The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

คุ่มือการปฏิบัติงาน การควบคุม การตรวจสอบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by suphanpong, 2022-04-04 11:12:19

คู่มือปฏิบัติงาน การควบคุม การตรวจสอบวัดุ ครุภัณฑ์

คุ่มือการปฏิบัติงาน การควบคุม การตรวจสอบ

คมู่ ือ
ปฏิบตั ิงาน

การ
ควบคมุ

การตรวจสอบ
วสั ดุ ครุภณั ฑ์

คำนำ

ตามพระราชบัญญัติการจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 กาหนดให้
หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการควบคุมและดูแลพัสดุที่อยู่ในความครอบครองให้มีการใช้และการบริหาร
พัสดุที่เหมาะสม คุ้มค่า และเกิดประโยชน์ต่อหน่วยงานของรัฐมากท่ีสุด ซึ่งรวมถึงการเก็บ การบันทึก
การเบิกจ่าย การยืม การตรวจสอบ การบารุงรักษา และการจาหน่ายพัสดุ ให้เป็นไปตามระเบียบท่ีรัฐมนตรี
กาหนด ซ่ึงปัจจุบันหน่วยงานภายใต้สังกัดส่วนราชการต้องดาเนินการควบคุมบัญชีพัสดุ จัดทาทะเบียน
ทรัพย์สิน และการตรวจสอบพัสดุประจาปี เพื่อให้ทราบถึงจานวนพัสดุที่หน่วยงานมีไว้ใช้ในราชการโดยมี
การจัดทาบัญชีหรือทะเบียน จาแนกประเภท และรายการของพัสดุ พร้อมทั้งให้มีหลักฐานการรับจ่ายพัสดุ
ที่ได้บันทึกในบัญชีหรือทะเบียนไว้ประกอบการตรวจสอบ เพื่อใช้เป็นข้อมูลทางการบริหารเกี่ยวกับต้นทุน
ผลผลิตของหน่วยงาน นอกจากนั้น ยังช่วยในการเก็บดารุงรักษาพัสดุให้อยู่ในสภาพใช้งานได้ดีอยู่เสมอ
และทาใหท้ ราบวา่ พัสดใุ ดหากใช้ต่อไปจะทาให้เกดิ ความสญู เสียคา่ ใชจ้ า่ ยในการดแู ลบารงุ รักษาหรือ ความ
จาเป็นสมควรที่จะจาหน่ายและจัดหาพัสดุมาทดแทน

ดังนั้น คู่มือปฏิบัติงาน การควบคุม การตรวจสอบวัสดุ ครุภัณฑ์ ถือเป็นเครื่องมือหนึ่ง
ที่ใช้ในการปฏิบัติงาน สร้างความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับการจัดทาทะเบียนทรัพย์สิน และการตรวจสอบพัสดุ
ประจาปีได้อยา่ งถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบันเกิดประโยชน์สูงสุดต่อทางราชการ เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพและ
คุณภาพงานในการควบคุม การตรวจสอบวัสดุ ครุภัณฑ์ที่อยู่ในความครอบครอง เพื่อเป็นไปตาม
พระราชบัญญัติจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 และสอดคล้องกับหลักเกณฑ์การ
ประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานดา้ นบญั ชีของสว่ นราชการกาหนด

สารบัญ

คู่มือปฏิบัติงาน การควบคุม การตรวจสอบ วัสดุ ครุภณั ฑ์

คาจากดั ความ……………………………………………………………………………………………………………………………………….1
กฎหมาย ระเบียบ และแนวปฏบิ ัตเิ ก่ียวขอ้ งในการปฏิบตั ิการด้านการควบคุม การตรวจสอบ วสั ดุ ครุภัณฑ์
1) พระราชบัญญัติการจัดซ้ือจดั จ้างและการบรหิ ารพสั ดภุ าครัฐ พ.ศ. 2560……………………………………2
2) ระเบียบกระทรวงการคลังวา่ ด้วยการจัดซือ้ จดั จา้ งและการบรหิ ารพสั ดภุ าครฐั พ.ศ. 2560………..2-6
ขัน้ ตอนการควบคุมวัสดุ ครุภัณฑ์............................................................................................................7-9
หลกั เกณฑ์การจัดทาบญั ชคี มุ วัสดุ การบันทึกทะเบยี นคุมครุภณั ฑ์

-บญั ชวี ัสดุ………………………………………………………………………………………………………………………10-13
-ทะเบียนคุมสินทรัพย์………………………………………………………………………….…………………………..14-20
การตรวจพสั ดปุ ระจาป.ี ......................................................................................................................21-25
การจาหนา่ ยพสั ด.ุ ...............................................................................................................................26-27

คาจากดั ความ

พัสดุ หมายถึง วัสดุ ครุภัณฑ์ ท่ีดินและส่ิงก่อสร้าง ท่ีกาหนดไว้ในหนังสือการจาแนกประเภทรายจ่าย
ตามงบประมาณของสานักงบประมาณ

วัสดุ หมายถึง สินทรัพย์ที่หน่วยงานมีไว้เพื่อใช้ในการดาเนินงานตามปกติ โดยทั่วไปมีมูลค่าไม่สูงและ
ไมม่ ลี ักษณะคงทนถาวร ไดแ้ ก่ วัสดุสานกั งาน เป็นต้น หนว่ ยงานจะรบั รู้วสั ดุคงเหลอื ในราคาทนุ ซ่งึ โดยหลักการ
หนว่ ยงานอาจรบั รู้วสั ดเุ ป็นสนิ ทรัพย์หรือค่าใช้จา่ ยก่อน แล้วจงึ ปรบั ปรุงสนิ้ ปีก็ได้

ครภุ ณั ฑ์ หมายถงึ สินทรัพยท์ ่หี นว่ ยงานมไี วเ้ พอ่ื ใชใ้ นการดาเนนิ งาน มลี ักษณะคงทน และมอี ายกุ ารใช้
งานเกินกว่า 1 ปี

ครุภัณฑ์มูลค่าตากว่าเกณฑ์ หมายถึง วัสดุท่ีมีลักษณะคงทนถาวร และมีอายุการใช้งานเกินกว่า 1 ปี
มรี าคาตอ่ หน่วยหรอื ตอ่ ชดุ ไม่เกนิ 10,000 บาท

หัวหน้าเจ้าหน้าทีพัสดุ หมายถึง หัวหน้าหน่วยงานระดับกองหรือท่ีมีฐานะเทียบกอง หรือผู้ดารง
ตาแหน่งหัวหน้าสายงานซึ่งปฏิบัติงานเก่ียวกับการจัดซื้อจัดจ้างหรือการบริหารพัสดุตามท่ีกฎหมายเก่ียวกับ
การบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของรัฐน้ันกาหนด หรือผู้ท่ีได้รับมอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
ใหเ้ ปน็ หัวหนา้ เจ้าหนา้ ท่ี

หวั หน้าหนว่ ยพสั ดุ หมายถงึ ผดู้ ารงตาแหน่งหวั หนา้ หน่ายงานระดบั แผนกหรือต่ากว่าแผนก ทม่ี ีหน้าท่ี
เกี่ยวกับการควบคุมพัสดุ หรือข้าราชการอ่ืนซ่ึงได้รับการแต่งตั้งจากหัวหน้าส่วนราชการให้เป็นหัวหน้าหน่วย
พัสดุ มีหน้าทคี่ วบคมุ และส่งั จ่ายพัสดุ

เจา้ หน้าทพี สั ดุ หมายถงึ เจา้ หนา้ ท่ซี ง่ึ ดารงตาแหน่งที่มหี น้าท่ีเก่ียวกบั การพัสดุ หรือผู้ได้รับแต่งต้ังจาก
หัวหนา้ สว่ นราชการให้มหี น้าทหี่ รอื ปฏบิ ัติงานเกีย่ วกบั การพสั ดุ

การควบคมุ หมายถงึ การลงบญั ชีหรือทะเบยี นคมุ ทรัพยส์ นิ การเกบ็ รักษาพัสดุ การเบิกพัสดุ การจา่ ย
พสั ดุ

การลงบัญชีหรือทะเบียนพัสดุ หมายถึง การบันทึกรายละเอียดการรับหรือจ่ายในบัญชีหรือทะเบียน
โดยจาแนกแตล่ ะประเภท แตล่ ะรายการของพัสดุ

การเกบ็ รักษาพสั ดุ หมายถงึ การจัดเกบ็ รกั ษาพัสดใุ ห้เปน็ ระเบียนเรียบรอ้ ย ถูกต้อง ครบถ้วน ตรงตาม
บัญชีหรอื ทะเบยี น

การเบิกพัสดุ หมายถึง การที่หน่วยงานต้องการใช้พัสดุแจ้งความประสงค์ขอเบิกพัสดุ เพ่ือใช้ใน
ราชการต่อหัวหนา้ หนว่ ยพสั ดุ

การจ่ายพัสดุ หมายถึง การที่หัวหน้าหน่วยพสั ดุอนุมตั ิจ่ายพสั ดุใหแ้ ก่หน่วยงานที่แจ้งความประสงค์ขอ
เบกิ พสั ดุ

การตรวจสอบพัสดุประจาปี หมายถึง การตรวจสอบการรับ – จ่ายพัสดุ งวดต้ังแต่วันที่ 1 ตุลาคม
ของปกี ่อน จนถึงวนั ท่ี 30 กนั ยายน ของปีปัจจุบัน และการตรวจนับพสั ดคุ งเหลือ ณ วนั ท่ี 30 กนั ยายน ของปี
ปจั จบุ ัน



กฎหมาย ระเบียบ และแนวปฏิบัติเกียวข้องในการปฏิบัติการด้านการควบคุม
การตรวจสอบ วัสดุ ครุภณั ฑ์

(1) พระราชบญั ญัตกิ ารจดั ซ้ือจัดจา้ งและการบริหารพัสดภุ าครฐั พ.ศ. 2560

พัสดุ หมายความว่า สินค้า งานบริการ งานก่อสร้าง งานจ้างที่ปรึกษา และงานจ้างออกแบบหรือ
ควบคมุ งานกอ่ สรา้ ง รวมทง้ั การดาเนนิ การอ่นื ตามท่กี าหนดในกฎกระทรวง

การบริหารพัสดุ หมายความว่า การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม การตรวจสอบ การบารุงรักษา และ
การจาหนา่ ยพสั ดุ

หมวด 13 การบริหารพัสดุ
มาตรา 112 ให้หน่วยงานของรัฐจัดให้มีการควบคุมและดูแลพัสดุท่ีอยู่ในความครอบครองให้มีการใช้
และการบริหารพสั ดุที่เหมาะสม คุ้มค่า และเกิดประโยชน์ตอ่ หน่วยงานของรัฐมากทสี่ ดุ
มาตรา 113 การดาเนินการตามมาตรา 112 ซ่ึงรวมถึงการเก็บ การบันทึก การเบิกจ่าย การยืม
การตรวจสอบ การบารุงรักษา และการจาหนา่ ยพสั ดุ ใหเ้ ป็นไปตามระเบียบท่รี ฐั มนตรีกาหนด

(2) ระเบยี บกระทรวงการคลงั วา่ ด้วยการจัดซอ้ื จัดจา้ งและการบริหารพสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560

หมวด 9 การบริหารพสั ดุ

สว่ นที 1 การเก็บ การบนั ทึก การเบกิ จ่าย

ข้อ 202 การบริหารพัสดุของหน่วยงานของรัฐให้ดาเนินการตามหมวดนี้ เว้นแต่มีระเบียบของ
ทางราชการหรือกฎหมายกาหนดไว้เป็นอย่างอ่ืน

การบริหารพัสดุในหมวดน้ี ไม่ใช้บังคับกับงานบริการ งานกอ่ สร้าง งานจ้างทปี่ รึกษา และ
งานจ้างออกแบบหรอื ควบคมุ งานกอ่ สร้าง

