำแนกตามวฒุ กิ ารศึกษา

การบริหารการ แหล่งความ SS df MS F P - value
เปลยี่ นแปลง แปรปรวน 3.993 .050
.143 1 .143
ภาพรวม ระหวา่ งกลมุ่ 2.048 57 .036

ภายในกล่มุ

รวม 2.191 58

*มนี ยั สำคญั ทางสถติ ทิ ีร่ ะดับ 0.05

จากตารางที่ 8 แสดงผลการทดสอบความแตกต่างอัติโนมัติใช้สถิติ One-way ANOVA ด้วยการ
วิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว 0.05 ระหว่างระดับการศึกษากับการบริหารการเปลี่ยนแปลงของ
พนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างมา 2 กลุ่มตามระดับ
การศึกษา คือปริญญาตรีจำนวน 39 คนและสูงกว่าปริญยาตรี จำนวน 20 คน ในด้านภาพรวมพบว่ามีค่า
sig.เท่ากับ .050 ซึ่งมากกว่า 0.05 สรุปผลการทดลองได้ว่าระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน ทำให้การพัฒนา
ทรัพยากรมนุษย์ของพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี แตกต่างกัน เป็นไป
ตามสมมตุ ฐิ านการวจิ ัยทตี่ งั้ ไว้

19

บทท่ี 5 สรุปอภปิ รายผล ขอ้ เสนอแนะการวิจัย

การศึกษาวิจัยเรื่องการบริหารการเปลี่ยนแปลง ของพนักงานบริษัท ซีฟู้ด จำกัดอำเภอเมืองสุ
ราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาหาข้อมูลส่วนบุคคลของพนักงาน บริษัท ซี
ฟู๊ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อการศึกษาพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของ
พนักงาน บริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบการ
พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของพนักงาน บริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี
จำแนกตามข้อมูลสว่ นบุคคล

ผู้วิจัยได้ศึกษาแนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อนำมากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย
โดยได้กำหนดสมมุติฐานการวิจัยไว้ดังนี้ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ และระดับการศึกษา 2) การ
บริหารการเปล่ยี นแปลงของพนักงาน บริษทั ซีฟู๊ด จำกดั อำเภอเมอื งสรุ าษฎรธ์ านี จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี

ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ พนักงาน บริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี
จังหวดั สรุ าษฎร์ธานี จำนวน 59 คน

เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นมาจากก ารทบทวนแนวคิดทฤษฎี
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองหลังจากนั้นนำแบบสอบถามมาตรวจสอบ
ความถูกต้องและความครบถ้วนของข้อมูลโดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ (Frequency) ร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) และส่วน
เบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard deviation) การทดสอบค่าเฉลี่ยของกลุ่ม (Independent Sampies
Test) การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One way ANOVA)

สรปุ ผลการวจิ ยั

จากการวเิ คราะห์ขอ้ มูลผลการวจิ ัยสรุปประเดน็ สำคญั ดังนี้

1. การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ส่วนบคุ คลของพนกั งาน บรษิ ัท ซฟี ดู๊ จำกดั อำเภอเมือง จังหวดั สรุ าษฎรธ์ านี
พบว่า พนักงาน บริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานีส่วนมากเป็นเพศหญิง จำนวน 50
คน คิดเป็นร้อยละ 84.7 และวุฒิการศึกษาปริญญาตรี จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 66.1 วุฒิการศึกษา
สงู กว่าปรญิ ญาตรี จำนวน 20 คน คิดเป็นร้อยละ 33.9

2.การบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี
โดยภาพรวมอยู่ในระดับ มาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าอยู่ในระดับ มาก 4 ด้าน โดยเรียงลำดับ
คา่ เฉลี่ยจากมากไปหานอ้ ย ได้แก่ ดา้ นการบริหารเปลีย่ นแปลงการทำงานบรหิ ารบุคคล ดา้ นผลลัพธ์ที่มตี อ่
ความเป็นสว่ นตัวของแตล่ ะบุคคล ดา้ นการตระหนกั ถึงการเปล่ยี นแปลง

20

3.การวิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอ
เมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามเพศ พบว่าพนักงาน บริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัดสุ
ราษฎร์ธานมี ีเพศทแี่ ตกต่างกนั การพฒั นาทรพั ยากรมนุษยไ์ มแ่ ตกตา่ งกัน

4.การวิเคราะห์เปรียบเทียบการบริหารการเปลี่ยนแปลงของพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอ
เมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตาระดับการศึกษา พบว่า พนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง
จังหวัดสุราษฎรธ์ านี ท่มี ีระดบั การศกึ ษาต่างกัน มกี ารพัฒนาทรัพยากรมนษุ ย์แตกตา่ งกนั

