The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2564 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขสกลนคร จำกัด

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by phsncoop, 2022-01-17 04:23:57

รายงานประจำปี 2564 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขสกลนคร จำกัด

รายงานประจำปี 2564 สหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขสกลนคร จำกัด

อัตราสวนทางการเงนิ วเิ คราะหภ าวะเศรษฐกจิ ทางการเงนิ
(CAMELS ANALYSIS RATIOS)
ณ วันท่ี 31 ธันวาคม 2564

ในมมุ มองแตละมติ ิ อตั ราสวนทางการเงนิ สูตรการคํานวณ แทนคา ตามสูตร คาทีว่ ดั ได วตั ถปุ ระสงคข องการวเิ คราะห หมวดท่วี ัด ตัววดั

3. ผลกระทบของธรุ กจิ (Sensitivity)
- ผลกระทบของธรุ กจิ -ปจจัยของความ Financial Risk ความเสยี่ งอันเกดิ
จากความเสยี หายทางดา นการเงนิ
(เศรษฐกจิ สงั คม การเมือง) เสีย่ ง

ท่เี กดิ ขึ้นตอปจ จยั ตา ง ๆ ของ -อัตราดอกเบ้ีย

ความเส่ียง -ทนุ

-ตน ทนุ .
Management Risk ความเสย่ี งอนั
เกิดจากการจดั การหรอื การบริหาร
- องคก ร

-อตั รากาํ ลงั

-การแขงขันระหวา งสหกรณ

Legal&Regulation Risk ความเสีย่ ง
อันเกดิ จากกฎหมาย ขอบงั คับ
ระเบยี บ กตกิ าหรอื หลักเกณฑตา งๆ
- กฎ ระเบียบ ขอบงั คับ

- พ.ร.บ.
- กฎหมายอื่น ๆ

Strategic Risk ความเสย่ี งอันเกดิ จาก

แผนกลยทุ ธหรอื ยุทธศาสตรการทํางาน

- นโยบายยกหนีเ้ กษตรกร

- นโยบายกองทุนหมบู า น รายงานประจําป 2564

- นโยบายลดอัตรากําลงั ขาราชการ

Business Risk ความเส่ยี งอนั เกิด
จากการทาํ ธรุ กจิ

- ตลาด

- ราคา

- รสนยิ ม / คานยิ ม

- เทคโนโลยี / วทิ ยาการใหม

143

อัตราสว นทางการเงินวเิ คราะหภาวะเศรษฐกิจทางการเงนิ

อัตราสว นทางการเงินวิเคราะหภาวะเศรษฐกจิ ทางการเงิน 144 รายงานประจําป 2564

(CAMELS ANALYSIS RATIOS)
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2564

ในมุมมองแตล ะมิติ อตั ราสว นทางการเงิน สตู รการคาํ นวณ แทนคาตามสตู ร คาทีว่ ัดได วัตถุประสงคข องการวิเคราะห หมวดท่วี ัด ตัววดั

อตั รากําไรตอ สมาชกิ (บาท) กําไรสุทธิ 245,112,774.02 38,167.67 1. การบริหารการเงิน ( Financial management )
จํานวนสมาชิก 6,422 * การทํากําไร ( Earming Sufficiency)

อตั ราเงินออมตอ สมาชกิ (บาท) เงนิ ฝากสมาชกิ + ทนุ เรือนหนุ 4,442,911,746.81 - สวนเหลีย่ มระหวางรายได - การเปรียบเทยี บ - กําไร , ขาดทุน

(เงนิ ออม = เงนิ ฝากสิน้ ปของสมาชิก จาํ นวนสมาชิก 6,422 691,826.81 และคา ใชจ า ย - การเตบิ โต - รายไดหลกั , รายไดอ่ืน

+ เงินหุนสมาชกิ ) -การบริหารคา ใชจา ยดาํ เนนิ งาน - ประสิทธิภาพ - คา ใชจ า ยดาํ เนินงาน

มติ ิ 4 อตั ราหนสี้ นิ ตอสมาชิก (บาท) ลูกหนเ้ี งนิ ก+ู ลูกหน้ีการคา+ลกู หนี้บริการอ่นื 7,091,732,491.00 -การใหผ ลตอบแทน -กําไรตอสมาชกิ
การทํากาํ ไร
(หนส้ี ินสมาชกิ กอ นหักหนสี้ งสัยจะสญู = จาํ นวนสมาชิก 6,422 1,104,287.21 -คณุ ภาพของการจัดสรรกาํ ไร - เงนิ ออมตอสมาชกิ
- หนี้สินตอ สมาชิก
( E : Earming Sufficiency)ลูกหน้เี งินกู+ลูกหนี้การคา+ลกู หนบี้ ริการอนื่ ๆ)

อตั ราคา ใชจ ายดาํ เนนิ งานตอ กําไร คาใชจา ยดําเนนิ งาน X 100 13,571,228.30 X 100 5.30 - คา ใชจายดาํ เนนิ งานตอกาํ ไร
กอ นหักคา ใชจ ายดาํ เนินงาน (%) กําไรกอ นหกั คา ใชจา ยดําเนินงาน 255,930,663.15 (25%) กอ นหกั คา ใชจ ายดาํ เนินงาน

อตั ราการเติบโตของทนุ สํารอง (%) ทนุ สาํ รองปป จ จุบนั - ทนุ สาํ รองปกอ น X 100 249,624,363.36 - 224,440,365.99X 100 11.22 - การเติบโตของ
ทุนสํารองปก อน 224,440,365.99 กําไร

อตั ราการเตบิ โตของทนุ สะสมอ่ืน (%) ทนุ สะสมอื่นปปจจุบัน - ทุนสะสมอน่ื ปกอน X 100 3,474,146.85 - 3,887,594.93X 100 -10.64 ทนุ สาํ รอง
ทุนสะสมอ่นื ปก อ น 3,887,594.93 ทุนสะสม

อัตราการเติบโตของกําไร (%) กาํ ไรสุทธิปปจจุบัน - กําไรสทุ ธปิ ก อน X 100 245,112,774.02 - 226,827,215.37X 100 8.40 - อัตรากาํ ไรสทุ ธิ
กาํ ไรสทุ ธปิ กอน 226,827,215.37

อตั รากําไรสุทธิ (%) กาํ ไรสุทธิ X 100 245,871,763.42 X 100 62.77
ขาย / บรกิ าร (ธุรกิจหลกั ) 391,714,389.33

มิติ 5 อัตราสว นทุนหมนุ เวยี น (เทา) สนิ ทรพั ยหมุนเวยี น 463,532,315.15 0.14 -ความเพยี งพอของสนิ ทรพั ยใ น - การเปรียบเทยี บ - เงนิ สด , เงินฝาก
สภาพคลอง หนีส้ ินหมุนเวียน 3,264,345,577.81
( L : Liquidity ) อตั ราลกู หนรี้ ะยะส้ันทชี่ ําระ
ไดต ามกําหนด (%) ลกู หนรี้ ะยะส้นั ทีช่ ําระตามกาํ หนด X 100 403,270,176.00 X 100 100 การแปลงสภาพเปนเงนิ สด - ประสิทธภิ าพ -หลกั ทรพั ย / ตราสาร /หุน
ลูกหนี้เงนิ กูร ะยะสั้นทถี่ งึ กาํ หนดชําระ 403,270,176.00 (95%) -หลกั ทรพั ยสภาพคลอง - ลูกหนร้ี ะยะสน้ั

- เงนิ กรู ะยะสัน้
-เงินรบั ฝาก

- ลกู หนเ้ี งินกรู ะยะสน้ั ทีช่ าํ ระหน้ไี ด
ตามกําหนด
-อตั ราสวนทุนหมุนเวยี น

รายงานประจําป 2564 145

146 รายงานประจําป 2564

ผลการประเมินคุณภาพการบรหิ ารจดั การสหกรณออมทรพั ย ขนาดใหญมาก ป 2563
ป 2564
อตั ราสวน ผลการคํานวณ คะแนน ถวงน้ําหนัก คะแนนถวงนาํ้ หนกั ผลการคํานวณ คะแนน ถว งนา้ํ หนกั คะแนนถวงน้าํ หนกั

1. หมวดโครงสรา งทางการเงนิ 36.44 7 1.1458 8.02
1.1 ทนุ เรือนหนุ ตอสินทรัพยร วม 38.65 7 1.1458 8.02
1.2 เงินรับฝาก(เฉพาะสมาชกิ )ตอสินทรัพยร วม 22.65 3 1.1458 3.44 19.94 3 1.1458 3.44
1.3 ลกู หน้ีเงินกูทง้ั ส้นิ (สมาชิกและสหกรณอ นื่ )ตอสินทรพั ยรวม 99.03 1 1.1458 1.15 97.67 1 1.1458 1.15
1.4 เงินสด เงินฝากธนาคาร เงินลงทุน เงนิ ฝากสหกรณอ ่ืน 1.40 2 1.1458 2.29 1.97 2 1.1458 2.29
ตว๋ั สญั ญาใชเ งนิ สหกรณอ่นื ตอสนิ ทรัพยรวม
1.5 ทุนสํารองตอสินทรัพยรวม 3.32 1 1.1458 1.15 3.35 1 1.1458 1.15
1.6 เงินกูยมื ภายนอกตอทนุ ของสหกรณ 0.60 8 1.1458 9.17 0.56 8 1.1458 9.17

2. หมวดสภาพคลอ งทางการเงิน 0.14 2 1.0417 2.08 0.14 2 1.0417 2.08
2.1 สินทรัพยห มนุ เวยี นตอหน้ีสินหมนุ เวยี น
2.2 ลกหนีเ้ งนิ กูทีช่ ําระไดตามกาํ หนด 100.00 8 1.0417 8.33 100.00 8 1.0417 8.33
2.3 สินทรพั ยส ภาพคลอ งตอ เงนิ รับฝากท้งั สน้ิ (สมาชกิ และสหกรณอ นื่ ) 2.48 8 1.0417 8.33 3.62 8 1.0417 8.33

3. หมวดประสทิ ธภิ าพการทํารายได
3.1 กาํ ไรสุทธติ อ ทุนของสหกรณถวั เฉล่ยี 7.79 7 0.625 4.38 7.68 7 0.625 4.38
3.2 คา ใชจ า ยดาํ เนนิ งานตอ กาํ ไรกอนหักคาใชจ ายดําเนนิ งาน 5.25 8 0.625 5.00 4.41 8 0.625 5.00

4. หมวดคุณภาพสนิ ทรพั ยและปอ งกันความเส่ยี ง
4.1 หนท้ี ไ่ี มกอ ใหเกดิ รายไดตอ ลูกหนเ้ี งนิ กูท้ังสิน้ (สมาชกิ และสหกรณอ ่นื ) 0.00 8 0.4167 3.33 0.00 8 0.4167 3.33
4.2 สินทรัพยถ าวรตอทุนสํารอง 0.10 8 0.4167 3.33 0.10 8 0.4167 3.33
4.3 ลูกหนี้เงนิ กู (เฉพาะสมาชกิ )ตอ ทุนเรอื นหุนและรับเงินรับฝาก(เฉพาะสมาชกิ ) 1.60 1 4167 0.42 1.67 1 4167 0.42

รวม 58.33 60.42
ชั้นคุณภาพ D+ C
หมายเหตุ
(เขยี ว) ดเี ย่ยี มเกนิ ความคาดหมาย, ดเี ย่ียม, ดี, คอนขางดี
(เหลอื ง) สูงกวาคา ทีย่ อมรบั ได, คาทยี่ อมรบั ได
(แดง) ตอ งใชความพยายามในการปรบั ปรงุ , ตอ งใชความพยายามในการปรบั ปรงุ อยางมาก

รายงานประจําป 2564 147

ตนทุนเงินทนุ ถวั เฉล่ียถวงนํ้าหนัก (Weighted Average Cost of Capital : WACC )
การคํานวณตนทนุ เงนิ ทนุ ของสหกรณ โดยวิธีถวงนาํ้ หนกั ดว ยสดั สว นของตน ทุน
คาํ นวณ ณ วันที่ 31 ธ.ค. 64 คาํ นวณ ณ วันท่ี 31 ธ.ค. 63
แหลง ท่ีมาของเงินทนุ

จํานวนเงิน (%) ดอกเบย้ี ตนทนุ จาํ นวนเงิน (%) ดอกเบย้ี ตน ทนุ

ทุนเรอื นหนุ 2,739,770,160.00 36.50 5.50 2.01 2,592,411,470.00 38.72 5.60 2.17
เงินรับฝาก-ออมทรพั ย 147,105,644.42 1.96 1.50 0.03 102,074,605.44 1.52 1.50 0.02
-ออมทรัพยพิเศษ(ตํ่ากวา 5 ลา น) 134,012,318.26 1.79 2.35 0.04 116,223,784.16 1.74 2.75 0.05
มากกวา 5 ลาน - 7.5 ลา น 7,466,182.50 0.10 2.60 0.00 6,921,902.41 0.10 3.00 0.00
มากกวา 7.5 ลา น - 10 ลา น 0.00 0.00 2.85 0.00 0.00 0.00 3.25 0.00
มากกวา 10 ลาน - 15 ลา น 36,708,774.50 0.49 3.60 0.02 24,544,022.15 0.37 4.00 0.01
มากกวา 15 ลานบาทขน้ึ ไป 813,216,916.96 10.83 4.00 0.43 649,415,376.44 9.70 4.50 0.44
-ออมทรพั ยพเิ ศษ เอนกประสงค 447,951,444.36 5.97 3.45 0.21 346,774,063.33 5.18 3.85 0.20
-ออมทรัพยพ ิเศษ เปย มสขุ 17,139,785.67 0.23 3.40 0.01 12,051,704.30 0.18 3.80 0.01
-ออมทรพั ยพิเศษ พอเพยี ง 21,193,169.71 0.28 3.35 0.01 17,719,288.06 0.26 3.75 0.01
-ออมทรพั ยพิเศษ คุมครองชวี ติ 3.15 0.00 5,070,086.13 0.08 3.50 0.00
-ออมทรัพยส ัจจะ 6,773,520.62 0.09 3.32 0.00 4,137,681.51 0.06 3.71 0.00
-ออมทรัพยเกษียณสุข 4,791,415.84 0.06 4.00 0.02 22,445,972.44 0.34 4.50 0.02
35,129,429.53 0.47

ประจาํ ตอเนื่อง 30,985,200.00 0.41 3.60 0.01 30,206,000.00 0.45 4.00 0.02
ออมทรัพย - เพอื่ ลกู รกั 627,436.78 0.01 1.50 0.00 168,434.58 0.00 1.50 0.00
ออมทรัพย - เพอ่ื สาํ รองจา ยยามฉุกเฉนิ 40,347.66 0.00 2.50 0.00 7,919.36 0.00 2.50 0.00
เงนิ รับฝากจากสหกรณอน่ื (ไมเกนิ 1 ลาน) 203,882.63 0.00 2.00 0.00 199,375.85 0.00 2.50 0.00
มากกวา 1 ลาน - 10 ลาน 15,233,237.30 0.20 2.50 0.01 9,817,052.71 0.15 3.00 0.00
มากกวา 10 ลาน - 20 ลาน 15,320,338.17 0.20 2.75 0.01 19,549,651.46 0.29 3.25 0.01
มากกวา 20 ลาน บาทข้ึนไป 542,506,944.26 7.23 3.00 0.22 330,425,682.34 4.93 3.50 0.17
เงินรับฝาก สส.ชสอ. 60,127,397.26 0.80 2.50 0.02 0.00 0.00 0.00 0.00
เงินรับฝาก สอ. กรมควบคุมโรค 0.00 0.00 0.00 0.00 97,292,522.75 1.45 3.00 0.04
เงนิ รับฝาก สอ.พนักงานธนาคารทหารไทย 0.00 0.00 0.00 0.00 31,935,468.66 0.48 3.00 0.01
เงนิ รับฝาก สอ. กรมวทิ ยฯ 0.00 0.00 0.00 0.00 54,516,787.84 0.81 3.40 0.03
เงนิ รับฝาก สอ. กรมการปกครอง 0.00 0.00 0.00 0.00 50,884,646.97 0.76 3.50 0.03
เงนิ กยู ืม - ตว๋ั ธ.ทหาไทยธนชาต 140,000,000.00 1.87 2.50 0.05 0.00 0.00 0.00 0.00
เงนิ กูยมื - ต๋ัว ธ. ออมสนิ 120,000,000.00 1.60 2.90 0.05 0.00 0.00 0.00 0.00
เงนิ กูยืม - ตัว๋ ธ. แลนด แอนด เฮาส 250,000,000.00 3.33 2.80 0.09 250,000,000.00 3.73 3.00 0.11
เงินกู ชสอ. โครงการพเิ ศษ 3 460,000,000.00 6.13 3.20 0.20 484,000,000.00 7.23 3.20 0.23
เงินกู ชสอ. โครงการพเิ ศษ 5.2 235,000,000.00 3.13 3.25 0.10 295,000,000.00 4.41 3.25 0.14
เงินกู ชสอ. โครงการพเิ ศษ 5 342,000,000.00 4.56 2.85 0.13 0.00 0.00 0.00 0.00
เงินกู สอ. โรงพยาบาลตํารวจ ( ส. 1) 0.00 0.00 0.00 0.00 74,989,101.37 1.12 3.40 0.04
เงินกู สอ. โรงพยาบาลตาํ รวจ (ส. 2 ) 0.00 0.00 0.00 0.00 84,470,000.00 1.26 3.00 0.04
เงนิ กู สอ. กรมปาไม จาํ กัด 176,000,000.00 2.34 2.80 0.07 227,500,000.00 3.40 3.45 0.12
เงนิ กู สอ. วชิรพยาบาล 166,480,000.00 2.22 3.15 0.07 299,920,000.00 4.48 3.25 0.15
เงนิ กู สอ. วชริ พยาบาล 2 42,440,000.00 0.57 2.50 0.01 0.00 0.00 0.00 0.00
ทนุ สาํ รอง 249,624,363.36 3.33 0.00 0.00 224,440,365.99 3.35 0.00 0.00
ทุนสะสมตามระเบยี บ 3,474,146.85 0.05 0.00 0.00 3,887,594.93 0.06 0.00 0.00
กาํ ไรสทุ ธทิ ีย่ ังไมไ ดจ ดั สรร 245,112,774.02 3.27 0.00 0.00 226,827,215.37 3.39 0.00 0.00

รวม 7,506,434,830.66 100.00 3.80 6,695,827,776.55 100.00 4.07

148 รายงานประจาํ ป 2564

ตนทุนเงินทนุ ถวั เฉลีย่ ถว งนํ้าหนัก ณ 31 ธ.ค. 64 3.80 % ตอ ป ป 63
บวก ตนทุนในการบรหิ าร 0.18 % ตอป 4.07 % ตอป
รวมตนทนุ เงนิ ทุนท้ังส้ิน(จดุ คุมทุน) 3.98 % ตอป 0.16 % ตอ ป
4.23 % ตอ ป

- ดังน้ันการลงทุนหาผลประโยชน หรอื การใหสมาชิกกยู มื จะตอ งไดร ับผลตอบแทนหรือคดิ ดอกเบ้ยี ในอตั ราไมตํ่ากวา รอ ยละ
3.98 % ตอป (สุทธหิ ลงั จากหักเงนิ เฉลีย่ คืนเงินกแู ลวจงึ จะไมข าดทุน)
อตั ราผลตอบแทนถวั เฉลีย่ ถวงน้าํ หนกั (Weighted Average Rate of Return - WARR)
ณ วนั ที่ 31 ธ.ค. 64
ลําดับ การใชไ ปของเงนิ ทนุ จาํ นวนเงิน ผลตอบแทน จํานวน หมายเหตุ
(รอยละ) ผลตอบแทน
1 ลูกหนีใ้ หส มาชกิ กู - พเิ ศษ 550,844,423.00 5.550 30,571,865.48
77,424,950.00 5.600 4,335,797.20
- เงินกพู เิ ศษเพอ่ื พัฒนาฯ 18,333,684.00 5.550 1,017,519.46
- เงินกสู ามญั ปกต/ิ เงินกฉู กุ เฉิน 6,187,557,766.00 5.600 346,503,234.90
- เงนิ กอู ุทกภยั 12,399,691.00 5.250 650,983.78
- เงนิ กูโควิด 245,171,977.00 5.500 13,484,458.74
- ลกู หนอี้ ่นื 53,604,905.00 5.600 3,001,874.68
- ลกู หน้เี งนิ ใหส หกรณอ ื่นกู 242,400,000.00 3.250 5,470,302.05
2 ผลตอบแทน - หุนชุมนมุ สหกรณ 44,696,000.00 5.400 2,460,064.30
- หุนบริษัทสหประกนั ชีวติ 1,000,000.00 0.000 11,180.00
- หนุ ชมุ นุมสาธารณสุขไทย 50,000.00 5.000 637.81
3 ฝากในสหกรณอนื่ - สก. เตางอย 179,378.42 6.000 10,762.71
- พเิ ศษ (สก.กรป.กลางฯ) 798,314.00 4.250 33,928.35
- สก.โคนมวาริชภมู ิ 0.00 4.500 103,191.77
- สอ. สวนทองถิ่นกาฬสนิ ธ 7,500,000.00 4.000 424,289.05
รวม 7,441,961,088.42 408,080,090.26

อัตราผลตอบแทนถัวเฉล่ยี ถวงน้ําหนัก 408,080,090.26*100 =5.48
7,441,961,088.42
สหกรณมีตน ทนุ เงินทนุ ถวเฉลีย่ ถว งน้าํ หนกั คาปจจุบนั เทากบั 3.98 % ตอป
ในขณะที่มีอตั ราผลตอบแทนเงนิ ทุนถวั เฉลี่ยเทา กับ 5.48 % ตอ ป
สว นตา ง 1.50 % ตอป ไวจัดสรรเปนดังนี้
- ทนุ สํารอง
- คาบาํ รุงสนั นบิ าต
-เงนิ เฉลีย่ คืน
-ทุนสวสั ดิการตางๆ
-เงนิ โบนสั

มตทิ ่ปี ระชุม..................................................................................................................................................................................................
ลงคะแนน อนมุ ตั .ิ ...........................คะแนน ไมอนุมตั ิ......................คะแนน ไมออกเสยี ง………...…........คะแนน

รายงานประจําป 2564 149

4.2 เรอ่ื งพิจารณาจดั สรรกําไรสุทธิประจําป 2564
เสนอแนะการจดั สรรกาํ ไรสทุ ธปิ ระจําป 2564 กําไรสุทธจิ ํานวน 245,112,774.02 บาท ดังน้ี

รายการ ป 2564 ป 2563

บาท % บาท %

1. เปนทนุ สํารองไมนอ ยกวาอตั รารอ ยละ 10 ของกําไรสทุ ธิ 27,207,720.02 11.10 25,163,497.37 11.10

กฎหมายบงั คบั ไว

2. เปน คา บาํ รงุ สันนิบาตสหกรณแ หง ประเทศไทย 30,000.00 0.01 30,000.00 0.01

รอยละ 1 ของกําไรสทุ ธิ แตไ มเ กิน 30,000.00 บาท

กฎหมายบงั คบั ไว

3. เปน เงนิ ปน ผลรอยละ 5.50 แหงคา หนุ ที่ชาํ ระแลว ของ 145,953,044.00 59.55 140,432,710.00 61.91
สมาชกิ แตล ะคน โดยคดิ ใหต ามสว นระยะเวลาเปนรายวนั

จัดสรรตามขอ บังคับขอ 27 (1)

4. เปน เงินเฉลย่ี คืนรอ ยละ 14.00 ของดอกเบยี้ เงินกูทสี่ มาชิก 53,053,010.00 21.65 43,597,008.00 19.22

ไดท ําธุรกิจไวก ับสหกรณ

จัดสรรตามขอ บังคบั ขอ 27 (2)

5. เปนเงินโบนัสกรรมการและเจา หนา ทขี่ องสหกรณ 5,000,000.00 2.04 5,000,000.00 2.20

ไมเกนิ รอยละ 10 ของกําไรสุทธิ

จัดสรรตามขอบงั คบั ขอ 27 (3)

6. เปน ทุนรกั ษาระดบั อตั ราเงนิ ปน ผล ไมเกินรอยละ 2 4,000.00 0.00 4,000.00 0.00

แหงทนุ เรอื นหนุ ของสหกรณต ามทมี่ ีอยูในวันสนิ้ ปน้นั

จัดสรรตามขอบงั คบั ขอ 27 (4) 500,000.00 0.20 500,000.00 0.22
7. เปน ทนุ เพื่อการศกึ ษาอบรมทางสหกรณไมเ กนิ รอ ยละ 10
ของกําไรสทุ ธติ ามระเบยี บของสหกรณ

จัดสรรตามขอ บังคบั ขอ 27 (5)

8. เปน ทุนสาธารณประโยชนไมเกนิ รอยละ 10 ของกําไรสุทธิ 50,000.00 0.02 100,000.00 0.05

ตามระเบยี บของสหกรณ

จดั สรรตามขอ บังคับขอ 27 (6)

9. เปนทุนสวัสดิการ เพ่อื ชว ยเหลอื สมาชิกและครอบครัว 12,350,000.00 5.04 11,000,000.00 4.85

ไมเ กนิ รอ ยละ 10 ของกําไรสุทธิ ตามระเบยี บของสหกรณ
จัดสรรตามขอ บงั คบั ขอ 27 (7)