การเกบ็ และการบันทึก

ขอ้ 203 เมื่อเจ้าหน้าทีไ่ ดร้ ับมอบพสั ดุแล้ว ให้ดาเนินการ ดงั ต่อไปน้ี
(1) ลงบัญชหี รอื ทะเบียนเพื่อควบคุมพสั ดุ แลว้ แต่กรณี แยกเป็นชนิด และแสดงรายการตามตวั อย่างที่
คณะกรรมการนโยบายกาหนด โดยให้มีหลักฐานการรับเข้าบัญชีหรือทะเบียนไว้ประกอบรายการด้วย สาหรับ
พสั ดปุ ระเภทอาหารสด จะลงรายการอาหารสดทกุ ชนดิ ในบญั ชเี ดยี วกนั กไ็ ด้
(2) เก็บรักษาพัสดุให้เป็นระเบียบเรียบร้อย ปลอดภัย และให้ครบถ้วนถูกต้องตรงตามบัญชี หรือ
ทะเบยี น



การเบกิ จ่ายพสั ดุ

ข้อ 204 การเบิกพสั ดุจากหนว่ ยพัสดุของหน่วยงานของรฐั ให้หัวหน้างานท่ตี อ้ งใชพ้ ัสดนุ ัน้ เป็นผ้เู บกิ

ข้อ 205 การจ่ายพัสดุ ให้หัวหน้าหน่วยพัสดุที่มีหน้าที่เกี่ยวกับการควบคุมพัสดุหรือผู้ท่ีได้รับ
มอบหมายจากหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเป็นหัวหน้าหน่วยพัสดุเป็นผู้สั่งจ่ายพัสดุ ผู้จ่ายพัสดุต้องตรวจสอบ
ความถูกต้องของใบเบิกและเอกสารประกอบ (ถ้ามี) แล้วลงบัญชีหรือทะเบียนทุกครั้งท่ีมีการจ่าย และเก็บ
ใบเบิกจ่ายไว้เป็น หลักฐานดว้ ย

ขอ้ 206 หน่วยงานของรัฐใดมีความจาเป็นจะกาหนดวิธีการเบิกจ่ายพัสดุเป็นอย่างอื่นให้อยู่ใน
ดุลพินิจ ของหัวหน้าหน่วยงานของรัฐนั้น โดยให้รายงานคณะกรรมการวินิจฉัยและสานักงานการตรวจเงิน
แผน่ ดนิ ทราบด้วย

ส่วนที 2 การยมื

ขอ้ 207 การให้ยมื หรอื นาพสั ดุไปใชใ้ นกิจการซงึ่ มใิ ช่เพอ่ื ประโยชนข์ องทางราชการจะกระทามิได้

ข้อ 208 การยืมพัสดุประเภทใช้คงรูป ให้ผู้ยืมทาหลักฐานการยืมเป็นลายลักษณ์อักษรแสดงเหตุผล
และกาหนดวนั สง่ คนื โดยมีหลกั เกณฑ์ ดังต่อไปน้ี

(1) การยืมระหว่างหน่วยงานของรฐั จะต้องได้รับอนมุ ตั จิ ากหวั หน้าหน่วยงานของรัฐผู้ให้ยมื
(2) การให้บุคคลยืมใช้ภายในสถานที่ของหน่วยงานของรัฐเดียวกัน จะต้องได้รับอนุมติจาก
หัวหน้าหน่วยงานซึ่งรบั ผิดชอบพัสดุนัน้ แต่ถ้ายืมไปใช้นอกสถานท่ีของหน่วยงานของรัฐจะต้องไดร้ ับอนมุ ัตจิ าก
หัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐ

ข้อ 209 ผู้ยืมพัสดุประเภทใช้คงรูปจะต้องนาพัสดุน้ันมาส่งคืนให้ในสภาพท่ีใช้การได้เรียบร้อย
หากเกิดชารุดเสียหายหรือใช้การไม่ได้หรือสูญหายไป ให้ผู้ยืมจัดการแก้ไขซ่อมแซมให้คงสภาพเดิมโดยเสีย
ค่าใช้จ่ายเอง หรือชดใช้เป็นพัสดุประเภท ชนิด ขนาด ลักษณะและคุณภาพอย่างเดียวกัน หรือชดใช้เป็นเงิน
ตามราคาทเี่ ปน็ อยู่ในขณะยมื โดยมีหลกั เกณฑ์ ดังนี้

(1) ราชการส่วนกลาง และราชการสว่ นภูมิภาค ใหเ้ ปน็ ไปตามหลักเกณฑท์ ี่กระทรวงการคลัง
กาหนด

(2) ราชการส่วนท้องถิ่น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงมหาดไทย กรุงเทพมหานคร
หรอื เมือง พทั ยา แล้วแตก่ รณี กาหนด

(3) หนว่ ยงานของรัฐอ่นื ให้เป็นไปตามหลกั เกณฑ์ทห่ี น่วยงานของรฐั นน้ั กาาหนด

ข้อ 210 การยืมพัสดุประเภทใชส้ ิ้นเปลืองระหวา่ งหน่วยงานของรัฐ ให้กระทาได้เฉพาะเม่ือหน่วยงาน
ของรัฐผู้ยืมมีความจาเปน็ ต้องใชพ้ ัสดุน้ันเป็นการรีบด่วน จะดาเนินการจัดหาได้ไม่ทันการและหน่วยงานของรัฐ
ผู้ให้ยืมมีพัสดุนั้น ๆ พอท่ีจะให้ยืมได้ โดยไม่เป็นการเสียหายแก่หน่วยงานของรัฐของตน และให้มีหลักฐานการ



ยืมเป็นลายลักษณ์อักษร ท้ังนี้ โดยปกติหน่วยงานของรัฐผู้ยืมจะต้องจัดหาพัสดุเป็นประเภท ชนิด และปริมาณ
เชน่ เดยี วกันสง่ คนื ใหห้ นว่ ยงานของรัฐผใู้ หย้ มื

ข้อ 211 เมื่อครบกาหนดยืม ให้ผู้ให้ยืมหรือผู้รับหน้าท่ีแทนมีหน้าท่ีติดตามทวงพัสดุที่ให้ยืมไปคืน
ภายใน 7 วัน นับแตว่ นั ครบกาหนด

สว่ นที 3 การบารงุ รกั ษาการตรวจสอบ

การบารุงรกั ษา

ขอ้ 212 ใหห้ น่วยงานของรัฐจดั ให้มีผู้ควบคุมดูแลพสั ดุท่ีอยู่ในความครอบครองให้อยู่ในสภาพที่พร้อม
ใช้งานได้ตลอดเวลา โดยให้มีการจัดทาแผนการซ่อมบารุงที่เหมาะสมและระยะเวลาในการซ่อมบารุงด้วย
ในกรณีท่พี สั ดุเกิดการชารุด ให้หน่วยงานของรฐั ดาเนินการซอ่ มแซมให้กลับมาอยู่ในสภาพพร้อมใชง้ านโดยเร็ว

การตรวจสอบพัสดุประจาปี

ข้อ 213 ภายในเดือนสุดท้ายก่อนส้ินปีงบประมาณของทุกปี ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐหรือหัวหน้า
หน่วยพัสดุตามข้อ 205 แต่งตั้งผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุซ่ึงมิใช่เป็นเจ้าหน้าท่ีตามความจาเป็น
เพื่อตรวจสอบการรับจ่ายพัสดุในงวด 1 ปีที่ผ่านมา และตรวจนับพัสดุประเภทที่คงเหลืออยู่เพียงวันส้ินงวดนัน้

ในการตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง ให้เริ่มดาเนินการตรวจสอบพัสดุในวันเปิดทาการวันแรก
ของปีงบประมาณเป็นต้นไป ว่าการรับจ่ายถูกต้องหรือไม่ พัสดุคงเหลือมีตัวอยู่ตรงตามบัญชีหรือทะเบียน
หรือไม่ มีพัสดุใดชารุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไปเพราะเหตุใด หรือพัสดุใดไม่จาเป็นต้องใช้ในหน่วยงาน
ของรัฐต่อไปแล้ว ให้เสนอรายงานผลการตรวจสอบดังกล่าวต่อผู้แต่งตั้งภายใน 30 วันทาการนับแต่วันเริ่ม
ดาเนินการตรวจสอบพัสดุน้ัน เมื่อผู้แต่งตั้งได้รับรายงานจากผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุแล้ว ให้เสนอ
หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ 1 ชุด และส่งสาเนารายงานไปยังสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน 1 ชุด พร้อมท้ัง
สง่ สาเนารายงานไปยงั หนว่ ยงานต้นสงั กัด (ถ้าม)ี 1 ชดุ ดว้ ย

ข้อ 214 เมื่อผู้แตง่ ต้งั ไดร้ ับรายงานจากผู้รบั ผิดชอบในการตรวจสอบพสั ดุตามข้อ 213 และปรากฏวา่
มีพัสดุชารุด เส่ือมสภาพ หรือสูญไป หรือไม่จาเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไปก็ให้แต่งตั้งคณะกรรมการ
สอบหาข้อเท็จจริงขึ้นคณะหนึ่ง โดยให้นาความในข้อ 26 และข้อ 27 มาใช้บังคับโดยอนุโลม เว้นแต่กรณีท่ี
เห็นได้อย่างชัดเจนว่าเป็นการเสื่อมสภาพเนื่องมาจากการใช้งานตามปกติ หรือสูญไปตามธรรมชาติ
ให้หัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐพิจารณาสงั่ การให้ดาเนนิ การจาหน่ายต่อไปได้ ถา้ ผลการพจิ ารณาปรากฏว่าจะต้อง
หาตัวผู้รับผิดด้วย ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐดาเนินการตามกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องของทางราชการ
หรอื ของหน่วยงานของรัฐน้ันต่อไป



สว่ นที 4 การจาหน่ายพสั ดุ

ข้อ 215 หลังจากการตรวจสอบแลว้ พสั ดุใดหมดความจาเปน็ หรือหากใช้ในหนว่ ยงานของรฐั ต่อไปจะ
ส้ินเปลืองค่าใช้จ่ายมาก ให้เจ้าหน้าท่ีเสนอรายงานต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ เพ่ือพิจารณาสั่งให้ดาเนินการ
ตามวิธีการอยา่ งหนงึ่ อยา่ งใด ดังตอ่ ไปน้ี

(1) ขาย ให้ดาเนินการขายโดยวิธีทอดตลอดก่อน แต่ถ้าขายโดยวิธีทอดตลาดแล้วไม่ได้ผลดี
ใหน้ าวิธที ีก่ าหนดเก่ยี วกับการซ้ือมาใช้โดยอนุโลม เว้นแตก่ รณี ดงั ตอ่ ไปน้ี

(ก) การขายพัสดุคร้ังหนึ่งซึ่งมีราคาซ้ือหรือได้มารวมกันไม่เกิน 500,000 บาท จะขาย
โดยวธิ เี ฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากันโดยไมต่ ้องทอดตลาดก่อนกไ็ ด้

(ข) การขายให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณกุศลตามมาตรา 47(7)
แห่งประมลรษั ฎากร ใหข้ ายโดยวิธเี ฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากนั

(ค) การขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์เคล่ือนที่ แท็บเล็ต ให้แก่เจ้าหน้าท่ี
ของรัฐที่หน่วยงานของรัฐมอบให้ไว้ใช้งานในหน้าที่ เม่ือบุคคลดังกล่าวพ้นจากหน้าท่ีหรืออุปกรณ์ดังกล่าว
พ้นระยะเวลาการใช้งานแล้ว ให้ขายให้แก่บุคคลดังกล่าวโดยวิธีเฉพาะเจาะจงโดยการเจรจาตกลงราคากัน
การขายโดยวิธีทอดตลาดให้ถือปฏิบตั ิตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยให้ผูท้ ไี่ ด้รบั มอบหมายทาการ
ประเมินราคาทรัพย์สินก่อนการประกาศขายทอดตลาด กรณีที่เป็นพัสดุท่ีมีการจาหน่ายเป็นการทั่วไป
ให้พิจารณาราคาท่ีซื้อขายกันตามปกติในท้องตลาด หรือราคาท้องถิ่นของสภาพปัจจุบันของพัสดุน้ัน ณ เวลาท่ี
จะทาการขาย และควรมีการเปรียบเทียบราคาตามความเหมาะสม กรณีที่เป็นพัสดุท่ีไม่มีการจาหน่ายทั่วไป
ให้พิจารณาราคาตามลักษณะ ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งานรวมทั้งสภาพและสถานที่ตั้งของพัสดุด้วย
ทั้งนี้ ให้เสนอหัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาให้ความเห็นชอบราคาประเมินดังกล่าว โดยคานึงถึงประโยชน์
ของหน่วยงานของรัฐด้วยหนว่ ยงานของรัฐจะจ้างผู้ประกอบการทีใ่ ห้บรกิ ารขายทอดตลาด เป็นผ้ดู าเนนิ การก็ได้

(2) แลกเปลย่ี น ให้ดาเนินการตามวิธีการแลกเปลย่ี นทก่ี าหนดไว้ในระเบียบน้ี
(3) โอน ให้โอนแก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานสาธารณกุศลตามมาตรา 47 (7)
แหง่ ประมวลรัษฎากร ทง้ั น้ี ใหม้ ีหลักฐานการสง่ มอบไวต้ อ่ กันดว้ ย
(4) แปรสภาพหรือทาลาย ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่หน่วยงานของรัฐกาหนด
การดาเนินการตามวรรคหนึ่ง โดยปกติให้แล้วเสร็จภายใน 60 วนั นับถดั จากวันทีห่ ัวหน้าหนว่ ยงานของรัฐ
สงั่ การ

ข้อ 216 เงินที่ได้จากการจาหน่ายพัสดุ ให้ถือปฏิบัติตามกฎหมายว่าด้วยวิธีการงบประมาณหรือ
กฎหมายที่เกี่ยวข้องทางการเงินของหน่วยงานของรัฐน้ัน หรือข้อตกลงในส่วนที่ใช้เงินกู้หรือเงินช่วยเหลือ
แล้วแตก่ รณี



การจาหน่ายเป็นสูญ

ข้อ 217 ในกรณีที่พัสดุสูญไปโดยไม่ปรากฏตัวผู้รับผิดหรือมีตัวผู้รับผิดแต่ไม่สามารถชดใช้ได้
หรือมีตัวพสั ดุอยู่แตไ่ มส่ มควรดาเนินการตามข้อ 215 ให้จาหน่ายพสั ดุนั้นเปน็ สญู ตามหลักเกณฑ์ดังตอ่ ไปนี้

(1) ถ้าพัสดุน้ันมีราคาซ้ือ หรือได้มารวมกันไม่เกิน 1,000,000 บาท ให้หัวหน้าหน่วยงาน
ของรัฐเปน็ ผูพ้ จิ ารณาอนมุ ัติ

(2) ถ้าพสั ดุนั้นมีราคาซอ้ื หรอื ไดม้ ารวมกันเกนิ 1,000,000 บาท ให้ดาเนนิ การดงั น้ี
(ก) ราชการส่วนกลาง และราชการส่วนภูมิภาค ให้อยู่ในอานาจของกระทรวงการคลัง

เป็นผอู้ นมุ ตั ิ
(ข) ราชการส่วนท้องถ่ิน ให้อยู่ในอานาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ผู้ว่าราชการ

กรงุ เทพมหานคร หรือนายกเมืองพทั ยา แลว้ แตก่ รณี เป็นผอู้ นุมตั ิ
(ค) หนว่ ยงานของรฐั อ่ืน ผู้ใดจะเป็นผู้มีอานาจอนุมัติให้เป็นไปตามทีห่ นว่ ยงานของรัฐน้ัน

กาหนด
รัฐวิสาหกิจใดมีความจาเป็นจะกาหนดวงเงินการจาหน่ายพัสดุเป็นสูญตามวรรคหน่ึง

แตกต่างไปจาก ที่กาหนดไว้ในระเบียบนี้ ให้เสนอต่อคณะกรรมการวนิ จิ ฉัยเพื่อขอความเห็นชอบ และเม่อื ได้รับ
ความเห็นชอบ แลว้ ในรายงานสานกั งานตรวจเงินแผน่ ดินทราบดว้ ย

การลงจ่ายออกจากบญั ชหี รือทะเบียน

ข้อ 218 เมอ่ื ไดด้ กเนินการตามข้อ 215 และขอ้ 217 แล้ว ใหเ้ จา้ หน้าท่ลี งจ่ายพสั ดุนั้นออก
จากบัญชีหรือทะเบียนทันที แล้วแจ้งให้สกนักงานการตรวจเงินแผ่นดิน ทราบภายใน 30 วันนับแต่วันลงจ่าย
พสั ดนุ ั้น สกหรับพสั ดุซงึ่ ต้องจดทะเบยี นตามกฎมายให้แจง้ แก่นายทะเบียนภายในระยะเวลาทีก่ ฎหมายกาหนดดว้ ย

ข้อ 219 ในกรณีท่ีพัสดุของหน่วยงานของรัฐเกิดการชารดุ เสอ่ื มคุณภาพ หรือสญู ไปหรอื ไม่
จาเป็นต้องใช้ในราชการต่อไป ก่อนมีการตรวจสอบตามข้อ 213 และได้ดาเนินการตามกฎหมายว่าด้วยความ
รับผิดทางละเมิดของเจ้าหนา้ ท่ีหรือระเบียบน้ีโดยอนุโลมแล้วแต่กรณีเสร็จสน้ิ แล้ว ถ้าไม่มีระเบียบอื่นใดกาหนด
ไว้เปน็ การเฉพาะใหด้ าเนนิ การตามขอ้ 215 ขอ้ 216 ขอ้ 217 และขอ้ 218 โดยอนุโลม



ขั้นตอนการควบคมุ วสั ดุ ครุภัณฑ์

ลาดบั ผังกระบวนการ รายละเอียดงาน เอกสารทเี กียวข้อง

1. -เมอื่ เจา้ หน้าท่ีได้รบั วัสดุ ครุภณั ฑแ์ ลว้ ใหจ้ ัดทาบญั ชี 1.หลักฐานการรับพสั ดุ

วัสดุตามแบบท่ี กวพ.กาหนด โดยแยกประเภทวัสดุ -ใบส่งของ/ใบตรวจรบั
รบั วสั ดุและ และแยกชนิดของวัสดุ ครุภัณฑ์ การบันทึกรับวัสดุ พสั ดุ/ใบแจง้ หน้ี

บนั ทึกบัญชี ครุภัณฑ์ในบัญชีใช้เอกสารอ้างอิงตามใบตรวจรับ -หลกั ฐานการรับบริจาค/

วัสดุ พัสดุ ใบส่งของ/ใบแจ้งหนี้ วันเดือนปี ชื่อผู้ขาย การรบั พัสดุจากหน่วยงาน
เลขท่ีเอกสาร ราคาต่อหน่วยซ่ึงรวมภาษีมูลค่าเพ่ิม อ่ืนทมี่ อบให้

แลว้ และจานวนวสั ดทุ ไี่ ดร้ ับมาให้ครบถ้วน 2.บัญชีวสั ดุ ครุภัณฑ์

- เ ขี ย น ห รื อ พ่ น ห ม า ย เ ล ข ค รุ ภั ณ ฑ์ ก า กั บ ไ ว้ ที่ ตั ว

ทรัพย์สิน ทุกรายการ ถูกต้องครบถ้วนตรงตาม

ทะเบียนคมุ ทรัพยส์ นิ

2. -รบั ใบเบิกของจากผู้ขอเบิกวสั ดุ 1.ใบเบิกวสั ดุ ครุภณั ฑ์

เบกิ วสั ดุ/ใบ -กรณียืมครุภัณฑ์ ต้องมีการจัดทาหลักฐานการยืม 2.หลกั ฐานการยมื ครภุ ณั ฑ์
เบิกของ เปน็ ลายลกั ษณ์อกั ษรตามระเบยี บฯทีก่ าหนด

3. เจ้าหนา้ ท่ที ี่รบั ผดิ ชอบการควบคุมวสั ดุ ตอ้ ง 1.บญั ชวี ัสด/ุ วสั ดุคงคลงั

ตรวจสอบตามใบเบิกของ และตรวจสอบวสั ดทุ ่ขี อ และครภุ ณั ฑ์
ตรวจสอบ เบกิ ตามบัญชวี สั ดุ ครภุ ัณฑ์ ว่ามีอยู่เพยี งพอต่อการ 2. ใบเบกิ วสั ดุ ครภุ ัณฑ์

บญั ชีวัสดุ/ เบิกจา่ ยหรอื ไม่

วสั ดคุ งคลงั

และครุภัณฑ์

1.

1

ลาดับ ผงั กระบวนการ รายละเอียดงาน ๘
เอกสารทเี กียวข้อง

4. 1. -เสนอตอ่ หัวหน้าหนว่ ยพัสดุ พิจารณาอนมุ ัติ

1

อนุมัติ

ไมอ่ นมุ ัติ -กรณีทีไ่ ม่อนุมตั ิใหแ้ จ้งผขู้ อเบิกวัสดุ ครุภัณฑ์
ทราบเหตผุ ลในการไม่อนมุ ัตดิ ้วย เชน่ วสั ดุ
ครุภณั ฑ์ท่ีขอเบิกไม่มีอยใู่ นคลัง

แจง้ ผู้
ขอเบิก

1

5. ใหเ้ จา้ หนา้ ทีพ่ สั ดุ จ่ายวัสดุตามรายการท่ีได้รบั
จา่ ยวัสดุ อนมุ ัติ ตามเลขทเี่ อกสารใบเบิกและลงบัญชใี ห้

ครภุ ณั ฑ์ และ ครบถ้วนตามรายการที่ขอเบิก
บนั ทึกบัญชี

วัสดุ และ

ครภุ ัณฑ์

6. -ผู้ขอเบิกวัสดุ ครภุ ัณฑ์ รับและตรวจนับวสั ดุ ใบเบิกวสั ดุ ครุภัณฑ์
ผูข้ อเบกิ รับวสั ดุ ครภุ ัณฑ์ใหถ้ ูกต้องครบถ้วนตามทไ่ี ด้รับอนุมัติ และ
ครภุ ณั ฑ์ และ ลงลายมือชือ่ ในใบเบิกของเพื่อไวเ้ ปน็ หลักฐาน
ตรวจนับให้ -บนั ทึกบัญชีทะเบยี นคุมวสั ดุ ครุภัณฑ์

ครบถ้วนตามท่ี

ไดร้ ับอนุมัติ

2

1



ลาดบั ผังกระบวนการ รายละเอยี ดงาน เอกสารทเี กียวขอ้ ง

7. -เสนอหัวหน้าส่วนราชการคาส่งั แต่งตั้ง 1.คาสง่ั แตง่ ตง้ั
2 คณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจาปี ภายใน คณะกรรมการตรวจสอบ

1 30 กันยายนหรอื ไม่เกินสนิ้ ปีงบประมาณ พัสดปุ ระจาปี

-การตรวจสอบพสั ดุ ทุกส้นิ ปีงบประมาณ ให้ 2.บญั ชรี ายการวัสดแุ ละ

เจ้าหนา้ ท่พี ัสดุทารายงานวสั ดุ ครภุ ัณฑ์ ครภุ ัณฑ์คงเหลอื

ตรวจสอบพัสดุ คงเหลอื โดยสรุปการรบั -จา่ ย จานวนคงเหลอื 3.รายงานการตรวจสอบ

ประจาปีและ และมลู ค่าของวสั ดคุ งเหลือในแตล่ ะรายการ ให้ พัสดุประจาปี
คณะกรรมการตรวจสอบพสั ดุประจาปี
รายงานวสั ดุ ตรวจสอบ แลว้ จงึ แจง้ กองคลัง เพอื่ ปรับปรุง
ครุภณั ฑ์ บญั ชวี สั ดุคงคลงั ในภาพรวม โดยเร่มิ ตรวจสอบ
คงเหลือ พัสดใุ นวันเปดิ ทาการแรกของปีงบประมาณ