อภปิ รายผลการวิจัย

ผลการวิจัยเรื่อง การบริหารการเปล่ียนแปลง ของพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด อำเภอเมือง จังหวัด
สุราษฎร์ธานี ซึ่งวุฒิการศึกษาปริญญาตรี จำนวน 39 คน คิดเป็นร้อยละ 66.1 วุฒิการศึกษาสูงกว่า
ปรญิ ญาตรี จำนวน 20 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 33.9 โดยมอี งคป์ ระกอบ 3 ด้าน ดังน้ี

1.ด้านการบริหารเปลี่ยนแปลงการทำงานบริหารบุคคล พนักงานสามารถทำงานได้อย่างบรรลุ
เป้าหมายตามที่กำหนดไว้ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงที่กำหนดไว้และภายในระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้การ
ดำเนินการเปลี่ยนแปลงมีประสิทธิภาพ และสามรถทำให้บริษัทมีสายงานการบริหารที่มีความก้าวหน้า
เน่อื งจากพนักงานมคี วามรู้ ความสามารถในการทำงาน

2.ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็นส่วนตัวของแต่ละบุคคล พนักงานสามารถทำงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพโดยในการทำงานพนักงานสามารถใช้ความรู้ ความสามารถของตนเองที่มีอยู่บริหารงานให้
เกดิ ประสทิ ธิภาพ โดยการใช้ความคิดและความสามารถของพนกั งานแตล่ ะคนภายในบริษัท

3.ดา้ นการตระหนักถึงการเปล่ยี นแปลง พนกั งานทำงานโดยคำนงึ ถึงความเปน็ อยภู่ ายในบรษิ ทั อยู่
เสมอติดตามงาน ติดตามความก้าวหน้าของบริษัท ทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ พนักงานใช้ความสามารถ
ที่มีอยู่ของตนเองนำพาบริษัทให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางที่ดีขึ้น หาวิธีการใหม่ๆ นำพาบริษัทให้
อยู่รอดและมีความกา้ วหน้าทัง้ พนักงานเอง และตำแหนง่ อ่ืนๆ

21

ขอ้ เสนอแนะการวจิ ยั

การศึกษาความสำเร็จในการทำงานของพนักงาน บริษัท ซฟี ู๊ด จำกดั อำเภอเมอื ง จังหวัดสรุ าษฎร์
ธานี ทั้ง 3 ด้านพบว่าอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านอยู่ในระดับมาก พบว่าพนักงานบริษัท ซีฟู๊ด จำกัด ทำงาน
ด้านการบริหารเปลี่ยนแปลงการทำงานบริหารบุคคลมากที่สุด รองลงมาคือ ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็น
ส่วนตวั ของแตล่ ะบคุ คลและดา้ นท่นี อ้ ยท่ีสุดคอื ดา้ นการตระหนกั ถงึ การเปลีย่ นแปลง ซึง่ ผลการวิจัยเพ่ือให้
เกิดผลตามวัตถุประสงค์ที่กำหนดไว้โดยผลลการดำเนินงานความสำเร็จในการทำงานช่วยส่งเสริมให้
องค์กรมีความสำเร็จในนการทำงานและศักยภาพ เพราะองค์กรจำเป็นต้องมีการเจริญเติบฌตอย่าง
ตอ่ เนอ่ื ง

22

บรรณานุกรม

กัญชลี จำนงวงศ์. (2550). แนวคิด ทฤษฎกี ารวจิ ัยที่เกย่ี วข้อง. วารสารการวจิ ัย, 1-19.
ประเวศน์ มหารัตน์กุล. (2549). การเปลี่ยนแปลงองค์การ ศึกษากรณีมหาวิทยาลัยรามคำแหง.
วารสารสังคมศาสตร์ ปีที่ 5 ฉบับที่ 1, 1-11.
พระมหากฤษณ์ธนินต์ เสฏฐเมธี (เดชจักร์บดินทร์) ดร.พระครูสังฆรักษ์สวงศ์ (สุนทรชัย). (2557).
การสังเคราะห์ความเปลี่ยนแปลงตามหลักพระพุทธศาสนา. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์ราช
วิทยาลยั .
รงค์ บุญสวยขวัญ. (2560). การบริหารการเปลี่ยนแปลง: กรอบแนวคิดเพื่อการวิจัย. สารอาศรม
วฒั นธรรมวลัยลักษณ, 40-62.
สุธิดารัตน์ ชาวชายโขง ปพฤกษ์ อุตสาหาวาณิชกิจ และพีรวัฒน์ ชยล้อม. (2556). ผลกระทบของ
การบริหารการเปลียนแปลงที่มีผลดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสาร
การจัดการและการบญั ช,ี 1-11.