10. เปนทุนเพ่ือเสริมสรางความมัน่ คงใหแ กส หกรณ 965,000.00 0.39 1,000,000.00 0.44

จัดสรรตามขอบังคับขอ 27 (8)

รวมทง้ั สน้ิ 245,112,774.02 100 226,827,215.37 100

หมายเหตุ ป 2563 อตั ราปน ผล รอ ยละ 5.60

อตั ราเงินเฉลย่ี คนื รอยละ 12.00

150 รายงานประจาํ ป 2564

จัดสรรกําไรสทุ ธิประจาํ ป 2564 ตามท่เี สนอจะมีผลดังนี้

ผลการจัดสรรกาํ ไรสทุ ธิ ป 2564 % ป 2563
บาท 81.20 บาท %
1. กลบั มาเปน ของสมาชิก 199,006,054.00 16.75 184,029,718.00 81.14
2. เปน ประโยชนแ กส มาชกิ 41,076,720.02 2.04 37,767,497.37 16.65
3. เปน ของกรรมการและเจา หนา ที่ของสหกรณ 5,000,000.00 0.01 5,000,000.00 2.20
4. เปน ของสันนิบาตสหกรณ 100
30,000.00 30,000.00 0.01
รวมจดั สรรกาํ ไรสทุ ธิ 245,112,774.02 226,827,215.37 100

ป 2564 สหกรณคดิ อตั ราดอกเบ้ยี เงนิ ใหกแู กส มาชกิ ทุกประเภทดังนี้
1. เงนิ กูสามญั ปกติ , เงินกูฉุกเฉนิ , เงินกสู ามญั พเิ ศษ รอ ยละ 5.60 ตอป
2. เงนิ กสู ามญั พเิ ศษเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชีวติ และเงินกพู ิเศษ (กรณอี ายกุ ารเปน สมาชิกต่ํากวา 10 ป) รอ ยละ 5.60 ตอ ป
3. เงินกสู ามัญพเิ ศษเพ่อื พฒั นาคณุ ภาพชีวิตและเงินกพู ิเศษ (กรณอี ายกุ ารเปนสมาชิกตัง้ แต 10 ปข ้นึ ไป) รอยละ 5.55 ตอ ป

สหกรณคิดอตั ราดอกเบ้ยี เงินกู 5.60 ตอ ป
สมาชิกจา ยดอกเบย้ี 100 บาท รบั เฉลี่ยคนื 14.00 บาท
เงิน 100 บาท รับเฉลี่ยคนื 14.00 บาท
เงิน 5.60 บาท รบั เฉล่ยี คืน 14.00 x 5.60/100 = 0.78 บาท

สรปุ ตลอดป 2564 ดอกเบ้ียจายตลอดป = ดอกเบ้ยี จาย - ดอกเบย้ี รบั คืน
5.60 - 0.78 = 4.82

สมาชกิ จายดอกเบีย้ อตั รารอยละ 5.60 บาทตอป ดอกเบีย้ รบั คืน 0.78 สมาชิกจา ยดอกเบี้ยเพียงรอ ยละ 4.82 บาทตอ ป

สมาชกิ จา ยดอกเบยี้ อตั รารอยละ 5.55 บาทตอป ดอกเบย้ี รบั คนื 0.78 สมาชิกจายดอกเบีย้ เพยี งรอยละ 4.77 บาทตอ ป

สมาชิกจา ยดอกเบีย้ อตั รารอยละ 5.25 บาทตอ ป ดอกเบี้ยรบั คืน 0.74 สมาชกิ จายดอกเบ้ียเพียงรอยละ 4.51 บาทตอ ป

รายงานประจาํ ป 2564 151

สถติ ิอตั ราดอกเบยี้

14 สถติ ิอัตราดอกเบยี้ อัตราดอกเบ้ียเงนิ กู
12 อตั ราเงินปน ผล
10 2561 2562 2563 อัตราเงนิ เฉล่ียคืน
8 อัตราดอกเบย้ี เงินกู
14 6 2564 ป พ.ออศตััต. รราาเเงงินินปเฉนลผย่ี ลคืน
12 4
10 2 25621 559 25622560 25623561 25264562 ป พ.ศ2. 563 2564
80 5.80 5.75 5.75 5.75 5.75 5.60
6 2559 2560 25654.50
4 25559.50 25650.60 25651.60 25652.60 25653.60 5.6104.00
2 5.860.00 5.7150.50 5.7151.00 5.7151.00 5.7152.00 5.540.82
0 5.550.45 5.650.15 5.650.12 5.650.12 5.650.06 14.00
6.00 10.50 11.00 11.00 12.00 4.82
2559ป พ.ศ. 2560 5.45 5.15 5.12 5.12 5.06

อัตราดอกเบี้ยเงนิ กเู ฉลยี่

อัตราเงนิ ปป น ผพล.ศ.
อัตรอาตั ดรอากเงเินบเ้ียฉเลงิน่ียกคเูนื ฉลย่ี
อตั รอาตั เรงินาดปอนกผเลบยี้ จา ยจริง

อตั ราเงนิ เฉลยี่ คนื

อัตราดอกเบยี้ จา ยจรงิ

152 รายงานประจาํ ป 2564

แแผผนนภภูมูมกิ ิกาารรจจดั ดั สสรรรรกกาํ ําไไรรสสุททุ ธธิ ิปปรระะจจาํ ําปป 22556644

2211.6.655%% กกาํ าํไรไรสสทุ ุทธธิ ิ เงเนิงินปปนนผผลล(ร(อรอยยลละะ 55.5.500) )
5599.5.555%% 1166.7.755%% เงเินงนิ เฉเฉลลยี่ ยี่คคืนนื (ร(รออยยลละะ1144.0.000) )
22.0.044%% เปเปนน ปประระโยโยชชนนแ แกกสสมมาชาชิกิก
00.0.011%% เปเปนน ขขอองกงกรรรมรมกการาแรแลละะเจเจา าหหนนา ทา ทขี่ ่ีขอองสงสหหกกรรณณ 
เปเปนนขขอองสงสนั นันนิบบิ าตาตสสหหกกรรณณ 

ผผลลกกาารรจจัดัดสสรรรรกกําําไไรรสสทุ ทุ ธธิ ิ จจําํานนววนนเงเงนิ นิ ((บบาาทท)) รรอ อยยลละะ
11.. กกลลบั บั มมาาเปเปนนขขอองงสสมมาาชชกิ ิก
114455,9,95533,0,04444.0.000 5599.5.555
11.1.1เงเงินินปปนนผผลล(ร(รอ อยยลละะ 55.5.500)) 5533,0,05533,0,01100.0.000 2211.6.655
11.2.2เงเงินนิ เฉเฉลลยี่ ย่ี คคนื ืน(ร(รออ ยยลละะ1144.0.000)) 4411,0,07766,7,72200.0.022 1166.7.755
22..เปเปน นปปรระะโโยยชชนนแ แ กกส ส มมาาชชกิ กิ 22.0.044
33..เปเปน นขขอองงกกรรรรมมกกาารรแแลละะเจเจาาหหนนาาททข่ี ข่ี อองงสสหหกกรรณณ  55,0,00000,0,00000.0.000 00.0.011
44..เปเปน น ขขอองงสสนั ันนนิบบิ าาตตสสหหกกรรณณ  3300,0,00000.0.000 110000

รรววมมจจดั ดั สสรรรรกกําาํไไรรสสทุ ทุ ธธิ ิ 224455,1,11122,7,77744.0.022

มกมกาตาตรทิ ริทลป่ีลงป่ี งรครคะะะชะแชแมุ นุมนนน...….…อ…อ…น…น…มุ .ุม..ัต..ัต...ิ.....ิ.................................................................ค...ค..ะ..ะ.แ...แ..น...น..น...น............................ไ..ไม...ม..อ...อ..น...น..ุม...มุ..ัต...ัต...ิ.....ิ ................................................................ค...ค..ะ...ะ.แ..แ..น...น...น..น....................ไ...ไม...ม..อ...อ..อ...อ..ก..ก..เ..สเ...ส..ยี...ีย..ง..ง....................................................................ค..ค..ะ...ะ.แ...แ..น...น..น...น..

รายงานประจําป 2564 153

4.3 เรือ่ งพิจารณาเลอื กตงั้ ประธานกรรมการดาํ เนินการ กรรมการดาํ เนนิ การ ประจําป 2565

ตามพระราชบัญญัติสหกรณ พ.ศ. 2542 มาตรา 50 ใหส หกรณม คี ณะกรรมการดําเนินการสหกรณ
ประกอบดว ยประธานกรรมการหน่ึงคนและกรรมการอืน่ อีกไมเกินสบิ สคี่ นซ่งึ ทป่ี ระชุมใหญเ ลอื กตัง้ จากสมาชกิ

คณะกรรมการดาํ เนนิ การสหกรณ มวี าระอยูในตาํ แหนง คราวละสองปน บั แตวนั เลอื กตง้ั ในวาระเรมิ่ แรก
เมอ่ื ครบหนงึ่ ปนับแตว นั เลอื กตงั้ ใหกรรมการดาํ เนินการสหกรณออมทรัพยอ อกจากตาํ แหนง เปน จํานวนหนึ่งใน
สองของกรรมการดําเนินการสหกรณท ั้งหมดโดยวิธจี บั สลากและใหถ อื วา เปนการพนจากตําแหนง ตามวาระ
กรรมการดําเนนิ การสหกรณ ซึ่งพนจากตําแหนง อาจไดร บั เลือกต้ังอกี ได แตต อ งไมเกนิ สองวาระตดิ ตอ กัน

ในกรณีที่มีการเลอื กตง้ั กรรมการดาํ เนนิ การสหกรณแทนตาํ แหนง ท่วี า ง ใหก รรมการดําเนินการสหกรณท่ี
ไดรบั เลอื กตง้ั อยูในตาํ แหนงเทา กบั วาระทเ่ี หลอื อยูข องผทู ี่ตนแทน

ขอ บังคับสหกรณ (วรรคแรก)
ขอ 72. คณะกรรมการดาํ เนนิ การ ใหส หกรณม ีคณะกรรมการดาํ เนินการสหกรณ ประกอบดว ย

ประธานกรรมการหนึง่ คน และกรรมการดําเนินการอีกสบิ สค่ี น ซ่ึงที่ประชมุ ใหญเ ลือกตง้ั จากสมาชกิ การเลอื กตงั้
คณะกรรมการดําเนนิ การใหเปน ไปตามหมวด 12

ขอ 122. การเลือกตง้ั ประธานกรรมการและกรรมการดาํ เนนิ การใหป ระธานกรรมการสรรหาหรอื
กรรมการสรรหาท่ีไดรับมอบหมาย นาํ รายช่อื ผไู ดรบั คะแนนสงู สดุ เรยี งตามลาํ ดบั ไมเ กินจาํ นวนกรรมการท่ใี หมใี น
กลุมสมาชิกน้นั เสนอตอทปี่ ระชมุ ใหญแ ละใหท ี่ประชุมใหญเ ลอื กต้ังจากรายชอ่ื ท่เี สนอนน้ั เปน ประธานกรรมการ
และกรรมการดําเนินการ โดยวธิ ยี กมอื

ระเบียบวาดว ย การสรรหาประธานกรรมการ กรรมการดําเนนิ การ พ.ศ. 2564
ขอ 41. ใหท ป่ี ระชมุ ใหญแ ตงตงั้ ผแู ทนสมาชกิ จํานวนหนึง่ คน เพื่อทําหนา ที่เปนประธานกรรมการจัดการ
เลือกตง้ั โดยใหป ระธานกรรมการสรรหาหรือผทู ่ีประธานกรรมการสรรหามอบหมาย เสนอรายช่ือทงั้ หมดของผู
ผา นการสรรหาท่ไี ดค ะแนนสูงสดุ ในตาํ แหนง ประธานกรรมการและกรรมการดําเนนิ การ เรยี งตามลําดบั ไมเ กิน
จํานวนกรรมการทีพ่ ึงมีในกลุม สมาชกิ น้ันเสนอตอท่ีประชุมใหญเ พื่อพิจารณาเลอื กตงั้ เปน ประธานกรรมการและ
กรรมการดาํ เนนิ การ ดวยวิธกี ารยกมอื และใหถ อื วา เปนการเลือกตงั้ ท่ีสมบรู ณและชอบดว ยกฎหมาย
กรณกี ารเลือกต้งั ตามวรรคหนง่ึ หากทป่ี ระชมุ ใหญมมี ตไิ มเ ลือกสมาชกิ ทถี่ กู เสนอชื่อเปน ประธาน
กรรมการและกรรมการดาํ เนินการ ใหป ระธานคณะกรรมการสรรหาประกาศมตใิ หส มาชิกทราบโดยท่วั กนั แลว
ดําเนนิ การใหม กี ารลงคะแนนสรรหาเพอ่ื เลือกตง้ั เปนประธานกรรมการและกรรมการดาํ เนนิ การใหมภ ายใน 30 วัน
นบั แตวนั ทปี่ ระชุมใหญม มี ติ

154 รายงานประจําป 2564

รายงานประจําป 2564 155

156 รายงานประจาํ ป 2564

2. ผสู มคั รกรรมการดําเนนิ การ
2.1 กลุมสํานกั งานสาธารณสุขจงั หวดั สกลนคร
เลอื กตัง้ ได 1 ราย มีผสู มคั ร 2 ราย ดังนี้

หมายเลขผูส มคั ร ช่ือ - นามสกลุ ไดคะแนน
***1 นายวสิ ิทธ์ิ งว้ิ พรหม 2,061
2 นายยทุ ธนา ทิพยสุวรรณ 1,170
ไดค ะแนน
2.2 กลมุ โรงพยาบาลชุมชน 2,396
เลือกตงั้ ได 1 ราย มผี สู มัคร 2 ราย ดังนี้ 819

หมายเลขผสู มคั ร ช่อื - นามสกุล ไดค ะแนน
***1 นายวทิ ยา นาคา 2,044
2 นายสมเกยี รติ กันโฮมภู 1,917
1,768
2.3 กลมุ ทวั่ ไป 1,738
เลอื กตง้ั ได 4 ราย มผี ูสมคั ร 10 ราย ดงั น้ี 402
1,004
หมายเลขผสู มคั ร ชือ่ - นามสกุล 934
***1 นางสาวราณี วริ ิยะเจรญิ กิจ 586
***2 นางเพ็ชรมะณี พลราชม 727
***3 นางสาวฌฐธมิ ุข เครือบดุ ดี 776
***4 นายเทอดศักดิ์ จลุ นีย
5 จา เอกเชดิ ศักดิ์ เทศนเ รียน
6 นายประจกั ร เหิกขนุ ทด
7 นายถาวร เมฆราช
8 นายเอกสกล เลศิ ศิริอุดม
9 นายพีรพงศ ทองอนั ตงั
10 นายวรวุฒิ ทพิ ยสุวรรณ

รายงานประจาํ ป 2564 157
3. เสนอท่ีประชมุ ใหญเ ลือกตั้ง

- เสนอท่ีประชมุ ใหญเ ลือกตัง้ จากผทู ผี่ านการสรรหา ดงั น้ี
1. ประธานกรรมการดําเนินการ
นายธานี กอ บญุ
2. ตําแหนง กรรมการดาํ เนินการ
2.1 กลมุ สาํ นักงานสาธารณสุขจงั หวัดสกลนคร
นายวสิ ทิ ธ์ิ ง้ิวพรหม
2.2 กลุมโรงพยาบาลชุมชน
นายวทิ ยา นาคา
2.3 กลมุ ทั่วไป
1. นางสาวราณี วิริยะเจริญกจิ
2. นางเพ็ชรมะณี พลราชม
3. นางสาวฌฐธิมขุ เครือบดุ ดี
4. นายเทอดศักด์ิ จุลนีย

มตทิ ปี่ ระชุม..............................................................................................................................................................

158 รายงานประจําป 2564

4.4 พิจารณาการแกไ ขเพิ่มเตมิ ขอบังคับ

เพ่อื ใหเ ปน ไปตามกฎกระทรวงการดาํ เนนิ งานและการกาํ กับดแู ลสหกรณอ อมทรัพยแ ละสหกรณ
เครดติ ยูเนย่ี น พ.ศ. 2564 และระเบียบนายทะเบยี นสหกรณว า ดวยการตรวจสอบกจิ การของสหกรณ พ.ศ. 2563
ตามแบบรางของกรมสง เสริมสหกรณ และเพื่อใหการบรหิ ารงานมีประสทิ ธภิ าพเหมาะสมกับสภาพการปจ จบุ ัน

จงึ ขอแกไ ขเพิม่ เติมขอบงั คบั ดังนี้
1. ขอบงั คบั สหกรณออมทรัพยส าธารณสขุ สกลนคร จาํ กดั มกี ารใชคาํ วา “งบดุล” ซง่ึ ไมเ ปนไปตามหนงั สอื

กรมตรวจบญั ชีสหกรณ ที่ กษ 1115/889 ลงวนั ท่ี 26 มถิ นุ ายน 2557
จงึ ขอแกไ ขขอ บงั คบั สหกรณโดยใชค ําวา “งบแสดงฐานะการเงิน” แทนคาํ วา “งบดลุ ”
ทุกแหง ในขอบังคับสหกรณ ดงั น้ี
ขอ 21 , ขอ 22 , ขอ 71(3) , ขอ 79(3) , ขอ 82(5) , ขอ 94(10) และ ขอ 99
2. ขอแกไขเพมิ่ เตมิ ขอ บงั คบั ขอ 87. ดงั นี้

ขอ 87. คณะอนุกรรมการ ในกรณจี าํ เปน แกก ารดําเนนิ การ คณะกรรมการดาํ เนนิ การอาจมี
คําสง่ั แตง ต้ังอนุกรรมการตาง ๆ เพ่อื มอบหมายใหป ฏบิ ตั ภิ ารกิจของสหกรณ โดยมอี าํ นาจหนา ทต่ี ามที่
คณะกรรมการดําเนนิ การกาํ หนด

ขอ 87/1. คณะอนกุ รรมการบริหารความเสยี่ ง ใหค ณะกรรมการดําเนนิ การแตง ต้งั กรรมการ
ดาํ เนนิ การเปนคณะอนกุ รรมการบริหารความเสยี่ งจาํ นวน 5 คน โดยใหม ตี าํ แหนงประธานกรรมการ
คนหนงึ่ และ เลขานุการคนหนึง่ นอกน้นั เปน อนุกรรมการ

คณะกรรมการดําเนินการอาจแตง ตั้งบคุ คลภายนอกทเี่ ปนผูทรงคุณวุฒเิ ปน ทปี่ รึกษา
คณะอนุกรรมการได

คณะอนุกรรมการบริหารความเสย่ี งใหอยใู นตาํ แหนง ไดเทากบั กําหนดเวลาของคณะกรรมการ
ดําเนนิ การซง่ึ ตง้ั คณะอนุกรรมการบริหารความเสยี่ งนั้น

ใหค ณะอนกุ รรมการบริหารความเสยี่ งประชมุ กันตามคราวท่ีมีกิจธุระ หรอื มีการประชุมกนั เดือน
ละหนง่ึ คร้งั เปน อยางนอยและใหป ระธานอนกุ รรมการบรหิ ารความเสยี่ ง หรอื เลขานุการนัดเรยี กประชุมได

ในการประชมุ คณะอนุกรรมการบรหิ ารความเสยี่ ง ตอ งมอี นกุ รรมการมาประชมุ ไมน อยกวา
ก่งึ หนง่ึ ของจํานวนอนุกรรมการทง้ั หมด จงึ จะเปน องคป ระชุม

ขอ วินิจฉยั ทัง้ ปวงของคณะอนกุ รรมการบริหารความเสยี่ ง ใหเสนอคณะกรรมการดาํ เนินการ
ในการประชมุ คราวถดั ไปทราบและพจิ ารณา

ขอ 87/2. อาํ นาจหนา ทขี่ องคณะอนกุ รรมการบริหารความเสยี่ ง ใหค ณะอนุกรรมการบรหิ ารความ
เสย่ี งมอี าํ นาจและหนาทดี่ าํ เนินการตามกฎหมาย ขอ บงั คบั ระเบียบ มติ หรือคาํ สง่ั ของสหกรณใ นสว นที่
เกยี่ วขอ ง ซึ่งรวมทงั้ ในขอ ตอ ไปน้ี

(1) ศกึ ษา วเิ คราะห และกําหนดนโยบายการบรหิ ารความเสยี่ งเพือ่ เสนอตอ คณะกรรมการ
ดาํ เนินการพจิ ารณา โดยครอบคลมุ ถงึ ความเสยี่ งประเภทตาง ๆ เชน ความเสย่ี งดานสนิ เชือ่ การลงทุน
สภาพคลอ ง ปฏบิ ตั ิการและดา นอนื่ ๆ ใหส อดคลองกบั กลยทุ ธเ สนอคณะกรรมการดําเนนิ การอนุมตั ิ

(2) มอี ํานาจตดั สินใจในการดําเนนิ การใด ๆ ทเ่ี กย่ี วของ ภายใตข อบเขตความรับผดิ ชอบ
ทคี่ ณะกรรมการดาํ เนินการกําหนด

รายงานประจาํ ป 2564 159

(3) ประเมนิ ตดิ ตาม กาํ กับดแู ล และทบทวนความเพยี งพอของนโยบายเกยี่ วกับการบรหิ าร
ความเสย่ี งเพื่อใหกระบวนการบริหารความเสยี่ งมีประสทิ ธภิ าพและประสทิ ธิผล

(4) รายงานแผนดาํ เนินงานทค่ี วรปรับปรงุ แกไ ข ตลอดจนปจ จัยและปญหาที่มีนยั สําคญั
ใหแกค ณะกรรมการดาํ เนินการ เพอ่ื ใหส อดคลองกับการดาํ เนนิ กจิ การของสหกรณ

(5) กาํ กับดแู ลเรื่องธรรมาภบิ าลเกย่ี วกับการบรหิ ารความเสยี่ ง
(6) รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านใหค ณะกรรมการดาํ เนินการและตอทปี่ ระชมุ ใหญท ราบโดย
แสดงรายละเอยี ดในรายงานประจําป
(7) ปฏบิ ตั หิ นาที่อนื่ ตามทคี่ ณะกรรมการดาํ เนินการมอบหมาย
ขอ 87/3. คณะอนุกรรมการการลงทนุ ใหค ณะกรรมการดําเนินการแตง ตง้ั กรรมการดาํ เนนิ การเปน
คณะอนุกรรมการการลงทนุ จํานวน 5 คน และตองไมม กี รรมการดาํ เนนิ การที่เปน คณะอนกุ รรมการ
บรหิ ารความเสย่ี งเปนอนกุ รรมการดว ย โดยใหมตี าํ แหนง ประธานกรรมการคนหน่งึ และเลขานกุ ารคนหนงึ่
นอกนน้ั เปน อนุกรรมการ
คณะกรรมการดาํ เนนิ การอาจแตง ตงั้ บคุ คลภายนอกทเี่ ปนผทู รงคณุ วฒุ เิ ปน ทปี่ รึกษา
คณะอนกุ รรมการได
คณะอนกุ รรมการการลงทนุ ใหอยูในตาํ แหนงไดเ ทากบั กาํ หนดเวลาของคณะกรรมการ
ดาํ เนนิ การซึ่งตงั้ คณะอนุกรรมการการลงทุนนน้ั
ใหค ณะอนุกรรมการการลงทนุ ประชมุ กนั ตามคราวที่มกี ิจธรุ ะ หรือมีการประชมุ กัน
เดอื นละหนึง่ คร้งั เปนอยา งนอยและใหป ระธานอนกุ รรมการการลงทนุ หรอื เลขานุการนัดเรยี กประชุมได
ในการประชมุ คณะอนกุ รรมการการลงทนุ ตอ งมอี นกุ รรมการมาประชมุ ไมน อ ยกวาก่ึงหนง่ึ
ของจํานวนอนกุ รรมการทั้งหมด จึงจะเปน องคป ระชมุ
ขอ วนิ จิ ฉยั ทงั้ ปวงของคณะอนุกรรมการการลงทุนใหเสนอคณะกรรมการดําเนินการ
ในการประชุมคราวถดั ไปทราบและพจิ ารณา
ขอ 87/4. อํานาจหนา ทขี่ องคณะอนุกรรมการการลงทนุ ใหค ณะอนกุ รรมการการลงทนุ มีอํานาจ
และหนาทด่ี ําเนินการตามกฎหมาย ขอ บงั คบั ระเบยี บ มติ หรือคาํ สง่ั ของสหกรณใ นสว นที่เกยี่ วขอ ง ซ่งึ
รวมทัง้ ในขอ ตอไปน้ี
(1) ศึกษา วเิ คราะห และกาํ หนดนโยบายและแผนเกยี่ วกบั การลงทุนประจําปใ หส อดคลอ งกบั
นโยบายดานการบริหารความเสยี่ งโดยรวม และเสนอคณะกรรมการดาํ เนนิ การพิจารณาเพอ่ื เสนอใหท ี่
ประชมุ ใหญอนมุ ตั ิ
(2) พิจารณาอนุมตั แิ ผนการลงทนุ และแผนจดั การการลงทุน ภายใตข อบเขตทค่ี ณะกรรมการ
ดาํ เนินการกาํ หนด
(3) ประเมิน ตดิ ตาม และกํากบั ดแู ลผลประโยชนจ ากการลงทุน และจัดใหมีการควบคมุ
ภายในที่เหมาะสม
(4) กาํ กบั ดแู ลเรือ่ งธรรมาภบิ าลเกย่ี วกับการลงทุน
(5) รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านใหค ณะกรรมการดาํ เนนิ การทราบและรายงานผลการ
ปฏบิ ตั ิงานใหท ปี่ ระชุมใหญท ราบในรายงานประจําป
(6) ปฏบิ ตั ิหนา ทอ่ี ื่นตามทคี่ ณะกรรมการดาํ เนนิ การมอบหมาย