เป็นต้นไปและรายงานผลการตรวจสอบภายใน

30 วนั ทาการนับแต่วนั เริ่มดาเนนิ การ

ตรวจสอบพสั ดุประจาปี

-เสนอรายงานการตรวจสอบพสั ดุประจาปี ต่อ

หวั หน้าส่วนราชการ พรอ้ มสาเนาส่งสานกั งาน

การตรวจเงินแผน่ ดนิ (1ชดุ ) และหน่วยงานต้น

สังกัด

8. -การจาหนา่ ยพสั ดุ เมื่อตรวจสอบพสั ดุพบว่า 1.คาส่งั แตง่ ตง้ั

ทรัพย์สินมีการชารดุ โดยมกี ารแตง่ ตงั้ คณะกรรมการสอบหา

การจาหนา่ ย คณะกรรมการสอบหาขอ้ เท็จจรงิ และหวั หน้า ข้อเทจ็ จริง
ทรพั ยส์ ิน ส่วนราชการ มกี ารส่งั ดาเนนิ การจาหนา่ ยตาม 2.หนังสอื สง่ั การให้
วธิ ีการท่ีระเบยี บฯ ไดก้ าหนดไว้ เมือ่ ดาเนนิ การ จาหนา่ ยทรพั ยส์ นิ

จาหนา่ ยแล้ว มีการแจง้ ให้สานกั งานการตรวจ 3.รายงานการจาหนา่ ย

เงินแผ่นดินทราย ภายใน 30 วัน นบั แต่วนั ลง ทรพั ย์สนิ

จ่ายพสั ดุแล้ว 4.ทะเบยี นคมุ ทรพั ยส์ ิน

-บนั ทึกตดั จาหน่ายทรัพยส์ ินในทะเบยี นคุม

ทรัพยส์ ิน

๑๐

หลกั เกณฑก์ ารจดั ทาบัญชคี ุมวสั ดุ การบนั ทกึ ทะเบยี นคุมครุภณั ฑ์

การควบคมุ วัสดุ

การควบคุมวัสดุให้ควบคุมในระดับสานัก หรือหน่วยงานระดับกอง โดยจัดทาบัญชีวัสดุแสดงการรับ-
จ่าย-คงเหลือ แยกตามประเภทและชนิดของวัสดุ ซึ่งเป็นขั้นตอนการดาเนินงานหลังจากมีการจัดหาพัสดุ
มีรายละเอียดการปฏบิ ตั งิ าน ดังนี้

การจดั ทาบัญชีคมุ วสั ดุ

1. บัญชีวัสดุให้จัดทาแต่ละปีงบประมาณ เมื่อขึ้นปีงบประมาณใหม่ให้ขึ้นแผ่นใหม่ทุกครั้ง หากมีวัสดุ
คงเหลือให้ยกยอดคงเหลือจากปกี ่อนเป็นยอดยกมาในปีปัจจบุ นั

2. บัญชวี ัสดุแต่ละบญั ชี (แตล่ ะประเภท/ชนดิ ) ใหค้ วบคมุ วัสดุ 1 รายการ/ประเภท/ชนดิ
3. การลงบญั ชวี สั ดุ ใหล้ งทกุ ครั้งที่มีการรับ หรอื จ่าย ตามระเบยี บกาหนด
4. ราคาต่อหน่วย จะตอ้ งเปน็ ราคาทรี่ วมภาษมี ลู ค่าเพม่ิ แลว้
5. การกาหนดหน่วยนับของวัสดุ ควรพิจารณาให้เหมาะสมกับการเบิกจ่ายวัสดุ เช่น ดินสด สามารถ
กาหนดหนว่ ยนับเปน็ โหลหรือแท่งกไ็ ด้ ข้ึนอยกู่ บั จานวนสัง่ จ่ายแตล่ ะครงั้
6. การลงบญั ชวี ัสดุ จะตอ้ งลงรายการใหค้ รบถว้ น เพือ่ ให้ยอดวัสดุคงเหลือถกู ต้องตามจรงิ
7. กรณีที่ซื้อวัสดุชนิดเดียวกันในเวลาต่างกัน ราคาวัสดุอาจไม่เท่ากัน เมื่อลงบัญชีจ่ายให้ใช้ราคาวัสดุ
ที่ซื้อมาก่อนตัดออกจากบัญชีก่อน ราคาวัสดุคงเหลือ ณ วันส้ินปีงบประมาณจะเป็นราคาที่มีการจัดซื้อ
ครั้งหลงั สุด

เอกสาร/หลกั ฐานประกอบการลงบญั ชีรบั วสั ดุ

ใหม้ ขี ้อความชัดเจนเก่ยี วกับพสั ดุ ชนิด ขนาด ลกั ษณะ จานวน ราคาตอ่ หน่วย ไดแ้ ก่
1. ใบสง่ ของ
2. ใบตรวจรับพัสดุ
3. ใบตรวจรับงานจ้าง
4. ใบรับรองผลการจัดทาเอง
5. หลักฐานการรับบริจาคพัสดุ หลักฐานการส่ง หรือรับพัสดุจากหน่วยงานต่าง ๆ โดยให้มีข้อความ
ชัดเจน เกี่ยวกับพัสดุ ชนิด ขนาด ลักษณะ จานวน ราคาต่อหน่วย หลักฐานการส่งหรือรับพัสดุจากหน่วยงาน
ตา่ ง ๆ (กรณรี บั บริจาค)

เอกสาร/หลกั ฐานการลงบญั ชจี ่ายวัสดุ เปน็ หลกั ฐานประกอบการลงบญั ชีดา้ นจ่าย ได้แก่
1. ใบเบิกพสั ดุ
2. ใบยมื พสั ดุ

๑๑

การลงบัญชีรับวสั ดุ
1. จัดทาบัญชีวัสดุ ตามแบบท่ีกระทรวงการคลังกาหนด โดยแยกประเภทของวัสดุตามท่ีกาหนด

ใน หนังสือการจาแนกประเภท รายจ่ายตามงบประมาณของสานักงบประมาณ เช่น วัสดุสานักงาน วัสดุ
คอมพวิ เตอร์ วัสดุงานบ้านงานครวั เป็นตน้ และแยกชนดิ ของวัสดุ เชน่ กระดาษถา่ ยเอกสาร กระดาษปกสี เป็นต้น

2. ให้จัดทาสารบัญหรือดัชนีของบัญชีวัสดุแต่ละประเภท โดยแยกชนิดให้ชัดเจน เพื่อสะดวกแก่
การ ลงบัญชีและการตรวจสอบ

3. เมื่อได้รับวัสดุและหลักฐานการรับวัสดุแล้ว ให้เจ้าหน้าที่พัสดุให้เลขท่ีเอกสารด้านรับ เลขท่ีรับ
เอกสารให้เรียงลาดับตามวัน เวลาที่ได้รับแยกเป็นปีงบประมาณ เพื่อเป็นเลขที่อ้างอิงในการบันทึกบัญชีวัสดุ
โดยอาจอ้างอิงเลขท่ีใบสง่ ของของผู้ขายก็ได้

4. บันทึกรับวัสดุในบัญชีวัสดุ ตามรายการในเอกสารประกอบการรับวัสดุ ได้แก่ วันเดือนปีที่ได้รับ
วัสดุ ช่อื ผ้ขู าย เลขท่เี อกสาร ราคาตอ่ หน่วยสุทธิ และจานวนวัสดุทีร่ ับ

5. เมอื่ จ่ายพสั ดุแลว้ ใหบ้ นั ทึกจา่ ยวสั ดุในบัญชวี ัสดุ ตามรายการในใบเบิกของ ไดแ้ ก่ วนั เดอื นปี ทีจ่ ่าย
วัสดุ ชอื่ ผเู้ บิก และจานวนท่ีจ่าย เพื่อสะดวกในการคน้ หาและตรวจสอบได้ ในบัญชีวสั ดจุ ะมีข้อความ “แผน่ ที่”
ให้ระบุเลขที่แผ่นท่ี ไว้ในช่องหมายเหตุของหลักฐานการรับในแต่ละรายการด้วย และเพ่ือให้ทราบว่ารายการนี้
ไดล้ งบญั ชแี ล้วในการจา่ ยวัสดุ ให้ลงจา่ ยวสั ดุทไี่ ด้รับมากอ่ นออกไปก่อน (วิธี FIFO)

6. ทกุ สนิ้ ปงี บประมาณให้ทาการตรวจสอบพัสดุประจาปี และรายงานวัสดุคงเหลือ โดยสรุปรายการรับ –
จ่ายวัสดุ จานวนคงเหลือ และมูลค่าของวัสดุคงเหลือในแต่ละรายการเพื่อให้คณะกรรมการตรวจสอบพัสดุประจาปี
ตรวจสอบ พร้อมแจ้งกองกลาง กลุ่มการคลัง ดาเนนิ การปรับปรงุ บญั ชวี สั ดคุ งคลงั ในภาพรวมของหนว่ ยงาน

การเบกิ วสั ดุ
ในการควบคมุ การใช้วัสดุ ให้อยใู่ นความรับผดิ ชอบของหวั หนา้ หน่วยพัสดุ มีขน้ั ตอนการเบิกวัสดุ ดังนี้
1. ผตู้ ้องการใชพ้ ัสดุเขียนใบเบิกวสั ดุ
2. ให้หัวหน้างานเป็นผู้เบิก เช่น หัวหน้าฝ่าย หัวหน้างาน หรือผู้ต้องการใช้อาจขอเบิกเองแล้วเสนอ

ใบเบิกผ่านหัวหน้าฝ่าย หัวหนา้ งาน
3. หัวหน้าหน่วยพัสดุเป็นผู้สั่งจ่าย โดยพิจารณาความเหมาะสมว่าผู้ขอเบิกใช้ตามวัตถุประสงค์ โดย

ประหยัด คมุ้ ค่า เหมาะสมหรอื ไม่

การจา่ ยพสั ดุ
เมือ่ มผี ู้ขอเบกิ วสั ดุ เจ้าหนา้ ทพ่ี ัสดุ หรือผรู้ บั ผดิ ชอบในการควบคมุ พัสดุต้องตรวจสอบใบเบิกวสั ดสุ ่ิงของ

ว่าได้รับอนุมัติส่ังจ่ายจากหัวหน้าหน่วยพัสดุแล้วพร้อมกับตรวจสอบรายการ และจานวนปริมาณวัสดุที่ขอเบิก
ว่ามีเพยี งพอหรอื ไม่ แลว้ จงึ ใหจ้ า่ ยวัสดตุ ามรายการในใบเบิก และลงเลขทเี่ อกสารกกากบั ในใบเบิกวสั ดุ (ให้ระบุ
เลขท่ี เอกสารเรยี งลาดบั ตามปงี บประมาณ) เพอื่ ใช้เปน็ เอกสารอา้ งองิ ในการลงบญั ชีจา่ ยวสั ดตุ ่อไป

12

บญั ชีวสั ดุ

ส่วนราชการ.........................
หน่วยงาน..............................

แผ่นท.ี่ .........................

ช่ือหรอื ชนดิ วสั ดุ

ประเภท................................ ................................................................ รหสั .........................................

ขนาดหรือลกั ษณะ.............................................................................. จานวนอย่างสูง......................................

ท่ีเก็บ......................................................................................... จานวนอย่างตา่ ........................................

หน่วยที่นับ......................................................................................................