23

ภาคผนวก ก เครื่องมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั

การบริหารการเปลย่ี นแปลง ด้านการบริหารเปล่ยี นแปลงการทำงานบรหิ ารบคุ คล

ผู้วิจัยให้ความหมายว่า ทำงานได้อย่างบรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงท่ี
กำหนดไวภ้ ายในระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้การดำเนนิ การเปลีย่ นแปลงมีประสทิ ธภิ าพ

1. ทา่ นสามารถทำงานให้ บรรลุเป้าหมาย ทีก่ ำหนดไว้
2. ท่านสามารถรบั ผิดชอบงานภายในระยะเวลาท่กี ำหนด ได้
3. ท่านสามารถดำเนินการเปล่ียนแปลงใหม้ ี ประสิทธิภาพ ได้

ดา้ นการบรหิ ารความ มาก มากทสี่ ุด ปานกลาง น้อย นอ้ ยที่สดุ
เปล่ียนแปลง

1.ทา่ นสามารถทำงานให้
บรรลเุ ปา้ หมาย ทก่ี ำหนดไว้

2.ท่านสามารถรับผดิ ชอบ
งานภายในระยะเวลาท่ี
กำหนด ได้

3.ทา่ นสามารถดำเนินการ
เปล่ียนแปลงใหม้ ี
ประสิทธภิ าพ ได้

24

การบริหารการเปลยี่ นแปลง ดา้ นผลลัพธท์ ่ีมตี ่อความเป็นส่วนตัวของแต่ละบุคคล

ผู้วิจัยให้ความหมายว่า ทำงานได้อย่างมีประสิทธิผลภายใต้การเปล่ียนแปลงตามที่กำหนดไว้ และมี
การดำเนินงานมคี วามน่าเช่อื ถอื

1. ทา่ นสามารถดำเนินงานใหม้ ี ประสทิ ธผิ ล ได้
2. ทา่ นสามารควบคมุ การทำงานตามที่กำหนดไว้
3. ทา่ นสามรถทำงานทำงานตามหน้าทท่ี ี่กำหนดไว้ได้
4. ท่านสามารถบรหิ ารการเปลี่ยนแปลงให้มีประสิทธิภาพ

ดา้ นการบริหารเปลยี่ นแปลง มาก มากทสี่ ุด ปานกลาง น้อย น้อยทส่ี ดุ
การทำงานบริหารบคุ คล

1.ท่านสามารถดำเนินงานให้มี
ประสิทธิผล ได้

2.ทา่ นสามารควบคมุ การทำงาน
ตามทก่ี ำหนดไว้

3.ท่านสามรถทำงานทำงานตาม
หนา้ ทที ่ีกำหนดไว้ได้

4.ท่านสามารถบรหิ ารการ
เปลย่ี นแปลงใหม้ ีประสทิ ธิภาพ

25

การบรหิ ารการเปลยี่ นแปลง ด้านการตระหนกั ถึงการเปลยี่ นแปลง

ผู้วิจัยให้ความหมายว่า ทำงานได้อย่างมีคุณภาพที่กำหนดไว้ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงที่กำหนดไว้
อยา่ งมีประสิทธภิ าพ และสามารถดำเนินการเปลยี่ นแปลงใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุด

1. ท่านสามารถยกระดบั คุณภาพในการเปล่ยี นแปลงใหส้ ามารถไปในทิศทางทดี่ ีข้ึน

2. ท่านสามารถเปล่ียนแปลงการทำงานใหไ้ ปในทศิ ทางทดี่ ขี น้ึ ได้

3. ทา่ นสามารถนำสง่ิ ใหม่ๆจากการเปลีย่ นแปลงไปใช้ใหเ้ กดิ ประโยชน์สงู สดุ ได้

ผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็น มาก มากท่สี ุด ปานกลาง น้อย นอ้ ยทสี่ ดุ
ส่วนตัวของแต่ละบคุ คล

1.ท่านสามารถยกระดับ
คุณภาพในการเปลี่ยนแปลง
ให้สามารถไปในทศิ ทางทด่ี ี
ขึ้น

2.ท่านสามารถเปลี่ยนแปลง
การทำงานให้ไปในทิศทางที่
ดขี น้ึ ได้

3.ทา่ นสามารถนำสง่ิ ใหมๆ่
จากการเปลยี่ นแปลงไปใช้ให้
เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ได้