3. ขอแกไ ขเพ่มิ เตมิ ขอบงั คบั หมวดผตู รวจสอบกิจการ ขอ 102 ถงึ ขอ 105 ดงั น้ี 160 รายงานประจําป 2564

ขอ ความเดมิ รา งขอ บังคับใหม เหตผุ ลประกอบ

ผูตรวจสอบกจิ การ ขอ 102 ผตู รวจสอบกิจการ ใหท่ีประชมุ ใหญเลอื กตงั้ สมาชกิ หรอื บคุ คลภายนอกซ่ึงเปน - เปน การกาํ หนดการ
ขอ 102. ผูต รวจสอบกจิ การ ใหท ่ีประชมุ ใหญเ ลือกต้งั สมาชิก บคุ คลธรรมดา หรือนิตบิ คุ คล และเปน ผูท ม่ี ีคณุ วุฒคิ วามรคู วามสามารถในดานการเงิน เลอื กตง้ั ผตู รวจสอบ
หรอื บคุ คลภายนอก ผมู คี ุณวุฒิ ความรู ความสามารถในดา นธรุ กจิ การบญั ชี การบรหิ ารธุรกจิ เศรษฐศาสตร การสหกรณ หรือกฎหมายทเี่ กย่ี วของกบั กิจการโดยทป่ี ระชมุ
การเงนิ การบญั ชี การบริหารจัดการเศรษฐศาสตร การสหกรณ กฎหมาย สหกรณ และมีคุณสมบตั เิ ปนผูผา นการอบรมการตรวจสอบกจิ การจากกรมตรวจบัญชี ใหญแ ละเลือกจาก
ท่เี กย่ี วขอ งกบั สหกรณ และมีคุณสมบตั เิ ปน ผผู านการอบรมการตรวจสอบ สหกรณ หรอื หนวยงานอ่นื ทไี่ ดร ับการรบั รองหลักสตู รจากกรมตรวจบัญชสี หกรณ รวมท้ัง สมาชิกหรอื
กิจการจากกรมตรวจบญั ชีสหกรณ หรอื หนว ยงานอืน่ ท่ไี ดร ับการรับรอง ไมมีลกั ษณะตองหา มตามระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณ เปน คณะผตู รวจสอบกิจการของ บุคคลภายนอก หรอื
หลักสตู รจากกรมตรวจบญั ชสี หกรณ และไมม ลี กั ษณะตอ งหา มของผู สหกรณโ ดยมีจํานวน 4 คน นิติบคุ คล ท่มี ี
ตรวจสอบกจิ การ ตามระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณ จํานวน 4 คน เปนผู คณุ สมบตั แิ ละไมม ี
ตรวจสอบกจิ การของสหกรณ คณะผูตรวจสอบกิจการ ใหม ปี ระธานคณะหนึง่ คน และตองเปน ผมู ีวุฒกิ ารศกึ ษา ลกั ษณะตองหามตาม
ขอ 102/1. ขั้นตอนและวิธกี ารเลอื กต้ังผูตรวจสอบกิจการ ให ไมต า่ํ กวา ปรญิ ญาตรดี า นการเงิน การบญั ชี การบรหิ ารธรุ กิจเศรษฐศาสตร มหี นาท่ี ระเบยี บนายทะเบยี น
คณะกรรมการดาํ เนนิ การประกาศรบั สมคั รผตู รวจสอบกิจการและ ควบคมุ ดแู ลการปฏบิ ตั งิ านใหบรรลุวตั ถปุ ระสงคใ นการตรวจสอบกิจการ และใหประกาศ สหกรณฯ พรอ มทง้ั
พจิ ารณาคดั เลอื กผตู รวจสอบกจิ การทีม่ คี ุณสมบตั ิ และไมมลี กั ษณะ ช่อื ประธานคณะผตู รวจสอบกจิ การใหท ปี่ ระชุมใหญท ราบดว ย กําหนดจํานวนของผู
ตองหามตามระเบียบนายทะเบยี นสหกรณก ําหนด แลว นําเสนอชอื่ ผู ขอ 102/1. ข้นั ตอนวิธกี ารรับสมคั รและการเลอื กต้ังผตู รวจสอบกิจการ ให ตรวจสอบกิจการ
คณะกรรมการดําเนินการประกาศขน้ั ตอนและวิธกี ารเลือกตง้ั เปน ลายลกั ษณอกั ษรให
ตรวจสอบกจิ การทผ่ี านการคดั เลือกใหท ปี่ ระชุมใหญเ ลอื กตง้ั โดยวิธี สมาชิกทราบกอ นวันประชุมใหญแ ละใหป ระกาศรับสมคั รบคุ คลเขา รบั การเลือกตัง้ เปน
ลงคะแนนลบั และใหผ ไู ดร บั เลือกตง้ั ทีม่ คี ะแนนสูงสดุ เปนผตู รวจสอบ ผตู รวจสอบกิจการกอนวนั ประชุมใหญ และพจิ ารณาคดั เลอื กผตู รวจสอบกิจการทมี่ ี - เพ่อื กาํ หนดแนวทางการ
กิจการ หากมคี ะแนนเทากันใหป ระธานออกเสยี งเพม่ิ อกี หนงึ่ เสยี ง และให คณุ สมบตั แิ ละไมมลี กั ษณะตองหา มตามระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณก ําหนดเพื่อนําเสนอ ปฏิบัติการเลือกตั้งผตู รวจ
ผูทไี่ ดร ับเลอื กต้ังลาํ ดบั คะแนนรองลงมาเปนผตู รวจสอบกิจการสํารอง ชื่อผทู ผ่ี านการคดั เลือกเสนอใหท ป่ี ระชมุ ใหญเ ลอื กตง้ั ตามประกาศโดยวธิ ลี งคะแนนลบั สอบกจิ การใหเ ปน ไปตาม
จํานวน 2 คน โดยผูส มคั รเขารบั การเลอื กตงั้ เปนผตู รวจสอบกิจการตอ งแสดงตนตอ ที่ประชมุ ใหญด ว ย ระเบยี บนายทะเบียน
กรณผี ตู รวจสอบกจิ การไดพนจาก ตาํ แหนง ดว ยเหตตุ าม และใหผ ทู ีไ่ ดร ับเลือกตงั้ คะแนนสงู สดุ เปนผตู รวจสอบกจิ การ หากมคี ะแนนเทากันให สหกรณฯ

ขอ.103/1 (2) (3) (4) (5) ใหผ ตู รวจสอบกจิ การ สาํ รองปฏบิ ตั ิงานได ประธานออกเสยี งเพ่ิมอกี หนงึ่ เสยี งเปน เสยี งชขี้ าด ทั้งนี้ ใหผ ทู ไ่ี ดร ับเลือกต้ังลําดบั คะแนน
ทันทีเทา ระยะเวลาทผี่ ูตรวจสอบกจิ การคนเดิมคงเหลอื อยู หรอื จนกวา จะ รองลงมาเปนผตู รวจสอบกิจการสํารอง จาํ นวน 2 คน
มีการเลอื กต้ังผตู รวจสอบกิจการใหม กรณีมผี ตู รวจสอบกจิ การคนใดตองพนจากตําแหนงตามขอ 103/1. (2) (3) (4)
หรอื (5) ใหผตู รวจสอบกจิ การสาํ รองเขาปฏิบตั หิ นาที่ไดท นั ทเี ทาระยะเวลาทเี่ หลอื อยูของ
ผซู ึง่ ตนแทน หรอื จนกวา จะมีการเลอื กตง้ั ผตู รวจสอบกิจการใหม

ขอ ความเดมิ รา งขอบังคบั ใหม เหตผุ ลประกอบ

ขอ 103. การดาํ รงตาํ แหนงผูตรวจสอบกจิ การ ผตู รวจสอบกจิ การ ขอ 103. การดาํ รงตําแหนง ผตู รวจสอบกจิ การ ผตู รวจสอบกจิ การอยใู น
อยใู นตําแหนง ไดม กี ําหนดเวลาสองปท างบัญชีสหกรณ ถา เมอื่ ครบ ตําแหนง ไดม กี ําหนดเวลาสองปบญั ชสี หกรณ เมอ่ื ครบกําหนดเวลาแลว ยงั ไมม ี
กาํ หนดเวลาแลว ยงั ไมมกี ารเลอื กตัง้ ผตู รวจสอบกจิ การคนใหม กใ็ ห การเลอื กต้งั ผตู รวจสอบกจิ การคนใหม กใ็ หผ ตู รวจสอบกจิ การคนเดมิ ปฏบิ ตั ิ
ผตู รวจสอบกจิ การคนเดมิ ปฏบิ ตั หิ นา ทไ่ี ปพลางกอน ผตู รวจสอบ หนา ท่อี ยตู อไปจนกวา ทปี่ ระชุมใหญม มี ติเลอื กตงั้ ผตู รวจสอบกิจการคนใหม
กจิ การท่ีไดร ับเลอื กตงั้ ไปนนั้ อาจไดรับเลือกตงั้ ซา้ํ ได ผตู รวจสอบกิจการท่ีพนจากตาํ แหนง ตามวาระอาจจะไดร ับเลือกตง้ั จากที่ เพอื่ กาํ หนดการดาํ รงตําแหนง ผู
ประชมุ ใหญอกี ไดแ ตต องไมเ กนิ สองวาระติดตอกัน ตรวจสอบกจิ การใหเ ปน ไปตาม
ขอ 103/1. การพนจากตําแหนง ผตู รวจสอบกจิ การ ระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณฯ
ผตู รวจสอบกจิ การตอ งพนจากตําแหนง เพราะเหตุอยางใดอยางหนึ่ง กรณผี ตู รวจสอบกิจการขาดจากการเปนผตู รวจสอบกิจการกอนครบวาระ
ดงั ตอ ไปน้ี ใหกําหนดระเบยี บวาระการประชุมใหญเ พ่อื เลอื กตงั้ ผตู รวจสอบกจิ การคนใหม
(1) ถงึ คราวออกตามวาระ ในคราวประชุมใหญค ร้งั แรกหลงั จากผตู รวจสอบกจิ การคนนน้ั ขาดจากการเปน ผู
(2) ตาย ตรวจสอบกิจการ และนับวาระการดํารงตาํ แหนง ของผแู ทนตอเนอ่ื งจากผทู ต่ี น
(3) ลาออก โดยแสดงเหตผุ ลเปนหนงั สอื ย่นื ตอ มาดํารงตําแหนง
ประธานคณะผูตรวจสอบกิจการหรือย่ืนตอคณะกรรมการดําเนินการ ขอ 103/1. การพน จากตําแหนง ผตู รวจสอบกจิ การ ผตู รวจสอบกิจการตอ ง
สหกรณแ ลวแตก รณี พน จากตาํ แหนง เพราะเหตอุ ยา งใดอยา งหนง่ึ ดงั ตอ ไปน้ี
(4) ทปี่ ระชุมใหญข องสหกรณล งมติถอดถอนผู (1) พนจากตําแหนงตามวาระ
ตรวจสอบกจิ การซึง่ เปนบคุ คลธรรมดา หรือนติ ิบคุ คล ออกจาก (2) ตาย
ตําแหนงทง้ั คณะหรอื รายบคุ คล (3) ลาออก โดยแสดงเหตผุ ลเปนหนงั สือยื่นตอประธานคณะผู เพ่อื กําหนดการพนจากตําแหนงผู รายงานประจําป 2564
(5) นายทะเบยี นสหกรณว ินิจฉัยวา ขาดคุณสมบตั ิ ตรวจสอบกจิ การหรอื ยน่ื ตอคณะกรรมการดําเนนิ การสหกรณแ ลวแตกรณี ตรวจสอบกิจการใหเปน ไปตาม
หรือมลี ักษณะตอ งหา มตามระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณก ําหนด และใหม ผี ลวนั ทปี่ ระชุมคณะกรรมการดําเนินการสหกรณมีมตริ บั ทราบ ระเบียบนายทะเบยี นสหกรณฯ

(4) ทป่ี ระชุมใหญข องสหกรณลงมตถิ อดถอนผตู รวจสอบกจิ การซึ่ง
เปนบคุ คลธรรมดา หรอื นติ ิบคุ คล ออกจากตําแหนง ท้ังคณะหรอื รายบคุ คล
(5) อธบิ ดกี รมตรวจบัญชสี หกรณว นิ ิจฉยั วาขาดคณุ สมบตั ิ หรอื มี
ลกั ษณะตองหา มตามระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณกาํ หนด

161

ขอ ความเดมิ รา งขอ บงั คับใหม เหตผุ ลประกอบ 162 รายงานประจําป 2564
ขอ 104. อาํ นาจหนา ทข่ี องผูตรวจสอบกจิ การ ผตู รวจสอบกจิ การมี ขอ 104 อาํ นาจหนา ทขี่ องผตู รวจสอบกจิ การ ผตู รวจสอบกจิ การมีอาํ นาจหนา ท่ี เพือ่ ใหหนาทขี่ องผู
อาํ นาจหนา ทตี่ รวจสอบการดาํ เนนิ งานทงั้ ปวงของสหกรณซง่ึ รวมท้ังในขอ ตรวจสอบการดําเนนิ งานท้ังปวงของสหกรณ ทง้ั ดา นการปฏบิ ัตงิ านเกย่ี วกบั ตรวจสอบกจิ การ
ดังตอไปน้ี คือ การเงิน การบญั ชี และดานปฏิบตั กิ ารในการดาํ เนินธุรกจิ ตามที่กาํ หนดไวใ น สหกรณใหค รบถวน
ขอบงั คบั ของสหกรณ รวมทง้ั การประเมินผลการควบคุมภายใน การรกั ษาความ เปนไปตามระเบยี บนาย
(1) ตรวจสอบเอกสาร สรรพสมุด บญั ชี ทะเบยี นและการเงนิ ปลอดภยั ของขอมลู สารสนเทศของสหกรณ และการตรวจสอบในเรือ่ งตาง ๆ ดังนี้ ทะเบียนสหกรณฯ
ตลอดจนทรพั ยส ินและหนสี้ นิ ทัง้ ปวงของสหกรณ เพอ่ื ทราบฐานะและ
ขอ เทจ็ จรงิ ของสหกรณทเ่ี ปน อยจู รงิ (1) ตรวจสอบความถกู ตอ งของการบันทกึ บญั ชเี พอ่ื ใหเปน ไปตามแบบ
และรายการทน่ี ายทะเบยี นสหกรณก าํ หนด
(2) ตรวจสอบหลักฐานและความถูกตองของการดําเนินธรุ กจิ แต
ละประเภทของสหกรณ เพื่อประเมนิ ผลและอาจใหขอ แนะนาํ แก (2) ประเมนิ ความมปี ระสทิ ธภิ าพและประสทิ ธผิ ลการดาํ เนินการของ
คณะกรรมการดําเนินการผูจดั การและเจา หนา ท่ขี องสหกรณ ทั้งทาง คณะกรรมการดาํ เนนิ การเพ่ือใหข อ สงั เกตและขอ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ การ
วชิ าการและทางปฏบิ ตั ใิ นกจิ การน้นั ๆ บรหิ ารงานของคณะกรรมการดาํ เนนิ การใหเปน ไปตามกฎหมาย ขอ บงั คับ และ
ระเบยี บของสหกรณ
(3) ตรวจสอบการจดั จางและแตงตั้งเจา หนาทขี่ องสหกรณ
ตลอดจนหนงั สือสัญญาจา งและหลักประกนั (3) สอบทานระบบการปฏบิ ตั งิ านของสหกรณ เพอ่ื ใหเปนไปตาม
กฎหมาย ระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณข อ บงั คบั และระเบียบของสหกรณ รวมทงั้
(4) ตรวจสอบการปฏิบตั งิ านตามแผนงาน และการใชจ า ยเงิน คําสงั่ นายทะเบยี นสหกรณ สํานักงานสหกรณจังหวดั สํานกั งานตรวจบญั ชีสหกรณ
งบประมาณรายจา ยประจาํ ปของสหกรณ กาํ หนดใหต อ งปฏบิ ตั ิ

(5) ตดิ ตามผลการดาํ เนนิ งานของคณะกรรมการดาํ เนินการ เพอ่ื (4) ตรวจสอบและสอบทานระบบการควบคุม ดแู ลรักษาทรพั ยส ินของ
พิจารณาหาทางปรบั ปรุงแผนงาน ขอบังคบั ระเบยี บ มติ ตลอดจนคําส่ัง สหกรณ วเิ คราะหและประเมนิ ความมปี ระสทิ ธิภาพการใชท รพั ยสนิ ของสหกรณ
ตา ง ๆ ของสหกรณ เพอื่ ใหก ารใชทรัพยส นิ เปน ไปอยางเหมาะสมและคุมคา

(6) ตรวจสอบการปฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ขอบงั คับ ระเบยี บ มติ (5) ตรวจสอบและตดิ ตามการดาํ เนินงานของสหกรณในการพจิ ารณา
และคาํ สงั่ ของสหกรณห รอื กจิ การอื่น ๆ เพื่อใหเกดิ ผลดแี กการดําเนนิ แกไ ข ขอสงั เกตหรือขอบกพรองเกยี่ วกบั การดําเนินงานทีไ่ ดร บั แจงจากสํานกั งาน
กิจการของสหกรณก ารตรวจสอบกิจการและการดาํ เนินงานของสหกรณ ผู สหกรณจังหวดั สาํ นกั งานตรวจบญั ชีสหกรณห รือผสู อบบญั ชี
ตรวจสอบกิจการตอ งปฏบิ ตั งิ านตามแนวปฏบิ ัตกิ ารตรวจสอบกจิ การทกี่ รม
ตรวจบัญชสี หกรณก าํ หนด

คณะผตู รวจสอบกจิ การตอ งกาํ หนดขอบเขตการตรวจสอบและเสนอ รายงานประจําป 2564
รายงานผลการตรวจสอบเฉพาะดานเพมิ่ เติมในเรือ่ งดงั ตอไปน้ี

(1) ตรวจสอบรายงานทางการเงิน ใหค ณะผตู รวจสอบกิจการตรวจสอบ
และเสนอรายงานผลการตรวจสอบเกยี่ วกบั การเปดเผยรายการในงบการเงินของ
สหกรณเ ปน ไปโดยถูกตอ ง และไดป ฏบิ ตั ติ ามกฎหมาย ประกาศ คาํ ส่งั ระเบยี บ
คาํ แนะนาํ แนวปฏบิ ตั ทิ น่ี ายทะเบยี นสหกรณกําหนด ตรวจสอบการจดั ทํารายการ
ยอแสดงสนิ ทรพั ยแ ละหนสี้ ินครบถว นและไดเ ปด เผยใหสมาชิกไดรบั ทราบเปน
ประจําทกุ เดอื น รวมทั้งไดม กี ารจัดสง ขอมลู รายงานทางการเงนิ ตามแบบและ
รายการท่ีกาํ หนดในกฎกระทรวง

(2) ตรวจสอบการบริหารความเสยี่ ง ใหค ณะผตู รวจสอบกจิ การ
ตรวจสอบการวางกลยุทธด านการบริหารความเสยี่ งใหส อดคลอ งกบั นโยบายการ
บริหารความเสย่ี ง และเสนอรายงานผลการตรวจสอบเกยี่ วกบั การกําหนดนโยบาย
และการวางกลยทุ ธการบริหารความเสย่ี ง เชน ความเสยี่ งดา นสินเชอ่ื ความเสยี่ ง
ดานการลงทุน ความเสย่ี งดา นสภาพคลอ ง ความเสย่ี งดา นการปฏบิ ตั ิการ เปนตน
เพ่อื ใหก ารบรหิ ารความเสยี่ งของสหกรณเ ปนไปตามนโยบายทกี่ ําหนดไว

(3) ตรวจสอบการบรหิ ารดานสินเชอื่ ใหค ณะผตู รวจสอบกิจการตรวจสอบ
และเสนอรายงานผลการตรวจสอบเกย่ี วกบั การใหส ินเชื่อประเภทตาง ๆ ของ
สหกรณใหเ ปน ไปตามนโยบายดานสินเชอ่ื ทวี่ างไวส ามารถประเมิน ตดิ ตามและ
ดแู ลความเสย่ี งท่อี าจเกดิ ขน้ึ จากการทลี่ ูกหนไ้ี มส ามารถชําระหนี้ไดต ามกําหนดใน
สญั ญา ตรวจสอบการวางกลยุทธและระบบปฏบิ ัตกิ ารใหเ ปน ไปตามนโยบายดา น
สนิ เชอ่ื และหลกั เกณฑที่กาํ หนดไวในกฎกระทรวง

(4) ตรวจสอบการบรหิ ารดานการลงทนุ ใหค ณะผตู รวจสอบกจิ การ
ตรวจสอบและเสนอรายงานผลการตรวจสอบเกยี่ วกบั การกาํ หนดนโยบายดา นการ
ลงทนุ โดยการลงทนุ ของสหกรณต อ งอยูภายใตน โยบายท่กี ําหนดและเปนไปตาม
กฎหมายสหกรณ และไดดาํ เนินการภายใตเกณฑท กี่ ําหนดในกฎกระทรวง

163

(5) ตรวจสอบการบริหารสภาพคลอ ง ใหค ณะผตู รวจสอบกิจการตรวจสอบ 164 รายงานประจําป 2564
และเสนอรายงานผลการตรวจสอบเกย่ี วกบั การกาํ หนดนโยบายหรือแผนงานใน
การควบคมุ การบริหารความเสย่ี งดานสภาพคลองของสหกรณ การดาํ รงสนิ ทรพั ย
สภาพคลอ งใหเปน ไปตามทก่ี ําหนดในกฎกระทรวง
กรณีพบการทจุ ริต การขดั แยงทางผลประโยชนห รือมีสิง่ ผดิ ปกตหิ รอื มี
ความบกพรอ งทสี่ าํ คญั ในระบบการควบคมุ ภายใน การฝาฝน กฎหมายสหกรณหรือ
กฎหมายอื่นทเี่ กยี่ วของ การฝาฝนระเบียบ คาํ ส่ังนายทะเบยี นสหกรณ คณะผู
ตรวจสอบกิจการตอ งเปด เผยไวใ นรายงานผลการตรวจสอบกจิ การและนําเสนอ
ตอทป่ี ระชุมคณะกรรมการดาํ เนินการสหกรณแ ละท่ปี ระชุมใหญ
ขอ 104/1. การรายงานผลการตรวจสอบ ใหผ ตู รวจสอบกจิ การรายงาน ขอ 104/1. การรายงานผลการตรวจสอบ ใหผ ตู รวจสอบกิจการมหี นา ที่รายงาน
ผลการตรวจสอบประจาํ เดือนและประจาํ ป รวมท้ังขอสงั เกตขอเสนอแนะ ผลการตรวจสอบ เปนลายลักษณอ กั ษรประจาํ เดอื นและประจําป เพอื่ สรุปผลการ
เปน ลายลกั ษณอักษร และเขา รว มประชมุ เพ่อื แจงผลการตรวจสอบ ตรวจสอบ รวมทั้งขอ สังเกตขอ เสนอแนะท่เี ปนประโยชน และเขา รว มประชมุ
ประจําเดือนตอ คณะกรรมการดําเนนิ การในการประชุมประจําเดอื นคราว คณะกรรมการดําเนนิ การเพอ่ื แจง ผลการตรวจสอบประจาํ เดอื นทผี่ า นมา เขา รวม เพอ่ื ใหผ ตู รวจสอบ
ถดั ไป และรายงานผลการตรวจสอบประจาํ ปต อ ท่ีประชุมใหญของสหกรณ ประชุมใหญเ พอ่ื รายงานผลการตรวจสอบประจาํ ปเสนอตอ ทป่ี ระชุมใหญข อง กจิ การรายงานผลการ
ดว ย สหกรณด ว ย ตรวจสอบกจิ การให
กรณีทผ่ี ตู รวจสอบกจิ การพบวามเี หตุการณท อ่ี าจกอใหเกดิ กรณพี บวา มีเหตกุ ารณท่อี าจกอใหเ กดิ ความเสยี หายแกสหกรณห รอื สมาชิก ครบถวนเปนไปตาม
ความเสยี หายแกส มาชิกของสหกรณอ ยา งรายแรง หรือสหกรณมีการปฏิบตั ิ หรือสหกรณมกี ารปฏบิ ตั ิไมเ ปน ไปตามกฎหมาย ระเบยี บ คําสั่ง ประกาศหรอื ระเบยี บนายทะเบยี น
ไมเปน ไปตามกฎหมาย ระเบียบ คําสง่ั ประกาศหรือคําแนะนาํ ของทาง คาํ แนะนาํ ของทางราชการ รวมทง้ั ขอ บงั คบั ระเบยี บ มติทปี่ ระชมุ หรือคําส่งั ของ
ราชการ รวมท้ังขอ บงั คบั ระเบียบ มติท่ปี ระชุมหรือคาํ สง่ั ของสหกรณจ น สหกรณท ีอ่ าจจะกอใหเกดิ ความเสยี หายแกสมาชกิ หรอื สหกรณ สหกรณฯ