วนั เดอื น ปี รบั จาก/จา่ ยให้ เลขที ราคาตอ่ จานวน หมายเหตุ

เอกสาร หน่วย

รบั จา่ ย คงเหลือ

13

คาอธบิ ายการลงรายการบญั ชวี ัสดุ

(1) ใหก้ รอบเลขแผ่นท่ีตามลาดับชนิดวสั ดุ และทบั ด้วยลาดับหน้าบัญชีของชนิดน้ัน ในกรณีใช้แผ่นเดียวไม่พอ
เช่น มีวัสดุ 100 ชนิด ควรให้ลาดับเลขแผ่นท่ี 1 ถึง 100 ชนิดใดลงบัญชีหน้าเดียวไม่พอให้ทาเครื่องหมาย
“ทับ (/)” แผน่ ท่ี 1 หน้า 1 ก็กรอกวา่ 001/1 หนา้ 2 กก็ รอกว่า 001/2 เปน็ ตน้

สาหรับหน่วยงานท่ีมีวัสดุจานวนมากชนิด ควรให้ลาดับประเภท ชนิด และหน้า เพื่อทราบว่าประเภท
ใดมีกี่ชนิด เชน่ ประเภทลาดบั ท่ี 1 ชนดิ ที่ 99 หนา้ 1 ก็กรอกว่า 01/099/1
(2) ใหร้ ะบชุ ่ือหน่วยงานซึ่งทาหน้าทคี่ วบคมุ หรอื เกบ็ รกั ษาวัสดเุ พ่อื จ่ายให้แก่หน่วยงานอน่ื
(3) ให้ระบุประเภทของวัสดุตามท่ีกาหนดในหนังสือการจาแนกประเภทรายจ่ายตาม งบประมาณของสานัก
งบประมาณ
(4) ใหร้ ะบุชื่อหรือชนดิ ของวสั ดุ เช่น ดนิ สอดา ดินสอสี ดินสดเขียนแบบ เปน็ ต้น และหาก หนว่ ยงานใดต้องการ
แยกชนิดย่อยลงไปอีก โดยจัดทาบัญชีควบคุมย่อยลงไปก็ได้ เช่น ดินสดดา 2 บี ดินสอดา 4 บี ดินสอสี
เขียว เปน็ ตน้
(5) ใหร้ ะบุรหสั ของวสั ดุน้นั ๆ ตามทก่ี าหนดไว้ (ถา้ มี)
(6) ให้ระบุหน่วยตามลักษณะของวัสดุและปริมาณท่ีใช้ เช่น หน่วยพัสดุกลาง อาจใช้กับหน่วยนับของดินสอ
เปน็ โหล หนว่ ยงานย่อยอาจใชห้ นว่ ยนับของดนิ สอเป็นแท่ง แตท่ ั้งนห้ี น่วยนบั สาหรับช่องรบั ช่องจ่าย และ
ชอ่ งคงเหลอื จะต้องเปน็ อย่างเดยี วกัน
(7) ให้ระบุจานวนอย่างสูงท่ีสมควรจะเก็บไว้ในคลังพัสดุ และจานวนอย่างต่าท่ีหากไม่จัดหาเพ่ิมเติมจะทาให้
งานของทางราชการเสียหาย
(8) ให้ลงเลขที่เอกสารตามลาดับที่รับหรือจ่าย แล้วแต่กรณี โดยควรแยกเป็นเอกสารฝ่ายรับ (ร.) และ
เอกสารฝ่ายจ่าย (จ.) และให้ลงเลขท่ีลาดับที่ 1 ใหม่ เม่ือขึ้นปีงบประมาณใหม่ ฝ่ายรับเร่ิมตั้งแต่ลาาดับ ร.1 ,
ร.2 , ร.3 ฯลฯ ฝ่ายจ่ายเริ่มต้งั แต่ จ.1 , จ.2 , จ.3 ฯลฯ

14

ทะเบยี นคุมทรพั ยส์ ิน

1. หนังสือคณะกรรมการว่าด้วยการพัสดุ (กวพ.) ด่วนท่ีสุด ท่ี กค (กวพ) 0408.4/ว129 ลงวันท่ี
20 ตุลาคม 2549 ให้ส่วนราชการถือปฏิบัติลงบัญชีควบคุมวัสดุและลงทะเบียนครุภัณฑ์ของทางราชการให้
สอดคล้องกับหลักการและนโยบายบัญชีสาหรับหน่วยงานภาครัฐ ท่ีกระทรวงการคลังกาหนดและ หลักการ
จาแนกประเภทรายจ่ายตามงบประมาณของสานักงบประมาณ ยกเลิก ตัวอย่างทะเบียนครุภัณฑ์ ที่ กวพ.
กาหนดไว้เดิม และให้ใช้รูปแบบทะเบียนคุมทรัพย์สนิ ตามหลักเกณฑ์ท่ีกรมบัญชีกลางกาหนดเปน็ แนวทางการ
บนั ทกึ ควบคมุ ครภุ ณั ฑ์ แทนทะเบยี นครภุ ัณฑแ์ บบเดมิ

2. สาหรับวัสดุท่ีมีลักษณะคงทนถาวรและมีอายุการใช้งานเกินกว่า 1 ปี ซ่ึงมีราคาต่อหน่วย
หรือต่อชุด ไม่เกิน 10,000 บาท ให้บันทึกรายการในทะเบียนคุมทรัพย์สินด้วย(ครุภัณฑ์มูลค่าต่ากว่าเกณฑ์)
โดยไมต่ อ้ งคานวณคา่ เสอื่ มราคา

การลงทะเบียนคมุ ทรัพยส์ นิ และการคดิ คา่ เสือมราคา

1. ครุภัณฑห์ รอื อุปกรณ์ ทีซ่ อ้ื หรือไดม้ าก่อนปงี บประมาณ พ.ศ. 2547 ใหบ้ ันทึกทะเบียนคุม
ทรัพย์สินเพียงอย่างเดียว โดยมีการคานวณค่าเส่ือมราคาจนกว่าจะมีการจาหน่ายออกไป และบันทึกรายการ
ค่าเส่ือมราคาเข้าในระบบ GFMIS

2. ครุภณั ฑ์หรืออุปกรณ์ ทต่ี อ้ งบนั ทึกทะเบยี นคุมทรพั ยส์ ินและคานวณคา่ เสื่อมราคา ดงั น้ี
2.1 ทรัพย์สินที่ซื้อหรือได้มาราคาทุน ต่อชุด/ต่อหน่วย/ต่อกลุ่ม ตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ.

2540 – 2545
2.2 ทรพั ย์สินท่ีซอ้ื หรือได้มาราคาทนุ ตอ่ ชุด/ต่อหนว่ ย/ต่อกลมุ่ มูลค่าตงั้ แต่ 5,000 บาทขึน้ ไป

ตงั้ แต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2546 – 2562
2.3 ทรพั ย์สนิ ที่ซ้ือหรือได้มาราคาทุน ต่อชดุ /ต่อหน่วย/ต่อกลุ่ม มลู คา่ ตง้ั แต่ 10,000 บาทขึ้นไป

ตั้งแต่ปงี บประมาณ พ.ศ. 2563 เป็นตน้ ไป
3. จัดทาทะเบียนคุมทรัพยส์ นิ โดยแยกเปน็ ชนิดและประเภทตามหนังสือการจาแนกประเภท

รายจา่ ยตามงบประมาณของสานกั งบประมาณ
4. เมื่อได้รับครุภัณฑ์และหลักฐานการรับแล้ว พิจารณาครุภัณฑ์แต่ละรายการว่าเป็นชนิดใด

ประเภทใด แล้วนาข้อมูลไปบันทึกลงในช่องต่าง ๆ ของทะเบียนคุมทรัพย์สินให้ครบถ้วน เช่น วัน เดือน ปี
ที่ได้มา เลขท่ีเอกสาร ราคาต่อหน่วย/กลุ่ม/ชุด จานวนหน่วย มูลค่าท่ีได้มาสุทธิ อายุการใช้งาน อัตราค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคาประจาปี คา่ เสื่อมราคาสะสม มูลค่าสทุ ธิ (1 แผน่ ต่อ 1 รายการ) โดยคานวณคา่ เส่อื มราคาทกุ ปี

5. กรณีซ่อมแซมบารุงหรือปรับปรุงทรัพย์สิน ให้บันทึกประวัติการซ่อมบารุงรักษาทรัพย์สิน
ด้านหลังทะเบียนคุมทรัพย์สินชนิดนั้น ๆ ทกุ คร้ัง (เว้นแต่รถราชการให้บนั ทึกประวตั ิการซ่อมบารุง ตามแบบ 6
ทา้ ยระเบยี บฯ รถราชการ เนื่องจากมรี ะเบียบกาหนดไวเ้ ปน็ การเฉพาะแล้ว)

15

6. คานวณค่าเส่ือมราคาทรัพย์สิน เพ่ือหามูลค่าสุทธิ ณ วันส้ินปีงบประมาณของทุกปี
(30 กันยายน ของทุกปี) ให้ใช้งานอย่างมีประสทิ ธิภาพ

7. การจัดเก็บทะเบียนคุมทรัพย์สินให้รวบรวมไว้อย่างเป็นระบบโดยจัดแยกให้เป็นหมวดหมู่
ตามชนดิ ลกั ษณะของสนิ ทรพั ย์ให้สามารถควบคุม และตรวจสอบได้

การคานวณค่าเสือมราคาประจาปี

หนังสือกรมบัญชีกลางท่ี กค 0410.3/ว48 ลงวันที่ 13 กันยายน 2549 เร่ือง การบันทึก
บัญชีวัสดุหรือ ครุภัณฑ์ แจ้งหลักเกณฑ์การจาแนกรายการจ่ายของ สานักงบประมาณ เป็นวิธีปฏิบัติเก่ียวกับ
การบรหิ ารจัดการดา้ นงบประมาณ สว่ นหลักเกณฑใ์ นการบนั ทึกบัญชวี สั ดุหรอื ครภุ ัณฑ์ หนว่ ยงานจะต้องปฏบิ ัติ
ตามหลกั การและนโยบายบัญชีสาหรับหน่วยงานภาครฐั ทก่ี ระทรวงการคลังกาหนด ดังนี้

1. วสั ดุ หมายถงึ สินทรัพย์ทหี่ น่วยงานมไี ว้เพ่ือใช้ในการดาเนินงานตามปกตโิ ดยทว่ั ไป มี
มูลค่าไม่สูง และไม่มีลักษณะคงทนถาวร เช่น วัสดุสานักงาน วัสดุคอมพิวเตอร์ วัสดุงานบ้านงานครัว เป็นต้น
หน่วยงานจะรับรู้วัสดุคงเหลือในราคาทุน ซึ่งโดยหลักการหน่วยงานอาจรับรู้วัสดุเป็นสินทรัพย์หรือ
ค่าใช้จ่ายกอ่ น แลว้ จึงปรบั ปรงุ สน้ิ ปกี ็ไดซ้ ึง่ จะรบั รวู้ ัสดุคงเหลอื ในราคาทุน

2. ครุภัณฑ์ หมายถงึ สนิ ทรัพย์ท่หี น่วยงานไว้เพื่อใช้ในการดาเนนิ งานมีลักษณะคงทน และมี
อายุการใช้งานเกินกว่า 1 ปี โดยให้บันทึกรับรู้ครุภัณฑ์ท่ีมีมูลค่าต้ังแต่ 5,000 บาทข้ึนไปต้ังแต่ปี พ.ศ. 2546
-2562 และครุภณั ฑท์ ่ีมีมูลค่าต้ังแต่ 10,000 บาทขนึ้ ไป ตง้ั แต่ปี 2563 เปน็ ต้นไป ตามราคาทุนเป็นรายการ
สินทรัพย์ถาวรในบัญชีของหน่วยงาน โดยบันทึกรายละเอียดของครุภัณฑ์ในทะเบียนคุมทรัพย์สินและให้
คานวณคา่ เส่ือมราคาประจาปี