26

ภาคผนวก ข เครือ่ งมอื การวิจยั

แบบทดสอบความเทย่ี งตรงเชิงเนื้อหา IOC

คำช้แี จง

แบบสอบถามนี้จัดทำข้ึนเพอ่ื หาขอ้ มูลประกออบการวจิ ยั เรอ่ื งแนวทางการพัฒนาประสทิ ธิภาพการ
ทำงาน ของพนักงานบริษัทซีฟู้ด จำกัด อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี ผู้วิจัยจึงใคร่ขอ
ความร่วมมอื มายังท่านเพื่อตอบแบบสอบถามฉบับนต้ี ามความเปน็ จริง ทัง้ น้ีเพ่ือนำข้อมูลมาวเิ คราะห์ซง่ึ จะ
เป็นประโยชนเ์ ชงิ วชิ าการแกผ่ ู้สนใจตอ่ แบบสอบถามนี้ ประกอบดว้ ย 2 ตอน จำนวน 13 ข้อ 3 ดา้ น คอื

ตอนท่ี 1 ข้อมลู สว่ นบคุ คลจำนวน 2 ข้อ

ตอนที่ 2 ประสทิ ธภิ าพการทำงานจำนวน 13 ข้อ

สำหรับข้อมูลที่ท่านได้ตอบในแบบสอบถามฉบับนี้ใช้สำหรับการศึกษาวิจัยเท่านั้น การตอบ
แบบสอบถามนี้จะไม่มีผลกระทบต่อท่านแต่อย่างใด แต่จะเป็นประโยชน์ในทางวิชาการเชิงสังคมศาสตร์
และนำไปใช้ประโยชน์เชิงวิชาการ โดยผู้วิจัยจะใช้ข้อมูลเพื่อการศึกษาวิจัย และขอขอบคุณทุกท่านมา
ณโอกาสน้ี

ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ส่วนบคุ คล

คำช้ีแจง โปรดทำเครอื่ งหมาย ในช่อง () หนา้ คำตอบทต่ี รงกบั ความเปน็ จริง

1. เพศ ( ) หญิง ( ) สูงกว่าปริญญาตรี
( ) ปรญิ ญาตรี
( ) ชาย
2. ระดับการศึกษา

( ) ต่ำกวา่ ปริญญาตรี

ตอนที่ 2 ประสทิ ธิภาพการทำงาน

คำช้แี จง โปรดทำเคร่อื งหมายลงในช่องท่ีตรงกับความเป็นจริงของท่านมากทีส่ ุด โดยกำหนดเกณฑ์การ
ให้คะแนน ดังนี้ คะแนน 5 หมายถึง มากที่สุด คะแนน 4 หมายถึง มาก คะแนน 3 หมายถึง ปานกลาง
คะแนน 2 หมายถึง นอ้ ย คะแนน 1 หมายถงึ น้อยท่สี ุด

27

ตวั อยา่ ง ระดับความคิดเหน็
การบรหิ ารการเปล่ียนแปลง
xxxxxxxxxxxxx มากท่สี ุด 5 มาก 4 ปานกลาง นอ้ ย น้อยทส่ี ุด
3 2 1



การบริหารการเปลีย่ นแปลง ระดบั ความคิดเห็น นอ้ ยทีส่ ุด
มากที่สุด 5 มาก 4 ปานกลาง3 น้อย 2 1

ดา้ นการบรหิ ารความเปล่ยี นแปลง

1.ท่านสามารถทำงานให้ บรรลุ
เป้าหมาย ท่ีกำหนดไว้

2.ทา่ นสามารถรบั ผดิ ชอบงาน
ภายในระยะเวลาท่ีกำหนด ได้

3.ท่านสามารถดำเนินการ
เปลีย่ นแปลงใหม้ ี ประสทิ ธิภาพ ได้

ด้านการบริหารเปลี่ยนแปลงการ
ทำงานบรหิ ารบคุ คล

1.ท่านสามารถดำเนินงานให้มี
ประสทิ ธผิ ล ได้

2.ท่านสามารควบคุมการทำงาน
ตามทก่ี ำหนดไว้

3.ท่านสามรถทำงานทำงานตาม
หน้าทท่ี ี่กำหนดไวไ้ ด้

4.ท่านสามารถบริหารการ
เปลีย่ นแปลงใหม้ ีประสิทธภิ าพ

28

คุณภาพการปฏบิ ัติงาน มากทสี่ ดุ 5 ระดบั ความคดิ เห็น น้อยท่ีสดุ 1
มาก 4 ปานกลาง3 นอ้ ย 2