กอใหเ กดิ ความเสยี หายแกส มาชกิ และสหกรณอยา งรา ยแรง ใหแจงผลการ อยางรา ยแรง ใหแ จงผลการตรวจสอบกิจการตอคณะกรรมการดําเนินการทันที
ตรวจสอบตอ คณะกรรมการดําเนินการทันทเี พื่อดาํ เนนิ การแกไข และให เพอ่ื ดําเนนิ การแกไข และใหจ ัดสง สําเนารายงานดังกลาวตอ สาํ นักงานตรวจบญั ชี
จดั สงสาํ เนารายงานดงั กลาว ตอ สาํ นกั งานตรวจบญั ชสี หกรณ และ สหกรณ และสํานกั งานสหกรณจังหวดั โดยเรว็
สํานักงานสหกรณจ ังหวัด/สาํ นกั งานสง เสริมสหกรณกรุงเทพมหานคร ท่ี ใหผ ตู รวจสอบกจิ การตดิ ตามผลการดําเนินการแกไ ขขอ บกพรอ ง ขอ สังเกต
กํากับดแู ลโดยเรว็ และใหรายงานผลการติดตามการแกไ ขขอบกพรอง ขอ สังเกตของสหกรณไ วใ น
ใหผ ตู รวจสอบกิจการตดิ ตามผลการแกไ ขตามรายงานการ รายงานผลการตรวจสอบกจิ การดว ย
ตรวจสอบ และสําเนารายงานผลการแกไ ขและผลการตดิ ตามของผู
ตรวจสอบกจิ การ ตอสํานักงานตรวจบญั ชีสหกรณ สาํ นักงานสหกรณ
จงั หวดั ทก่ี าํ กับดแู ล

ขอ ความเดมิ รางขอบังคับใหม เหตผุ ลประกอบ
เพ่ือเปนการกําหนด
ขอ 105. ความรบั ผิดของผตู รวจสอบ กจิ การ กรณผี ตู รวจสอบกจิ การ ขอ 105. ความรบั ผดิ ของผตู รวจสอบกิจการ กรณผี ตู รวจสอบกิจการปฏบิ ตั ิหรอื ขอบเขตความรบั ผดิ ของ
ปฏบิ ตั หิ รือละเวน การปฏิบตั ติ ามอาํ นาจหนา ท่ี หรอื ประพฤตผิ ิดจรยิ ธรรม ละเวน การปฏบิ ตั ติ ามอํานาจหนาที่ หรอื ประพฤตผิ ดิ จรยิ ธรรมในการปฏบิ ัตงิ าน ผตู รวจสอบกิจการตาม
ในการปฏิบตั งิ านจนเปนเหตใุ หส หกรณไดร ับความเสยี หาย ผตู รวจสอบ จนเปนเหตใุ หสหกรณไ ดรับความเสยี หาย ผตู รวจสอบกิจการตอ งรับผดิ ชอบชดใช ระเบียบ
กจิ การตอ งรับผดิ ชอบชดใชค า เสยี หายใหแ กส หกรณ หรือหากตรวจพบ คาเสยี หายใหแ กส หกรณ หรอื หากตรวจพบขอ บกพรองของสหกรณต อ งแจง ให นายทะเบยี นสหกรณฯ
ขอบกพรองของสหกรณ ตอ งแจงใหคณะกรรมการดําเนนิ การทราบโดยเรว็ คณะกรรมการดําเนนิ การทราบโดยเร็ว และผตู รวจสอบกจิ การตอ งรับผดิ ชอบ ขอ 24
ผตู รวจสอบกจิ การตอ งรบั ผดิ ชอบชดใชค า เสยี หายอนั จะเกดิ แกส หกรณดว ย ชดใชค าเสยี หายอนั จะเกดิ แกส หกรณด วยเหตุไมแ จงนั้น
เหตุไมแ จง นั้น การพิจารณาความรับผดิ ของผตู รวจสอบกิจการใหเ ปนไปตามมติของที่
การพจิ ารณาความรบั ผดิ ชอบของผตู รวจสอบกจิ การใหเปน ไป ประชุมใหญ
ตามมตทิ ่ีประชมุ ใหญ

ขอ 105/1. สหกรณมีหนา ทตี่ อผตู รวจสอบกิจการดงั นี้ เพ่อื ใหส หกรณมหี นา ท่ี
(1) อาํ นวยความสะดวก ใหค วามรวมมือแกผ ตู รวจสอบกิจการ ในการให ปฏบิ ตั ิตอ ผตู รวจสอบ
คาํ ชแ้ี จงตอบขอ ซกั ถามตา งๆ พรอ มทง้ั จัดเตรยี มขอ มลู เอกสารหลกั ฐาน กจิ การตามระเบียบนาย
ประกอบการบันทกึ บญั ชขี องสหกรณเพอื่ ประโยชนในการตรวจสอบกจิ การ ทะเบยี นสหกรณฯ
(2) กําหนดระเบยี บวาระการประชมุ ใหผตู รวจสอบกจิ การรายงานผล
การตรวจสอบกจิ การประจําเดอื นและจัดทาํ หนงั สอื เชิญใหผ ตู รวจสอบกิจการเขา รายงานประจําป 2564
รว มประชุมคณะกรรมการดําเนนิ การสหกรณทกุ ครง้ั
(3) พจิ ารณาปฏบิ ตั ติ ามขอ สงั เกตและขอ เสนอแนะของผตู รวจสอบ
กิจการ เพือ่ ใหก ารดําเนนิ กจิ การของสหกรณเ ปนไปโดยถกู ตอ งตามกฎหมาย
ระเบยี บ และขอ บังคบั ของสหกรณ

มตทิ ่ีประชุม ..………..................................................................................................................................................
การลงคะแนน อนุมตั .ิ ................ คะแนน ไมอ นมุ ัต.ิ ................ คะแนน ไมออกเสยี ง................ คะแนน

165

166 รายงานประจาํ ป 2564

4.5 พจิ ารณาอนุมตั ิแผนยทุ ธศาสตร ประมาณการรายรบั - รายจาย ประจาํ ป 2565
แผนยทุ ธศาสตรส หกรณอ อมทรพั ยสาธารณสขุ สกลนคร จํากัด
พ.ศ. 2564 - 2568
****************

วสิ ยั ทศั น (VISION)
เปน สหกรณช ้นั นาํ ระดับประเทศ นาํ พามวลสมาชกิ สคู ุณภาพท่ดี ี ภายใตการบรหิ ารจดั การตามหลักธรรมมาภบิ าล
และมาตรฐานคณุ ภาพบรหิ ารจัดการสหกรณ
พันธกจิ (MISSION)

- พฒั นาคุณภาพการบริหารจัดการตามมาตรฐานคุณภาพจดั การสหกรณ
- พฒั นาประสทิ ธภิ าพการบรกิ ารทางการเงิน
- จัดสวัสดกิ ารใหค รอบคลมุ และทั่วถึงและเหมาะสม
- พัฒนาระบบเทคโนโลยี สารสนเทศใหม ปี ระสิทธภิ าพและเช่อื มโยงเครอื ขา ยอน่ื
- พฒั นาสมรรถนะบคุ ลากรเพอื่ ใหสคู วามเปนเลศิ
- สรา งความรว มมือกับภาคเี ครือขายสหกรณแ ละเออื้ อาทรตอชุมชน
เปา หมายสงู สุด

สหกรณเปน องคกรทม่ี คี วามมน่ั คงและพง่ึ ตนเองได เพ่ือนําไปสูก ารมคี ณุ ภาพชีวติ ทด่ี ขี องสมาชกิ
เปา ประสงค( Goal)

1. บรหิ ารจดั การสหกรณภ ายใตห ลกั ธรรมาภิบาล
2. การบรกิ ารของสหกรณส รา งความพงึ พอใจและประโยชนส ูงสดุ แกสมาชกิ
3. ระบบขอมลู ขา วสารและเทคโนโลยสี ารสนเทศทค่ี รบถว น ถกู ตอ งและทนั เวลาเพ่อื สนบั สนุนการบรหิ าร

จัดการท่ีมีประสิทธิภาพ
4. สมาชิกสหกรณม คี วามเช่ือมนั่ ศรทั ธาตอ การบรหิ ารจดั การของสหกรณ
นโยบาย
1. บรหิ ารจัดการสหกรณมุงสวู สิ ยั ทศั น พนั ธกจิ และเปาหมายทวี่ างไว
2. เพิม่ ประสทิ ธภิ าพการบรหิ ารจดั การสหกรณใ หม น่ั คง มวลสมาชิกพงึ พอใจ ดว ยการมสี ว นรว ม เพอ่ื สราง

ความเจรญิ เตบิ โตแบบยั่งยนื
3. เพิ่มพนู ความรูแ ละเสริมสรางคณุ ภาพชวี ิตแกม วลสมาชกิ ใหด ยี ิ่งข้ึน
4. นําเทคโนโลยีสารสนเทศมาใชใ นการบรหิ ารจัดการเพอ่ื ใหบ รรลุประสิทธิผล
5. เพ่มิ ศกั ยภาพของกรรมการดาํ เนินการ ฝายจดั การเพ่อื การบรหิ ารจดั การสหกรณ
6. เปนผนู ําการเชอื่ มโยงเครอื ขายสหกรณ
คานิยมรว ม (Core Values) : สหกรณม ่ันคง โปรง ใส ใสใ จสมาชิก
ประเด็นยทุ ธศาสตร
ประเด็นยทุ ธศาสตรที่ 1 ยกระดบั การบริหารทุนทเี่ อ้อื ตอ ความม่นั คงของสหกรณ
ประเด็นยทุ ธศาสตรท ี่ 2 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการใหไ ดม าตรฐาน
ประเด็นยุทธศาสตรท ่ี 3 การพฒั นาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
ประเด็นยทุ ธศาสตรที่ 4 การพัฒนาศักยภาพของบคุ ลากร

รายงานประจําป 2564 167

1. แผนงานประจําปส หกรณออมทรพั ยส าธารณสุขสกลนคร จํากัด พ.ศ. 2565
***************************************************

ประเด็นยุทธศาสตร 1 ยกระดบั การบรหิ ารทุนทีเ่ ออื้ ตอ ความม่ันคงของสหกรณ
เปา ประสงค สรา งความมั่นคงอยางย่ังยืนดานการเงนิ สหกรณ
กลยทุ ธ

1. บรหิ ารเงินทนุ อยา งมปี ระสิทธิภาพ
2. สง เสรมิ การออมสกู ารปลอดหนว้ี ยั เกษยี ณ
3. โครงสรา งทางการเงินของสหกรณเขาเกณฑมาตรฐาน
4. ออกผลติ ภัณฑท างการเงนิ
5. เพม่ิ จาํ นวนสมาชิก
ตัวชวี้ ดั
1. รอยละ 40 ของเงินฝากสมาชิกเพิม่ ขึน้ จากปท ่ผี า นมา
2. รอยละ 100 ของลกู หนเี้ งนิ กปู กตชิ าํ ระไดตามกาํ หนด
3. รอ ยละ 100 ของลกู หนปี้ รบั โครงสรางหนี้ชาํ ระหนีไ้ ดต ามกาํ หนด
4. รอ ยละ 100 ของปรมิ าณธรุ กิจใหมเ พม่ิ ข้นึ จากปท ผี่ านมา
5. รอ ยละ 1 ของกําไรสทุ ธเิ พ่มิ ขึน้ จากปท ีผ่ านมา
6. รอยละ 30 ของจํานวนสมาชกิ สามัญมีการฝากเงินแบบตอ เนื่องทกุ ๆเดือน
7. รอยละ40 ของจํานวนสมาชกิ เขาเปนสมาชิกสมาคมฌาปนกจิ สงเคราะหเพม่ิ ขน้ึ
8. รอ ยละ 5 ของจาํ นวนสมาชกิ เขา รวมโครงการปลกู ปาเพอ่ื การออม
9. รอ ยละ 80 ของจํานวนสมาชิกทเ่ี ขาถงึ เงนิ กูพ ิเศษแบบประกอบอาชพี ท่มี รี ายไดงอกเงยเพม่ิ
10. รอ ยละ 65 ขนึ้ ไปของคะแนนการประเมนิ ตนเองดานโครงสรา งทางการเงนิ ตามเกณฑม าตรฐาน

การบรหิ ารจัดการสหกรณ
11. จํานวนคร้ังของการทบทวนและออกผลติ ภัณฑร ับฝากเงิน เงนิ กู ปล ะ 2 คร้งั
12. รอ ยละ 30 ของสมาชกิ ใหมเ พิม่ ขน้ึ จากปท่ีผา นมา

กลยทุ ธ เปา ประสงค ตวั ชวี้ ัด
1. บรหิ ารเงินทนุ อยา งมี -สหกรณมีสดั สวนเงนิ ทนุ 1.รอ ยละ 40 ของเงินฝากสมาชิกเพม่ิ ข้ึนจากปท ผ่ี านมา
ประสิทธิภาพ ภายในเพิม่ ขนึ้ และสรางความ
ม่นั คงแกส หกรณ 2.รอยละ 100 ของลกู หนเ้ี งินกปู กตชิ ําระไดตามกําหนด

3.รอ ยละ 100 ของลกู หนป้ี รบั โครงสรา งหนี้ชําระหนี้ได
ตามกาํ หนด
4.รอ ยละ 100 ของปริมาณธรุ กจิ ใหมเ พม่ิ ข้ึนจากปท ผ่ี า น
มา

168 รายงานประจาํ ป 2564

5.รอ ยละ 1 ของกาํ ไรสทุ ธเิ พ่ิมขน้ึ จากปท ่ผี านมา

2. สง เสรมิ การออมสกู าร สรางความมนั่ คงดา นการเงนิ 6.รอยละ 30 ของจาํ นวนสมาชกิ สามญั มีการฝากเงิน
ปลอดหนว้ี ยั เกษยี ณ แกส มาชกิ และครอบครัว แบบตอ เนอ่ื งทกุ ๆเดอื น
7.รอยละ40 ของจํานวนสมาชิกเขาเปนสมาชิกสมาคม
3. โครงสรา งทางการเงิน -สรา งความมน่ั คงทางการเงิน ฌาปนกจิ สงเคราะหเพ่ิมขึ้น
ของสหกรณเ ขา เกณฑ อยางยง่ั ยนื 8.รอยละ 5 ของจาํ นวนสมาชกิ เขา รว มโครงการปลกู ปา
มาตรฐาน -ผลติ ภณั ฑท างการเงิน เพื่อการออม
4. ออกผลติ ภณั ฑท างการ สอดคลอ งกบั ตนทุนการเงิน 9.รอยละ 80 ของจํานวนสมาชิกเขาทีเ่ ขาถงึ เงนิ กพู เิ ศษ
เงนิ และความตอ งการ แบบประกอบอาชีพทม่ี ีรายไดง อกเงยเพม่ิ
5. เพม่ิ จาํ นวนสมาชกิ -เพือ่ ใหม ีสมาชิกเพ่มิ ขนึ้ 10.รอ ยละ 65 ข้ึนไปของคะแนนการประเมินตนเองดาน
โครงสรางทางการเงนิ ตามเกณฑมาตรฐานการบรหิ าร
จัดการสหกรณ
11.จํานวนครง้ั ของการทบทวนและออกผลิตภณั ฑรบั
ฝากเงนิ เงินกู ปละ 1 คร้งั

12.รอยละ 30 ของสมาชกิ ใหมเ พิ่มขึน้ จากปท ี่ผานมา

ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี 2 การพัฒนาระบบบรหิ ารจัดการใหไดม าตรฐาน
เปา ประสงค
กลยทุ ธ พัฒนาใหเปน องคก รประสทิ ธิภาพสูง

1. บรหิ ารงานแบบมุงเนนผลสมั ฤทธ์ิ
2. ปรบั ปรงุ ระบบบรหิ ารจดั การใหท ันสมยั
ตวั ชวี้ ัด
1. ปรบั ปรุงโครงสรางและกระบวนการทํางาน จํานวน 1 คร้งั
2. จดั ทําแผนยทุ ธศาสตรการพฒั นาสหกรณ จํานวน 1 ครง้ั
3. รอยละ 90 ของตวั ช้วี ดั ตามแผนฯบรรลเุ ปาหมายทวี่ างไว
4. รอ ยละ 90 ของเจา หนาท่มี ผี ลการประเมินผลสัมฤทธข์ิ องงานไมตา่ํ กวาระดับดขี ึ้นไป
5. รอยละ 100 ของขอบงั คบั และระเบียบสหกรณปรับปรงุ ใหส อดคลองกฎกระทรวงที่บงั คบั ใช
6. จดั หาอตั รากาํ ลงั บคุ ลากรของสหกรณ จํานวน 1 อตั รา
7. รอ ยละ 100 ของสมาชกิ กเู งนิ พิเศษเพอื่ ทอี่ ยอู าศยั ไดร ับหนงั สือรับรองการจายดอกเบยี้
8. ปรับปรุงระบบการใหบ ริการเงนิ กฉู กุ เฉิน สามัญและพิเศษผา นออนไลน จาํ นวน 3ระบบ
9. ปรบั ปรุงหลกั เกณฑก ารใหเ งนิ กทู กุ ประเภท จํานวน 1 ครง้ั
10. กําหนดแนวทางปฏบิ ัตแิ กไ ขปญหาหนส้ี นิ สมาชิก(ผกู แู ละผคู าํ้ ประกนั )

รายงานประจําป 2564 169

11. รอยละ 95 ของผูรับบรกิ ารมคี วามพงึ พอใจระดบั ดีขึ้นไป
12. รอยละ95ของคะแนนประเมินตนเองรางวัลสหกรณด เี ดน แหง ชาติ
13. รอยละ 98 ของคะแนนประเมนิ ตนเองสหกรณส ขี าวดว ยธรรมาภบิ าล
14. ปรบั ปรงุ สวสั ดิการสาํ หรับสมาชิกใหเหมาะสม จํานวน 1 ครง้ั
15. จดั อบรมหลักสตู ร “อาชพี เสรมิ เพิม่ รายได” จาํ นวน 50 คน
16. จํานวนสมาชิกไดรบั การคดั เลือกเปน ตน แบบ 4 ดา น รวม 20 คน
17. พัฒนาระบวนการทาํ งานหลักเปน ลายลกั ษณอักษรและเผยแพร จาํ นวน 1 ครัง้

กลยทุ ธ เปาประสงค ตัวชี้วัด
1.บรหิ ารงานแบบมุงเนน ผลสมั ฤทธิ์ การบรหิ ารจัดการสหกรณม ี 1.ปรับปรงุ โครงสรา งและกระบวนการทาํ งาน
ประสทิ ธภิ าพ จํานวน 1 ครัง้
2.จดั ทําแผนยทุ ธศาสตรก ารพัฒนาสหกรณ
2.ปรบั ปรงุ ระบบบริหารใหท ันสมยั บริหารจดั การทันตอสถานการณ จํานวน 1 คร้งั
ปจ จุบัน 3.รอยละ 90 ของตวั ช้ีวดั ตามแผนฯบรรลุ
เปา หมายทีว่ างไว
4.รอ ยละ 90 ของเจา หนา ที่มีผลการประเมนิ
ผลสัมฤทธข์ิ องงานไมต ํา่ กวา ระดบั ดีขึ้นไป
5.รอ ยละ 100 ของขอ บงั คับและระเบียบ
สหกรณปรบั ปรุงใหส อดคลองกฎกระทรวงที่
บังคับใช
6.จัดหาอตั รากาํ ลงั บคุ ลากรของสหกรณ
จาํ นวน 1 อัตรา
7.รอยละ 100 ของสมาชกิ กูเ งินพเิ ศษเพอื่ ทอ่ี ยู
อาศยั ไดร ับหนงั สือรับรองการจา ยดอกเบยี้
8.ปรับปรงุ ระบบการใหบรกิ ารเงนิ กฉู กุ เฉิน
สามัญและพเิ ศษผานออนไลน จาํ นวน 3
ระบบ
9.ปรับปรงุ หลกั เกณฑก ารใหเ งนิ กทู กุ ประเภท
จาํ นวน 1 ครงั้
10.กําหนดแนวทางปฏบิ ตั แิ กไขปญหาหนสี้ นิ
สมาชิก(ผกู แู ละผูคาํ้ ประกนั )
11.รอยละ 95 ของผรู บั บรกิ ารมีความพงึ พอใจ
ระดับดขี นึ้ ไป
12.รอ ยละ 95 ของคะแนนประเมินตนเอง
รางวัลสหกรณด ีเดน แหงชาติ

170 รายงานประจาํ ป 2564

3.พัฒนาระบบสวัสดกิ ารใหเ หมาะสม จดั สวสั ดกิ ารไดเ หมาะสมและ 13.รอยละ 98 ของคะแนนประเมนิ ตนเอง
ครอบคลมุ สหกรณสขี าวดว ยธรรมาภิบาล
14.ปรบั ปรงุ สวสั ดิการสาํ หรบั สมาชกิ ให
4.สรา งสมาชิกตนแบบ สมาชิกตัวอยา งของสหกรณ เหมาะสม จํานวน 1 ครง้ั
15.จดั อบรมหลักสตู ร “อาชีพเสริมเพิม่
5.พฒั นาระบบบรกิ ารใหป ระทับใจ รายได” จาํ นวน 50 คน
16.จาํ นวนสมาชกิ ไดรบั การคดั เลอื กเปน
ตน แบบ 4 ดาน รวม 20 คน
17.พัฒนาระบวนการทาํ งานหลกั เปน ลาย
ลักษณอกั ษรและเผยแพร จํานวน 1 คร้ัง

ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท ่ี 3 การพฒั นาระบบเทคโนโลยสี ารสนเทศ
เปาประสงค บรกิ ารทท่ี นั สมยั และประทบั ใจ

กลยทุ ธ
1. ปรบั ปรุงฐานขอ มลู ใหถ ูกตอ ง ครบถว น
2. เชือ่ มธุรกรรมดวย APP
3. ขอ มลู ขาวสารทนั สมยั

ตัวชว้ี ัด
1. รอ ยละ 100 ของฐานขอมลู ครบถวน ถกู ตอ งและเปนปจจบุ นั
2. จํานวนคร้ังของการพัฒนาโปรแกรมระบบงาน 4 ระบบ คือ สมคั รสมาชิกออนไลน แตง ตั้งหรือ
เปลย่ี นแปลงผูรบั ผลประโยชน สวัสดกิ าร และการฝก อบรม
3. จาํ นวนครง้ั ของการพฒั นาระบบตรวจสอบและปรบั สมดุ คฝู ากดวยตนเอง จาํ นวน 1 ระบบ
4. จํานวนครัง้ ของการปรับปรงุ ระบบการย่นื คาํ ขอกเู งนิ กูฉกุ เฉนิ สามญั และพิเศษผานออนไลน จํานวน1
ระบบ
5. รอ ยละ100 ของบรกิ ารหลกั และบริการเสรมิ ของสหกรณม รี ะบบบรกิ ารทางออนไลน
6. จํานวนคร้ังของการจดั ทาํ App Mobile เพื่อรองรบั บริการของสหกรณ จาํ นวน 1 ระบบ
7. รอ ยละ 100 ของสมาชิกท่ไี ดร ับบรกิ ารไดรบั การแจงขา วดว ยระบบ Linebot

กลยุทธ เปา ประสงค ตัวชีว้ ดั
1.ปรับปรุงฐานขอ มลู ใหถ กู ตอ ง สมาชกิ ดแู ละตรวจสอบขอ มลู สวน 1.รอยละ 100 ของฐานขอ มลู ครบถว น ถูกตอ ง
ครบถวน บุคคล และเปนปจจุบัน
2.จาํ นวนคร้งั ของการพฒั นาโปรแกรม
ระบบงาน 4 ระบบ คือ สมคั รสมาชิกออนไลน
แตงตงั้ หรือเปลยี่ นแปลงผรู ับผลประโยชน
สวสั ดิการ และการฝก อบรม

รายงานประจาํ ป 2564 171

2.เชื่อมธุรกรรมดวยAPP สมาชกิ เขา ถึงบรกิ ารท่ีรวดเรว็ 3.จํานวนคร้งั ของการพัฒนาระบบตรวจสอบ
3.ขอ มลู ขาวสารทนั สมยั สมาชิกไดรบั ขาวสารที่ทันสมยั และปรับสมดุ คฝู ากดวยตนเอง จํานวน 1
ระบบ
4.จาํ นวนครัง้ ของการปรับปรงุ ระบบการย่นื คํา
ขอกเู งินกฉู กุ เฉิน สามญั และพเิ ศษผา น
ออนไลน จํานวน1ระบบ
5.รอ ยละ100 ของบรกิ ารหลกั และบรกิ ารเสรมิ
ของสหกรณม ีระบบบรกิ ารทางออนไลน
6.จํานวนคร้งั ของการจดั ทํา App Mobile เพื่อ
รองรบั บรกิ ารของสหกรณ จาํ นวน 1 ระบบ
7.รอยละ 100 ของสมาชิกทีไ่ ดร บั บริการ
ไดรับการแจง ขา วดวยระบบ Linebot