สาหรับครุภัณฑ์ที่มูลค่าไม่ถึง 5,000 บาท ตั้งแต่ พ.ศ.2546 – 2562 และครุภัณฑ์
มูลค่าไม่ถึง 10,000 บาท ต้ังแต่ พ.ศ. 2563 ให้บันทึกเป็นค่าใช้จ่ายประเภทค่าครุภัณฑ์มูลค่าต่ากว่าเกณฑ์
และให้บันทึกรายละเอียดของครุภัณฑ์ดังกล่าวในทะเบียนคุมทรัพย์สิน เพื่อประโยชน์ในการควบคุมรายการ
ทรพั ย์สินของทางราชการ โดยไม่ต้องคานวณคา่ เสอ่ื มราคาประจาปี

ค่าเสือมราคาประจาปี

เป็นการปันส่วนมูลค่าเส่ือมสภาพของทรัพย์สินอย่างมีระบบ ตลอดอายุการใช้งานที่ได้
ประมาณไว้ วธิ กี ารคานวณค่าเสื่อมราคาใหใ้ ช้วธิ ีเส้นตรง ต้องประกอบดว้ ย

1. ราคาทุนของทรัพย์สินหมายถึง ราคาทุนที่จัดซ้ือจากเงินงบประมาณ เงินนอกงบประมาณ
เงินบริจาค เงินชว่ ยเหลอื หรือเงินอื่น ๆ รวมทัง้ คา่ ภาษี ค่าขนส่งและคา่ ติดต้งั ใหพ้ รอ้ มใช้งานดว้ ย

2. อายุการใช้งานและอัตราค่าเส่ือมราคา หมายถึง ระยะเวลาท่ีคาดว่าส่วนราชการจะได้
ประโยชนจ์ ากทรพั ยส์ ินนั้น ตามหลักเกณฑท์ ่ีกรมบัญชกี ลางกาหนด

16

การคานวณค่าเสือมราคา

1. ค่าเสอื่ มราคาต่อปี (ประจาป)ี หมายถึง คา่ เสือ่ มท่ีคานวณไดใ้ นแตล่ ะปงี บประมาณ
สูตร = ราคาทนุ ของสนิ ทรัพย์ (มลู ค่ารวม)
อายุการใชง้ านอยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ

2. คา่ เส่ือมราคาสะสม = คา่ เสื่อมราคาตอ่ ปี x อายกุ ารใช้งานท่ผี ่านมา
3. มูลคา่ สทุ ธขิ อง = ราคาทนุ (มูลคา่ รวม) – คา่ เสอ่ื มราคาสะสม

มูลค่าสุทธิของทรัพย์สิน เม่ือครบกาหนดอายุการใช้งาน (ปีสุดท้าย) จะมีมูลค่าสุทธิ = 0 บาท หากยัง
ใช้ประโยชน์ได้ หรือยังไม่ได้จาหนา่ ยตามระเบยี บฯ ให้คงมูลค่าสุทธขิ องทรัพย์สนิ น้นั เท่ากับ 1 บาท

4. ค่าเส่ือมราคาคดิ เปน็ เดอื น = คา่ เสื่อมราคาต่อปี (ประจาป)ี x จานวนเดอื น
12

การนบั เวลาทรัพย์สินทีซอ้ื หรือได้มา
1. ระหวา่ งวนั ท่ี 1 – 15 ของเดอื น การคานวณค่าเสอื่ มราคา ใหค้ ดิ เต็มเดือนของเดือนนน้ั
2. ระหว่างวันท่ี 16 – 31 ของเดือน การคานวณค่าเสือ่ มราคา ให้คดิ ในเดือนถัดไป

17

ทะเบยี นคมุ ทรัพยส์ นิ

สว่ นราชการ....(1)...
หนว่ ยงาน .....(2)…

ประเภท….(3)......... รหัส......(4).............. ลักษณะ/คณุ สมบัติ.....(5)...... รุ่น/แบบ....(6).....

สถานทต่ี ั้ง/หน่ายงานท่รี ับผดิ ชอบ.....(7) ชื่อผ้ขู าย/ผูร้ บั จา้ ง/ผบู้ รจิ าค.....(8)........

ทอี่ ย่.ู ....(9)............. โทรศพั ท์.....(10)

ประเภทเงนิ (....)เงนิ งบประมาณ (....)เงินนอกงบประมาณ (....)เงนิ บรจิ าค/เงนิ ช่วยเหลอื (....)อนื่ ๆ

วิธกี ารได้มา (....)ตกลงราคา (....)สอบลงราคา (....)ประกวดราคา (....)วธิ ีพิเศษ (....)รบั บริจาค

วัน ที รายการ จานวน ราคา มลู ค่า อายุใช้ อตั รา ค่าเสอื ม ค่าเสือม มลู ค่า หมาย
เดือน เอกสาร หนว่ ย ตอ่ รวม งาน คา่ ราคา ราคา สุทธิ เหตุ
(13) สะสม
ปี หนว่ ย/ เสือม ประจาปี (21) (22)
ชดุ / ราคา (20)
(11) (12) กลมุ่

(14) (15) (16) (17) (18) (19)

ประวัติการซอ่ มบารงุ รกั ษาทรพั ย์สิน 18

คร้งั ที วัน เดือน ปี รายการ จานวนเงนิ หมายเหตุ
(23) (24) (25) (26) (27)

19

คาอธบิ ายทะเบยี นคมุ ทรพั ยส์ ิน

การบันทึกทะเบยี นคุมทรัพย์สิน ให้บันทึกทะเบยี น 1 ใบตอ่ ทรพั ยส์ นิ 1 รายการ หรอื ต่อชดุ หรือต่อกลุ่มแล้วแต่
กรณี ตลอดอายกุ ารใช้งานทรัพยส์ นิ นั้น

(1) ส่วนราชการ ใหร้ ะบุชอื่ สว่ นราชการต้นสังกดั

(2) หน่วยงาน ใหร้ ะบุช่อื หน่วยงานทร่ี บั ผดิ ชอบทรพั ยส์ ิน

(3) ประเภท ใหร้ ะบุประเภทของทรัพย์สนิ เช่น อาคาร ส่งิ ปลูกสร้าง หรือ

ครุภณั ฑต์ ามการจาแนกประเภทรายจา่ ยตามงบประมาณของสานกั

งบประมาณ

(4) รหัส ให้ระบหุ มายเลขประจาทรพั ย์สนิ (โดยเจา้ หน้าท่พี สั ดุเป็นผู้กาหนด

(5) ลกั ษณะ/คณุ สมบัติ ให้ระบุรายละเอยี ดหรอื คณุ สมบตั ิของทรัพยส์ นิ

(6) ร่นุ /แบบ ใหร้ ะบรุ ่นุ หรือแบบของทรัพย์สนิ

(7) สถานท่ตี ัง้ /หนา่ ยงานทร่ี ับผิดชอบ ใหร้ ะบุสถานทตี่ ัง้ ของทรพั ย์สนิ หรือหนา่ ยงานทรี่ บั ผิดชอบทรัพย์สนิ นนั้

(8) ชอื่ ผขู้ าย/ผู้รบั จ้าง/ผูบ้ ริจาค ให้ระบุช่อื ผ้ขู ายหรือผรู้ ับจ้างหรอื ผ้บู รจิ าคทรพั ย์สนิ นน้ั

(9) ท่ีอยู่ ใหร้ ะบทุ ่อี ยู่ของผ้ขู ายหรอื ผูร้ ับจ้างหรือผ้บู รจิ าคทรพั ยส์ ินนน้ั

(10) โทรศพั ท์ ใหร้ ะบหุ มายเลขโทรศพั ทข์ องผู้ขายหรือผ้รู บั จ้างหรือผบู้ รจิ าคทรพั ย์สนิ

(11) วัน เดือน ปี ให้ระบุ วนั เดือน ปี ทีไ่ ด้รบั ทรพั ยส์ นิ

(12) ทีเ่ อกสาร ให้ระบเุ ลขท่ีเอกสารแสดงการได้มาของทรัพยส์ นิ

(13) รายการ ใหร้ ะบุชอ่ื หรือชนดิ ของทรัพยส์ นิ เชน่ อาคารสานักงานเครอื่ งปรับอากาศเป็นตน้

(14) จานวนหน่วย ใหร้ ะบจุ านวนหนว่ ยของทรัพยส์ นิ ต่อหนึ่งรายการ

(15) ราคาตอ่ หน่วย/ชุด/กลุ่ม ให้ระบจุ านวนเงนิ ทแี่ สดงถงึ ราคาต่อหนว่ ย หรือตอ่ ชุด หรือตอ่ กลุ่ม

ของทรัพยส์ นิ

(16) มลู ค่ารวม ให้ระบุจานวนเงินรวมของทรัพย์สินทง้ั หมด

(17) อายกุ ารใชง้ าน ให้ระบอุ ายกุ ารใช้งานของทรัพย์สนิ อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ทสี่ ว่ นราชการ

ไดเ้ ลือกกาหนดภายใตห้ ลักเกณฑ์ทกี่ ระทรวงการคลังกาหนด

(18) อัตราค่าเสือ่ มราคา ให้ระบอุ ตั ราคา่ เสอ่ื มราคาของทรัพยส์ ิน

(19) คา่ เส่อื มราคาประจาปี ใหร้ ะบุจานวนเงนิ ค่าเสื่อมราคาตอ่ ปี

(20) คา่ เสือ่ มราคาสะสม ใหร้ ะบจุ านวนเงนิ ค่าเสื่อมราคาสะสมต้ังแตป่ ที เี รม่ิ ใชท้ รัพยส์ นิ

จนถึงปัจจบุ ัน

(21) มูลคา่ สุทธิ 20

(22) หมายเหตุ ให้ระบุมลู ค่าทรัพยส์ ินหลงั จากหกั คา่ เสอ่ื มราคาสะสม
(23) คร้งั ท่ี กรณีทรพั ย์สนิ ใดมีมลู คา่ ไม่ถึง 5,000บาท สาหรบั ครภุ ัณฑ์ ต้ังแต่
(24) วัน เดือน ปี พ.ศ.2546 – 2562 และครุภัณฑม์ ลู คา่ ไม่ถึง 10,000 บาท ต้งั แต่
(25) รายการ พ.ศ. 2563ไม่ต้องข้ึนเป็นบัญชีสนิ ทรัพย์ให้ใส่เคร่ืองหมาย (-) ต้งั แต่
(26) จานวนเงนิ ช่อง (17) ถงึ ช่อง (21) ซึ่งเป็นสินทรพั ยม์ ลู คา่ ต่ากว่าเกณฑ์ไม่ต้อง
(27) หมายเหตุ คดิ ค่าเสือ่ มราคาทรัพย์สนิ
ใหแ้ สดงขอ้ ความอนื่ ท่จี าเป็น เช่นการจาหนา่ ยทรัพยส์ ินออกจากบัญชี
ให้ระบุลาดับคร้งั ท่ีมีการซ่อมบารุงรักษาทรัพยส์ ิน
ให้ระบุ วนั เดือน ปี ทซ่ี อ่ มบารงุ รักษาทรัพยส์ ิน
ให้ระบคุ าอธิบายรายการซ่อมบารุงรักษาทรัพยส์ ิน
ให้ระบุจานวนเงนิ ที่ใช้ในการซ่อมบารุงรักษาทรัพย์สนิ
ให้แสดงขอ้ ความอ่นื ที่จาเปน็ เช่น การซ่อมแซมท่ีถือเป็นค่าใชจ้ า่ ย
หรอื การซ่อมแซมท่ีถือเป็นการเพ่ิมทุนของทรัพย์สิน เป็นตน้

21

การตรวจพสั ดุประจาปี

ระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซื้อจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560
กาหนดวธิ ปี ฏบิ ัติเก่ยี วกับการตรวจสอบพสั ดุประจาปี ไวด้ ังน้ี