ผลลัพธ์ท่ีมีตอ่ ความเป็นส่วนตวั ของแต่
ละบคุ คล

1.ท่านสามารถยกระดับคุณภาพในการ
เปลี่ยนแปลงให้สามารถไปในทิศทางที่ดี
ขึ้น

2.ทา่ นสามารถเปล่ียนแปลงการทำงาน
ใหไ้ ปในทิศทางทด่ี ขี ึ้นได้

3.ท่านสามารถนำสงิ่ ใหมๆ่ จากการ
เปลยี่ นแปลงไปใช้ให้เกดิ ประโยชน์สงู สดุ
ได้

ขอบคณุ คะ่
พรพมิ ล ทองปรงุ

29

แบบทดสอบความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา IOC ของ
แบบสอบถาม

ช่ือเร่ือง การบริหารการเปลี่ยนแปลง ของพนักงาน
ซีฟู้ด จากดั อาเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวดั สุราษฎร์ธานี
ช่ือผู้วจิ ยั นางสาวพรพิมล ทองปรุง

นักศึกษาหลกั สูตร การบริหารธุรกจิ (วิชาเอกการบริหารทรพั ยากรมนุษย์) บรหิ ารธรุ กจิ บัณฑติ
หมายเลขโทรศพั ท์ 0908790726 email [email protected]
อาจารย์ทีป่ รึกษา ผชู้ ่วยศาสาตราจารย์ ดร.ธนายุ ภูว่ ิทยาธร

30

คำช้แี จง
กรุณาทำเครื่องหมาย ✓ ลงในช่อง โดยที่ ( 1 ) ถ้าคําถามสอดคล้องกับนิยามศัพท์ลงในช่อง
(0 ) ถ้าไม่แน่ใจว่าคำถามสอดคล้องกับนิยามศัพท์หรือไม่และลงในช่อง (-1) ถ้าคำถามไม่สอดคล้องกับ
นิยามศัพท์
ตอนที่ 1 แบบสอบถามขอ้ มูลทั่วไป

กรุณาตอบคำถามให้ครบทกุ ข้อ โดยทำเครอื่ งหมายลงใน หรือเตมิ ข้อความลงในช่องวา่ งให้
ตรงกับข้อมูลของตัวทา่ นตามความเปน็ จริง

ความคดิ เห็นของกรรมการ

คาถาม สอดคลอ้ ง ไมแ่ น่ใจ ไม่ คาแนะนาเพมิ่ เติม
1. เพศ สอดคลอ้ ง
+1 0
-1

 หญิง  ชาย

2. ระดบั การศึกษา
 ต่ากวา่ ระดบั ปริญญาตรี
ปริญญาตรี
สูงกวา่ ปริญญาตรี

31

ตอนที่ 2 ความคดิ เห็นของประชากรตอ่ ประสิทธิภาพการทำงาน

กรณุ าตอบคำถามให้ครบทุกข้อ โดยทำเครอื่ งหมาย  ลงใน เพือ่ เลือกระดบั ความคิดเหน็ ของท่านมากทส่ี ุดหลังจากท่ีท่านอ่านข้อคำถาม
แลว้ โดยในแต่ละข้อให้เลอื กเพยี งคำตอบเดียว

ระดับความคิดเหน็ ของผตู้ อบ ความคิดเหน็ ของผ้เู ชี่ยวชาญ

นยิ ามศัพท/์ วตั ถุประสงค์ ขอ้ คำถาม แบบสอบถาม คำแนะน

มาก มาก ปาน น้อ นอ้ ย สอดคล้อ ไม่ ไม่ ำเพม่ิ เติม

ทสี่ ุ กลา ย ทสี่ ุด ง แนใ่ จ สอดคล้อ

ดง ง

5 4 3 2 1 1 0 -1

ดา้ นการบรหิ ารความเปลย่ี นแปลง 1 ท่านสามารถทำงานให้ บรรลุ
เปา้ หมาย ทีก่ ำหนดไว้
ความหมายว่า ทำงานได้อย่างบรรลุ
ท่านสามารถรับผิดชอบงาน
เป้าหมายตามทก่ี ำหนดไว้ ภายใต้การ 2 ภายในระยะเวลาท่กี ำหนด ได้
เปลี่ยนแปลงที่กำหนดไว้ภายใน
ท่านสามารถดำเนินการ
ระยะเวลาที่กำหนดเพื่อให้การ 3 เปลี่ยนแปลงให้มี ประสิทธภิ าพ
ด ำ เ น ิ น ก า ร เ ป ล ี ่ ย น แ ป ล ง มี ได้