ประเด็นยทุ ธศาสตรท ่ี 4 การพฒั นาศักยภาพของบคุ ลากร
เปาประสงค บคุ ลากรสหกรณเ ปน มอื อาชพี
กลยุทธ

1. พฒั นาบคุ ลากร
2. ปรบั ปรงุ โครงสรา งองคก ร
3. การบรหิ ารงานแบบมงุ เนน สัมฤทธิ์
4. สวสั ดกิ ารของบคุ ลากรสหกรณ
5. พัฒนาพฤติกรรมการบรกิ าร
6. พฒั นานวตั กรรม
ตัวชว้ี ดั
1. รอยละ 50 ของคณะกรรมการและผูจดั การสหกรณผ านการอบรมหลกั สตู รการเงนิ การบญั ชี และการ

บรหิ าร ตามหลักสตู รท่ี คพช. รับรอง
2. รอยละ 100 ของผตู รวจสอบกิจการเขารับการอบรมในแตล ะปหลกั สตู รท่เี กย่ี วของ
3. รอ ยละ 80 ของเจา หนาท่ีสหกรณม คี วามพงึ พอใจในงานท่รี บั ผิดชอบ
4. รอ ยละ 10 ของสมาชกิ ผา นการอบรมหลักสตู รหลกั การ วิธกี าร อดุ มการณสหกรณและการวางแผนทาง

การเงินสวนบคุ คล
1. ทบทวนแผนกาํ ลงั คนอยา งนอยปล ะ 1 ครั้ง (แผน 10 ป)
2. จัดทาํ และทบทวนคูมอื การปฏบิ ตั งิ านสหกรณ ปล ะ 1 ครัง้
3. รอยละ 80 ของตวั ชี้วดั ตามแผนกลยทุ ธบ รรลตุ ามคาเปาหมายกาํ หนด
4. ทบทวนปรบั ปรงุ สวสั ดิการอยางนอยปละ 1 ครง้ั เพม่ิ สวสั ดกิ ารอยา งนอย 1 ประเภท
5. รอยละ 100 ของกรรมการ ผตู รวจสอบกิจการ ท่ปี รึกษาที่พน วาระการดาํ รงตําแหนง ไดร ับการประกาศ

เกยี รตคิ ณุ
6. สหกรณจัดทําคมู ือการใหบ ริการของเจาหนา ทส่ี หกรณ
7. รอยละ 90 ของสมาชกิ มรี ะดับความพงึ พอใจในระดบั ดขี นึ้ ไป
8. รอ ยละ 100 ของแตละฝายในสหกรณน ําเสนอนวตั กรรมตอคณะกรรมการดาํ เนนิ การประจาํ ป

172 รายงานประจําป 2564

กลยทุ ธ เปาประสงค ตวั ช้วี ดั

1.พฒั นาบคุ ลากร ใหมคี วามรู ความสามารถตอ การ 1. รอ ยละ 50 ของคณะกรรมการและ
ดาํ เนินงานสหกรณ ผจู ัดการสหกรณผ า นการอบรมหลักสตู ร
การเงนิ การบญั ชี และการบรหิ าร ตาม
2.ปรบั ปรงุ โครงสรางองคก ร โครงสรา งสหกรณสอดรบั กับภารกจิ หลักสตู รที่ คพช.รบั รอง
งาน 2. รอ ยละ 100 ของผตู รวจสอบกจิ การ
เขารบั การอบรมในแตล ะปหลกั สตู รท่ี
3. การบรหิ ารงานแบบมงุ เนน สมั ฤทธ์ิ บุคลากรบรหิ ารงานตาม เกยี่ วขอ ง
4. สวัสดกิ ารของบคุ ลากรสหกรณ หลักธรรมาภบิ าล 3. รอ ยละ 80 ของเจาหนา ทสี่ หกรณมี
บุคลากรของสหกรณไดร บั สวัสดกิ าร ความพึงพอใจในงานที่รบั ผดิ ชอบ
ครอบคลมุ และทั่วถงึ 4. รอยละ 10 ของสมาชกิ ผานการอบรม
หลกั สตู รหลักการ วธิ กี าร อดุ มการณ
5. พัฒนาพฤตกิ รรมการบริการ สหกรณมีการบริการเปน เลิศ สหกรณแ ละการวางแผนทางการเงิน
สว นบคุ คล
6. พัฒนานวัตกรรม ทบทวนการปฏบิ ตั งิ านของสหกรณ 5. ทบทวนแผนกาํ ลงั คนอยา งนอ ย
ปละ 1 ครั้ง (แผน 10 ป)
6. จัดทาํ และทบทวนคมู อื การปฏบิ ตั งิ าน
สหกรณ ปล ะ 1 ครง้ั
7. รอ ยละ 80 ของตัวช้ีวัดตามแผน
กลยุทธบรรลตุ ามคา เปา หมายกาํ หนด
8. ทบทวน ปรับปรงุ สวสั ดกิ ารอยา งนอยป
ละ 1 ครง้ั เพมิ่ สวสั ดิการอยา งนอ ย
1 ประเภท
9. รอ ยละ 100 ของกรรมการ ผู
ตรวจสอบกิจการ ทีป่ รกึ ษาที่พน วาระ
การดาํ รงตําแหนงไดรบั การประกาศ
เกยี รตคิ ุณ
10. สหกรณจดั ทาํ คูมือการใหบ ริการของ
เจา หนาที่สหกรณ
11. รอยละ 90 ของสมาชกิ มรี ะดับความ
พึงพอใจในระดบั ดขี ึน้ ไป
12. รอ ยละ 100 ของแตล ะฝา ยใน
สหกรณน าํ เสนอนวตั กรรมตอ
คณะกรรมการดาํ เนินการประจาํ ป

รายงานประจาํ ป 2564 173

แผนบริหารเงนิ ทุน
สหกรณอ อมทรัพยส าธารณสขุ สกลนคร จาํ กัด ป 2565

1. แผนบรหิ ารในการหาแหลง เงินทนุ
แหลง ท่มี าของเงินทนุ ยอดยกมาตนป ระหวางป 2565 หมายเหตุ
ทนุ เรอื นหุน 2,739,770,160.00 100,000,000.00 -ทุนเรอื นหนุ จากสมาชกิ จาก
450,000,000.00 การถือหนุ รายเดือน
เงนิ รับฝาก - สมาชกิ 1,703,141,586.81 172,792,279.98 -จากสมาชกิ 450 ลา นบาท
- สหกรณอ่ืน 633,391,799.62 500,000,000.00 -จากสหกรณ 172 ลาน
27,207,720.02 กวาบาท
เงนิ กยู มื 1,931,920,000.00 - กยู มื จากภายนอก 500
1,250,000,000.00
ทนุ สาํ รอง 249,624,363.36 ลา นบาท
รวม 7,257,847,909.97

2. แผนบริหารในการใชไปของเงินทนุ

แหลงท่ีมาของเงินทุน ยอดยกมาตน ป ระหวา งป 2565 หมายเหตุ
เงนิ ใหก ูแกส มาชกิ 7,091,732,491.00 900,000,000.00 -ปริมาณธรุกิจใหมจะให
เงนิ ใหก /ู ฝากแกส หกรณอ ื่น 250,566,722.00 สมาชิกกู ประมาณ
เงนิ ลงทนุ เดอื นละ 75 ลานบาท
46,246,000.00 200,000,000.00 -ใหก/ู ฝาก สหกรณ
ชําระหนสี้ นิ คนื 5,000,000.00 เพ่ิมหุนของชมุ นุม
รวม 7,388,545,213.00 สหกรณอ อมทรพั ย
สาธารณสขุ ไทย
5,000,000 ลานบาท
145,000,000.00
1,250,000,000.00

2. เสนอประมาณการรายรับ ประจําป 2565 174 รายงานประจําป 2564

รายการ ป 2564 ป 2565 เหตุผลและความจําเปน
1. รายไดด อกเบี้ย/เงนิ ลงทุน
งบประมาณ เกดิ ข้ึนจรงิ ขอตง้ั
1.1 เงินใหก แู ละเงนิ ฝาก 1. ยอดลูกหนี้ปกติ ณ วนั สน้ิ ปรวม 7,091,732,491.00 บาท
1.1.1 ใหส มาชิกกู 385,000,000.00 379,043,316.44 แยกคํานวณตามอัตราดอกเบ้ยี ดังน้ี
ใหสหกรณอ ่ืนกู 5,470,302.05
400,000,000.00 - อัตรา 5.25 % จาํ นวน 12,399,691.00 บาท
1.1.2 ลกู หน้ีปรับปรุงโครงสรา งหน้ี 15,000,000.00 รายไดด อกเบ้ยี เปนเงินประมาณ 650,980.00 บาท
1.1.3 ลกู หน้ตี ามคําพิพากษา
1.1.4 ลกู หนีข้ าดสมาชกิ ภาพ 41(5) - อัตรา 5.50 % จํานวน 245,171,977.00 บาท
1.1.5 ลกู หนข้ี าดสมาชิกภาพ 39(1) รายไดด อกเบีย้ เปนเงินประมาณ 13,484,450.00 บาท
1.1.6 ลูกหนร้ี ะหวา งดาํ เนนิ คดี อัตรา 5.60 - 5.50 % จํานวน 6,834,160,823.00 บาท
1.1.7 เงินฝากธนาคาร รายไดด อกเบี้ย เปน เงนิ ประมาณ 377,587,380.00 บาท
รวมดอกเบ้ยี ทง้ั หมด 391,722,810.00 บาท
ตว๋ั สญั ญาใชเงนิ 2. ปริมาณธุรกจิ ใหม ในป 2565 ประมาณ 900,000,000.00 บาท
1.1.8 เงินฝากสหกรณอ ืน่ - คาดวาจะปลอ ยเงินกูสามัญปกติและเงนิ กฉู ุกเฉิน และ เงนิ กูพิเศษ
ประมาณเดอื นละ 75,000,000 บาท

อตั ราดอกเบี้ย 5.60 % - 5.50 % ประมาณการรายไดตลอดป = 4,149,650.00 บาท

สํารองรายไดดอกเบีย้ เพม่ิ ระหวางป 4,127,540.00 บาท
รวมประมาณการรายไดเ งนิ ใหส มาชิกกตู ลอดป 2565 เปน เงนิ 400,000,000.00 บาท

107,787.00 620,640.00 868,620.00 ยอดลกู หน้ี ณ วนั สิ้นป จาํ นวน 15,793,172 บาท อตั ราดอกเบย้ี รอ ยละ 5.60 - 5.50 ตอ ป
189,578.00 189,590.00
2,117,731.00 1,554,350.00 186,190.00 ยอดลกู หนี้ ณ วันสน้ิ ป จํานวน 3,385,331.00 บาท อัตราดอกเบี้ยรอยละ 5.60 - 5.50 ตอ ป
275,704.00 271,496.07
320,552.00 1,391,630.00 ยอดลกู หน้ี ณ วนั สิน้ ป จํานวน 25,296,381 บาท อตั ราดอกเบย้ี รอ ยละ 5.60 - 5.50 ตอ ป
100,000.00 55,400.53
15,090.41 111,260.00 ยอดลูกหน้ี ณ วันสิ้นป จํานวน 2,022,937 บาท อตั ราดอกเบ้ียรอยละ 5.60 - 5.50 ตอ ป
900,000.00 525,431.22
100,000.00

600,000.00 - เพมิ่ การเชือ่ มโยงเคร่ือขา ย ในป 2565 โดยการนําเงินไปฝากกับสหกรณ

รวม 388,690,800.00 388,066,168.72 418,257,700.00

รายการ ป 2564 ป 2565 เหตุผลและความจาํ เปน
ขอตง้ั
1.2 ผลตอบแทนเงินลงทนุ งบประมาณ เกดิ ข้ึนจรงิ
- เงินปนผลชมุ นมุ (ชสอ.)
- เงนิ ปน ผลชมุ นมุ (ชอสธ.) 2,260,400.00 2,460,064.30 2,284,800.00 - สหกรณถ อื หนุ 45,196,000.00 บาท ประมาณปนผลรอ ยละ 5.00 ตอ ป
- เงนิ ปน ผลหุน บรษิ ทั สหประกนั ชวี ติ 2,500.00 637.81 2,500.00 - สหกรณถือหุน 50,000.00 บาท ประมาณปน ผลรอ ยละ 5.00 ตอป

รวม 11,180.00
รวมรายไดด อกเบ้ยี /เงนิ ลงทุน
2. รายไดอ ่นื 2,262,900.00 2,471,882.11 2,287,300.00
2.1 คา ธรรมเนียมแรกเขา 390,953,700.00 390,538,050.83 420,545,000.00

2.2 คาธรรมเนียมและคา ปรับ 25,000.00 27,400.00 25,000.00 - คาดวาจะรับสมาชิกเขา ใหมใ นป 2565 ประมาณ 500 ราย คาสมัครรายละ 50 บาท รายงานประจําป 2564
3,000.00 2,800.00
2.4 รายไดเบ็ดเตลด็ อน่ื ๆ 700,000.00 1,146,138.50 แยกเปน สมาชกิ 200 คน สมาชกิ สมทบ 300 คน

3,000.00

900,000.00

รวม 728,000.00 1,176,338.50 928,000.00
รวมท้ังสิน้ 391,681,700.00 391,714,389.33 421,473,000.00

175

176 รายงานประจาํ ป 2564

3. เสนอประมาณการรายจา ย ประจําป 2565

รายการ งบประมาณ ป 2564 จา ยจรงิ ป 2565 เหตผุ ลและความจาํ เปน
1. คาใชจา ยดอกเบีย้ ขอตงั้

1.1 เงนิ รับฝาก 80,000,000.00 76,721,962.28 90,000,000.00 ดอกเบ้ยี จายเงินรบั ฝากจากสมาชิก และสหกรณอ่ืน

1.2 เงินกูย มื สถาบนั การเงนิ อื่น 60,000,000.00 55,612,986.33 ตามแผนการรับเงินฝากจากสมาชกิ

เพิม่ ในป 2565 จาํ นวน 500 ลานบาท

60,000,000.00 ดอกเบีย้ จา ยเงินกสู ถาบันการเงินอืน่

- ต๋ัวสัญญาใชเ งิน

- เงินกรู ะยะสน้ั /ยาว

รวม 140,000,000.00 132,334,948.61 150,000,000.00

2. คา ใชจ ายในการดําเนินงาน 4,834,100.00 4,368,464.00 5,608,000.00 - สาํ หรับเงนิ เดอื นเจา หนา ที่ 11 คน เลอื่ นข้ันปกติ
2.1 คา ใชจ ายเกยี่ วกบั เจา หนาที่ 85,800.00
2.1.1 เงินเดือน 1. ผูจัดการ อตั ราเดือนละ 93,520 บาท
- จนท. สหกรณ 70,000.00 38,207.46 เปนเงนิ จาํ นวน 1,122,240.- บาท
- ลกู จา ง 2. เงินเดอื นเจา หนา ทจ่ี าํ นวน 1 คน
250,000.00 317,600.00 เดือนละ 50,400.- บาท เปนเงนิ 604,800.- บาท
2.1.2 คา ลว งเวลา 3. เงินเดอื นเจาหนา ที่ขนั้ ปกติจาํ นวน 9 คน
2.1.3 คา เบย้ี เลยี้ งและพาหนะ 700,000.00 628,181.00 เดอื นละ 214,070.- บาท เปนเงิน 2,568,840.- บาท
2.1.4 บําเหนจ็ เจา หนา ท่ี 4. เงินเดอื นเจา หนาท่ีคอมพวิ เตอร 1 คน
2.1.5 คา รกั ษาพยาบาล 50,000.00 0.00 เดือนละ 18,200.- บาท เปน เงิน 218,400.-บาท
2.1.6 คา เครือ่ งแบบเจาหนา ท่ี 5. เงินเดอื นลกู จา งทําความสะอาด 108,000 บาท
2.1.7 เงนิ ชว ยเหลอื การศกึ ษาบุตรเจา หนาที่ 78,000.00 0.00 6. ในป 2565 เปด รับตําแหนง ผูชวยผูจดั การ 1 คน
2.1.8 เงนิ สมทบประกนั สังคม ธรุ การ 1 คน , งานสวสั ดิการ 1 คน
30,000.00 33,080.00 และ ลกู จาง (ขับรถยนต) 1 คน เปน เงนิ 807,000.-บาท
รวม 7. สาํ รองเงินเล่ือนข้นั พิเศษประจาํ ป
117,000.00 74,857.00 เปน เงินประมาณ 178,720.- บาท

6,129,100.00 5,546,189.46 70,000.00 - สําหรับเจาหนา ท่ีปฏบิ ัติงานนอกเวลา

ทาํ การและวันหยุด

350,000.00 - สาํ หรับเจาหนาทไ่ี ปปฏบิ ัตงิ านนอกสถานที่

และการประชุมอบรมสัมมนาตา ง ๆ

700,000.00 - เพ่อื กนั เปนคาใชจายสําหรับต้งั สาํ รองบาํ เหนจ็

พนักงานตามระเบยี บทก่ี าํ หนดไว

50,000.00 - สําหรับเจา หนา ทีส่ หกรณแ ละบคุ คลทมี่ สี ทิ ธิ์

เบิกคารักษาตามระเบียบของสหกรณ

96,000.00 - สําหรับชดุ ฟอรม เจาหนา ท่จี ํานวน 16 คน

50,000.00 - สาํ หรบั เจา หนาที่เบกิ คา เลาเรยี นบุตร

144,000.00 - สมทบเงินประกันสังคม เจา หนาท่ี 16 อัตรา
7,068,000.00

รายงานประจําป 2564 177

รายการ งบประมาณ ป 2564 จายจรงิ ป 2565 เหตผุ ลและความจําเปน
2.2 คาใชจ ายเกย่ี วกบั อาคารสถานทแี่ ละอปุ กรณ ขอตั้ง

2.2.1 คาเส่ือมราคา 2,500,000.00 1,335,788.54 2,500,000.00 - สําหรบั สนิ ทรพั ยถาวรและครุภัณฑตา ง ๆ
2.2.2 คา ตกแตง รถยนตตัดจาย
2.2.3 คา ทาสอี าคารหลงั เกาตดั จาย 37,700.00 37,700.00 และอาคารทตี่ อเติมใหม
2.2.4 คา ตกแตงอาคารตัดจา ย 25,291.62
2.2.5 คา ซอมแซมและบาํ รงุ รักษา 300,000.00 22,500.00 0.00
2.2.6 คา บริการในการรกั ษาความปลอดภัย 216,000.00 218,090.19 25,291.62 - สาํ หรับคาใชจ ายเดมิ
2.2.7 คา ประกันโปรแกรมคอมพวิ เตอร 24,000.00 216,000.00 378,404.50 - สาํ หรบั คา ใชจา ยเดิม
2.2.8 คาเบ้ียประกนั อคั คภี ยั สาํ นกั งาน 30,000.00 24,000.00 300,000.00 - สําหรับสินทรพั ยถาวรและครุภณั ฑต าง ๆ
2.2.9 คาเบี้ยประกันภยั รถยนต 30,000.00 13,858.64 216,000.00 - คา จา งผูรักษาความปลอดภัย
3,137,700.00 28,253.85 24,000.00 - คาดูแลโปรแกรมคอมพวิ เตอรร ายป
รวม 1,921,482.84 30,000.00 - สําหรบั คา ประกันภยั สํานักงาน
2.3 คา ใชจ ายเก่ยี วกบั การดําเนินงานอนื่ 30,000.00 - สําหรับคาประกนั ภัยรถยนต

2.3.1 คาเบีย้ ประชุมกรรมการ 3,503,696.12

2.3.2 คารบั รอง 600,000.00 487,600.00 600,000.00 คาเบยี้ ประชุมสําหรบั กรรมการ คนละ 800 บาท ตอครั้ง
2.3.3 คา เบ้ยี เล้ียงและพาหนะกรรมการ
2.3.4 คาเครอื่ งเขียนแบบพิมพ 150,000.00 140,600.00 - คณะกรรมการดําเนินการท้ังคณะ เปน เงิน
2.3.5 คา ของใชสาํ นกั งาน เปน เงิน 208,000 บาท
2.3.6 คา ใชจายในวนั ประชุมใหญ 650,000.00 591,570.00 - คณะกรรมการอาํ นวยการ เปน เงิน 96,000 บาท
2.3.7 คาตอบแทนที่ปรึกษา ฯ 200,000.00 113,962.20 - คณะกรรมการเงินกู เปนเงนิ 96,000 บาท
- คณะกรรมการศกึ ษา เปนเงนิ 60,000 บาท
2.3.8 คาตอบแทนผตู รวจสอบกิจการ 300,000.00 221,192.00 - คณะอนุกรรมการบริหารความเส่ียง เปนเงนิ
2.3.9 คาตอบแทนหนว ยการเงนิ 800,000.00 700,827.00 48,000 บาท
- คณะอนกุ รรมการลงทุน เปน เงิน 48,000 บาท
85,000.00 30,000.00 - คณะทํางานชดุ ตางๆ เปนเงิน 44,000 บาท

240,000.00 220,000.00 150,000.00 - เปนคาอาหารเครือ่ งด่ืมการประชุมกรรมการ
300,000.00 250,000.00
และคณะทํางานการรับรองผมู าตดิ ตอ ธรุ กิจเยีย่ ม
ชมกิจการและศึกษาดูงานของสหกรณ

650,000.00 - สําหรบั กรรมการและผทู ี่เกีย่ วขอ งทีไ่ ปปฏิบัติ

งานและการประชมุ อบรมสัมมนาตาง ๆ

200,000.00 - ใชสาํ หรับบริหารงานและขยายงานใหบรกิ าร

เชน ใบเสรจ็ รับเงนิ หนังสอื กยู ืม หนังสอื คํ้า
ประกัน สมดุ บัญชี แบบฟอรม ตาง ๆ เปน ตน

300,000.00 - เปน คาวัสดขุ องใชในกจิ การสหกรณ

800,000.00 - คาจดั ทํารายงานกจิ การประจาํ ป

- คา พาหนะ ของผูแทนเขา รวมประชมุ คนละ 1,500
- คาอาหาร ของผเู ขาประชมุ

85,000.00 - คา ตอบแทนท่ีปรกึ ษากติ ติมศักด์ิ 2 ทาน

จาํ นวนคนละ 20,000.00 บาท
ท่ปี รึกษาคณะกรรมการ จํานวน 3 ทาน
จาํ นวนคนละ 15,000.00 บาท

288,000.00 - เปนคาตอบแทนผตู รวจสอบกิจการจาํ นวน 4

คน ๆ ละ 6,000 บาท ตอเดือน จาํ นวน 12 คร้ัง

300,000.00 - เปน คา ตอบแทนเจา หนา ที่การเงนิ และ

หนว ยงานท่ีหกั เงนิ ใหส หกรณ

178 รายงานประจาํ ป 2564

รายการ ป 2564 ป 2565 เหตุผลและความจาํ เปน
2.3.10 คา ตอบแทนผูสอบบญั ชี งบประมาณ จา ยจรงิ ขอต้งั
2.3.11 คาน้ําประปา 140,000.00 100,000.00 100,000.00
2.3.12 คาไฟฟา 40,000.00 33,328.16 40,000.00
2.3.13 คาโทรศพั ท 300,000.00 241,523.31 300,000.00
2.3.14 คา บรกิ ารระบบโทรศัพทอัตโนมัติ 70,000.00 56,900.54 70,000.00 - สาํ หรับคา โทรศพั ท ในกิจการสหกรณ
2.3.15 คา ไปรษณีย 60,000.00 55,586.50 60,000.00 - สําหรบั คา บริการระบบ Call Center
2.3.16 คา ใชจายอืน่ ๆ 50,000.00 37,409.00 50,000.00 - สาํ หรบั จัดสง เอกสารในกจิ การสหกรณ
700,000.00 732,065.29 700,000.00 - สาํ หรบั จา ยคาใชจ ายในกิจการสหกรณทั่วไป
รวม
2.4 คา ใชจ ายเกย่ี วกบั การสรรหา ที่ไมอาจแสดงรายการรวมอยใู นหมวดอ่นื ๆ
ประธานกรรมการ กรรมการดาํ เนินการ
- สาํ หรบั คา ใชจายตามแผนงานประจําป
2.4.1 คา ตอบแทนกรรมการสรรหา
2.4.2 คา เบ้ียเลี้ยงพาหนะกรรมการสรรหา และโครงการตา ง ๆ ของสหกรณ
2.4.3 คา ตอบแทนกรรมการหนว ยเลอื กต้ัง
2.4.4 คาตอบแทนสมาชิก - จัดประชมุ ใหญว สิ ามญั
2.4.5 คา วสั ดุอปุ กรณใ นการเลือกตง้ั
4,685,000.00 4,012,564.00 4,693,000.00
รวม 2,500,000.00 5,000,000.00 - คาใชจา ยสําหรับสมาชิกในการสรรหาประธานและ
รวมคาใชจายในการดาํ เนนิ งาน
รวมงบประมาณรายจา ยทัง้ หมด 42,000.00 กรรมการลว งหนา
3. หมวดครภุ ัณฑส าํ นกั งาน 127,660.00
1. ตปู รบั สมุดอตั โนมัติ 189,000.00 - คา ใชจา ยในการจัดการสรรหาประธานและ
2. กลองถายรปู จํานวน 1 ตวั 1,665,000.00
3. คอมพวิ เตอรต ้งั โตะ PC จํานวน 2 เคร่ือง 67,330.00 กรรมการลว งหนา
4. คอมพวิ เตอรโนตบกุ 2 เครื่อง 2,500,000.00 2,090,990.00
5. เคร่ืองปรนิ้ Epson LQ 590 1 เคร่อื ง 16,451,800.00 13,571,226.30 5,000,000.00
6. เครอ่ื งปรนิ้ สี Epson จาํ นวน 1 เคร่อื ง 156,451,800.00 145,906,174.91 20,264,696.12
7. คา ลิขสทิ ธิ์เวบ็ สหกรณ 170,264,696.12