ข้อ 213 ภายในเดอื นสดุ ท้ายก่อนส้ินปีงบประมาณของทุกปี ให้หัวหนา้ หนว่ ยงานของรัฐหรือ
หวั หนา้ หน่วยพัสดตุ ามขอ้ 205 แต่งต้ังผ้รู บั ผดิ ชอบในการตรวจสอบพัสดซุ ึ่งมิใช่เป็นเจา้ หนา้ ท่ีตามความจาเป็น
เพ่ือตรวจสอบการรบั จา่ ยพสั ดุในงวด 1 ปีที่ผ่านมา และตรวจนบั พสั ดปุ ระเภททค่ี งเหลอื อยเู่ พยี งวันส้นิ งวดนั้น

ในการตรวจสอบตามวรรคหนึ่ง ให้เริ่มดาเนินการตรวจสอบพัสดุในวันเปิดทาการวันแรก
ของปงี บประมาณเป็นต้นไป ว่าการรับจ่ายถูกต้องหรือไม่ พสั ดุคงเหลือมี ตวั อยูต่ รงตามบัญชีหรือทะเบียนหรือไม่ มี
พัสดุใดชารุด เสื่อมคุณภาพ หรือสูญไปเพราะเหตุใด หรือพัสดุใดไม่จาเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไปแล้ว ให้
เสนอรายงานผลการตรวจสอบดังกลา่ วต่อผแู้ ต่งตั้งภายใน 30 วันทาการนับแตว่ ันเร่ิมดาเนินการตรวจสอบพสั ดนุ ั้น

เมื่อผู้แต่งตั้งได้รับรายงานจากผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุแล้ว ให้เสนอ
หัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั 1 ชุด และส่งสาเนารายงานไปยังสานักงานตรวจเงินแผ่นดิน 1 ชุด พร้อมทงั้ สง่ สาเนา
รายงานไปยังหน่วยงานต้นสังกัด (ถา้ ม)ี 1 ชุด ด้วย

หัวหนา้ ส่วนราชการ หรือหวั หน้า
หน่วยพสั ดุ

พิจารณาอนมุ ตั ิ

แตง่ ต้ังผรู้ ับผดิ ชอบในการ
ตรวจสอบพสั ดุ

(ไมใ่ ช่เจา้ หน้าทีพ่ ัสด)ุ

ระยะเวลาตรวจสอบ การตรวจสอบ การรายงานผลการ
- ตรวจสอบการรบั จา่ ยพสั ดุใน - การรับจา่ ยถูกตอ้ งหรือไม่ ตรวจสอบ เม่ือผแู้ ตง่ ตงั้ ไดร้ บั
งวด 1 ปที ีผ่ ่านมา - ตรวจนับ - พัสดคุ งเหลือมตี ัวอยู่ตรง รายงานจากผรู้ ับผิดชอบให้
พัสดุประเภทท่ีคงเหลอื อย่เู พยี ง ตามบัญชีหรือทะเบียนหรอื ไม่ เสนอ
วันสน้ิ งวด - ใหเ้ ร่มิ ด าเนินการ ****กรณีมพี ัสดใุ ดชารดุ เส่อื ม -หวั หนา้ หน่วยงานของรัฐ
ตรวจสอบพสั ดุใน วนั เปดิ ท า คณุ ภาพหรอื สญู ไปเพราะเหตุ 1 ชดุ
การวนั แรกของปงี บประมาณ - ใดหรือพสั ดไุ มจ่ าเปน็ ตอ้ งใชใ้ น -สาเนารายงานผลการ
ตรวจสอบใหเ้ สร็จสน้ิ ภายใน 30 หน่วยงานของรฐั ต่อไป ดาเนิน ตรวจสอบให้ สตง. 1 ชุด
วันท าการ นบั แต่วันเริ่มด าเนิน ตามข้อ 214*****
การ ตรวจสอบพสั ดุ

22

ข้อ 214 เมื่อผู้แต่งตั้งได้รับรายงานจากผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุตามข้อ 213 และ
ปรากฏว่ามีพัสดุชารุด เส่ือมสภาพ หรือสูญไป หรือไม่จาเป็นต้องใช้ในหน่วยงานของรัฐต่อไปก็ให้แต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริงขึ้นคณะหนึ่ง โดยให้นาความในข้อ 26 และข้อ 27 มาใช้บังคับโดยอนุโลม
เวน้ แต่กรณที เี่ หน็ ไดอ้ ย่างชัดเจนว่าเปน็ การเสื่อมสภาพเนอ่ื งมาจากการใช้งานตามปกติ หรอื สูญไปตามธรรมชาติ
ให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาส่ังการให้ดาเนินการจาหน่ายต่อไปได้ ถ้าผลการพิจารณาปรากฏว่า จะต้องหา
ตัวผู้รับผิดดว้ ย ใหห้ วั หน้าหน่วยงานของรัฐดาเนนิ การตามกฎหมายและระเบียบทีเ่ กี่ยวข้องของ ทางราชการ
หรือของหน่วยงานของรฐั น้นั ต่อไป

ผรู้ ับผดิ ชอบในการตรวจสอบ
พัสดุ รายงานตามขอ้ 213

หวั หนา้
หนว่ ยงาน

-กรณพี สั ดชุ ารุด กรณที ี่เหน็ ได้อยา่ งชดั เจนว่า เปน็ การ
-กรณีเสอื่ มคณุ ภาพ เสอ่ื มสภาพเนื่องมาจากการใชง้ านตามปกติ
-หรอื กรณไี มจ่ าเป็นต้องใช้ในหนว่ ยงานของรฐั ตอ่ ไป หรือสญู ไปตามธรรมชาติ

แตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง หวั หนา้
องคป์ ระกอบและการประชุม นาระเบยี บฯ ข้อ26 และ หน่วยงาน
ขอ้ 27 มาใช้บังคบั โดยอนโุ ลม ส่ังจาหน่าย

ผลการพจิ ารณาปรากฎวา่

หาผรู้ ับผิด ไม่ตอ้ งหาผู้รับผิด

หวั หนา้ หนว่ ยงานของ หัวหน้าหนว่ ยงาน
รฐั ดาเนนิ การตาม สั่งจาหนา่ ย

กฎหมายและระเบยี บ
ข้อบังคบั ที่เกยี่ วขอ้ ง

23

ขนั้ ตอนการตรวจสอบพัสดปุ ระจาปี

1. หน้าทขี องหวั หน้าหน่วยงานของรฐั หรือ ผู้ทีไดร้ บั มอบอานาจ

1.1 แต่งต้ังผู้รับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุประจาปี ตามระเบียบ ข้อ 213 (ห้าม

แตง่ ตัง้ เจ้าหนา้ ท่ีพสั ดุเป็นผู้ตรวจสอบพัสดปุ ระจาปี)

1.2 พิจารณารายงานผลการตรวจสอบจากเจา้ หน้าท่ีผ้ตู รวจสอบพัสดุประจาปี

1.3 กรณีมีพัสดชุ ารดุ เสอื่ มสภาพ และเหน็ ได้อย่างชดั เจนว่าเปน็ การเสื่อมสภาพเนื่องจาก

การใชง้ านปกตหิ รือสูญหายไปตามธรรมชาติ ให้หวั หนา้ หนว่ ยงานของรัฐพิจารณาส่ังการให้ดาเนินการจาหน่าย

ต่อไปได้โดยไม่ต้องแตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบหาข้อเทจ็ จรงิ

1.4 กรณีท่ีเห็นได้ชัดเจนว่ามีพัสดุชารุด เสื่อมสภาพเนื่องจากการใช้งานปกติหรือสูญไป

ตามธรรมชาตหิ รอื ไมจ่ าเป็นต้องใชใ้ นราชการต่อไป หัวหน้าหนว่ ยงานของรฐั ดาเนินการจาหนา่ ยต่อไป

1.5 แตง่ ต้ังกรรมการสอบหาขอ้ เทจ็ จริง (ตามระเบียบ ขอ้ 214)

1.6 พจิ ารณารายงานผลการสอบหาข้อเท็จจริง จากกรรมการ

- กรณีไม่ต้องหาตัวผู้รับผิดทางแพ่ง ส่ังการให้เจ้าหน้าที่พัสดุ ตรวจสอบสภาพพัสดุ

และเสนอวิธีการจาหน่าย แล้วพิจารณาอนุมัติให้จาหน่าย แจ้งให้กระทรวงการคลังและสานักงานตรวจเงิน

แผ่นดินภูมิภาคทราบตอ่ ไป

- กรณีต้องหาตัวผ้รู ับผิดชอบทางแพ่ง ใหแ้ ตง่ ต้ังคณะกรรมการสอบสวน หา

ผูร้ บั ผิดชอบทางแพง่

2. หนา้ ทขี องเจ้าหน้าทพี ัสดุ
2.1 จัดเตรียมรายงานทะเบียนครุภัณฑ์ของหน่วยงาน และเอกสารท่ีเก่ียวข้องให้

ครบถ้วน เพือ่ การตรวจสอบของคณะกรรมการตรวจสอบพัสดปุ ระจาปี
2.2 อานวยความสะดวกใหก้ ับคณะกรรมการตรวจสอบพสั ดุประจาปี ในการตรวจสอบพสั ดุ
2.3 เสนอความเห็นเกี่ยวกับวิธีการจาหน่ายพัสดุ ชารุดเสื่อมสภาพ เพ่ือให้หัวหน้า

หนว่ ยงานของรฐั พจิ ารณาสั่งการ
2.4 เสนอแต่งตัง้ คณะกรรมการจาหน่ายพัสดุ ชารุดเสื่อมสภาพต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ
2.5 ลงจา่ ยพัสดุตามทไี่ ดร้ บั อนมุ ัตใิ ห้จาหนา่ ยออกจากบัญชหี รอื ทะเบียน
2.6 รวบรวมเอกสารท่ีเกี่ยวข้องกับการตรวจสอบพัสดุประจาปี รายงานให้สานักงาน

ตรวจเงินแผน่ ดนิ ทราบ

24

3. หนา้ ทีของผรู้ ับผิดชอบในการตรวจสอบพัสดุประจาปี
3.1 ตรวจการรับการจ่ายของพัสดุในงวด 1 ปที ่ีผ่านมาวา่ ถกู ต้องหรอื ไม่
3.2 ตรวจนับจานวนวัสดุคงเหลือ ณ วันส้ินงวด (30 กันยายน) เฉพาะวัสดุท่ียังไม่เบิกไปใช้

วา่ คงเหลือตามบญั ชวี ัสดุหรอื ไม่ (วสั ดทุ ีย่ งั ไม่ได้นาไปใช้)
3.3 ตรวจนับจานวนครุภัณฑ์ท่ีมีอยู่ในหน่วยงาน ณ วันส้ินงวด (30 กันยายน) ว่ามี

ครุภัณฑ์คงเหลือและมีความถูกต้องตามทะเบียนครุภัณฑ์ที่ได้บันทึกไว้หรือไม่ และตรวจสภาพของ
ครุภัณฑ์ที่มีอยู่ ทั้งหมดในหน่วยงานว่ามีความชารุด เส่ือมสภาพ หรือสูญไป เพราะเหตุใด หรือพัสดุใดไม่
จาเปน็ ต้องใชใ้ นราชการ

3.4 จัดทารายงานผลการตรวจสอบพัสดุประจาปีต่อผู้แต่งต้ัง ภายใน 30 วันทาการ โดย
นบั ตงั้ แต่งวันเริม่ ดาเนินการตรวจสอบพสั ดุ

4. หนา้ ทขี องคณะกรรมการสอบหาขอ้ เทจ็ จรงิ
4.1 ตรวจสภาพพัสดุท่ีชารุด เส่ือมสภาพ สูญไป หรือไม่จาเป็นต้องใช้ในราชการตามที่

ผู้รบั ผิดชอบในการตรวจสอบพสั ดเุ สนอหรอื ไม่
4.2 พิจารณาว่าพัสดุแต่ละรายการที่ชารุด เส่ือมสภาพ หรือสูญไปนั้น เพราะสาเหตุใด