ประสิทธิภาพ

32

นยิ ามศพั ท/์ วตั ถุประสงค์ ขอ้ คำถาม ระดับความคิดเห็นของ ความคิดเหน็ ของผู้เช่ียวชาญ
ผูต้ อบแบบสอบถาม คำแนะนำเพ่ิมเติม

มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย สอดคล้อง ไม่ ไม่
ทสี่ ุด กลาง ท่ีสดุ แนใ่ จ สอดคลอ้ ง

54 3 2 1 1 0 -1

การบริหารเปลี่ยนแปลงการทำงาน 1 ท ่ านส าม ารถด ำเ นิ นง า น ใ ห ้ มี

บริหารบคุ คล ประสิทธิผล ได้

ความหมายว่า ทำงานได้อย่างมี 2 ท่านสามารควบคุมการทำงานตามท่ี
ประสิทธิผลภายใต้การเปลี่ยนแปลง กำหนดไว้

ตามท่ีกำหนดไว้ และมีการดำเนินงานมี 3 ท่านสามรถทำงานทำงานตาม
ความน่าเชอื่ ถือ หนา้ ท่ีๆกำหนดไวไ้ ด้

4 ท่านสามารถบริหารการเปลี่ยนแปลง
ใหม้ ีประสิทธิภาพ

33

ระดบั ความคดิ เห็นของผูต้ อบ ความคดิ เหน็ ของผเู้ ช่ียวชาญ

นิยามศัพท/์ วตั ถุประสงค์ ข้อ คำถาม แบบสอบถาม สอดคล้อง ไม่ ไม่ คำแนะนำ
แน่ใจ สอดคล้อง เพ่มิ เติม
มาก มาก ปาน น้อย นอ้ ย
1 0 -1
ที่สดุ กลาง ที่สดุ

54 32 1

ด้านการตระหนักถึงการเปลย่ี นแปลง 1 ท ่ า น ส า ม า ร ถ ย ก ร ะ ดั บ
คุณภาพในการเปลี่ยนแปลง
ความหมายว่า ทำงานได้อย่างมีคุณภาพที่ ให้สามารถไปในทิศทางที่ดี
กำหนดไว้ ภายใต้การเปลี่ยนแปลงท่ี ขึ้น
กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพ และ
สามารถดำเนินการเปลี่ยนแปลงให้เกิด 2 ท่านสามารถควบคุมการ
ประโยชนส์ ูงสดุ ทำงานให้ไปในทิศทางที่ดี
ขึน้ ได้

3 ท่านสามารถนำสิ่งใหม่ๆ
จากการเปลี่ยนแปลงไปใช้
ให้เกดิ ประโยชน์สูงสดุ ได้

ภาคผนวก ค ตารางวเิ คราะห์ IOC ของแบบทดสอบความเทย่ี งตรงเชิงเนอ้ื หาของแบบสอบถาม 34
ผล
การบริหารการเปลย่ี นแปลง ความคิดเหน็ รวม IOC

คนที่1 คนที่2 คนท่ี3

ด้านการบริหารความเปลีย่ นแปลง

1.ทา่ นสามารถทำงานให้ บรรลเุ ป้าหมาย ทกี่ ำหนดไว้ +1 +1 0 2 0.67

2.ท่านสามารถรับผิดชอบงานภายในระยะเวลาที่ 0 +1 +1 2 0.67
กำหนดได้

3. ท่านสามารถดำเนินการเปลี่ยนแปลงให้มี +1 +1 +1 3 1
ประสทิ ธิภาพ ได้

การบริหารเปล่ยี นแปลงการทำงานบริหารบคุ คล

1.ทา่ นสามารถดำเนินงานให้มี ประสทิ ธผิ ล ได้ -1 +1 +1 1 0.33

2.ทา่ นสามารควบคุมการทำงานตามท่ีกำหนดไว้ +1 +1 0 2 0.67

3.ท่านสามรถทำงานทำงานตามหนา้ ทที่ ่ีกำหนดไวไ้ ด้ +1 +1 +1 3 1

4.ท ่ า น ส า ม า ร ถ บ ร ิ ห า ร ก า ร เ ป ล ี ่ ย น แ ป ล ง ใ ห ้ มี 0 +1 +1 2 0.67
ประสิทธิภาพ

35

ดา้ นการตระหนกั ถึงการเปลีย่ นแปลง +1 +1 +1 31
0 +1 +1 2 0.67
1.ท่านสามารถยกระดับคุณภาพในการเปลี่ยนแปลง +1 0 +1 2 0.67
ใหส้ ามารถไปในทศิ ทางที่ดีข้นึ

2.ท่านสามารถควบคุมการทำงานให้ไปในทิศทางที่ดี
ข้ึนได้

3.ท่านสามารถนำสิ่งใหม่ๆจากการเปลี่ยนแปลงไปใช้
ให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสุดได้

36

ภาคผนวก ง

Case Processing Summary

N%

Cases Vaild 30 100.0

Excludeda 0 .0

Total 30 100.0

a. Listwise deletion based on all variables in the procedure.