4. งบลงทุนและสิ่งปลกู สรา ง 38,000.00 38,000.00 0.00
1. ตอ เติมอาคารสาํ นักงานสหกรณ 0.00 0.00 50,000.00 -ใชถ า ยภาพในงาน และกจิ กรรมตา งๆของสหกรณ
0.00 0.00 120,000.00 - ทาํ งานกราฟฟก ตดั ตอวดี โี อ ตกแตง เวบไซต
(งบผกู พนั ) ป 62 ใชไ ป = 303,024 0.00 0.00
ป 63 ใชไป = 3,774,280 ใชเปน HOST โปรแกรม ใช Live facebook
ป 64 ใชไป = 5,296,490 60,000.00 -ใชติดต้งั ในหอ งประชมุ 2 หอง
รวม = 9,373,794 25,000.00 -ใชสาํ หรบั โปรแกรมสาํ เร็จรปู พิมพก ระดาษตอเนอ่ื ง
15,000.00 -ใชปรนิ้ งานรูปกราฟฟก และงานกจิ กรรมสหกรณ
2. ปรบั ปรุงทาสภี ายนอกอาคารหลงั เกา 150,000.00 -ระบบเวบ็ ไซตสหกรณ เวบ็ หลักสหกรณ
3. ปายสํานักงาน
สมาชกิ ออนไลน ระบบกอู อนไลน และระบบอ่ืนๆ
420,000.00

10,000,000.00 5,296,490.00 0.00 - งบตอ เตมิ อาคารสํานักงานสหกรณ
พรอมครุภณั ฑแ ละอุปกรณส ํานกั งาน

350,000.00 101,166.50 0.00
200,000.00 195,000.00 0.00

รวม 10,550,000.00 5,592,656.50 0.00
สรุปงบประมาณ - ประมาณการรายจา ย 170,264,696.12 บาท (หมวดคา ใชจ า ยถวั จา ยไดทุกหมวด)

- งบจดั ซื้อครุภัณฑส าํ นกั งาน 420,000.00 บาท
- งบลงทุน 0.00 บาท

รายงานประจําป 2564 179

4. สรปุ ประมาณการรายรับและประมาณการรายจายประจาํ ป 2565 400,000,000.00
15,000,000.00
ประมาณการรายรบั
1. รายไดด อกเบี้ย / เงินลงทุน 868,620.00
186,190.00
- ดอกเบ้ียรับจากเงนิ ใหส มาชิกกู 1,391,630.00
- ดอกเบยี้ รบั จากเงนิ ใหสหกรณอ ื่นกู 111,260.00
- ดอกเบี้ยรบั ลกู หนปี้ รบั ปรุงโครงสรา งหน้ี 100,000.00
- ดอกเบ้ยี รบั ลูกหนต้ี ามคําพิพากษา 600,000.00
- ดอกเบยี้ รับลกู หนี้ขาดสมาชกิ ภาพ ตามขอบังคบั 41(5) 2,287,300.00
- ดอกเบีย้ รบั ลกู หนข้ี าดสมาชิกภาพ ตามขอ บงั คบั 39(1) 928,000.00
- ดอกเบีย้ เงินฝากธนาคาร 421,473,000.00
- ดอกเบี้ยเงินฝากสหกรณอืน่ 150,000,000.00
- ผลตอบแทนเงนิ ลงทนุ - หนุ ชมุ นุมสหกรณ 7,068,000.00
2. รายไดอ น่ื 3,503,696.12
4,693,000.00
รวมประมาณการรายรับ 5,000,000.00
ประมาณการรายจา ย 170,264,696.12
1. คาใชจา ยดอกเบ้ีย 251,208,303.88
2. คา ใชจ า ยในการดําเนนิ งาน

2.1 คา ใชจ ายเกีย่ วกบั เจาหนา ที่
2.2 คาใชจ า ยเก่ียวกับอาคารสถานที่และอปุ กรณ
2.3 คา ใชจ ายเก่ยี วกบั การดําเนินงานอน่ื
2.4 คาใชจา ยเกย่ี วกับการสรรหา กรรมการ

รวมประมาณการรายจาย
ประมาณการกาํ ไรสุทธปิ ระจําป 2565

มติที่ประชุม......................................................................................................................................................................................
ลงคะแนน อนุมตั .ิ ................คะแนน ไมอนุมัต.ิ ...............คะแนน ไมออกเสียง…………........คะแนน

180 รายงานประจําป 2564

4.6 เรอื่ ง การกาํ หนดวงเงินซ่ึงสหกรณอาจกยู มื หรอื คาํ้ ประกัน ประจําป 2565

ตามขอ บังคับสหกรณ ขอ 17. กําหนดวา “ท่ปี ระชุมใหญอาจกําหนดวงเงินกยู มื หรือการค้ําประกัน
สําหรบั ปหนง่ึ ๆ ไวตามทจ่ี าํ เปน และสมควรแกก ารดําเนนิ งาน วงเงินซึ่งกาํ หนดดังวานตี้ อ งไดร ับความเหน็ ชอบจากนาย
ทะเบยี นสหกรณ

ถา ทปี่ ระชมุ ใหญย งั มิไดกาํ หนด หรอื นายทะเบยี นสหกรณยงั มิไดใ หค วามเห็นชอบวงเงนิ กยู มื หรอื การคํา้
ประกนั สําหรับปใ ด กใ็ หใ ชว งเงินกยู มื หรือการค้าํ ประกนั สําหรับปกอ นไปพลาง”

ในป 2564 ทป่ี ระชุมใหญไดกําหนดวงเงินกยู มื หรอื คาํ้ ประกัน จํานวน 3,900,000,000.00 บาท
(สามพนั เกา รอยลานบาทถวน) และนายทะเบยี นสหกรณ ไดอ นุมตั ิวงเงนิ ตามท่ปี ระชุมใหญอนมุ ัติ

สําหรบั ในป 2565 สหกรณม คี วามจาํ เปนทจ่ี ะรองรบั การดาํ เนินธรุ กจิ ตามแผนงานประจําปท วี่ างไว
เพอื่ ใหส ามารถบริการสมาชิกไดอยา งทว่ั ถงึ และรกั ษาสภาพคลอ งอยางเพยี งพอ จึงเห็นสมควรเสนอที่ประชุมใหญ
กาํ หนดวงเงนิ ซึ่งสหกรณอาจกยู มื หรอื การค้าํ ประกนั ประจาํ ป 2565 เปนจํานวนเงนิ 4,000,000,000.00 บาท
(ส่ีพันลา นบาทถวน)

ทนุ เรือนหนุ ณ วันสน้ิ ป จํานวน 2,739,770,160.00 บาท
เงนิ สํารอง ณ วนั ส้นิ ป จาํ นวน 249,624,363.36 บาท
ทุนเรอื นหุน รวมกบั ทุนสาํ รอง จํานวน
ในป 2565 สหกรณกาํ หนดวงเงินกยู ืม จาํ นวน 2,989,394,523.36 บาท
4,000,000,000.00 บาท

1. การกาํ หนดวงเงินกยู มื หรือคํา้ ประกนั ของสหกรณเ ปนจํานวน 1.50 เทา ของทนุ เรือนหนุ รวมกับทนุ สํารอง
(4,484,091,785.04 บาท)

2. หน้ีสนิ (ไมรวมเงินรบั ฝากจากสมาชิก) ตอ ทุน (ทุนเรือนหนุ บวกเงนิ สาํ รอง) 0.86 : 1
(2,574,557,062.00 : 2,989,394,523.36)

มตทิ ่ีประชมุ .................................................................................................................................................................

รายงานประจาํ ป 2564 181

4.7 เร่ืองพิจารณาอนุมตั ิการนาํ เงินไปฝากหรอื ลงทนุ อยางอ่ืนตามประกาศคณะกรรมการ
พฒั นาการสหกรณแหง ชาติ (คพช.)

ตามทค่ี ณะกรรมการพฒั นาการสหกรณแ หง ชาติ ไดอ าศยั อาํ นาจตามความในมาตรา 62 (7) แหง
พระราชบญั ญตั สิ หกรณ พ.ศ. 2542 และประกาศคณะกรรมการพัฒนาการสหกรณแ หงชาติ (คพช.) เรื่อง
ขอ กาํ หนดกรฝากหรอื ลงทนุ อยางอ่ืนของสหกรณ พ.ศ. 2563 กําหนดวา

ขอ 3 เงนิ ของสหกรณอ าจฝากหรอื ลงทุนได ดงั ตอ ไปนี้
(1) บตั รเงนิ ฝากทธ่ี นาคารเปนผอู อก
(2) ตัว๋ แลกเงินที่ธนาคารเปน ผรู ับรอง สลกั หลงั หรือรบั อาวัลหรอื ต๋ัวสัญญาใชเ งนิ ทธี่ นาคารเปน ผู

สลกั หลังหรือรบั อาวลั โดยไมม ขี อจํากดั ความรับผดิ ชอบ
(3) ตราสารแสดงสทิ ธิในหนที้ ธ่ี นาคารซึ่งมใิ ชรัฐวิสาหกจิ เปน ผูอ อก
(4) บตั รเงนิ ฝาก หรอื ใบรบั เงินฝากทอ่ี อกโดยบริษทั เงนิ ทุน หรือบรษิ ัทเครดติ ฟองซเิ อร ซึ่ง

สถาบันคมุ ครองเงินฝากประกนั การชําระคืนเงินตน และดอกเบย้ี
(5) ตราสารแสดงสทิ ธใิ นหน้ีทน่ี ติ บิ คุ คลเฉพาะกิจเปนผอู อกภายใตโ ครงการแปลงสนิ ทรพั ยเปน

หลักทรพั ย ท่ไี ดร ับอนญุ าตตามพระราชกาํ หนดนติ บิ คุ คลเฉพาะกิจเพ่อื การแปลงสนิ ทรัพยเปน หลักทรัพย พ.ศ.
2540 และตราสารแสดงสทิ ธิในหนนี้ น้ั ไดรับการจดั อันดบั ความนา เชอ่ื ถอื ตง้ั แต ระดบั A- ข้นึ ไป จากบรษิ ัทจดั
อันดบั ความนา เชอื่ ถอื ท่ไี ดรับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการกาํ กบั หลักทรัพยแ ละตลาดหลักทรพั ย

(6) หุนกทู ่ีไดรบั การจัดอันดับความนาเชอื่ ถือตง้ั แตร ะดบั A- ข้นึ ไปจากบริษทั จัดอันดบั ความ
นา เชือ่ ถือท่ีไดรับความเหน็ ชอบจากคณะกรรมการกํากบั หลกั ทรพั ยแ ละตลาดหลักทรพั ย

(7) หนว ยลงทนุ ของกองทนุ รวมทร่ี ฐั วสิ าหกิจจดั ตงั้ ขึ้นโดยความเห็นชอบของคณะรัฐมนตรแี ละ
อยใู นกาํ กับดแู ลของคณะกรรมการกํากับหลกั ทรพั ยและตลาดหลกั ทรัพย

(8) หนว ยลงทนุ ของกองทุนรวมทมี่ วี ัตถปุ ระสงคในการลงทุนตามมาตรา 62 แหง
พระราชบัญญตั สิ หกรณ พ.ศ. 2542

ขอ 4 การนาํ เงนิ ไปฝากหรือลงทนุ ตามขอ 3 (7) รวมกนั ตอ งไมเกนิ ทุนสํารองของสหกรณและตอ งผา น
การอนุมัตจิ ากที่ประชมุ ใหญข องสหกรณกอ นจึงจะดําเนินการได

มติทีป่ ระชมุ ........................................................................................................................................................

182 รายงานประจําป 2564

4.8 เร่อื ง คัดเลือกผสู อบบัญชี และกาํ หนดคาธรรมเนยี มการสอบบญั ชี ประจําป 2565

เพอ่ื ใหเปนไปตามขอ บงั คบั ขอ 24. การตรวจสอบบัญชี บญั ชขี องสหกรณนั้นตอ งไดร บั การ
ตรวจสอบอยา งนอยปล ะหนง่ึ ครัง้ ตามมาตรฐานการสอบบญั ชีท่รี ับรองทัว่ ไปและตามระเบยี บที่นายทะเบยี น
สหกรณกําหนด โดยผสู อบบญั ชซี ึง่ นายทะเบยี นสหกรณแตง ตงั้

สําหรบั ปบัญชี 2565 มผี สู อบบญั ชีภาคเอกชนท่ีขนึ้ ทะเบยี นกับกรมตรวจบัญชีสหกรณ
เสนอบริการตรวจสอบมายังสหกรณ ทั้งสิน้ 2 ราย คณะกรรมการดาํ เนนิ การไดพ จิ ารณาเบ้ืองตนแลว

จงึ เสนอทป่ี ระชมุ ใหญพิจารณาคัดเลอื ก 1 ราย โดยมีขอ มลู ประกอบการพจิ ารณา ดังนี้

รายละเอียด 1.บรษิ ทั มนตรสี อบบญั ชีและกฎหมายจํากดั 2.บริษทั วรกรและสุชาดาสอบบัญชี จาํ กดั
ผสู อบบญั ชีหลักช่ือ นายชูศักดิ์ ชว ยชู ผูสอบบญั ชีหลกั ชื่อ นางวรกร แชม เมอื งปก
ผตู รวจสอบบัญชี เลขทะเบยี นผูสอบบญั ชรี บั อนุญาต 8369 เลขทะเบียนผสู อบบญั ชีรบั อนุญาต 3579
ขอบเขตการ ผูสอบบญั ชีสํารองชื่อ นายมนตรี ชว ยชู ผูสอบบัญชีสํารองชอื่ นางสุชาดา รอดจันทรท อง
ปฏบิ ัติงาน เลขทะเบยี นผูส อบบญั ชรี บั อนุญาต 3214 เลขทะเบยี นผูสอบบญั ชรี บั อนุญาต 6271
ตรวจสอบ ปฏบิ ตั งิ านตรวจสอบงบการเงนิ ของสหกรณตาม ปฏิบัตงิ านตรวจสอบงบการเงินของสหกรณต าม
คาธรรมเนยี มสอบ มาตรฐานการสอบบญั ชีและระเบยี บทีอ่ ธิบดกี รมตรวจ มาตรฐานการสอบบญั ชีและระเบยี บท่อี ธบิ ดกี รมตรวจ
บญั ชี บญั ชสี หกรณกาํ หนดรวมทั้งขอกาํ หนดดาน บญั ชีสหกรณก ําหนด รวมทั้งขอ กําหนดดาน
จรรยาบรรณทเ่ี กย่ี วขอ งกับการตรวจสอบงบการเงนิ จรรยาบรรณทเี่ กย่ี วของกับการตรวจสอบงบการเงนิ
การเขาปฏิบัติงาน เสนอคา ธรรมเนยี มการสอบบญั ชเี ปน เสนอคา ธรรมเนียมการสอบบญั ชีเปน
ตรวจสอบ จํานวนเงิน 100,000.00 บาท จาํ นวนเงิน 120,000.00 บาท
(หนึ่งแสนบาทถวน) (หนึ่งแสนสองหมืน่ บาทถวน)
คาธรรมเนยี มเกบ็ ครั้งเดียวเมือ่ มกี ารประชุมรบั รองงบ คาธรรมเนยี มเรยี กเก็บคร้ังเดยี วเมือ่ ไดแสดงความเห็น
การเงินเรียบรอยแลว ตอ งบการเงินและสง มอบรายงาน
ของผูสอบบญั ชพี รอมงบการเงินใหสหกรณเ รยี บรอ ย
แลว
1. ขาพเจาและ/หรอื ทีมงานผูชวยผูสอบบญั ชจี ะเขา 1.ขาพเจา และ/หรอื ทีมงานผูชว ยผูสอบบญั ชีจะเขา
ตรวจสอบและเขารว มประชมุ ไมน อยกวา 4 ครั้ง ตรวจสอบและเขา รวมประชมุ รวม 6 ครงั้ ประกอบดวย
ประกอบดวย เขาตรวจสอบระหวา งป เขาตรวจสอบ เขา ตรวจสอบรายไตรมาส เขา ตรวจสอบประจาํ ป เขา
ประจําป เขา รวมประชมุ รบั รองงบการเงิน และเขา รวมประชุมรบั รองงบการเงนิ และเขา รว มประชมุ ใหญ
รวมประชมุ ใหญประจาํ ป โดยเขา ตรวจสอบคร้งั ละไม ประจาํ ป โดยเขา ตรวจสอบคร้ังละไมนอยกวา 2 – 4 วัน
นอ ยกวา 2 – 4 วัน ทาํ การ โดยมผี ชู ว ยผูสอบบญั ชี ทําการ และมผี ชู วยผูสอบบญั ชี3 – 5 คน
3 – 6 คน 2. โดยสามารถแสดงความเห็นตอ งบการเงนิ ไดหลังจาก
2. ระยะเวลาการแสดงความเห็นตองบการเงนิ และ ท่ีสหกรณป ดบญั ชีเรยี บรอยแลว 5 วนั ทาํ การ
สงมอบรายงานการสอบบญั ชีหลงั จากสหกรณไ ดจัดทาํ
งบการเงนิ เสรจ็ สมบรู ณแลวภายใน 3 วนั

รายงานประจาํ ป 2564 183

รายละเอียด 1. บรษิ ทั มนตรสี อบบญั ชีและกฎหมาย จํากดั 2. บรษิ ทั วรกรและสชุ าดาสอบบญั ชี จาํ กดั

การรายงานผลการ 1. รายงานผลการตรวจสอบบญั ชี 1. รายงานผลการตรวจสอบบญั ชี
ตรวจสอบ ทุกครั้งทเี่ ขาตรวจ ใหสหกรณทราบ ทุกไตรมาส (3 เดือน/ครั้ง) ใหสหกรณทราบ
2. รายงานการสอบบญั ชปี ระจําป 2. รายงานการสอบบญั ชปี ระจาํ ป
ขอมลู อน่ื ๆ ตามท่ีระเบยี บกรมตรวจบญั ชสี หกรณก ําหนด ตามระเบยี บกรมตรวจบญั ชีสหกรณกําหนด
3. ขาพเจา จะใหค าํ แนะนาํ ในการ 3. ขา พเจา จะใหคําแนะนาํ ในการ
บรหิ ารการเงนิ การบัญชตี ามท่เี หน็ สมควร โดยไมถอื บริหารการเงินการบญั ชีตามที่เหน็ สมควร โดยไม
เปน คาบรกิ ารพิเศษแตอยางใด กรณมี ีขอ สังเกตทาง ถือเปนคาบรกิ ารพิเศษแตอยางใด กรณีมี
การเงนิ การบัญชที ีส่ ําคัญทพี่ บในระหวางการ ขอ สงั เกตทางการเงินการบัญชที สี่ ําคญั ทพี่ บใน
ตรวจสอบ ขาพเจา จะแจง ใหสหกรณและกรมตรวจ ระหวา งการตรวจสอบ ขาพเจา จะแจง ใหสหกรณ
บญั ชีสหกรณท ราบเปนลายลกั ษณอักษร หรือเม่อื และกรมตรวจบัญชสี หกรณทราบเปน ลายลกั ษณ
ไดรบั แจง ขอ สังเกตทางการเงนิ การบญั ชีจาก อกั ษร หรอื เม่ือไดร ับแจงขอ สังเกตทางการเงนิ การ
หนวยงานราชการ ขาพเจา จะดําเนินการตรวจสอบ บญั ชจี ากหนวยงานราชการ ขาพเจา จะดาํ เนินการ
เพมิ่ เติมตามทไี่ ดรบั แจง จากหนวยงานราชการนน้ั ตรวจสอบเพมิ่ เติมตามท่ไี ดรบั แจง จากหนวยงาน
แลวแจงผลการตรวจสอบใหส หกรณแ ละกรมตรวจ ราชการนั้น แลว แจงผลการตรวจสอบใหสหกรณ
บญั ชสี หกรณท ราบเปนลายลักษณอ ักษร และกรมตรวจบัญชีสหกรณทราบเปน ลายลักษณ
4. ขาพเจา และ/หรือผูช ว ยผูสอบบญั ชยี นิ ดีจะเขา อกั ษร
รวมประชุมใหญห รอื ประชมุ คณะกรรมการ 4. ขา พเจายนิ ดีจะเขารวมประชุมใหญห รอื ประชุม
ดาํ เนินการทุกคร้ังตามท่ีสหกรณรองขอ เวนแตมี คณะกรรมการดาํ เนินการทุกคร้ังตามท่ีสหกรณ
เหตสุ ุดวิสัยประชมุ คณะกรรมการดําเนินการทกุ ครั้ง รอ งขอ
ตามท่สี หกรณร อ งขอ 1. ขา พเจา ขอรบั รองวา ผสู อบบัญชหี ลักช่ือ
1. ขา พเจา ขอรบั รองวา ผูสอบบญั ชีหลักช่อื นายชู นางวรกร แชมเมืองปก เลขทะเบยี นผสู อบบญั ชรี บั
ศกั ดิ์ ชวยชู เลขทะเบยี นผูสอบบญั ชรี บั อนญุ าต 8369 อนญุ าต 3579 ผูสอบบญั ชีสาํ รองชอื่ นางสุชาดา
ผูสอบบญั ชีสํารองชื่อ นายมนตรี ชว ยชู เลขทะเบยี น รอดจนั ทรท อง เลขทะเบยี นผสู อบบัญชีรับอนุญาต
ผูสอบบญั ชีรบั อนุญาต 3214 ทราบและปฏบิ ตั ิตาม 6271ทราบและปฏบิ ตั ติ ามระเบยี บกรมตรวจบญั ชี
ระเบยี บกรมตรวจบัญชสี หกรณ วาดว ยการแตงตั้ง สหกรณ วา ดวยการแตง ต้ังผูส อบบญั ชรี บั อนุญาต
ผูสอบบญั ชีรบั อนญุ าตหรือบุคคลอ่ืนเปน ผสู อบบัญชี หรือบคุ คลอ่นื เปน ผสู อบบญั ชีสหกรณ พ.ศ. 2562
สหกรณ พ.ศ. 2562 ขอ 12 และขอ 13 ขอ 12 และขอ 13

จาํ นวนสหกรณท่ี 1. ผลงานการสอบบญั ชีสหกรณ จาํ นวน 51 สหกรณ 1. ผลงานการสอบบญั ชีสหกรณ จาํ นวน 35
ตรวจสอบ 2. ผลงานดานการตรวจสอบกิจการสหกรณ จาํ นวน สหกรณ
5สหกรณ 2. ผลงานดานการตรวจสอบกิจการสหกรณ จํานวน
15 สหกรณ

มตทิ ่ีประชมุ ............................................................................................................................................

184 รายงานประจาํ ป 2564

4.9 เร่ืองพิจารณาเลือกต้งั ผูต รวจสอบกิจการ ประจาํ ป 2565

พระราชบญั ญัตสิ หกรณ มาตรา 53 ใหส หกรณมผี ตู รวจสอบกิจการ ซง่ึ ที่ประชุมใหญเ ลอื กตงั้ จาก
สมาชิกหรอื บุคคลภายนอกเพื่อดําเนินการตรวจสอบกิจการของสหกรณแ ลว ทาํ รายงานเสนอตอทป่ี ระชมุ ใหญ

จํานวนผตู รวจสอบกจิ การตามวรรคหนงึ่ ใหเ ปน ไปตามท่นี ายทะเบยี นสหกรณก าํ หนด
ขอ บังคับสหกรณ (วรรคแรก)

ขอ 102. ผูตรวจสอบกจิ การ ใหท ปี่ ระชมุ ใหญเ ลือกต้งั สมาชกิ หรือบุคคลภายนอก
ผมู คี ณุ วฒุ ิ ความรู ความสามารถในดานธรุ กิจ การเงนิ การบญั ชี การบรหิ ารจดั การเศรษฐศาสตร การสหกรณ
กฎหมายทเี่ กยี่ วขอ งกบั สหกรณ และมคี ุณสมบตั เิ ปนผูผา นการอบรมการตรวจสอบกิจการจากกรมตรวจบัญชี
สหกรณ หรอื หนวยงานอ่นื ท่ไี ดรบั การรบั รองหลกั สตู รจากกรมตรวจบัญชสี หกรณ และไมม ีลกั ษณะตองหามของผู
ตรวจสอบกิจการ ตามระเบยี บนายทะเบยี นสหกรณ จาํ นวน 4 คน เปนผตู รวจสอบกิจการของสหกรณ

- ในป 2565 มผี สู มคั รเพอื่ รับการเลอื กต้งั เปนผตู รวจสอบกจิ การ ดงั นี้

หมายเลข 1 นางสาวคาํ หยาด ใจสศู กึ
หมายเลข 2 นางวัชราภรณ พอ คณุ ตรง
หมายเลข 3 นางสาวสุทชั ชา วทิ ยพาณชิ กร
หมายเลข 4 นางสภุ าดา ตามยั
หมายเลข 5 นางวราทิพย กติ ศิ รวี รพันธุ

มตทิ ีป่ ระชมุ ..............................................................................................................................................................