และต้องมีผู้รับผิดชอบทางแพ่งหรือไม่ โดยสอบถามจากบุคคลที่เก่ียวข้องกับการใช้พัสดุน้ัน และจะต้อง
ตรวจสอบหลกั ฐานที่เกย่ี วข้อง เช่น การซ่อมแซมบารงุ รักษาพสั ดุนั้น

เดือนกนั ยายน กระบวนการตรวจสอบพสั ดุประจาปี 25

เดอื นตลุ าคม - แตง่ ตงั้ ผู้มีหนา้ ทต่ี รวจสอบพสั ดุ กรณไี มพ่ บว่ามพี สั ดชุ ารดุ
- เตรยี มข้อมูลในการตรวจสอบพสั ดุ เสือ่ มคณุ ภาพ หรอื สูญไป
เดอื น หรือไมจ่ าเปน็ ต้องใชใ้ น
พฤศจิกายน - หน่วยงานของรฐั ต่อไป

เร่มิ การตรวจสอบพสั ดปุ ระจาปีในวนั ทาการวนั กรณีพบวา่ มพี สั ดชุ ารดุ
แรกของปงี บประมาณ ตรวจสอบใหแ้ ลว้ เสร็จ เส่อื มคณุ ภาพ หรอื สูญไป
ภายใน 30 วนั ทาการนับแตเ่ ร่มิ ดาเนนิ การ หรือไมจ่ าเปน็ ต้องใช้ใน
หนว่ ยงานของรัฐตอ่ ไป
ตรวจสอบพสั ดุ

- รายงานผลการตรวจสอบพสั ดปุ ระจาปี
- เสนอรายงานต่อ หัวหน้าสว่ นราชการ สาเนาสง่

สตง. /หนว่ ยงานต้นสังกัด

กรณีพสั ดุ ชารดุ เสอ่ื มสภาพ สญู ไป หรอื ไม่
จาเปน็ ต้องใชใ้ นราชการ

- แต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจรงิ
- รายงานผลการสอบหาข้อเท็จจริง

แตง่ ต้ังคณะกรรมการกาหนดราคาขั้นต่า /
คณะกรรมการขาย

ขาย/แลกเปล่ียน/โอน/แปรสภาพหรอื ทาลาย
ภายใน 30 วันนับจากหวั หน้าหนว่ ยงานสัง่ การ

ลงบญั ชีจ่ายออกจากบัญชหี รือทะเบยี นคมุ ทรพั ยส์ ิน
ทนั ที และบันทกึ ตดั สินทรพั ยอ์ อกจากระบบ GFMIS

แจ้ง สานกั งานตรวจเงนิ แผน่ ดิน
ภายใน 30 วนั นับแตว่ ันลงจ่ายพัสดุ

26

การจาหน่ายพัสดุ
การดาเนนิ ภายหลงั การตรวจพสั ดปุ ระจาปี

หลังจากการตรวจสอบแลว้ ใหเ้ จ้าหน้าทเ่ี สนอรายงานต่อ
- พสั ดใุ ดหมดความจาเปน็ หรือ หวั หนา้ หน่วยงานของรัฐเพอ่ื
- หากใช้ในหนว่ ยงานของรฐั
ตอ่ ไปจนสิ้นเปลืองคา่ ใช้จา่ ย พจิ ารณาสัง่ การ
มาก
ขาย
การ

แลกเปลยี่ น

โอน

แปรสภาพ
หรือทาลาย

วธิ ีการจาหน่ายพสั ดุ โดยปกตใิ หแ้ ลว้ เสร็จภายใน 60 วนั นบั แตค่วันท่ี
หวั หนา้ หน่วยงานเพือ่ พิจารณาส่งั การ
ขาย : ขายทอดตลาดกอ่ น ถ้าไม่ไดผ้ ลดีให้นาวธิ กี ารซือ้ มาใช้
แลกเปลยี น : ตามวธิ กี ารแลกเปลีย่ น
โดยอนุโลม เว้นแต่
- ราคาซ้ือหรือได้มารวมกันไมเ่ กิน 500,000 บาท จะขายโดยวธิ ี ที่กาหนดไว้ในระเบยี บ (ขอ้ 96 ขอ้ 100)
เฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคา โดยไม่ต้องทอดตลาดก่อนก็
ได้ โอน : ให้แก่หนว่ ยงานของรัฐ หรอื องค์การ
- ขายให้แกห่ นว่ ยงานของรฐั หรือองคก์ ารสถานธารณกุศล โดยวิธี
เฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคากนั สถานธารณกุศล ตามมาตรา47(7) แหง่ ประมวล
- ขายอปุ กรณ์อเิ ลก็ ทรอนกิ สเ์ ช่น โทรศัพท์เคลอ่ื นท่ี แท็บเลต็ ใหแ้ ก่ รษั ฎากร
เจ้าหนา้ ท่ขี องรัฐท่ไี ดม้ อบหมายให้ใช้งานในหน้าที่ เม่อื พ้นจาก
ตาแหน่งหรืออปุ กรณ์ดังกลา่ วพ้นระยะเวลาการใช้ งานแลว้ ให้ขาย แปรสภาพหรอื ทาลาย :
ใหแ้ ก่บคุ คลดังกล่าวโดยวธิ เี ฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคากนั
ตามหลกั เกณฑ์และวธิ กี ารทหี่ นว่ ยงานของรฐั
กาหนด

27

ขัน้ ตอนการปฏบิ ัตงิ านการจาหนา่ ยพัสดุ

1. หลังจากเสร็จส้ินการตรวจสอบพัสดุประจาปีเรียบแล้วร้อย หากผลปรากฏว่ามีพัสดุใด
ชารุด เส่ือมสภาพจากการใช้งาน หรือหมดความจาเป็นหากใชใ้ นราชการต่อไปจะส้นิ เปลืองค่าใช้จ่ายมาก หรือ
สูญไปเพราะเหตุใด ใหเ้ จา้ หนา้ ทจ่ี ดั ทาคาสงั่ แต่งตั้งคณะกรรมการสอบหาข้อเทจ็ จริง เพื่อสอบทานความถูกต้อง
ของทรัพย์สิน เสนอต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐ เว้นแต่กรณีที่เห็นได้อย่างชัดเจนว่า เป็นการเส่ือมสภาพ
เน่ืองมาจากการใช้งานตามปกติ หรือสูญไปตามธรรมชาติให้หัวหน้าหน่วยงานของรัฐพิจารณาสั่งการให้
ดาเนนิ การจาหน่ายต่อไปได้ ถา้ ผลพิจารณาปรากฏว่าจะต้องหาตวั ผ้รู ับผดิ ชอบดว้ ย ใหห้ วั หน้าหน่วยงานของรัฐ
ดาเนนิ การตามกฎหมายและระเบยี บท่เี ก่ียวขอ้ งของทางราชการหรือของหนว่ ยงานของรฐั นั้นต่อไป

2. เม่ือคณะกรรมการสอบหาข้อเท็จจริง ดาเนินการตรวจสอบพร้อมรายงานการตรวจสอบ
หาข้อเท็จจริงเสนอต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเรียบร้อยแล้ว โดยมีผลปรากฏว่าสอดคล้องตรงกันกับรายงาน
ของคณะกรรมการตรวจสอบพสั ดุประจาปี ให้เจ้าหนา้ ท่ีดาเนนิ การสรุปรายงานสอบหาข้อเทจ็ จริงเพอ่ื ขออนุมัติ
จาหน่ายพัสดุพร้อมเสนอคาส่ังแต่งตั้งคณะกรรมการประเมินราคาข้ันต่า และคณะกรรมการดาาเนินการขาย
ทอดตลาด คณะกรรมการแลกเปลี่ยน คณะกรรมการแปรสภาพหรือทาลายแล้วแต่กรณี ซึ่งการจาหน่ายพัสดุ
ครั้งน้ี ให้เจ้าหน้าท่ีเป็นผู้วิเคราะห์วิธีที่ใช้ในการจาหน่ายพัสดุเสนอต่อหัวหน้าหน่วยงานของรัฐเพื่อพิจารณาสงั่
ให้ดาเนินการตามวิธีอย่างใดอย่างหนึ่งตามหลักเกณฑ์ท่ีระเบียบกระทรวงการคลังว่าด้วยการจัดซ้ือจัดจ้างและ
การบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ.2560 ขอ้ 215 และ ขอ้ 217 กาหนดดงั ต่อไปนี้

1) ขาย ให้ดาเนินการขายทอดตลาดก่อน แต่ถ้าขายโดยวิธีขายทอดตลาดแล้วไม่ได้ผลดี
ให้นาวิธที ่กี าหนดเกี่ยวกบั การซ้ือมาใชโ้ ดยอนโุ ลม เว้นแตก่ รณี ดงั ตอ่ ไปนี้

ก. การขายพัสดุคร้ังหนึ่งซ่ึงมีราคาซ้ือหรือได้มารวมกันไม่เกิน 500,000 บาท
จะขายโดยวธิ ีเฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคา โดยไมต่ ้องทอดตลาดกอ่ นกไ็ ด้

ข. การขายให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานธารณกุศลตามมาตรา 47(7)
แห่งประมวลรัษฎากรให้ขายโดยวิธเี ฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคากัน

ค. การขายอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนท่ี แท็บเล็ต ให้แก่เจ้าหน้าที่
ของรัฐที่ได้มอบหมายให้ใชง้ านในหน้าที่ เม่ือพ้นจากตาแหน่งหรอื อุปกรณ์ดังกลา่ วพ้นระยะเวลาการใชง้ านแลว้
ให้ขายให้แก่บุคคลดังกล่าว โดยวิธีเฉพาะเจาะจง โดยการเจรจาตกลงราคากัน การขายโดยวิธีขายทอดตลาด
ให้ถือปฏิบัติตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ โดยให้ผู้ท่ีได้รับมอบหมายทาการประเมินราคาทรัพย์สิน
ก่อนการประกาศขายทอดตลาด กรณีที่เป็นพัสดุท่ีมีการจาหน่ายเป็นการทั่วไปให้พิจารณาราคาที่ซื้อขายกัน
ตามปกติในท้องตลาด หรือราคาท้องถิ่นของสภาพปัจจุบันของพัสดุน้ัน ณ เวลาที่จะทาการขาย และควรมีการ
เปรียบเทียบราคาตามความเหมาะสม กรณีเป็นพัสดุที่ไม่มีการจาหน่ายท่ัวไป ให้พิจารณาราคาตามลักษณะ
ประเภท ชนิดของพัสดุ และอายุการใช้งานรวมทั้งสภาพ และสถานท่ีตั้งของพัสดุด้วย ท้ังนี้ ให้เสนอหัวหน้า

28

หน่วยงานของรัฐพิจารณาให้ความเห็นชอบราคาประเมิน ดังกล่าวโดยคานึงถึงประโยชน์ของหน่วยงานของรัฐด้วย
หนว่ ยงานของรฐั จะจ้างผ้ปู ระกอบการทใี่ ห้บริการขายทอดตลาดเปน็ ผดู้ าเนินการก็ได้

2) แลกเปลี่ยน ใหด้ าเนินการตามวธิ ีการแลกเปล่ยี นท่กี าหนดไวใ้ นระเบยี บขอ้ 96-100
3) โอน ให้แก่หน่วยงานของรัฐ หรือองค์การสถานธารณกุศลตามมาตรา 47(7)
แหง่ ประมวลรัษฎากรทงั้ นี้ ใหม้ หี ลักฐานการสง่ มอบไว้ต่อกันดว้ ย
4) แปรสภาพหรือทาลาย ตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่หน่วยงานของรัฐกาหนด
การดาเนินการตามวรรคหนง่ึ โดยปกติใหแ้ ล้วเสรจ็ ภายใน 60 วันนับถัดจากวันทีห่ ัวหนา้ หนว่ ยงานของรฐั สัง่ การ


Click to View FlipBook Version