Reliability Statistics

Cronbach's Alpha N of Items

.286 10

37

Item Statistics

Mean Std.Deviation N

ด้านการบริหารเปลี่ยนแปลงการทำงานบริหารบุคคล 4.833333333333333 .379049021789455 30
[ทา่ นสามารถทำงานใหบ้ รรลเุ ปา้ หมายทกี่ ำหนดไว้]

ด้านการบริหารเปลี่ยนแปลงการทำงานบริหารบุคคล 4.066666666666666 .520830459762188 30
[ท่านสามารถรับผิดชอบงานภายในระยะเวลาที่กำหนด
ได]้

ดา้ นการบริหารเปลย่ี นแปลงการทำงานบรหิ ารบคุ คล 4.100000000000000 .711966678801852 30
[ทา่ นสามารถดำเนนิ การเปล่ียนแปลงให้มีประสิทธภิ าพ
ได]้

ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็นส่วนตัวของแต่ละบุคคล 4.166666666666667 .592093499916759 30
[ท่านสามารถดำเนินงานให้มีประสทิ ธภิ าพได้]

ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็นส่วนตัวของแต่ละบุคคล 4.133333333333334 .730296743340220 30
[ท่านสามารถควบคุมงานตามที่กำหนดไว]้

ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็นส่วนตัวของแต่ละบุคคล 4.200000000000000 .550861394419746 30
[ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าทท่ี ี่กำหนดไว้ได้]

ด้านผลลัพธ์ที่มีต่อความเป็นส่วนตัวของแต่ละบุคคล 4.033333333333333 .668675135459373 30
[ทา่ นสามารถบริหารการเปลี่ยนแปลงให้มีประสิทธภิ าพ]

ด้านการตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง [ท่านสามารถ 4.066666666666666 .583292280985675 30
ยกระดับคุณภาพในการเปลี่ยนแปลงให้สามารถไปใน
ทศิ ทางที่ดีขนึ้ ]

ด้านการตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง [ท่านสามารถ 4.300000000000000 .702213249857808 30
เปลยี่ นแปลงการทำงานใหไ้ ปในทิศทางทด่ี ีขนึ้ ได้]

ด้านการตระหนักถึงการเปลี่ยนแปลง [ท่านสามารถนำ 4.066666666666666 .691491807283521 30
สิง่ ใหมๆ่ จากการเปลย่ี นแปลงไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน]์

38

Item-Total Statistics

Scale Mean if Item Scale Corrected Cronbach's
Deleted Variance if Item-Total Alpha if
Correlation Item
Item Deleted
Deleted

ดา้ นการบรหิ ารเปลี่ยนแปลงการทำงานบรหิ ารบคุ คล 37.133333333333320 4.809 .152 .254
[ทา่ นสามารถทำงานให้บรรลเุ ป้าหมายทีก่ ำหนดไว้]

ด้านการบริหารเปลีย่ นแปลงการทำงานบริหารบุคคล
[ท่านสามารถรบั ผิดชอบงานภายในระยะเวลาท่ี 37.899999999999990 4.852 .036 .291
กำหนดได]้

ดา้ นการบรหิ ารเปล่ียนแปลงการทำงานบริหารบุคคล

[ท่านสามารถดำเนินการเปล่ียนแปลงใหม้ ี 37.866666666666650 3.430 .481 .023

ประสิทธภิ าพได]้

ด้านผลลพั ธ์ทม่ี ีตอ่ ความเป็นสว่ นตวั ของแต่ละบุคคล 37.799999999999990 4.166 .285 .175
[ท่านสามารถดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพได้]

ดา้ นผลลัพธ์ทม่ี ีต่อความเปน็ ส่วนตวั ของแต่ละบุคคล 37.833333333333320 4.557 .037 .302
[ท่านสามารถควบคุมงานตามที่กำหนดไว้]

ดา้ นผลลัพธ์ทม่ี ีต่อความเปน็ ส่วนตัวของแต่ละบคุ คล 37.766666666666650 4.668 .099 .266
[ทา่ นสามารถทำงานตามหน้าทท่ี ีก่ ำหนดไวไ้ ด]้