ระเบยี บวาระที่ 5 เรอ่ื งรบั ทราบรายงานตามกฎกระทรวง
5.1 รบั ทราบ รายงานคา ตอบแทนกรรมการ ทป่ี รกึ ษา และผจู ดั การ ป 2564

รายละเอียดคา ตอบแทนของคณะกรรมการ ทปี่ รกึ ษา และผูจดั การ ประจําป 2564 (วนั ท่ี 1 มกราคม- ธนั วาคม 2564)
กฎกระทรวง การดําเนินงานและการกาํ กบั ดแู ลสหกรณอ อมทรัพยแ ละสหกรณเครดิตยูเนยี่ น พ.ศ. 2564 ขอ 14 (1) และ (4) ใหแจงผลประโยชนและคาตอบแทนท่ีกรรมการ ผจู ัดการ

ผูมอี ํานาจในการจัดการ และทีป่ รกึ ษาของสหกรณ ไดร บั จากสหกรณน น้ั ในรอบปบญั ชีทผ่ี า นมา และใหแ สดงรายละเอียดคาตอบแทนดังกลา วเปนรายบคุ คล โดยแจงใหท ีป่ ระชุมใหญทราบ

ลําดบั ที่ ช่ือ – สกุล ตาํ แหนง คา เบยี้ ประชุม คา พาหนะ/เบ้ียเลย้ี ง โบนสั คา ตอบแทน เงินเดอื น รวม
1 นายธานี กอ บุญ ประธานกรรมการ 20,900.00 36,450.00 371,471.61 1,072,134.00 428,821.61
2 นางเกษร สังขกฤษ รองประธานกรรมการ 20,000.00 18,500.00 309,605.89 1,072,134.00 38,500.00
3 นายแสวง พมิ พส มแดง รองประธานกรรมการ 26,700.00 25,300.00 277,510.55 361,605.89
4 นางสุรางคว นะภูติ กรรมการ/เหรัญญกิ 26,000.00 26,000.00 285,739.86 52,000.00
5 นายชวน โทอ้ิง กรรมการ/เลขานกุ าร 23,900.00 33,340.00 302,053.87 334,750.55
6 นายวิสิทธ์ิ ง้วิ พรหม กรรมการ 42,000.00 41,500.00 369,239.86
7 นายมานิตย ไชยพะยวน กรรมการ 35,800.00 28,700.00 247,483.53 64,500.00
8 นายสมพงษ พนั ธคุ ุมเกา กรรมการ 41,300.00 53,900.00 246,295.51 397,253.87
9 นายพูลสมบตั ิ ติงมหาอนิ ทร กรรมการ 28,100.00 44,400.00 239,096.88 72,500.00
10 นายวริ ัตน จาํ ปาวัน กรรมการ 26,600.00 28,740.00 55,340.00
11 นางประภสั สร บญุ อยู กรรมการ 27,400.00 25,250.00 15,000.00 300,133.53 รายงานประจําป 2564
12 นางสาวราณี วริ ยิ ะเจริญกิจ กรรมการ 21,800.00 37,030.00 15,000.00 305,125.51
13 นายวรวุฒิ ทพิ ยสุวรรณ กรรมการ 21,800.00 16,500.00 30,000.00 277,396.88
14 นางกสุ มุ า มณนี พ กรรมการ 21,800.00 18,200.00 40,000.00
15 นางนริ นั ดร เทยี นรังษี กรรมการ 20,400.00 23,600.00 44,000.00
16 รศ.พิเศษ ทพ.ดร.สขุ สมยั สมพงษ ทป่ี รึกษา 15,000.00
17 นายเฉลียว สัพโส ทปี่ รึกษา 404,500.00 31,200.00 262,845.00 15,000.00
18 นางนลิ ุบล เทพล ผจู ดั การ 488,610.00 2,542,102.70 1,366,179.00
4,537,346.70
รวม

ที่ประชมุ ……………………………………………………………………….............................................................................. 185

186 รายงานประจาํ ป 2564
5.2 รับทราบ รายงานการถูกรอ งเรยี น ในป 2564
รายงานผลการสอบขอเทจ็ จรงิ
กรณีรองเรยี นขอใหต รวจสอบพฤตกิ ารณ
ของสมาชิกสหกรณอ อมทรัพยส าธารณสุขสกลนคร จาํ กดั กรณีนายธานี กอ บญุ
*******************
คณะกรรมการดําเนนิ การสหกรณอ อมทรัพยส าธารณสุขสกลนคร จาํ กัด ไดแตงตั้งคณะกรรมการสอบขอ เท็จจริง
โดยสอบสวนจากเอกสารของผรู องเรยี น คําชแี้ จงของผถู กู รองและผทู เี่ กยี่ วขอ ง ขอรายงานผลการสอบสวน
ขอเท็จจรงิ ดงั นี้
ประเดน็ การสอบสวนขอ เท็จจรงิ
ขอรอ งเรยี นประเด็นท่ี 1 แอบอา งวฒุ ิการศึกษาวาตนเองสําเร็จการศกึ ษาระดับดษุ ฎบี ัณฑติ สาขา
ยทุ ธศาสตรการพฒั นา จากมหาวิทยาลยั ราชภฎั อดุ รธานี ใชคําวา ดร. นําหนาชื่อ กลาวเอย นามตวั เองในสถานท่ี
ตา งๆ ทั้งๆทต่ี นเองไมไ ดส าํ เร็จการศกึ ษาดงั กลา ว มเี จตนาใหผูอ ื่นหลงเชือ่ เกดิ ความศรทั ธา เชอื่ ถือ ซงึ่ เปน การ
แสดงออกท่ผี ดิ จรรยาบรรณอยางรายแรง มคี วามผดิ ตามกฎหมายมหาวทิ ยาลยั ถึงแมว า จะเปน พฤตกิ รรมสวน
บุคคล แตในการทต่ี นเองไดไ ปเปน วทิ ยากรบรรยายทว่ั ประเทศ ไดแ สดงใหผ รู บั ฟงไดท ราบวา ตนเองดาํ รงตําแหนง
ประธานสหกรณออมทรัพยส าธารณสุขสกลนคร จํากดั ยอ มนาํ มาซ่ึงความเสอื่ มเสยี ใหแ กส หกรณฯ พฤติการณข อง
นายธานี กอ บญุ ในฐานะสมาชิกสหกรณฯ
คณะกรรมการไดส อบสวนขอ เทจ็ จริง ปรากฏดงั นี้
1. ผูถกู รอ งเรยี น เขาศกึ ษาระดบั ปริญญาเอก สาขายุทธศาสตรการพัฒนา ท่มี หาวทิ ยาลยั ราชภฏั อุดรธานี
ไดสอบผานภาคทฤษฎี ภาคประมวลความรูและผานรา งวทิ ยานพิ นธ และไดท ําการแกไ ขตามคําแนะนาํ แตใน
ระหวา งหว งเวลาการแกไขนน้ั มปี ญ หาทางครอบครวั อาทิ การเจบ็ ปวย การศกึ ษาของบตุ ร เปน เหตทุ ําใหไ มไ ด
ตดิ ตามผลการแกไ ข คร้ันตอ มาสภาพปญ หาทเุ ลาลง จึงไดไ ปตดิ ตามสอบถามกับอาจารยที่ปรกึ ษาวา วิทยานพิ นธ
ทีไ่ ดแ กไ ขสง นนั้ ผานหรอื ไม อาจารยท ปี่ รึกษาไดช ว ยตดิ ตามใหแ ละแจง วาผาน แตเนอ่ื งจากเลยเวลาย่นื คาํ รอ งขอ
เขารับปรญิ ญาไปแลว จงึ ไมม สี ิทธิรบั ปริญญาเชนเดยี วกันกบั เพอ่ื นๆ และหลงั จากนนั้ อาจารยทป่ี รกึ ษากน็ าํ ใบ
ปรญิ ญาบตั รมาให ดวยเหตนุ ้ี จึงเช่ือโดยสุจรติ ใจวาตนเองไดจ บการศกึ ษาระดบั ปรญิ ญาเอกแลว ฉะนนั้ จงึ ใชค ํา
นาํ หนานาม “ดร.”
กรณไี ปเปนวิทยากรใหกบั สหกรณต า งๆท่ัวประเทศ ผถู กู รอ งแจง วา สหกรณตางๆทเี่ ชญิ ผถู กู รอ งไปเปน
วทิ ยากร จะตดิ ตอประสานงานเปน การสวนตัว ท้ังในขณะท่ดี ํารงตาํ แหนง หรอื ไมไ ดด าํ รงตาํ แหนง ประธาน
กรรมการสหกรณฯ ต้งั แตป  พ.ศ. 2560 เปน ตน มา ปจ จุบนั ยงั มสี หกรณเชญิ ไปเปนวทิ ยากรสม่ําเสมอ และไมไ ด
เบิกคา ใชจา ยใดๆจากสหกรณออมทรพั ยส าธารณสุขสกลนคร จํากัด แตป ระการใด นอกจากการไปเปนวิทยากร
แลว ยงั มสี หกรณตา งๆมาเย่ยี มชมและศกึ ษาดงู าน
20 มถิ นุ ายน 2564 ผูถกู รอ งเรยี นเขา ยืน่ ใบสมคั รกรรมการชุมนมุ สหกรณอ อมทรพั ยแ หง ประเทศไทย โดย
แจง ความประสงคข อใชค ํานาํ หนานาม “ดร.”พรอ มแนบสําเนาวฒุ กิ ารศกึ ษา ซงึ่ เปน ประเดน็ นไ้ี มใ ชค ุณสมบตั ขิ อง
ผสู มัครทกี่ ําหนดใหม แี ตอ ยางใด ตอมาชมุ นมุ สหกรณออมทรพั ยแหง ประเทศไทย ไดป ระกาศใหไ ดห มายเลข 2
และใชค าํ นําหนานามวา”ดร.”
17 สงิ หาคม 2564 มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎอดุ รธานี ไดต อบหนงั สอื ของสหกรณออมทรพั ยส าธารณสุข
อุทุมพรพิสยั ตนสงั กดั ของผสู มคั รกรรมการชมุ นมุ สหกรณออมทรัพยแ หง ประเทศไทย ทที่ ําหนังสอื ไปสอบถาม
กรณวี ฒุ กิ ารศึกษาของผถู กู รอ งวาเปนผเู คยศึกษาหลกั สตู รปรัชญาดษุ ฎีบัณฑิต สาขายุทธศาสตรการพฒั นา
สถานะปจจบุ ันออกตามระเบยี บ(ระยะเวลาเรยี น) ตงั้ แต 2 สิงหาคม 2558

รายงานประจาํ ป 2564 187

ตอ มาผูสมคั รกรรมการชมุ นุมสหกรณออมทรพั ยแ หงประเทศไทยคนหนงึ่ ซงึ่ เปน คูแขง ขัน ไดท ําหนงั สอื
รอ งเรยี นถึงชมุ นมุ สหกรณอ อมทรัพยแ หงประเทศไทย ใหตรวจสอบวุฒิการศกึ ษาและชมุ นมุ สหกรณอ อมทรพั ย
แหง ประเทศไทยไดท ําหนงั สอื ถงึ มหาวิทยาลยั ราชภัฎอดุ รธานี เพอ่ื ตรวจสอบและทางมหาวทิ ยาลยั แจง ผลการ
ตรวจสอบวา สาํ เนาปริญญาบตั รไมใ ชเ อกสารทีอ่ อกโดยมหาวิทยาลยั ราชภฎั อดุ รธานี

30 สงิ หาคม 2564 ผถู กู รองไดท าํ หนงั สอื ถงึ ชุมนุมสหกรณสหกรณออมทรัพยแ หงประเทศไทย แจง ความ
จํานงขอยกเลกิ การใชค ํานําหนา นาม

6 กนั ยายน 2564 ชุมนุมสหกรณสหกรณอ อมทรพั ยแ หง ประเทศไทย ไดอ อกแถลงการณเกี่ยวกบั กรณี
ของผถู ูกรองโดยมอบหมายใหผูจดั การใหญไปลงบันทกึ ประจาํ วันตอ พนักงานสอบสวนไมใชก ารแจง ความรอ งทุกข
กลาวโทษและไมไดต ดั สิทธิ์การเปนผสู มคั รกรรมการแตอ ยา งใด เนื่องจากไมไดข ดั ตอคุณสมบตั ผิ สู มคั ร

8 กนั ยายน 2564 ผถู กู รองไดอ อกแถลงการณถ งึ การไดม าของวฒุ กิ ารศึกษาและเชอื่ โดยสุจริตใจวาตวั เอง
จบการศึกษา จงึ ใชค ํานาํ หนา นาม “ดร.” และไดแจง ตอ สหกรณออมทรัพยส าธารณสขุ สกลนคร จาํ กัด เพอ่ื ยกเลกิ
การใชคํานําหนานาม “ดร.”

16 กันยายน 2564 มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั อดุ รธานี มอบหมายใหน ติ กิ รแจงความบันทกึ ประจาํ วันรอ งทกุ ข
กลาวโทษตอพนักงานสอบสวนฐานใชต ราสัญลกั ษณข องมหาวทิ ยาลยั โดยไมมสี ทิ ธิ์ใชกบั ผูถกู รอ ง

ความเหน็ ของคณะกรรมการสอบสวนขอ เทจ็ จริง
1) เร่ืองวุฒกิ ารศึกษาของผถู กู รอง เปน ประเดน็ สวนตวั ของผูถกู รองกบั ชมุ นมุ สหกรณอ อมทรัพยแ หง
ประเทศไทย จาํ กดั มหาวทิ ยาลยั ราชภัฎอุดรธานี เพราะทงั้ สองแหง ตางกเ็ ปนแตล ะนิติบคุ คล จึงไมเกย่ี วขอ งกบั
การดาํ เนนิ งานของสหกรณออมทรัพยส าธารณสุขสกลนคร จํากดั ถงึ แมจะมีการรอ งทุกขก ลาวโทษ แตค ดยี งั ไมถ ึง
ทส่ี ดุ จงึ ยงั ไมมผี ลผูกพันตอ สหกรณอ อมทรัพยส าธารณสุขสกลนคร จํากดั แตป ระการใด
2) วุฒิการศกึ ษาทถ่ี กู รอ ง ไมท ําใหผ ถู ูกรอ งขาดจากสมาชกิ ภาพสหกรณฯ เพราะไมม ีขอ กาํ หนดใดๆ ใน
ขอบงั คับ ระเบียบสหกรณอ อมทรพั ยส าธารณสขุ สกลนคร จาํ กัด วา ดวยคณุ สมบตั ิการเขา เปนสมาชิก สทิ ธิและ
หนา ทีส่ มาชกิ เกยี่ วกบั ประเด็นวฒุ ิการศกึ ษา และผถู ูกรอ งกไ็ มไ ดนําวฒุ ิบตั รการศึกษาดงั กลาวมาแสดงตอ สหกรณ
ในทุกกรณี
3) การใชค าํ นาํ หนานาม “ ดร.” เมือ่ ผถู ูกรองไดทราบวา มีปญหากไ็ ดแจง ฝา ยจดั การยกเลกิ การใชโ ดย
ทันที ตงั้ แตวันที่ 8 กันยายน 2564 เปน ตนมา
4) ในขอ บงั คบั ระเบยี บสหกรณฯ ไมไ ดกําหนดใหต รวจสอบคุณวฒุ กิ ารศึกษาของกรรมการดําเนินการแต
อยา งใด
5) ผูถ ูกรองไปเปนวทิ ยากรใหก ับสหกรณต า งๆ ทว่ั ประเทศ ในขณะทดี่ าํ รงตาํ แหนงหรอื ไมไดด าํ รง
ตาํ แหนง ประธานกรรมการสหกรณฯ ตง้ั แตป  พ.ศ. 2560 เปนตน มา โดยสหกรณเชญิ ไปเปน วทิ ยากร เปนการเชญิ
สว นตัวและไมไดเ บกิ คาใชจ า ยใดๆ จากสหกรณออมทรพั ยสาธารณสุขสกลนคร จาํ กดั แตป ระการใด หลังจากผถู กู
รองไดอ อกแถลงการณเ ร่อื งวฒุ ิการศึกษาแลว แตม สี หกรณตางๆ เชญิ ไปเปน วิทยากร 3 แหง ประกอบดวยสหกรณ
ออมทรัพยส าธารณสขุ เชยี งราย จาํ กัด สหกรณออมทรพั ยค รูสมทุ รปราการ จํากดั และสหกรณออมทรพั ย
โรงพยาบาลชลบรุ ี จาํ กัด และยงั มสี หกรณออมทรัพยฯขอมาศกึ ษาดงู าน 2 แหง คอื สหกรณออมทรัพยค รู
มหาสารคาม จาํ กดั และสหกรณออมทรัพยค รูกรมสามญั ศึกษานครราชสมี า จํากดั แสดงวาสหกรณอ อมทรพั ย
เหลานั้น เชือ่ ม่ันศรทั ธาตอ ผถู กู รอง ในประสบการณ องคค วามรแู ละความเสยี สละแกข บวนการณสหกรณ ไมใ ชม า
จากวุฒิการศกึ ษา รวมท้งั ความเชอ่ื มนั่ และศรัทธาตอ สหกรณอ อมทรัพยสาธารณสขุ สกลนคร จาํ กดั

188 รายงานประจาํ ป 2564
6) การใชค ํานาํ หนา นาม “ ดร.” ของผถู ูกรอ งในฐานะสมาชิกสหกรณฯ นํามาซ่ึงความเสอ่ื มเสยี ใหแ ก

สหกรณฯ หรือไม และเปนเหตใุ หต องพนจากสมาชกิ สภาพสหกรณ ตามขอ บงั คับ ขอ 41 หรอื ไม
ผถู กู รองไมไ ดใชส ิทธใิ ดๆ เกย่ี วกบั วฒุ กิ ารศกึ ษา ขอรับสวัสดกิ ารตางๆ จากสหกรณฯ เชน สวัสดิการแสดง

ความยินดใี นโอกาสสาํ เร็จการศึกษา และไมมพี ฤติการณใดๆ ทข่ี ดั ตอการเปนสมาชกิ สหกรณ ตามสทิ ธแิ ละหนา ที่
ในฐานะการเปนสมาชกิ สหกรณออมทรัพยส าธารณสุขสกลนคร จาํ กดั

ต้ังแตผ ถู กู รองไดรับการเลอื กตง้ั เขา มาบริหารงานสหกรณออมทรัพยสาธารณสขุ สกลนคร จํากดั
ไดพ ัฒนาสหกรณฯ ทั้งในดา นระบบบริการ การบรหิ ารเงนิ ทุน การพฒั นาสมาชกิ การสรางเครอื ขาย จนทําให
สหกรณม ตี นทนุ ทางการเงนิ ลดลง มผี ลประกอบการทดี่ ี การบริการสมาชกิ
ที่ประทบั ใจ เงินทนุ ภายในสหกรณเพมิ่ ข้นึ อยางกา วกระโดด หนีส้ ินภายนอกของสหกรณล ดลง แมใ นปจ จบุ ันไมม ี
เจา หนสี้ หกรณ สมาชกิ สหกรณ สถาบนั การเงิน ขอยกเลกิ การทาํ ธรุ กรรมทางการเงนิ กบั สหกรณแ ตป ระการใด แต
ตรงกนั ขามกลบั เสนอเงินกหู รือฝากดอกเบยี้ ตา่ํ และฝากเงินกับสหกรณเพมิ่ ขึ้น

เสนอผลสอบขอ เทจ็ จรงิ ตอคณะกรรมการดาํ เนินการ
ผูถกู รอ งเปนสมาชกิ สหกรณออมทรพั ยส าธารณสุขสกลนคร จาํ กัด ไมพ บวา มพี ฤตกิ ารณท ี่
เปน เหตทุ าํ ใหเสื่อมเสยี ตอ สหกรณ เพราะ
1) ประเด็นวฒุ ิการศึกษาเปนประเด็นสว นตัวของผถู กู รอ งกบั ชมุ นมุ สหกรณอ อมทรพั ยแ หง ประเทศไทย
จาํ กดั มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั อดุ รธานี เพราะท้ังสองแหงตางกเ็ ปน แตละนติ บิ คุ คล ถงึ แมมีการรองทกุ ขก ลา วโทษ แต
คดยี งั ไมถ ึงท่สี ดุ จึงไมเกี่ยวของกับการดําเนินงานของสหกรณอ อมทรัพยส าธารณสขุ สกลนคร จาํ กดั จึงยังไมม ผี ล
ผกู พนั ตอสหกรณอ อมทรพั ยสาธารณสขุ สกลนคร จาํ กัด แตป ระการใด
2) สหกรณออมทรัพยส าธารณสุขสกลนคร จํากดั ไมมขี อบังคับในหมวดวาดวยคุณสมบตั สิ ทิ ธิและหนาท่ี
ของสมาชกิ กาํ หนดไวเกยี่ วกบั วุฒิการศึกษา จงึ ไมข ดั ตอ ขอบงั คับ ระเบยี บสหกรณออมทรพั ยส าธารณสขุ สกลนคร
จํากดั
3) การใชค าํ นาํ หนา นาม “ดร.” ของผูถกู รอ งในการเปน วทิ ยากร ไมเ ปน เหตุทําใหส หกรณฯ เสยี หาย
เสอ่ื มเสยี ประโยชน เพราะการเปนวทิ ยากรเปน การตดิ ตอ ในนามสวนตวั และไมไดเ บกิ คาใชจ า ยใดๆ จากสหกรณฯ
หลงั จากผถู ูกรอ งไดอ อกแถลงการณ เรอื่ งวฒุ ิการศึกษาแลว แตยังมสี หกรณต างๆ เชญิ ไปเปนวิทยากร เชน
สหกรณอ อมทรพั ยส าธารณสุขเชยี งราย จํากดั สหกรณออมทรัพยครสู มุทรปราการ จาํ กดั และสหกรณอ อมทรัพย
โรงพยาบาลชลบุรี จํากดั และยงั มสี หกรณออมทรัพย ขอมาศึกษาดูงาน เชน สหกรณอ อมทรพั ยครูมหาสารคาม
จํากัด และสหกรณอ อมทรพั ยค รกู รมสามญั ศึกษานครราชสมี า จาํ กัด แสดงวาสหกรณอ อมทรพั ยเ หลา น้ัน เชอื่ ม่ัน
ศรทั ธาตอ ผถู ูกรอง ไมใ ชม าจากวฒุ กิ ารศกึ ษา รวมทงั้ ความเชอื่ มั่นและศรัทธาตอสหกรณอ อมทรัพยสาธารณสขุ
สกลนคร จาํ กดั
4) ตงั้ แตผ ถู ูกรอ ง เขา มาบรหิ ารงานสหกรณออมทรพั ยสาธารณสขุ สกลนคร จํากดั จนถงึ ปจจบุ นั สหกรณ
ไดร บั การพัฒนา ดา นระบบบริการ การบรหิ ารเงินทนุ การพัฒนาสมาชกิ การสรา งเครือขาย จนทาํ ใหส หกรณมี
ความม่ันคงจนสหกรณไดร บั รางวัลสหกรณด เี ดนระดบั จังหวดั สหกรณสขี าวดว ยธรรมาภิบาล และสหกรณด ีเดน
ดานการออม อกี ท้ังผถู ูกรองไดร บั รางวัลนักบริหารสหกรณร ะดับดเี ดน จากชมุ นุมสหกรณออมทรพั ยแ หง ประเทศ
ไทย จํากดั ดา นการบรหิ ารงานของสหกรณฯ สง ผลใหม ตี น ทุนทางการเงินลดลง มผี ลประกอบการทด่ี ี สมาชิก
ประทับใจ เงินทนุ ภายในสหกรณเ พิ่มขนึ้ อยางกา วกระโดด หนีส้ นิ ภายนอกของสหกรณลดลง ในปจ จุบนั ไมม เี จาหนี้
สหกรณ สมาชกิ สหกรณ สถาบนั การเงิน ขอยกเลิกการทาํ ธรุ กรรมทางการเงนิ กบั สหกรณฯ แตป ระการใด แต
ตรงกันขา มกลบั เสนอใหเ งนิ กหู รอื เงินฝากดอกเบยี้ ตาํ่ และสมาชกิ สหกรณฯ ฝากเงินกบั สหกรณออมทรัพย
สาธารณสุขสกลนคร จาํ กดั เพม่ิ ข้ึนอยา งตอ เนอื่ ง

รายงานประจําป 2564 189

5) คณะกรรมการสอบขอ เท็จจรงิ เหน็ วาพฤติการณข องผถู กู รอ งจากขอ 1) - 4) ไมเปน เหตทุ าํ ใหเ สอื่ มเสยี
ผลประโยชนข องสหกรณห รอื ของสมาชกิ จึงไมเ ขาเหตอุ ยา งใดอยา งหนง่ึ จนตองพิจารณาใหอ อกจากการเปน
สมาชิกสหกรณฯ เนอ่ื งจากพฤตกิ ารณท ่ีเกดิ ขึ้นอยนู อกการดาํ เนินงานของสหกรณออมทรัพยสาธารณสขุ สกลนคร
จาํ กดั จึงไมข ดั ตอการทาํ หนา ทข่ี องสมาชิกสหกรณ ตามสทิ ธิและหนา ทท่ี ีก่ าํ หนดไวในขอบงั คบั สหกรณแ ตอยา งใด

มติที่ประชมุ คณะกรรมกรรมการดําเนนิ การ เหน็ ชอบตามทีเ่ สนอ 12 เสยี ง ไมเหน็ ชอบ 1 เสยี ง

ขอรอ งเรียนประเด็นที่ 2 นายธานี กอ บญุ สมาชกิ สหกรณ อกี สถานะหนึ่งเปนประธานกรรมการดําเนินการ

สหกรณไดป กปด ขอ มลู หรอื เปด เผยขอมลู ไมค รบถวนใหแกคณะกรรมการอํานวยการ และคณะกรรมการ

ดําเนินการ ทําใหการลงมตขิ องคณะกรรมการผดิ ไปจากขอ เท็จจรงิ กรณกี ารยกั ยอกทรพั ยส หกรณของ นางสาว

จารวุ รรณ กงลีมา ทาํ ใหน างสาวจารวุ รรณ กงลมี า ผกู ระทาํ ผดิ ไมไดร บั โทษทตี่ นเองกระทาํ การดาํ เนนิ การดังกลาว

ถงึ แมจะอางวา สหกรณไ มเ สยี หายทางการเงิน และบญั ชี แตก ารใหเ จา หนาท่กี ารเงนิ เปน ฝา ยรบั ผดิ ชอบโดยไมม ี

การสอบสวนและกลาวโทษตามระเบยี บแบบแผนและผลกระทบตอสมาชกิ สหกรณทเี่ ปน ผคู าํ้ ประกนั เงินกขู อง

นางสาวจารุวรรณ กงลมี า เปน การไมใ หค วามเทยี่ งธรรมแกบ รรดาสมาชกิ เจา หนา ที่

ประเด็นการสอบขอ เทจ็ จรงิ
นายธานี กอ บญุ สมาชกิ สหกรณฯ อกี สถานะหนง่ึ เปน ประธานกรรมการดาํ เนินการสหกรณฯ ไดป กปด
ขอมลู หรอื เปด เผยขอ มลู ไมค รบถวน ใหแ กค ณะกรรมการอาํ นวยการ และคณะกรรมการดาํ เนนิ การ จรงิ หรอื ไม
ขอเทจ็ จริง นางสาวจารุวรรณ กงลีมา ตําแหนง พนักงานท่ัวไป นําเงินสหกรณออมทรัพยส าธารณสขุ
สกลนคร จาํ กดั ไปใชส วนตวั เปนความจรงิ โดยมีสาเหตมุ าจากนางมะลิ ณัฐสรณ ตาํ แหนง หัวหนาแผนกการเงิน
และนางสาวหน่งึ ฤทยั จนั ปุม ตาํ แหนงเจาหนาท่กี ารเงิน ซง่ึ มีหนา ท่ีความรบั ผดิ ชอบการรบั จา ยเงนิ สรุปเงนิ สดรบั
- สดจาย และนําเงินไปฝากธนาคาร พรอมกบั สรปุ หลกั ฐานสง ตอแผนกบญั ชี
แตก รณดี งั กลา วนางมะลิ ณฐั สรณ ตาํ แหนง หัวหนาแผนกการเงิน และนางสาวหนง่ึ ฤทยั จนั ปมุ
ตาํ แหนง เจา หนา ทกี่ ารเงิน มอบใหน างสาวจารุวรรณ กงลมี า ซง่ึ ไมมหี นาทเ่ี กยี่ วกับการนาํ เงนิ ไปฝากหรอื การนํา
เงินของสหกรณฯ ไปทําธุรกรรมที่ธนาคารและดําเนินการทางการเงนิ ของสหกรณต อ จากตนเองผซู งึ่ มีหนา ทโ่ี ดยตรง
เมือ่ เกดิ ความเสยี หายขน้ึ นางมะลิ ณฐั สรณ และนางสาวหนงึ่ ฤทยั จนั ปุม ไดรับผดิ ชอบชดใชเงินเตม็ จาํ นวนซึง่ เปน
การรบั ผดิ ชอบตามหนา ท่รี บั ผดิ ชอบ ในการรบั ผิดชอบชดใชห น้ี ผถู กู รอ งยงั ไมไ ดรบั ทราบในเหตุการณท่เี กดิ ขนึ้ มา
กอ น
จนตอ มานางนลิ ุบล เทพล ผูจ ดั การ ไดม ารายงานเหตุการณใ หผ ถู ูกรองทราบพรอมนํา นางมะลิ
ณัฐสรณ และนางสาวหนง่ึ ฤทยั จนั ปมุ มาพบดวย ผถู กู รอ งจึงไดส อบถามความเปน มาและการแกไข จงึ ทราบจาก
การรายงานของนางนลิ บุ ล เทพล วานางมะลิ ณัฐสรณ และนางสาวหนงึ่ ฤทยั จันปมุ ไดรับผดิ ชอบชดใชเ งินคนื
แกส หกรณในวันกอ นที่จะมาพบแลว และผถู กู รอ งจึงไดแ นะนําใหนางนิลุบล เทพล ไดเ ขยี นรายงานเสนอตอผถู กู
รอง โดยไมไดส งั่ การตอ ผจู ดั การวา ใหรายงานเฉพาะนางสาวจารุวรรณ กงลีมา ขาดงานแตประการใด
ตอ มานางนลิ บุ ล เทพล ผจู ดั การสหกรณฯ ไดท ําบนั ทึกเสนอตอ ผถู กู รอ งในฐานะประธานกรรมการ
สหกรณฯ วานางสาวจารวุ รรณ กงลีมา ขาดงาน ไมมกี ารกลา วถงึ กรณีนาํ เงินไปใชส ว นตัว ผถู ูกรอ งยังไดส งั่ การ
ตอทายหนงั สือเปน ลายลกั ษณอกั ษรวา ใหผ จู ดั การตรวจสอบงานในหนาที่ หรืองานทไ่ี ดร ับมอบหมายวามี
ขอ บกพรอ ง เสยี หายหรือไม แลวใหร ายงานเปน ลายลกั ษณอ ักษรภายในสามวัน

190 รายงานประจาํ ป 2564

เหตทุ ีน่ างนิลบุ ล เทพล ผูจ ดั การ ไมร ายงานกรณที นี่ างสาวจารุวรรณ กงลมี า นาํ เงินไปใชส วนตวั ไมใ ช
เหตุจากประธานกรรมการสั่งการ แตมาจากเห็นวา สหกรณฯ ไมไ ดเสยี หาย เพราะนางมะลิ ณัฐสรณ และนางสาว
หนงึ่ ฤทยั จันปุม ไดช ดใชเงนิ แกส หกรณแ ลว อกี ทงั้ สงสารนางมะลิ ณัฐสรณ ปท ่ีแลว ก็ไดร ับโทษทางวินยั ข้นั ลดข้ัน
เงนิ เดือนกรณีรายงานการเรยี กเก็บเงินจากลกู หนส้ี หกรณเปน เท็จ

กรณีท่นี างมะลิ ณัฐสรณ ไดร ับทดี่ ินทเ่ี ปนกรรมสทิ ธข์ิ องนางสาวจารวุ รรณ กงลมี า ซง่ึ ไถถ อนมาจากบรษิ ทั
ไฟแนนซศ รีสวสั ดเ์ิ งินตดิ ลอ เปน การดําเนินการของนางมะลิ ณัฐสรณ กบั นางสาวจารวุ รรณ กงลมี า รวมถึงที่ดนิ
อีกหนึง่ แปลงของนางสาวจารุวรรณ กงลีมา ทญ่ี าตยิ นิ ยอมใหนาํ มาชาํ ระหนี้เงินกขู องนางสาวจารวุ รรณ กงลีมา ท่ี
มตี อ สหกรณนัน้ ผถู กู รอ งไมไดมสี วนรว มคดิ และรเู หน็ การดาํ เนนิ การเกยี่ วกบั ทดี่ นิ ท้ังสองแปลงมากอ นแตป ระการ
ใด แมในวันทนี่ างสาวจารุวรรณ กงลมี า กบั นางมะลิ ณฐั สรณ ไดเดนิ ทางกลับจากสถานตี ํารวจภธู รเมืองสกลนคร
เพ่อื ไปลงบนั ทึกประจาํ วันยนิ ยอมใหนางมะลิ ณัฐสรณ เปน ผรู บั โอนทด่ี นิ แปลงท่ไี ถถ อนจากบริษทั ไฟแนนซศ รี
สวสั ดิ์เงนิ ตดิ ลอ แลว เดนิ ทางตอมายังสหกรณฯ ผถู กู รอ งไดพ บกับนางสาวจารวุ รรณ กงลมี า นางสภุ าดา ตามยั
นางนลิ บุ ล เทพล และนางมะลิ ณฐั สรณ ทห่ี องประชมุ สหกรณฯ (หองประชุมอดศิ ร ใจด)ี ไมใชก ารประชุมแตเปน
การสอบถามขา วและเหตุการณทเี่ กดิ ข้ึน ไมไ ดม ีการพูดถึงทด่ี นิ ของนางสาวจารุวรรณ กงลมี า แตอ ยางไร

กรณผี ูถูกรอ งไดเ ดินทางไปดทู ําเลทดี่ นิ เนือ่ งจากวันท่ีเขามาปฏบิ ัตงิ านทสี่ หกรณ นางนิลบุ ล เทพล
ผจู ัดการ เขา มาพบและแจงวา ญาตินางสาวจารุวรรณ กงลมี า มาแจง วา ยินยอมนําท่ีดินอีกแปลงมาชดใชห นก้ี บั ทาง
สหกรณฯ ขอใหผ ถู กู รองในฐานะประธานกรรมการ ไปดู ขณะเดยี วกนั นางมะลิ ณฐั สรณ แจงวา ทด่ี ินอยูบ รเิ วณ
เดยี วกนั ทไ่ี ดม าจากนางสาวจารวุ รรณ กงลมี า และตอ งการขายนําเงินมาชาํ ระหนี้ จงึ เสนอใหไปดดู วย โดยขนึ้ รถ
สหกรณไปดว ยกนั ประกอบดวย ผถู กู รอง นางมะลิ ณฐั สรณ นางสภุ าดา ตามยั และนายเทวนิ โคตรธรรม เพอ่ื ไป
ดทู ตี่ ง้ั ทาํ เลทด่ี นิ ระหวา งไปดูไดส อบถามแนวถนน ขนาดกวา ง ยาว ราคาประเมิน เพอ่ื ประมวลราคาวา เหมาะสม
กบั จาํ นวนหนีข้ องสหกรณหรือไม เมือ่ กลับจากการไปดูทด่ี นิ ผถู กู รอง ไมไดม กี ารตดิ ตอ สอบถามเพอื่ ดาํ เนินการ
ซอ้ื ทด่ี ินแตป ระการใด เหตเุ พราะผูถูกรอ งไมต อ งการซื้อทด่ี นิ ทราบภายหลังวานางมะลิ ณัฐสรณ เสนอขายทดี่ นิ
และเชญิ ชวนไปดูทาํ เลใหก ับอีกหลายคน แตไ มมีใครซอื้

เสนอผลสอบขอ เทจ็ จริงตอ คณะกรรมการดําเนินการ
ผูถกู รอ งในฐานะเปน ประธานกรรมการสหกรณอ อมทรพั ยสาธารณสขุ สกลนคร จํากัด ไมพบวา มี

พฤตกิ ารณท ่ีปกปด ขอ มลู หรือเปด เผยขอ มูลไมค รบถวนใหแ กค ณะกรรมการอํานวยการและคณะกรรมการ
ดําเนินการแตป ระการใด และไมเปน เหตทุ าํ ใหเสื่อมเสยี ตอสหกรณ เพราะ

1) ผูถกู รอ ง รบั ทราบเหตุการณห ลังจากที่นางนลิ บุ ล เทพล ผูจ ัดการ นํานางมะลิ ณัฐสรณ และนางสาว
หนึ่งฤทยั จันปมุ มาพบและรายงานวานางมะลิ ณัฐสรณ และนางสาวหนึ่งฤทยั จันปมุ ไดช ดใชเ งินแกส หกรณได
ครบถวนแลว ในวนั กอนทีเ่ ขามารายงาน ผถู ูกรองไมไ ดมสี วนสั่งการใหแ ตล ะคนรับผดิ ชอบเงนิ แตอยา งใด

2) ผถู ูกรอ งไมไ ดป กปด ขอมลู จากการทน่ี างนลิ ุบล เทพล ผูจดั การสหกรณฯ ไดทาํ บันทกึ เสนอผถู ูกรอง
ในฐานะประธานกรรมการสหกรณว า นางสาวจารวุ รรณ กงลมี า ขาดงาน ไมม กี ารกลาวถึงกรณีนาํ เงนิ ไปใชส ว นตวั
ผูถกู รอ งยังไดส ง่ั การตอ ทา ยหนงั สอื เปนลายลกั ษณอักษรวา ใหผ ูจัดการตรวจสอบงานในหนา ท่ี หรอื งานทไ่ี ดรับ
มอบหมายวา มขี อบกพรอง เสยี หายหรอื ไม แลว ใหร ายงานเปนลายลกั ษณอกั ษรภายในสามวัน

เหตุที่นางนลิ ุบล เทพล ผูจดั การ ไมร ายงานกรณีทนี่ างสาวจารุวรรณ กงลีมา นําเงินไปใชส วนตัว ไมใ ช
เหตจุ ากผถู กู รอ งในฐานะประธานกรรมการสงั่ การ แตม าจากเห็นวา สหกรณฯ ไมไดเ สยี หาย เพราะนางมะลิ
ณฐั สรณ และนางสาวหนงึ่ ฤทยั จันปมุ ไดช ดใชแกส หกรณแลว อีกท้ังสงสารนางมะลิ ณัฐสรณ ปท แี่ ลว ไดรับโทษ
ทางวนิ ัยขัน้ ลดข้นั เงินเดอื นกรณรี ายงานการเรยี กเกบ็ เงนิ จากลูกหนีส้ หกรณเปน เท็จ

รายงานประจาํ ป 2564 191

3) ผถู กู รอ งไมม สี ว นรวมคิดหรอื วางแผนจะซ้ือทดี่ นิ ในราคาประเมนิ ของนางสาวจารุวรรณ กงลีมา แต
อยางใด เหตทุ ี่ไดไปดทู ําเลทดี่ นิ เนอ่ื งจากนางนิลบุ ล เทพล ผูจดั การ เขามาพบและแจง วาญาตินางสาวจารวุ รรณ
กงลมี า ยนิ ยอมนําทดี่ ินอกี แปลงมาชดใชห นี้กบั ทางสหกรณฯ ขอใหผถู ูกรอ งในฐานะประธานกรรมการ ไปดู
ขณะเดยี วกันนางมะลิ ณฐั สรณ เสนอวาใหไ ปดทู ีด่ ินแปลงทไี่ ดมาจากนางสาวจารุวรรณ กงลมี า ดว ย เนื่องจากอยู
บรเิ วณเดยี วกันและตอ งการขายมาชําระหนี้ จึงขนึ้ รถสหกรณไ ปดวยกันประกอบดวยผถู ูกรองนางมะลิ ณัฐสรณ
นางสภุ าดา ตามยั และนายเทวิน โคตรธรรม เพื่อไปดูทต่ี ้ังทาํ เลทดี่ นิ ระหวางไปดไู ดส อบถามแนวถนน ขนาด
กวา ง ยาว ราคาประเมิน เพือ่ ประมวลราคาวา เหมาะสมกบั จํานวนหนข้ี องสหกรณหรือไม เมอื่ กลบั จากการไปดู
ที่ดนิ ผถู กู รอง ไมไ ดม กี ารตดิ ตอ สอบถามเพ่อื ดําเนินการซอื้ ที่ดินแตป ระการใด เหตเุ พราะผูถูกรอ งไมต อ งการซอ้ื
ท่ดี ิน ทราบภายหลังวา นางมะลิ ณฐั สรณ เสนอขายทด่ี นิ และเชิญชวนไปดทู ําเลใหก บั อีกหลายคน แตไ มม ีใครซื้อ

4) สํานักงานสหกรณจงั หวัดสกลนครได ใหคาํ แนะนําแนวทางปฏิบตั ใิ นการแกไขปญหาการปฏิบตั หิ นา ที่
ของเจาหนาทสี่ หกรณฯ ตอ กรณีท่มี ผี รู อ งเรียนฯ ที่แจง กลบั มายงั สหกรณอ อมทรัพยส าธารณสุขสกลนคร จํากัด ไม
ปรากฏวามีกรรมการดาํ เนินการผใู ดเขา ไปมีสวนรว มในกรณเี จา หนา ท่สี หกรณท จุ รติ ยกั ยอกทรัพย
แตไ ดใหค ณะกรรมการดาํ เนนิ การสหกรณฯ ตรวจสอบขอ เทจ็ จรงิ เกย่ี วกับการปฏิบตั หิ นาทขี่ องเจา หนาทสี่ หกรณ
ทกุ คน คณะกรรมการดาํ เนินการสหกรณออมทรัพยส าธารณสขุ สกลนคร แตง ตง้ั คณะกรรมการสอบขอ เท็จจริง ผล
สอบพบวา นางมะลิ ณัฐสรณ มคี วามบกพรองในการปฏบิ ตั ิหนาทต่ี ามทไี่ ดร ับการมอบหมาย จงึ มีมตใิ หส อบวินยั
ผลสอบวินยั และการลงโทษทางวินยั ของนางมะลิ ณัฐสรณ คณะกรรมการดาํ เนนิ การมมี ตภิ าคทัฑณเ ปนลาย
ลักษณอกั ษร เนอื่ งจากไมป ฏบิ ตั ติ ามระเบยี บสหกรณฯวา ดว ยการเกบ็ รกั ษา การจา ยเงินและมคี วามผดิ พลาดใน
การปฏิบตั งิ านอยูเ นอื งๆ ตามระเบยี บสหกรณว าดวยการทาํ งานของเจาหนาท่ี สวนการที่เจา ตวั แกไ ขนําเงนิ มาคนื
แกส หกรณฯ ภายในเวลาอันส้ันหลังจากไดทราบเหตุ จึงเปนเหตไุ มทาํ ใหส หกรณไดร บั ความเสียหาย

5) คณะกรรมการสอบขอเทจ็ จรงิ เห็นวา พฤตกิ ารณข องผถู ูกรอ งจากขอ 1) - 4) ไมเปน เหตทุ าํ ใหเ สอ่ื มเสยี
ผลประโยชนข องสหกรณหรอื ของสมาชกิ จึงไมเ ขา เหตอุ ยางใดอยา งหนงึ่ จนตองพจิ ารณาใหอ อกจากการเปน
สมาชกิ สหกรณฯ

มตทิ ป่ี ระชุมคณะกรรมกรรมการดาํ เนินการ เหน็ ชอบตามทเ่ี สนอ 12 เสยี ง ไมเห็นชอบ 1 เสยี ง
ขอรอ งเรยี นประเด็นท่ี 3 ไมม คี วามจริงใจในการตราระเบยี บ การสรรหาประธานและคณะกรรมการสหกรณ ที่
เปด โอกาสใหสมาชิกสหกรณทงั้ หมดลงคะแนนเสยี งได ทง้ั ๆ ทไ่ี ดใ หค าํ มน่ั กบั สมาชกิ วา จะดําเนนิ การให จนลว งเลย
ถงึ 3 ปแลว ยงั ไมส ามารถดําเนนิ การได สาํ หรบั ป พ.ศ. 2564 ขาดความรอบคอบในการดาํ เนินการจนถกู ทกั ทว ง
ในทีป่ ระชมุ ใหญส ามญั ประจําป และไดใ หค ํามัน่ วา จะดาํ เนนิ การใหแ ลว เสร็จใน 150 วัน เมือ่ ใกลค รบกําหนดเวลา
มเี พยี งรา งระเบยี บทค่ี ดั ลอกและปรับปรุงจากระเบยี บของสหกรณอ่ืน สมาชิกไดม ีสว นไมไดใ หส มาชกิ หรอื ผูแ ทน
รวมคดิ รว มกระทําแตอยางใด ทจ่ี ะนาํ มาใหค ณะทาํ งานพจิ ารณา ไดแจงของดการประชุมคณะทาํ งานวา ไม
สามารถดาํ เนนิ การได โดยอางสถานการณก ารระบาดของโรคโควดิ – 19 สอ ใหเห็นเจตนาวาไมมคี วามจริงใจตอ
การออกระเบียบใหมน ี้

192 รายงานประจาํ ป 2564

ประเด็นการสอบขอ เทจ็ จรงิ
ผถู กู รอ ง ไมมคี วามจรงิ ใจในการตราระเบียบ การสรรหาประธานและคณะกรรมการสหกรณ ที่เปด โอกาส
ใหส มาชกิ สหกรณทงั้ หมดลงคะแนนเสยี งได หรือไม

1) ผูถกู รองเขารบั ตาํ แหนง ประธานกรรมการ ป พ.ศ. 2563 – 2564 โดยในป 2563 ไดย กรางระเบียบวา
ดว ยการสรรหาฯ โดยการมสี วนรวมของตวั แทนสมาชิก จํานวน 2 คร้ัง และนําเขา ที่ประชุมคณะกรรมการ
ดําเนนิ การมีมตใิ ห บรรจรุ า งระเบยี บนตี้ อ ทีป่ ระชมุ ใหญส ามัญประจําป 2563 เม่อื วันที่ 24 มกราคม
2564

2) ท่ีประชมุ ใหญส ามญั ประจาํ ป 2563 เมือ่ วนั ท่ี 24 มกราคม 2564 มีมติใหแ กไ ขขอ บงั คบั เกย่ี วกบั การ
เลอื กตงั้ แตใ หน ํารา งระเบยี บวา ดวยการสรรหาฯ ไปพจิ ารณาโดยการเปด ประชมุ วสิ ามญั ซง่ึ ผถู ูกรองได
แจงตอ ทปี่ ระชมุ วา ใชเวลาดําเนินการภายใน 150 วนั

3) คณะกรรมการดาํ เนนิ การ สหกรณอ อมทรพั ยส าธารณสขุ สกลนคร จาํ กดั ชดุ ท่ี 40 ไดเ สนอขอ บังคบั ที่
ผา นทปี่ ระชมุ ใหญฯ เพ่อื ใหร องนายทะเบยี นสหกรณรบั จดทะเบียนแกไ ขเพิ่มเตมิ ขอ บังคบั

4) รองนายทะเบยี นสหกรณร ับจดทะเบยี นแกไ ขเพิม่ เตมิ ขอ บงั คบั เมื่อวันท่ี 9 มีนาคม 2564

5) คณะกรรมการดําเนินการ สหกรณอ อมทรพั ยส าธารณสขุ สกลนคร จํากัด ชดุ ท่ี 40 มมี ติกาํ หนดข้นั ตอน
การดําเนินการเพอื่ นําไปสกู ารปรับปรงุ รา งระเบยี บวา ดวยการสรรหาฯ โดยกําหนดวันทเี่ ปด ประชมุ
วิสามัญในเดอื น มถิ นุ ายน 2564

6) วนั ท่ี 17 เมษายน 2564 จงั หวัดสกลนครมคี าํ สั่งหา มการดาํ เนนิ การ หรือจดั กิจกรรม ทเ่ี สยี่ งตอ การแพร
ระบาดโรคโควิด-19 โดยหามรวมกนั เกนิ 50 คน

7) วนั ที่ 11 กรกฎาคม 2564 ทปี่ ระชุมคณะกรรมการดําเนนิ การ สหกรณออมทรพั ยส าธารณสขุ สกลนคร
จาํ กัด ชดุ ที่ 40 มีมติใหจดั เวทีรบั ฟง ความเหน็ จากผแู ทนสมาชกิ ในวนั ท่ี 28 กรกฎาคม 2564 แตในหวง
เวลาดงั กลาว ศบค. ไดม ปี ระกาศคําสงั่ ใหพ น้ื ท่จี ังหวดั สกลนครเปนพน้ื ทส่ี แี ดงเขม หา มการดาํ เนนิ การ
หรือจัดกิจกรรม ทเี่ สย่ี งตอการแพรร ะบาดโรคโควดิ -19 โดยหา มรวมกนั เกนิ 20 คน

8) วนั ท่ี 11 กันยายน 2564 ท่ีประชุมคณะกรรมการดาํ เนนิ การ สหกรณออมทรัพยสาธารณสขุ สกลนคร
จํากัด ชดุ ที่ 40 มมี ตใิ หจดั เวทีรับฟง ความเห็นของคณะทาํ งานเพอื่ ทบทวนรา งระเบยี บสรรหาฯ ในเดอื น
กนั ยายน 2564 จํานวน 2 ครั้ง และในเดือนตลุ าคม 2564 จาํ นวน 1 คร้งั นํารางระเบยี บการสรรหาฯ
เปด ประชมุ วสิ ามัญชว งเดอื นพฤศจกิ ายน 2564 และดําเนินการเลอื กตง้ั ไมเกินวนั ท่ี 15 ของเดอื นธนั วาคม
2564


Click to View FlipBook Version