ด้านผลลัพธ์ทม่ี ตี ่อความเปน็ สว่ นตัวของแต่ละบุคคล

[ท่านสามารถบริหารการเปล่ยี นแปลงใหม้ ี 37.933333333333320 4.133 .230 .194

ประสทิ ธภิ าพ]

ดา้ นการตระหนักถงึ การเปลีย่ นแปลง [ทา่ นสามารถ
ยกระดบั คณุ ภาพในการเปลี่ยนแปลงใหส้ ามารถไปใน 37.899999999999990 4.507 .145 .244
ทิศทางท่ีดขี น้ึ ]

ด้านการตระหนกั ถึงการเปล่ียนแปลง [ทา่ นสามารถ 37.666666666666660 5.264 -.171 .404
เปล่ยี นแปลงการทำงานใหไ้ ปในทศิ ทางทดี่ ขี น้ึ ได]้

ด้านการตระหนกั ถงึ การเปลย่ี นแปลง [ท่านสามารถ
นำสง่ิ ใหม่ๆจากการเปลยี่ นแปลงไปใชใ้ ห้เกดิ 37.899999999999990 5.128 -.128 .381
ประโยชน]์

39

Group Statistics

sum1 เพศ N Mean Std. Std. Error
sum2 Deviation Mean
sum3 ชาย 9 4.3333 .11111
sumall หญิง 50 4.2400 .33333 .04471
ชาย 9 4.0278 .31616 .10577
หญิง 50 4.1000 .31732 .04574
ชาย 9 4.1852 .32341 .09799
หญิง 50 4.0800 .29397 .05599
ชาย 9 4.1821 .39590 .06020
หญงิ 50 4.1400 .18061 .02797
.19777

40

Independent Samples Test

Levene's Test t-test for Equality of Means
for Equality of
t df Sig. Mean Std. 95% Confidence
Variances (2-tailed) Difference Error Interval of the Difference
F Sig. Difference
.249 .619 Lower Upper

Equal .043 .836 .809 57 .422 .09333 .11537 -.13769 .32436
variances
assumed 3.499 .067 .779 10.755 .453 .09333 .11977 -.17101 .35768

sum1 Equal -.618 57 .539 -.07222 .11680 -.30610 .16166
variances
not -.627 11.207 .543 -.07222 .11524 -.32529 .18085
assumed
.758 57 .452 .10519 .13877 -.17269 .38306
Equal
variances
assumed

sum2 Equal
variances
not
assumed

Equal
sum3 variances

assumed

41

Equal

variances .932 13.835 .367 .10519 .11286 -.13714 .34751
not

assumed

Equal

variances .086 .770 .595 57 .554 .04210 .07077 -.09962 .18382

assumed

sumall Equal

variances .634 11.737 .538 .04210 .06638 -.10290 .18710
not

assumed

42

ANOVA

sum1 Between Groups Sum of Squares df Mean Square F Sig.
sum2 Within Groups 1.160 1 1.160 14.081 .000
sum3 Total 4.694 57 .082
sumall Between Groups 5.853 58 4.776 .033
Within Groups .462 1 .462
Total 5.509 57 .097 2.714 .105
Between Groups 5.970 58
Within Groups .384 1 .384 3.993 .050
Total 8.071 57 .142
Between Groups 8.456 58
Within Groups .143 1 .143
Total 2.048 57 .036
2.191 58

43

Descriptives

95% Confidence Interval for Mean

N Mean Std. Deviation Std. Error Lower Bound Upper Bound Minimum Maximum

sum1 2 39 4.1538 .30441 .04875 4.0552 4.2525 3.67 4.67

3 20 4.4500 .24839 .05554 4.3338 4.5662 4.00 5.00

Total 59 4.2542 .31767 .04136 4.1715 4.3370 3.67 5.00

sum2 2 39 4.0256 .32845 .05259 3.9192 4.1321 3.50 4.75

3 20 4.2125 .27236 .06090 4.0850 4.3400 3.50 4.75

Total 59 4.0890 .32084 .04177 4.0054 4.1726 3.50 4.75

sum3 2 39 4.1538 .37343 .05980 4.0328 4.2749 3.67 4.67

3 20 3.9833 .38198 .08541 3.8046 4.1621 3.33 4.67

Total 59 4.0960 .38182 .04971 3.9965 4.1955 3.33 4.67

sumall 2 39 4.1111 .19086 .03056 4.0492 4.1730 3.83 4.69

3 20 4.2153 .18686 .04178 4.1278 4.3027 3.89 4.53

Total 59 4.1464 .19436 .02530 4.0958 4.1971 3.83 4.69


Click to View FlipBook Version